Se ha denunciado esta presentación.
Se está descargando tu SlideShare. ×

How to prepare MEQ.pdf

Anuncio
Anuncio
Anuncio
Anuncio
Anuncio
Anuncio
Anuncio
Anuncio
Anuncio
Anuncio
Anuncio
Anuncio

Eche un vistazo a continuación

1 de 65 Anuncio

Más Contenido Relacionado

Similares a How to prepare MEQ.pdf (20)

Más reciente (19)

Anuncio

How to prepare MEQ.pdf

  1. 1. Upbeating your MEQ scores. CHANON NUNTAWONG, MD SARABURI HOSPITAL, MEC 6.6 9.9 to 6 มิถุนายน 2564
  2. 2. รายนามวิทยากร อาจารยนายแพทยชานนท นันทวงค ผูชวยผูอํานวยการสํานักงานบริหารโครงการรวมผลิตแพทยเพิ่มเพื่อชาวชนบท chanon.nun@cpird.in.th
  3. 3. อ.พญ.กนกวรรณ ศรีรักษา ECME (CPIRD) SHEE (ศิริราช) Acknowledgment
  4. 4. คําแนะนํา เนื้อหาการบรรยายนี้เหมาะสม สําหรับนิสิตนักศึกษาแพทยระดับ กอนปริญญา (undergraduate) ไมเหมาะสมสําหรับอาจารยแพทย เพื่อใชออกขอสอบหรือการศึกษา ระดับหลังปริญญา (แตใชเปนแนวทางได)
  5. 5. Table of Contents MEQ principles Structures Resources for learning Common pitfalls 01 03 02 04
  6. 6. - ประภาส ชลศรานนท “สองคํา ‘เดี๋ยว’ กับ ‘เดี๋ยวนี้’ คําหลังยาวกวาคําหนานิดเดียว แตอนาคตยาวไกลกวากันเยอะ 2-Minute Rule ‘Getting Things Done’ - David Allen, 2002
  7. 7. หลักการสําคัญ 1. วัดการแกปญหาทางคลินิก (Problem solving skill) 2.วัดการคิดวิเคราะห และการใชเหตุผลทางคลินิก (Clinical reasoning)
  8. 8. Bloom’s Taxonomy (2001). สถาบันนวัตกรรมการเรียนรู มหาวิทยาลัยมหิดล
  9. 9. ตัวอย่างคําถาม วัดการให้เหตุผลทางคลินิก (Clinical reasoning) ● จงซักประวัติและตรวจร่างกายเพิมเติม ● จงระบุการตรวจร่างกายทีสําคัญและความผิดปกติทีต้องการหา ● จงระบุการส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการทีสําคัญ ● จงให้การวินิจฉัยแยกโรค พร ้อมระบุเหตุผล ● จงให้การวินิจฉัยเบืองต้น พร ้อมระบุเหตุผล
  10. 10. ตัวอย่างคําถาม วัดการแก้ไขปัญหาทางคลินิก (Problem solving skill) ● จงระบุการส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการทีช่วยวินิจฉัยโรค ● จงให้การดูแลรักษาเบืองต้น (initial management) ● จงสังการรักษาด้วยยา ● จงให้คําแนะนําเกียวกับการปฏิบัติตัวแก่ผู้ป่วย ● จงให้คําปรึกษาแก่ผู้ป่วยและครอบครัว ● จงระบุแนวทางการส่งปรึกษาแพทย์ผู้เชียวชาญ
  11. 11. ลักษณะของข้อสอบ (Characteristic of MEQ) ● ข้อสอบข้อเขียนแบบจับเวลาทีละหน้า ไม่สามารถเปิดย้อนกลับได้ ● มักมาจากกรณีผู้ป่วยจริง และเป็นโรคหรือภาวะทีพบได้บ่อย ● โจทย์จะให้ข้อมูลเพิมขึนเรือย ๆ ซึงข้อมูลนันเป็นสิงสําคัญมาก ● มีคําถามจําลองจากทักษะการคิดวิเคราะห์เพือแก้ปัญหาของผู้ป่วย
  12. 12. โครงสร้างของข้อสอบ (Structures of MEQ) ● ข้อมูลเบืองต้นของผู้ป่วย (มักเป็นโรคทีพบได้บ่อย) อาจให้ Hx, PE, Lab ทีสําคัญทีเพียงพอสําหรับการตังสมมติฐาน ● การรวบรวมข้อมูลผู้ป่วยเพิมเติม (ซักประวัติ ตรวจร่างกาย) ● การระบุปัญหาและวินิจฉัยแยกโรค ● การวินิจฉัยโรค ● การดูแลรักษา กรณีฉุกเฉิน หรือ trauma อาจตังเป็ นคําถามหน้าแรก (ABCDE) ● การให้คําแนะนํา ● ถามความจํา เช่น กลไกการเกิดโรค ● ถามเกียวกับระบาดวิทยาคลินิก ● ถามเกียวกับจริยศาสตร ์ทางการแพทย์
  13. 13. โครงสร้างของข้อสอบ (Structures of MEQ) ● ข้อมูลเบืองต้นของผู้ป่วย (มักเป็นโรคทีพบได้บ่อย) อาจให้ Hx, PE, Lab ทีสําคัญทีเพียงพอสําหรับการตังสมมติฐาน ● การรวบรวมข้อมูลผู้ป่วยเพิมเติม (ซักประวัติ ตรวจร่างกาย) ● การระบุปัญหาและวินิจฉัยแยกโรค ● การวินิจฉัยโรค ● การดูแลรักษา กรณีฉุกเฉิน หรือ trauma อาจตังเป็ นคําถามหน้าแรก (ABCDE) ● การให้คําแนะนํา ● ถามความจํา เช่น กลไกการเกิดโรค ● ถามเกียวกับระบาดวิทยาคลินิก ● ถามเกียวกับจริยศาสตร ์ทางการแพทย์
  14. 14. 1. Brief scenario (ข้อมูลเบืองต้น) ● มักเป็นโรคหรือสถานการณ์ทีพบได้บ่อย (common > rare) ● ตามเกณฑ์มาตรฐานของแพทยสภา ● วัดความสามารถในการสืบค้นข้อมูลทีสําคัญในการทดสอบสมมติฐาน เพือช่วยในการวินิจฉัย (DDx) เพือช่วยในการรักษา (Management) เพือช่วยในการประเมินความรุนแรง ● พบได้ 2 รูปแบบ เช่น 1) ให้อาการนํามา (chief complaint) แล้วให้ซักประวัติเพิมเติม 2) ให้ข้อมูลเบืองต้นทีมี CC & HPI & PE & Lab แล้วให้ซักประวัติหรือตรวจร่างกายเพิมเติม หรืออาจให้ดูแลเบืองต้น ABCDE ในผู้ป่วย trauma
  15. 15. 1. Brief scenario (ข้อมูลเบืองต้น) ● Forward clinical reasoning ผู้ป่วยชายไทย อายุ 60 ปี มาด้วยอาการไข้สูง 3 วัน จงซักประวัติผู้ป่วยรายนี
  16. 16. Tricks การซักประวัติ และตรวจรางกายเพิ่มเติม
  17. 17. 1. Brief scenario (Forward) ● ฝึกทักษะการซักประวัติอ้างอิงจากหนังสือต่าง ๆ
  18. 18. 1. Brief scenario (Forward) ● ฝึกทักษะการซักประวัติและ Approach อ้างอิงจากหนังสือต่าง ๆ
  19. 19. History taking: Fever 1. มีไข้นานเท่าใด (onset&duration) เพือจําแนกว่าเป็น acute, subacute หรือ chronic fever 2. มีไข้หนาวสันหรือไม่ (fever with chill) 3. ลักษณะไข้เป็นแบบใด เป็นตลอดเวลา, เป็น ๆ หาย ๆ (intermittent/remittent/continuous fever) 4. มีนํามูกไหล ไอ เจ็บคอ มีเสมหะ หอบเหนือยหรือไม่ (respiratory tract: upper or lower) 5. มีปัสสาวะแสบขัด ปวดหลังหรือไม่ (KUB system: upper or lower) 6. มีปวดท้อง แน่นท้อง ถ่ายเหลวหรือไม่ (gastrointestinal tract: upper or lower) 7. มีตัวเหลือง ตาเหลือง ร่วมด้วยหรือไม่ (hepatobiliary system) 8. มีปวดศีรษะ ซึม ชักหรือไม่ (nervous system) 9. มีผืนขึนตามตัวหรือไม่ (fever with rash) 10. มีประวัติไปต่างจังหวัดหรือไม่ (endemic area, tropical disease) 11. รับประทานยาอะไรหรือไม่ (drug fever, response to antipyretic) 12. ใช้ยาเสพติดเข้าเส้นหรือไม่ (IV drug use: e.g. hepatitis, HIV) 13. เคยได้รับเลือดหรือไม่ (blood transmitted disease, blood reaction) 14. มีผู้ใกล้ชิดเป็นหรือไม่ (transmitted disease) 15. เป็นโรคเบาหวาน พิษสุราเรือรัง ได้รับยาสเตียรอยด์ ติดเชือเอชไอวี (immunocompromised host)
  20. 20. 1. Brief scenario (Backward) ● ฝึกทําแผนภูมิ Approach ตามอาการวิทยา
  21. 21. 1. Brief scenario (Forward) ● คิดว่า จากโจทย์มีสาเหตุทีเป็ นไปได้จากอะไรได้บ้าง  Approach Fever Infection Localized Systemic Disseminated Epidemic Inflammation Autoimmune Neoplasm Drugs Others
  22. 22. 1. Brief scenario (ข้อมูลเบืองต้น) ● Forward clinical reasoning ผู้ป่วยชายอายุ 40 ปี อาชีพช่างก่อสร ้าง มาด้วยมีไอมีเสมหะ 2 สัปดาห์ จงซักประวัติผู้ป่วยรายนี ● Backward clinical reasoning ผู้ป่วยชายอายุ 40 ปี อาชีพช่างก่อสร ้าง มาด้วยมีไข้ตํา หายใจเหนือยมากขึน 2 สัปดาห์กินยาลดไข้และยาปฏิชีวนะ กินเองไม่ดีขึน PE: 37.5 C จงซักประวัติผู้ป่วยรายนีเพิมเติม
  23. 23. 1. Brief scenario (Backward) ● ฝึกทําแผนภูมิ Approach ตามอาการวิทยา
  24. 24. Approach dyspnea (1) Dyspnea RS Airway: asthma, COPD Parenchyma: Pneumonia, CA Vessel: Acute PE Pleura: Pneumothorax, Pleural effusion CVS CHF DIE HEART, HEART PMI Metabolic DKA Hematologic Anemia Psychogenic Hyperventilation syndrome
  25. 25. Approach dyspnea (2)
  26. 26. History taking: Abdominal pain 1. Location: ตําแหน่งทีปวด, Quadrant ใด, ลึกหรือตืน จุดเล็ก ๆ จุดเดียวหรือจุดใหญ่ 2. Onset: เกิดแบบทันทีทันใด หรือ ค่อยเป็นค่อยไป 3. Duration: ระยะเวลาทีเกิด และ ระยะห่างของการเกิด(interval) 4. Severity: ความรุนแรง มากน้อยแค่ไหน 5. Characteristic: ลักษณะอาการปวด เหมือนมีอะไรมาแทง (sharp) 6. หรือตือๆ (dull-aching pain) หรือปวดบีบๆ เป็นๆ หายๆ (colicky pain) หรือปวดแสบร้อน (burning pain) 7. Radiation: มีอาการปวดร้าวไปทีไหนหรือไม่ 8. Associated symptoms: คลืนไส้ อาเจียน ปวดศีรษะ ไข้ ประจําเดือน ตกขาว ตัวเหลือง ถ่ายเหลว แน่นท้อง ท้องอืด เหงือออก หน้าซีด ปัสสาวะขัด ปัสสาวะเป็นเลือด 9. Factors-Aggravating factors: มีอาการปวดมากขึนเมือทําอะไร 10. Factor-Relieving factors: อาการปวดดีขึนเมือทําอะไร 11. Time specific: ปวดเวลาไหนเป็นพิเศษ (LODSCRAFT)
  27. 27. Approach Abdominal pain Abdominal pain GI: by Quadrant liver, GB, Head of Pancreas, diaphragm, right lower lung, kidney GU GYN (OB)
  28. 28. อาการวิทยาทีต้องซักประวัติได้ ● ไข้ ● หอบเหนือย ● ปวดท้อง ● ไอ ● ไอเป็ นเลือด ● คลืนไส้/อาเจียน ● เจ็บหน้าอก ● ถ่ายเหลว ● บวม ● อาเจียนเป็นเลือด ● ถ่ายเป็ นเลือด ● ปัสสาวะเป็นเลือด ● มีเลือดออก ● 1st TM bleeding ● Vaginal bleeding ● Antepartum hemorrhage ● เวียนศีรษะ ● ปวดศีรษะ ● กล้ามเนืออ่อนแรง ● ชัก ● Alteration of consciousness ● ใจสัน ● กลืนลําบาก ● กลืนเจ็บ ● ตัวเหลือง ● ท้องบวมโต ● เป็นลม (syncope) ● ท้องผูก ● ปัสสาวะออกน้อย ● ปัสสาวะบ่อย ● กลันปัสสาวะไม่ได้ ● ซีด ● อ่อนเพลีย ● นําหนักขึน ● นําหนักลด
  29. 29. เทคนิคตอบข้อสอบซักประวัติ ● จากข้อมูลโจทย์ให้ลองคิดว่าน่าจะ เป็ นอะไรได้บ้าง (Differential diagnosis) ● ตอบการซักประวัติที Rule-in หรือ Rule-out ● เขียน Keyword ให้ได้มากทีสุด ให้ตรงประเด็น
  30. 30. การตรวจร่างกาย ● คล้าย ๆ กับการซักประวัติ ให้เขียนการ ตรวจร่างกายเพิมเติมเพือ rule-in หรือ rule-out แม้จะเป็น negative findings ● เขียน vital sings: BT, HR, RR, BP ทุกครัง ● รวบรวมคลัง pathognomonic signs ● ไม่เขียนคําย่อ หรือคําศัพท์ทีไม่สากล
  31. 31. แบบฝึ กหัดฝึ กซักประวัติ ลําดับ ภาควิชา อาการนํา Essential Performance/Confident ต้องรู้ ควรรู้ น่ารู้ มาก ปานกลาง น้อย 1 กุมารเวชศาสตร์ ผู้ป่วยเด็กหญิง อายุ 6 ปี มาด้วยถ่ายเหลว 1 วัน  2 กุมารเวชศาสตร์ ผู้ป่วยเด็กชาย อายุ 10 ปี มาด้วยไข้สูง 2 วัน  3 กุมารเวชศาสตร์ ผู้ป่วยเด็กหญิง อายุ 8 ปี มาด้วยปวดท้อง 4 ชัวโมง  4 กุมารเวชศาสตร์ ผู้ป่วยเด็กชาย อายุ 6 ปี มาด้วยไอ หอบเหนือย 3 วัน  5 กุมารเวชศาสตร์ ผู้ป่วยเด็กหญิง อายุ 1 ปี 6 เดือน มาด้วยหอบเหนือย มากขึน 1 ชัวโมงก่อน  6 กุมารเวชศาสตร์ ผู้ป่วยเด็กชาย อายุ 1 ปี มาด้วยหอบเหนือย ตัวเขียว 10 นาที  7 กุมารเวชศาสตร์ ผู้ป่วยเด็กชาย อายุ 9 เดือน มาด้วย ไข้สูง ชักเกร็ง 2 วัน ก่อนมาโรงพยาบาล  8 กุมารเวชศาสตร์ ผู้ป่วยเด็กชาย อายุ 6 ปี มาด้วย ไข้ ไอเสียงก้อง ร้อง เสียงแหบ  9 กุมารเวชศาสตร์ ผู้ป่วยเด็กชาย อายุ 10 ปี มาด้วย ปัสสาวะสีโค้ก  10 กุมารเวชศาสตร์ ผู้ป่วยเด็กหญิง อายุ 14 ปี มาด้วย ตัวบวม แขนขาบวม 
  32. 32. 2. การระบุปัญหาและวินิจฉัยแยกโรค ● Backward clinical reasoning ผู้ป่วยชายอายุ 40 ปี อาชีพช่างก่อสร ้าง มาด้วยมีไข้ตํา หายใจเหนือยมากขึน 2 สัปดาห์กินยาลดไข้และยาปฏิชีวนะกินเองไม่ดีขึน PE: 37.5 C จงระบุโรคทีเป็ นไปได้มากทีสุด 3 โรค 1) 2) 3) จงระบุข้อมูลจากการซักประวัติ และตรวจร่างกายทีต้องการเพือวินิจฉัยโรค
  33. 33. 2. การระบุปัญหาและวินิจฉัยแยกโรค ● Forward clinical reasoning มักอยู่ในหน้าถัดไป (หน้าที 2) ข้อสอบจะให้ข้อมูลเพิมเติมทีจําเป็นเพือช่วยตัดสินใจในขันถัดไป ลําดับถัดไปจะเป็นการทดสอบเพือ... - วินิจฉัยโรคทีแคบลง  DDx - วินิจฉัยเบืองต้น  provisional diagnosis, impression - ส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ  investigation - วางแผนประเมินและดูแล  initial management, resuscition - ประเมินความรู้ความเข้าใจ (pathophysiology)
  34. 34. Tricks การระบุปญหาและ วินิจฉัยแยกโรค
  35. 35. 2. การระบุปัญหาและวินิจฉัยแยกโรค ● จากข้อมูลเพิมเติม…ให้วงกลม ขีดเส้นใต้ ทําเครืองหมายที ข้อมูลที Positive findings และ negative findings ● พยายามระบุปัญหาหรือโรคทีเป็ นไปได้หรือ DDx ให้ได้สัก 2-4 โรค โดย rule-in หรือ rule-out เรียงตามลําดับในใจ หรือเขียนไว้บนหัวกระดาษ ● อย่าเพิงฟันธงเพียงโรคเดียว พยายามคิดถึงโรคอืนด้วย ● ข้อมูลทีโจทย์ให้มา มักสําคัญเสมอ ดังนัน อ่านทุกคํา ทุกประโยค อย่าข้ามโดยเด็ดขาด เพราะผู้ออกข้อสอบ จะต้องเฟ้นหาคําทีสือความหมายให้ตรงทีสุด เพือป้ องกันความเข้าใจคลาดเคลือนจากการตีความ ● ตอนเขียนคําตอบ พยายามสะกดให้ถูกต้อง ถ้าไม่แน่ใจ เขียนภาษาไทยกํากับ ● ไม่เขียนตัวย่อโดยเด็ดขาด เช่น CHF ให้เขียน congestive heart failure ● ฝึกทักษะเขียน illness script บ่อย ๆ
  36. 36. 2. การระบุปัญหาและวินิจฉัยแยกโรค ● ฝึกทํา illness script
  37. 37. แบบฝึ กหัดฝึ ก DDx ลําดับ ภาควิชา Clinical Essential Performance/Confident ต้องรู้ ควรรู้ น่ารู้ มาก ปานกลาง น้อย 1 อายุรกรรม ไข้สูงลอย กินไม่ได้อ่อนเพลีย 5 วัน  2 อายุรกรรม ไข้ ไอ หอบเหนือย 3 วัน  3 อายุรกรรม Ongoing rest chest pain  4 อายุรกรรม Progressive dyspnea with edema  5 กุมารเวชกรรม Fever with convulsions  6 กุมารเวชกรรม Fever with rash  7 สูติศาสตร์ First trimester bleeding  8 สูติศาสตร์ Antepartum hemorrhage  9 ศัลยกรรม Fever with chills with jaundice  10 ศัลยกรรม Progressive dysphagia with weight loss 
  38. 38. อาการวิทยาทีต้อง DDxได้ ● Acute/subacute/ chronic fever/FUO ● dyspnea ● Abdominal /flank pain ● hemoptysis ● Nausea/vomit ● Chest pain/angina ● diarrhea ● edema ● UGIH ● LGIH ● hematuria ● มีเลือดออก ● 1st TM bleeding ● Vaginal bleeding ● Antepartum hemorrhage ● Dizziness/vertigo ● headache ● Acute motor weakness ● Seizures/convulsions ● Alteration of consciousness ● palpitation ● dysphagia ● odynophagia ● jaundice ● ascites ● fainting/syncope ● constipation ● Weight loss ● Oliguria/anuria ● Polyuria ● incontinence ● anemia ● Malaise and fatigue ● Weight gain
  39. 39. โครงสร้างของข้อสอบ (Structures of MEQ) ● ข้อมูลเบืองต้นของผู้ป่วย (มักเป็นโรคทีพบได้บ่อย) อาจให้ Hx, PE, Lab ทีสําคัญทีเพียงพอสําหรับการตังสมมติฐาน ● การรวบรวมข้อมูลผู้ป่วยเพิมเติม (ซักประวัติ ตรวจร่างกาย) ● การระบุปัญหาและวินิจฉัยแยกโรค ● การวินิจฉัยโรค ● การดูแลรักษา กรณีฉุกเฉิน หรือ trauma อาจตังเป็ นคําถามหน้าแรก (ABCDE) ● การให้คําแนะนํา ● ถามความจํา เช่น กลไกการเกิดโรค ● ถามเกียวกับระบาดวิทยาคลินิก ● ถามเกียวกับจริยศาสตร ์ทางการแพทย์
  40. 40. 3. การส่งตรวจเพิมเติม ● จาก problem lists หรือ DDx ให้เรียงลําดับตามความเป็ นไปได้มากทีสุด ● ข้อมูลทีโจทย์ให้มา มักสําคัญเสมอ ดังนัน อ่านทุกคํา ทุกประโยค เลือกโรคทีตรงกับโจทย์และข้อมูลมากทีสุด ไม่ต้องกังวลว่าจะโดนหลอก ● ให้นํา illness script หรือ ข้อมูลทีใช้rule-in หรือ rule-out มาเป็นตัวตังต้นใน การ approach เพือคัดเลือกการตรวจทางห้องปฏิบัติการ ดังนี - Lab ทีใช ้ในการวินิจฉัย - Lab ทีใช ้จําแนกหรือประเภทของโรค - Lab ทีใช ้ในการแยกโรคหรือตัดโรคอืนออกไป - Lab ทีใช ้ในการประเมินความรุนแรง - Lab ของ co-disease ทีจําเป็นต้องส่งเมือวินิจฉัยโรค
  41. 41. 3. การส่งตรวจเพิมเติม ● Lab ทีใช ้ในการวินิจฉัย UTI = CBC, UA Pneumonia = CBC, CXR PA upright, gram stain, AFB ● Lab ทีใช ้จําแนกหรือประเภทของโรค Pleural effusion = wright’s criteria, serum and fluid LDH, serum and fluid protein Meningitis = CSF fluid analysis ● Lab ทีใช ้ในการแยกโรคหรือตัดโรคอืนออกไป DKA = serum ketone MI = troponin I ● Lab ทีใช ้ในการประเมินความรุนแรงของโรค Hepatic encephalopathy = ● Lab ของ co-disease ทีจําเป็นต้องส่งเมือวินิจฉัยโรคครังแรก HIV: TB, hepatitis B, C
  42. 42. 4. การวินิจฉัยโรค ● จาก problem lists หรือ DDx ให้เรียงลําดับตามความเป็ นไปได้มากทีสุด ● ข้อมูลทีโจทย์ให้มา มักสําคัญเสมอ ดังนัน อ่านทุกคํา ทุกประโยค เลือกโรคทีตรงกับโจทย์และข้อมูลมากทีสุด ไม่ต้องกังวลว่าจะโดนหลอก ● ตอนเขียนคําตอบ พยายามสะกดให้ถูกต้อง ถ้าไม่แน่ใจ เขียนภาษาไทยกํากับ ● อาจให้แปลผล lab ต่าง ๆ ได้ ● อาจให้เขียนบรรยาย peripheral blood smear ● อาจให้เขียนบรรยาย microbiology: gram, AFB ● อาจให้เขียนบรรยาย CXR, imaging ● ไม่เขียนตัวย่อโดยเด็ดขาด เช่น CHF ให้เขียน congestive heart failure ● ถ้าถามเหตุผล ให้นํา illness script หรือ ข้อมูลทีใช้rule-in หรือ rule-out มาตอบ ตามด้วยการตรวจร่างกาย และ ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
  43. 43. ตัวอย่าง ● ผู้ป่วยชายอายุ 40 ปี อาชีพช่างก่อสร ้าง มาด้วยมีไข้ ตําทุกคืน หายใจเหนือย 2 เดือน รู้สึกเหนือยมากขึน มักเป็นตอนทํางาน ช่วง 2 สัปดาห์ไอมีเสมหะไม่มี เลือดปน ไม่มี postnasal drip เบืออาหาร กินได้ น้อย อ่อนเพลีย นําหนักลดลง 5 กิโลกรัมใน 1 เดือน สูบบุหรี 20 pack-year กินยาลดไข้และยาปฏิชีวนะ กินเองไม่ดีขึน ● PE: 37.5 C, crepitation at both lungs ● CXR และ sputum AFB: ดังรูป ● จงบรรยายภาพรังสีทรวงอก ● จงวินิจฉัยโรคพร ้อมอธิบายเหตุผล
  44. 44. ตัวอย่าง การบรรยายภาพรังสีทรวงอก ● ให้บรรยาย positive findings ทีสําคัญก่อน ● แล้วค่อยบรรยายสิงอืน ตามลําดับทีเคยเรียนมา ● CXR PA upright: bilateral diffuse reticulonodular infiltration
  45. 45. ตัวอย่าง การอธิบายเหตุผลให้นํา illness script หรือ ข้อมูลทีใช้rule-in หรือ rule-out มาตอบ ตามด้วยการตรวจร่างกาย และผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ ● ผู้ป่วยรายนีวินิจฉัย Military tuberculosis เนืองจากประวัติมาด้วย มีไข้ตํา นําหนักลด 5 kg กินได้น้อย มีอาการหายใจหอบเหนือย ตรวจร่างกาย พบมีไข้ตํา 37.5 C และ crepitation at both lungs ส่งตรวจเพิมเติม sputum AFB พบ positive acid fast bacilli และ CXR PA upright มี bilateral diffuse reticulonodular infiltration ซึงยืนยันว่า ผู้ป่วยรายนีวินิจฉัยเป็น Military tuberculosis มากทีสุด
  46. 46. Tricks การระบุปญหาและ วินิจฉัยแยกโรค
  47. 47. Imaging review ควรฝึก review CXR, CT, imaging โรคทีพบบ่อย ตามเกณฑ์มาตรฐานของแพทยสภา เช่น ● Lung mass, lung malignancy ● Pneumonia, TB, PCP ● pleural effusion, pneumothorax, hemothorax ● PU perforation ● Congestive heart failure ● Partial/complete gut obstruction ● CT brain: Ischemic stroke, hemorrhagic stroke, subarachnoid hemorrhage
  48. 48. Criteria and lab interpretation review ควรฝึก review เกณฑ์ในการวินิจฉัยโรคจาก lab เช่น -CBC -Electrolyte -BUN/Cr -Urinalysis -Liver function test -Thyroid function test -Sputum gram stain -ECG -Arterial blood gas -Fasting blood glucose -Lipid profiles -Stool exam and parasite -Stool occult blood -KOH preparation -Pleural fluid analysis (Wright criteria) -CSF analysis -Synovial analysis -Ascites fluid analysis -Nephrotic syndrome -Acute pancreatitis -Cirrhosis (Child) -DKA vs HHS
  49. 49. 4. การดูแลรักษา Initial management: - การประเมินอาการเพือให้ได้วินิจฉัยรวดเร็ว (emergency/trauma) - การดูแลรักษาเบืองต้น เพือช่วยชีวิตหรือดูแลฉุกเฉิน - สารนํา, ยาบางชนิด - การส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการทีจําเป็นและสําคัญสําหรับวินิจฉัยและดูแล Acute STEMI: - 12 leads ECG with ECG monitoring (on defibrillator) - Observe chest pain, vital sign BP q 5-15 min - Oxygen saturation and monitoring - IV access: 0.9% NaCl IV 80 mL/hour - Aspirin 300 mg chew stat - Clopidogrel (75) 8 tab oral stat - Consult cardiologist/อายุรแพทย์ - Refer
  50. 50. 4. การดูแลรักษา Specific treatment - การดูแลรักษาเฉพาะทีจําเป็นต้องได้รับเมือวินิจฉัยผู้ป่วยรายนี - ยาทีใช้รักษาโรคนันๆ - Antibiotic - สารนํา - NPO, liquid, soft diet Supportive treatment - ยาอืน ๆ หรือการรักษาอืน ๆ เช่น การรักษาตามอาการ
  51. 51. Tricks การดูแลรักษา
  52. 52. การดูแลรักษา ● ทบทวนโรคต่าง ๆ ทีพบได้บ่อยตามระบบของแต่ละภาควิชา โดยค้นคว้าจากหนังสือที ทันสมัยหรือ guideline ของประเทศไทย ● ทําสรุปเป็นของตนเองเก็บไว้ เพือง่ายต่อการทบทวนและนํามาใช ้ในอนาคต ● ฝึกทบทวนกับเพือนหรือรุ่นพี เพือความชํานาญ ● ฝึกเขียนคําสังการรักษาทังแบบกระดาษ doctor order และการเขียนแบบปกติ ● อาจใช ้เทคนิค FARM: Food-activity-record-Medication ● ต้องจับประเด็นให้ได้ว่า โจทย์คําถามข้อนี ต้องการถามอะไร ● ฝึกทบทวนเขียนชือยา generic name ขนาดยา และวิธีการบริหารยาให้ถูกต้อง (และควรทบทวนข้อบ่งชี ข้อห้ามใช้กลไกการออกฤทธิของยาด้วย) ● ฝึกทบทวนเขียนชือสารนําและวิธีให้สารนําให้ถูกต้อง
  53. 53. เปลี่ยนเปนคนใหม ที่ดีกวาเดิม Virginia Satir
  54. 54. ‘If you want different results, do not do the same thing.’ Albert Einstein (1879-1955) Kendra Cherry, 2020
  55. 55. 3 Resilience 1 Self-efficacy& motivation 2 Discipline
  56. 56. 3. Resources for learning
  57. 57. 4. Common pitfalls
  58. 58. Common pitfalls Modified Essay Questions • มุงทําแตขอสอบเกา โดยไมไดฝกวิเคราะหโจทยและอานเพิ่มเติม • เนนอานเก็บรอบ แตไมไดเขาใจเนื้อหา • วางแผนไมดี ทุมสุดตัวชวงแรก ระยะหลังหมดไฟ ไมอยากอาน • เลือกอานเฉพาะสวนที่ตัวเองถนัดหรือชอบ แลวทิ้งสวนที่เหลือ • ใชเทคนิคตัดตัวเลือก โดยไมไดอิงกับโจทยคําถาม • สรางความกดดันใหตัวเองมากเกินไป ทําใหลนทั้งกอนและขณะสอบ
  59. 59. Common pitfalls Modified Essay Questions • ควรเขียนชื่อและรหัสนักศึกษา (หรือเลขประจําตัวประชาชน) เปนลําดับแรก • ควรเขียนชื่อคําศัพทใหถูกตอง หลีกเลี่ยงการเขียนตัวยอ ชื่อโรค ไมควรใชคํายอที่ไมเปนสากลหรือมีชื่อยออื่นที่ซ้ํากัน (อาจไมได คะแนน หรือไดคะแนนเพียงครึ่งเดียว) ชื่อสิ่งสงตรวจทางหองปฏิบัติการ
  60. 60. Common pitfalls Modified Essay Questions • CBC ควรเขียน CBC with platelet หรือ CBC with platelet with PBS • X-ray ควรระบุ ทาและตําแหนง Film CXR PA upright, Film both hands AP, • Elyte ควรเขียน electrolytes • BUN/Cr ควรเขียน BUN และ Creatinine ดวยกัน • Thyroid function test ควรระบุวาจะตรวจอะไร TSH, T3, T4, FT3, FT4 • ชื่อยาและการรักษา
  61. 61. Common pitfalls Modified Essay Questions • ควรเขียนตัวเต็ม เชน paracetamol ไมควรเขียน tradename หรือชื่อยอ เชน MFM (Metformin) • ควรเขียนคําสั่งการใชยา ขนาด และวิธีการบริหารใหถูกตอง เชน IV, IM, SC, Oral (PO), Nebulizer (ไมควรใช NB)
  62. 62. Common pitfalls Modified Essay Questions • เขียนนอยกวาที่ควรจะตอบ ใหกลับไปทบทวน DDx, หรือคําตอบที่เขียน อยูในบรรทัดเดียวและสามารถแตกออกเปนหลายรายการได • เขียนเกินกวาที่ควรจะตอบ ผูตรวจจะตรวจตามลําดับที่เขียน และตาม บรรทัดที่กําหนด กรณีเขียนเรียงกัน จะนับตามรายกายที่เขียน
  63. 63. Common pitfalls Modified Essay Questions • จงระบุการตรวจทางหองปฏิบัติการที่สําคัญ 3 อยาง • 1) CBC with PBS • 2) chest x-ray PA upright • 3) sputum gram stain • 1) CBC with PBS, chest x-ray PA upright, BUN/Cr, Electrolytes • 2) sputum gram stain • 3) ECG ได้คะแนน เฉพาะแถวแรก
  64. 64. CREDITS: This presentation template was created by Slidesgo, including icons by Flaticon, and infographics & images by Freepik Thanks! Chanon.nun@cpird.in.th Do you have any questions?

×