SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 11
Descargar para leer sin conexión
ศาสตรจารย์ ดร.วัลลถ สุระกําพลธร 27/08/2019
1
สํานักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ
National Science Technology and Innovation Policy Office 1
เทคโนโลยีดิจิทัลและอินเทอร์เน็ตสรรพสิง
กับ อุตสาหกรรม ๔.๐
โดย ศ.ดร.วัลลภ สุระกําพลธร
ภาคีสมาชิก สํานักวิทยาศาสตร์
การประชุมราชบัณฑิตยสภา
วันพุธที ๒๘ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๒
Dr. Wolfgang Baltus, Industrial 4.0 – The future Revolution of Productivity and Competitiveness?, FTPI 20 th Anniversary
Production Conference, 2015
Prof. Dr. Wanlop Surakampontorn
ศาสตราจารย์ ดร.วัลลภ สุระกําพลธร ภาคีสมาชิก ราชบัณฑิต
อาจารย์พิเศษ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล ้าเจ ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.)
อดีต รองอธิการบดีฝ่ ายวิชาการและวิจัย สจล.
อดีต ผู้อํานวยการสถาบันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีชันสูง สวทน.
ประวัติการศึกษา
• วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (ไฟฟ้าสือสาร) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล ้าเจ ้าคุณทหารลาดกระบัง
• วิศวกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต (ไฟฟ้าสือสาร) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล ้าเจ ้าคุณทหารลาดกระบัง
• Ph.D. in Electronics University of Kent at Canterbury, England.
ศาสตรจารย์ ดร.วัลลถ สุระกําพลธร 27/08/2019
2
อินเทอร์เน็ตสรรพสิงและ
อุตสาหกรรม ๔.๐
Internet of Thing
and Industrie 4.0
อินเทอร์เน็ตกับการปฏิวัติอุตสาหกรรม
หน่วยความจําคลาวด์ และ ข ้อมูลขนาดใหญ่
Cloud Storage and Big Data
Prof. Dr. Wanlop Surakampontorn
ศาสตรจารย์ ดร.วัลลถ สุระกําพลธร 27/08/2019
3
ยุคของอินเทอร์เน็ตของสรรพสิง
นับตังแต่ปี ค.ศ. ๒๐๑๒ ถือได ้ว่าเราได ้เข ้าสู่
ยุค IoT แล ้ว เนืองจากจํานวนอุปกรณ์ทีเชือมต่อ
กันทางอินเทอร์เน็ตมีมากกว่าจํานวนประชากรของ
โลก การขยายจํานวนอุปกรณ์ทีสามารถเชือมต่อ
กับอินเทอร์เน็ตยังมีมากขึนทุกปี คาดว่าจะมีจํานวน
มากถึง ๕๐,๐๐๐ ล ้านอุปกรณ์ภายในปี ๒๐๒๐
แต่อย่างไรก็ตามปัจจุบันถือว่ายังอยู่ในยุค
เริมต ้นของ IoT เท่านัน ยังมีความท ้าทายและ
ปัญหาให ้ต ้องพัฒนาต่อไปอีกมาก
Dr. Wolfgang Baltus, Industrial 4.0 – The future Revolution of Productivity and Competitiveness?, FTPI 20 th Anniversary
Production Conference, 2015
Prof. Dr. Wanlop Surakampontorn
นิยามของอินเทอร์เน็ตของสรรพสิง
อินเทอร์เน็ตสรรพสิง
เป็นเทคโนโลยีทีทําให ้
บุคคล อุปกรณ์และ
สิงของ สามารถ
เชือมโยงสือสารกันได ้
ใน ทุกเวลา ทุกสถานที
กับ ทุกสิง ทุกอุปกรณ์
และทุกบุคคล โดยผ่าน
โครงข่ายและการ
บริการ
ระบบนิเวศน์
ของ
อินเทอร์เน็ต
สรรพสิง
The Internet of Things: making the most of the
Second Digital Revolution, A report by the UK
Government Chief Scientific Adviser.
Dr. Wolfgang Baltus, Industrial 4.0 – The future Revolution of Productivity and Competitiveness?, FTPI 20 th Anniversary
Production Conference, 2015
Prof. Dr. Wanlop Surakampontorn
ศาสตรจารย์ ดร.วัลลถ สุระกําพลธร 27/08/2019
4
สํานักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ
National Science Technology and Innovation Policy Office 7
ผลจากการพัฒนาของอินเทอร์เน็ตสรรพสิง
ผลของเทคโนโลยี อินเทอร์เน็ตสรรพสิง อาจทําให ้
ในอนาคตมี การพัฒนาเปลียนแปลงใน ๓ ด ้าน
 ด ้านสังคม เช่น การติดต่อสือสาร เทคโนโลยีด ้าน
การแพทย์ การดูแลสุขภาพ บ ้านสมาร์ต สํานักงาน
สมาร์ต หรือ สือและการบันเทิง
 ด ้านสิงแวดล ้อม เช่น การเฝ้าระวังรักษาสิงแวดล ้อม
การเกษตร ปศุสัตว์ การใช ้พลังงานหมุนเวียน
 ด ้านอุตสาหกรรม เช่น ด ้านการจัดการห่วงโซ่อุปทาน
ด ้านการขนส่ง ด ้านการบินและอวกาศ หรือ ด ้านยาน
ยนต์ เป็นต ้น
Dr. Wolfgang Baltus, Industrial 4.0 – The future Revolution of Productivity and Competitiveness?, FTPI 20 th Anniversary
Production Conference, 2015
Prof. Dr. Wanlop Surakampontorn
สํานักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ
National Science Technology and Innovation Policy Office 8
การเฝ้าสังเกตและควบคุม ยาน
ยนต์ สินทรัพย์ บุคคล สัตว์
และสิงของ
โทรศัพท์เคลือนที
และอุปกรณ์ฝังตัว
M2M และ โครงข่าย
ตัวรับรู้ไร ้สาย บ ้านและเมืองสมาร์ต
โทรเวชกรรมและการดูแล
สุขภาพ
อุปกรณ์และสรรพสิง
การจัดการ
การใช ้พลังงาน
เกษตรกรรมอัตโนมัติ ระบบรักษาความปลอดภัย
และการสอดส่อง การบริหารจัดการอาคาร
คาดหมายกันว่า “อินเทอร์เน็ตสรรพสิงจะเป็ นตัวขับเคลือนสําคัญของ
อุตสาหกรรมในยุคต่อไป และมีผลให้การปฏิสัมพันธ์กับโลกทางกายภาพของ
ภาคธุรกิจ ภาครัฐ และผู้บริโภค เปลียนแปลงไป”
คลาวด์ และ
ข้อมูลขนาดใหญ่
ฟฟ
ฟฟ
ฟฟ
Prof. Dr. Wanlop Surakampontorn
ศาสตรจารย์ ดร.วัลลถ สุระกําพลธร 27/08/2019
5
DegreeofComplexity
Industry 1.0
(๘๐ปี)
Industry 2.0
(๙๙ปี)
ปี ค.ศ.
Industry 3.0
(๔๔ปี)
010001101
001010100
100101010
010010101
๒๐๑๓
อุตสาหกรรมยุคที ๑
ยุคการผลิตด้วย
เครืองจักรไอนํา
เครืองจักรการผลิตแบบ
ง่ายมีกลไกไม่ซับซ ้อน
ขับเคลือนด ้วยพลังนํา
และพลังไอนํา แทน
แรงงานคนและสัตว์
อุตสาหกรรมยุคที ๒
ยุคการผลิตด้วย
เครืองจักรไฟฟ้ า
มี จักรกลไฟฟ้า ขับเคลือน
เป็น Labor intensive และ
Mass production
มีสายพานลําเลียง จัด
สายพานการผลิตทีสมดุล
และประหยัด
อุตสาหกรรมยุคที ๓
ยุคการผลิตด้วย
ระบบอัตโนมัติ
เครืองจักรควบคุมการ
ผลิตโดยคอมพิวเตอร์
และระบบอัตโนมัติ
(Robotic and
Automation)
อุตสาหกรรมยุคที ๔
ยุคอินเทอร์เน็ต
อุตสาหกรรม
กระบวนการผลิตสินค ้าผ่าน
อินเทอร์เน็ตและเทคโนโล
ยีดิจิทัล (Cyber-Physical
Systems)
๑๙๖๙
เริมใช ้programmable Logic
controller ในอุตสาหกรรม
จากอุตสาหกรรมยุคที ๑ สู่อุตสาหกรรมยุคที ๔
นโยบายอุตสาหกรรมแห่งชาติเยอรมัน
เป็น industry 4.0 ภายใน ๒๐ ปี
เริมสร ้างเครืองจักรไอนํา
๑๘๗๐๑๗๘๔
เริมสายพานลําเลียงในโรงงาน
แปรรูปเนือสัตว์ในเมืองซินซินเนติ
มลรัฐโอไฮโอ
Industry 4.0
(๖+)
I-1
I-2
I-3
I-4
Prof. Dr. Wanlop Surakampontorn
อุตสาหกรรม ๔.๐
• คําว่า Industrie 4.0 ถูกกล่าวถึงครังแรกในปี ค.ศ. ๒๐๑๑ ที Hannover Messe
trade fair ประเทศเยอรมัน
• นโยบายอุตสาหกรรมแห่งชาติของเยอรมันปี ค.ศ. ๒๐๑๓ ทีประกาศว่าโลกจะเข ้าสู
การปฏิวัติอุตสาหกรรมครังที ๔ ใน ๒๐ ข ้างหน้า
• เป็นการนํา เทคโนโลยีดิจิทัล และ อินเทอร์เน็ต มาใช ้ในกระบวนการผลิตสินค ้า และ
เชือมโยงความต ้องการของผู้บริโภคแต่ละรายเข ้ากับกระบวนการผลิตสินค ้า
• Smart factory และ Industrial Internet of Things (IIoT) เป็นพืนฐานสําคัญของ
Industry 4.0
• เป็น smart and intelligence factory เป็นการเชือม เครืองจักรเข ้ากับเครืองจักร
เชือมเข ้ากับคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์สือสาร เชือมกับอุปกรณ์ รถยนต์ โทรทัศน์
และสามารถคุยกันเองโดยไม่ต ้องมีมนุษย์มาออกคําสัง
• องค์ประกอบทีสําคัญยังมี Big data เป็นฐานข ้อมูลทีเกียวข ้องทังต ้นนําถึงปลายนํา
ซึงข ้อมูลจะถูกบริหารจัดการด ้วย cloud technology ทีทําให ้สามารถใช ้ร่วมกันทัว
โลกได ้
• เป็นเทคโนโลยีที โลกการผลิตจริง (real sector) ถูกบูรณาการเชือมเข ้ากับ โลก
เสมือน (cyber space) ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตทังมีสายและไร ้สาย และ ได ้ชือว่า
Cyber-Physical System หรือ Internet of Things + Internet of Service
• สามารถผลิตสินค ้าหลากหลายรูปแบบแตกต่างกัน ตามความต ้องการเฉพาะของ
ผู้บริโภคแต่ละราย ด ้วยกระบวนการผลิตทีประหยัดและมีประสิทธิภาพสูง
Dr. Wolfgang Baltus, Industrial 4.0 – The future Revolution of Productivity and Competitiveness?, FTPI 20 th Anniversary
Production Conference, 2015
Prof. Dr. Wanlop Surakampontorn
ศาสตรจารย์ ดร.วัลลถ สุระกําพลธร 27/08/2019
6
ระบบนิเวศน์ของ อุตสาหกรรม ๔.๐
เครืองปลาย
ทางระยะไกล
โครงข่ายอินเทอร์เน็ต
วิเคราะห์
คําสัง/RFI
เกตเวย์
หน่วยความจําเก็บข้อมูล
Big data & Cloud
Storage
โรงงานสมาร์ต
John Greenough and Jonathan Camhi, “How the Internet of Things will affect the world”, Business Insider, Jan, 4, 2016.
Prof. Dr. Wanlop Surakampontorn
อุตสาหกรรม ๓.๐ กับ อุตสาหกรรม ๔.๐
อุตสาหกรรม ๓.๐ อุตสาหกรรม ๔.๐
๑
เป็นการใช ้เครืองจักรอัตโนมัติ หรือ หุ่นยนต์ในการ
ผลิต แทนแรงงาน คน เพือเพิมประสิทฺธิภาพการ
ผลิตให ้สูงขึน มีการนําระบบอิเล็กทรอนิกส์ มาใช ้
ในกระบวนการผลิต
เป็นการนํา เทคโนโลยีดิจิทัล และ อินเทอร์เน็ต มาใช ้
ในกระบวนการผลิตสินค ้า และเชือมโยงความต ้องการ
ของผู ้บริโภคแต่ละรายเข ้ากับกระบวนการผลิตสินค ้า
๒
เน้น ผลิตแบบ mass production สามารถผลิต
สินค ้าแบบเดียวกันเหมือนกันหมด จํานวนมากใน
เวลาทีรวดเร็ว
สามารถผลิตสินค ้าหลากหลายรูปแบบแตกต่างกัน ตาม
ความต ้องการเฉพาะของผู ้บริโภคแต่ละราย ด ้วย
กระบวนการผลิตทีประหยัดและมีประสิทธิภาพสูง
๓
อุปกรณ์เครืองจักรสามารถควบคุมและสังการผ่าน
วงจรอิเล็กทรอนิกส์มีเซ็นเซอร์และอุปกรณ์
ตรวจจับมากมายในหลายส่วน และสามารถผนวก
กับการใช ้คอมพิวเตอร์มาควบคุมเครืองจักร
สามารถโปรแกรมให ้ผลิตในหลายรูปแบบอย่าง
อัตโนมัติ (automation หรือ programmable
logic control) คนงานยกระดับความสามารถเป็น
คนควบคุมเครืองจักรการผลิต
เป็น smart and intelligence factory เป็นการเชือม
เครืองจักรเข ้ากับเครืองจักร เชือมเข ้ากับคอมพิวเตอร์
และอุปกรณ์สือสาร เชือมกับอุปกรณ์ รถยนต์ โทรทัศน์
และสามารถคุยกันเองโดยไม่ต ้องมีมนุษย์มาออกคําสัง
๔
ระบบทังหมดยังต ้องได ้รับการบริหารจัดการจาก
หน่วยควบคุมกลาง เราเรียกว่า ระบบรวมศูนย์ หรือ
centralization
เป็นการทําให ้กระบวนในการจัดการด ้านการผลิต
ผลิตภัณฑ์มีความรวดเร็วขึน โดยการทําเป็น โมดูล
และ ลดความซับซ ้อน
Dr. Wolfgang Baltus, Industrial 4.0 – The future Revolution of Productivity and Competitiveness?, FTPI 20 th Anniversary
Production Conference, 2015
Prof. Dr. Wanlop Surakampontorn
ศาสตรจารย์ ดร.วัลลถ สุระกําพลธร 27/08/2019
7
สํานักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ
National Science Technology and Innovation Policy Office 13
เทคโนโลยีทีสําคัญในอุตสาหกรรม ๔.๐
อุตสาหกรรม ๔.๐ ประกอบด ้วย เทคโนโลยีทีสําคัญ เช่น
๑. เทคโนโลยีทางข ้อมูลและการสือสาร (ICT) เพือประยุกต์ใช ้ใน
กระบวนการเชือมโยงและสือสารกันของข ้อมูลทางดิจิทัล ตลอดห่วง
โซ่อุปทาน จากด ้านวิศวกรรม ไปถึง การบริการหลังการขาย
๒. ระบบ Cyber-Physical Systems (CPS) ทีใช ้ ICT ในการตรวจสังเกต
กระบวนการและระบบการผลิต ซึงอาจต ้องใช ้อุปกรณ์สมาร์ต เช่น
sensor robot หรือ เครืองพิมพ์สามมิติ
๓. เทคโนโลยีในการสือสาร ระบบอินเทอร์เน็ตมีสายหรือไร ้สาย การ
สือสารกันระหว่างอุปกรณ์ คน เครืองมือ suppliers หรือ distributers
๔. เทคโนโลยีการจําลองสถานการณ์ (simulation) เช่น Digital twin
๕. เทคโนโลยี Big data และ Cloud computing เพือการวิเคราะห์
สังเคราะห์ ข ้อมูลจํานวนมหาศาล
๖. เทคโนโลยีทีสนับสนุนด ้านการปฏิบัติการ เช่น หุ่นยนต์ หรือ เครืองมือ
สมาร์ต
Dr. Wolfgang Baltus, Industrial 4.0 – The future Revolution of Productivity and Competitiveness?, FTPI 20 th Anniversary
Production Conference, 2015
Prof. Dr. Wanlop Surakampontorn
Cyber-Physical Systems (CPS)
Cyber-Physical Systems
(CPS) คือ ระบบทางกายภาพ
และทางวิศวกรรม (Physical)
ทีการทํางาน, การตรวจสอบ
สังเกตการณ์,การร่วมกัน
ดําเนินการ, การควบคุมสังการ
, และการบูรณาการกัน ของ
ส่วนต่างๆในระบบ มีแกนกลาง
ร่วมดําเนินการ โดยผ่านระบบ
ดิจิทัล หรือ ระบบไซเบอร์
(Cyber) ซึงเป็นกระบวนการ
คํานวณ (computing) และ
การเชือมโยงสือสารกันเป็น
โครงข่าย (networking) ของ
ข ้อมูล
ศาสตรจารย์ ดร.วัลลถ สุระกําพลธร 27/08/2019
8
เทคโนโลยีทางอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตสรรพสิง (Internet of Things (IoT))
• การสือสารกันของอุปกรณ์โดยใช ้เทคโนโลยีของอินเทอร์เน็ต
• การระบุเอกลักษณ์และการสืบค ้นโดยใช ้IPv6-address (120 bit address)
• การตรวจหา การระบุเอกลักษณ์ และ การระบุตําแหน่ง ของอุปกรณ์ทางกายภาพ
• การสือสารกันโดยผ่านเครือข่าย
 ต ้องจัดให ้อุปกรณ์ทางกายภาพทุกอุปกรณ์มี IPv6-address
อินเทอร์เน็ตการบริการ (Internet of Services (IoS))
• วิธีการแบบใหม่ของการบริการผ่านอินเทอร์เน็ต (internet based service)
• แนวคิดการให ้บริการโดยเฉพาะ การบริการตามคําขอ (service on demand)
การจัดการความรู ้(knowledge provision) และการบริการเพือควบคุมพฤติกรรม
ของผลิตภัณฑ์ (product behavior)
• การปฏิสัมพันธ์ระหว่าง คน เครืองมือ และ ระบบ เพือปรับปรุงมูลค่าเพิม
 กระบวนการบริการเพือเพิมมูลค่าเพิม
อินเทอร์เน็ตของข ้อมูล (Internet of Data (IoD))
• ข ้อมูลบริหารจัดการและใช ้ร่วมกันด ้วยเทคโนโลยีของอินเทอร์เน็ต
• ระบบทางกายภาพของไซเบอร์ทีก่อให ้เกิดข ้อมูลจํานานมาก (big data)
• หลักพืนฐานทีต ้องดําเนินการก่อน : การพัฒนาองค์รวมของการป้องกันภัยและ
ความปลอดภัย เช่น ทําให ้มีสภาพแวดล ้อมแบบทีเชือถือได ้อย่างยังยืน
 การบริหารจัดการข ้อมูลจํานวนมาก การบูรณาการผลิตภัณฑ์
และข ้อมูลของผลิตภัณฑ์
Prof. R. Anderl, Technical University of Darmstadt
Prof. Dr. Wanlop Surakampontorn
Smart Factory, Internet of Things
และ Internet of Services
ที่มา: Kagermann et al. (2013) 
กระบวนการผลิตใน
Industry ๔.๐ จะมี Smart
factory เป็นองค์ประกอบ
สําคัญ โดยมีการประยุกต์นําเอา
Internet of Things และ
Internet of Services เข ้ามี
ส่วนร่วม ในกระบวนการผลิต
คน เครืองมือ และอุปกรณ์
สนับสนุน จะติดต่อ สือสารกับ
Smart factory เสมือนเป็น
เครือข่ายทางสังคมกัน
Smart Factory ต่อประสาน
(interface) กับ Smart logistic
และ Smart Grids เพือเป็น
โครงสร ้างพืนฐานแบบสมาร์ต
ของระบบใหญ่ต่อไป
อินเทอร์เน็ตการบริการ
อินเทอร์เน็ตสรรพสิง
อินเทอร์เน็ตของข้อมูล
Dr. Wolfgang Baltus, Industrial 4.0 – The future Revolution of Productivity and Competitiveness?, FTPI 20 th Anniversary
Production Conference, 2015
Prof. Dr. Wanlop Surakampontorn
ศาสตรจารย์ ดร.วัลลถ สุระกําพลธร 27/08/2019
9
การเตรียมความพร ้อม
เพือรองรับ
อุตสาหกรรม ๔.๐
อินเทอร์เน็ตกับการปฏิวัติอุตสาหกรรม
Prof. Dr. Wanlop Surakampontorn
เป้าหมายสําคัญของ อุตสาหกรรม ๔.๐
• เป็นยุทธศาสตร์ด ้าน เทคโนโลยีฐานความรู้ชันสูง ทีต ้องการรักษา
และคงสถานภาพความเป็นผู้นําโลกด ้านอุตสาหกรรม
• เป็นการเสริมสร ้างความสามารถการแข่งขัน และเป็นการรักษา
อุตสาหกรรมให ้อยู่ในประเทศ
• เป็นการเพิมประสิทธิภาพและความสามารถด ้านการผลิต ให ้มีความ
คล่องตัวด ้านการผลิตและการบริการ โดยความยืดหยุ่น (flexibility)
และ นวัตกรรม (Innovation) เป็นสะพานสู่ความสําเร็จ
• เป็นการตอบสนองต่อการเปลียนแปลงของสภาวะแวดล ้อมอย่างรอบ
ด ้าน (ค่าแรงงาน วงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ การมุ่งเน้นตัวลูกค ้า
ผลิตภัณฑ์ทีเป็นความต ้องการเฉพาะ และคุณภาพของผลิตภัณฑ์)
• เป็นการทําให ้กระบวนในการจัดการด ้านการผลิตผลิตภัณฑ์มีความ
รวดเร็วขึน โดยการทําเป็น โมดูล และ ลดความซับซ ้อน
• เป็นการเตรียมความพร ้อมของบุคลากรในอนาคตทีต ้องการความ
เชียวชาญเฉพาะทาง
Dr. Wolfgang Baaltus – Advisor PSL, Precise Corporation, FTPI 20th Anniversary Productivity Conference,
September, 2nd 2015.
Prof. Dr. Wanlop Surakampontorn
ศาสตรจารย์ ดร.วัลลถ สุระกําพลธร 27/08/2019
10
แผนพัฒนาอุตสาหกรรมของหลายประเทศ
• เยอรมันมี Industrie 4.0 ใช ้งบประมาณ E200m ลงทุนในงานวิจัยทังในภาค
รัฐ ภาควิชาการ และภาคธุรกิจ รวมถึงบริษัท Deutsche Telekom, SAP และ
Siemens ต ้องการเป็นผู้นําด ้าน cyber-physical systems ในปี ค.ศ. 2020
• อเมริกา มี Industrial Internet of Things (IIoT) Project โดยร่วมกับ AT&T,
General Electric และ Intel
• จีนมีโครงการ Made in China 2025 และ Internet Plus คล ้ายของเยอรมัน
• ไต ้หวันมีโครงการ Productivity 4.0
• อินเดียมีโครงการ Industrial 4.0 “Made in India”
• ญีปุ่ นมีโครงการ IVI – The Industrial Value Chain Initiative โดยเป็นการ
สร ้างให ้เกิดมาตรฐานนานาชาติในการเชือมโยง/ความปลอดภัยของโรงงาน
การผลิตจากญีปุ่ น โดยเฉพาะโรงงานขนาดเล็กและขนาดกลาง
• เกาหลีมี Manufacturing Innovation 3.0
• ประเทศไทยมี การประกาศนโยบาย Digital Economy ทีเน้นพัฒนาโครงสร ้าง
พืนฐานดิจิทัล การส่งเสริม E-Commerce, E-Document และ E-Learning จะ
เป็นการรองรับ อุตสาหกรรม 4.0 หรือ ประเทศไทย 4.0 ได ้แต่ยังไม่มีความ
ชัดเจนเกียวกับ ด ้านอุตสาหกรรม 4.0
Dr. Wolfgang Baltus, Industrial 4.0 – The future Revolution of Productivity and Competitiveness?, FTPI 20 th Anniversary
Production Conference, 2015
Prof. Dr. Wanlop Surakampontorn
ผลกระทบทีจะมีต่ออุตสาหกรรมไทย
• ความสามารถของการแข่งขันของประเทศไทย โดยเฉพาะความ
ต ้องการทีจะเป็นศูนย์กลางการผลิต (Production hup) ในหลาย
อุตสาหกรรม
• อุตสาหกรรมใหญ่อาจเลือนไหลกลับไปสู่ประเทศพัฒนาแล ้ว
• การลงทุนของต่างชาติในประเทศไทยด ้านอุตสาหกรรมอาจลดลง
• อุตสาหกรรม ๔.๐ ต ้องบุคลากรทีมีการความเชียวชาญเฉพาะทาง
นันหมายถึง ถ ้าไม่เตรียมความพร ้อม การว่างงานจะมีมากขึน
• มีผลกระทบด ้านระบบทางสังคม เพราะวิถีและปรัชญาการทํางาน
อาจเปลียนไป
• มีความจําเป็นต ้องปรับปรุงระบบการศึกษา โดยเฉพาะ
อาชีวศึกษา และ ระบบการฝึกอบรม
• ประเทศไทยต ้องปรับตัวและเตรียมความพร ้อมทีจะรองรับ
• ประเทศไทยควรวางแผนทีจะใช ้ประโยชน์ของ อุตสาหกรรม ๔.๐
ในอุตสาหกรรมทีเราได ้เปรียบ เช่น อุตสาหกรรมการเกษตร
อุตสาหกรรมการท่องเทียว อุตสาหกรรมด ้านอาหาร ฯลฯ
Prof. Dr. Wanlop Surakampontorn
ศาสตรจารย์ ดร.วัลลถ สุระกําพลธร 27/08/2019
11
ประเทศไทยควรมีส่วนร่วมอย่างไร?
๑. ไทยมีความเข ้มแข็งด ้านชินส่วนอุปกรณ์ เช่น ชินส่วนรถยนต์
เครืองทําความเย็น การหลอมกลึงขึนรูป อิเล็กทรอนิกส์ เคมี IT
HDD เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ สารสนเทศ จะเตรียมความพร ้อม
ไปกับการพัฒนาอุตสาหกรรมยุค ๔.๐ นีได ้อย่างไร?
๒. ประเทศไทยควรวางแผนทีจะใช ้ประโยชน์และพัฒนาจาก
อุตสาหกรรมทีเรามีความเข ้มแข็ง เช่น อุตสาหกรรมการเกษตร
เทคโนโลยีการเกษตร เครืองจักรกลการเกษตร หรือ การ
สร ้างสรรค์นวัตกรรมในภาคการผลิตและบริการ?
๓. ควรมีการวิจัยพัฒนาและนวัตกรรม ทีมหาวิทยาลัยทํางาน
ร่วมกับภาคอุตสาหกรรมอย่างใกล ้ชิด เพือสร ้างสรรค์
กระบวนการผลิตสินค ้าทีใช ้ประโยชน์ของ IoT และ
อินเทอร์เน็ต และตรงกับความต ้องการของตลาดโลกได ้
Dr. Wolfgang Baltus, Industrial 4.0 – The future Revolution of Productivity and Competitiveness?, FTPI 20 th Anniversary
Production Conference, 2015
Prof. Dr. Wanlop Surakampontorn
การเตรียมความพร ้อมทีจะรองรับอุตสาหกรรม ๔.๐
๔. พัฒนาเครืองมือเครืองจักรให ้เป็น smart devices ทีสามารถ
ประกอบกันขึนเป็น smart factory ทีสามารถควบคุมและสังการ
โดยวิธีทางดิจิทัลได ้
๕. จัดทําข ้อมูลและทําความชัดเจน ของกระบวนการการเชือมโยง
และสือสารกันของข ้อมูลทางดิจิทัล ตลอดห่วงโซ่อุปทาน จาก
ด ้านวิศวกรรม ไปถึง การบริการหลังการขาย
๖. ทําการบูรณาการเข ้าด ้วยกันของเทคโนโลยี Internet of things
และ เทคโนโลยี Big data และ Cloud
๗. พัฒนาให ้มีต ้นแบบของ โรงงานสมาร์ต (smart factory) เพือ
เป็นจุดร่วมทีแสดงให ้เห็นถึง เค ้าโครงหลักการพืนฐานทีสําคัญ
ของ อุตสาหกรรม ๔.๐ เช่นการบริหารจัดการในร ้านหรือโรงงาน
ขนาดเล็ก
Dr. Wolfgang Baltus, Industrial 4.0 – The future Revolution of Productivity and Competitiveness?, FTPI 20 th Anniversary
Production Conference, 2015
Prof. Dr. Wanlop Surakampontorn

Más contenido relacionado

Similar a 190828 royal council (8) wanlop

พลวัตและการจัดการเกษตรไทยในยุคเศรษฐกิจสร้างสรรค์ 26 01-58 (1)
พลวัตและการจัดการเกษตรไทยในยุคเศรษฐกิจสร้างสรรค์ 26 01-58 (1)พลวัตและการจัดการเกษตรไทยในยุคเศรษฐกิจสร้างสรรค์ 26 01-58 (1)
พลวัตและการจัดการเกษตรไทยในยุคเศรษฐกิจสร้างสรรค์ 26 01-58 (1)somporn Isvilanonda
 
พลวัตและการจัดการเกษตรไทยในยุคเศรษฐกิจสร้างสรรค์ 26 01-58 (1)
พลวัตและการจัดการเกษตรไทยในยุคเศรษฐกิจสร้างสรรค์ 26 01-58 (1)พลวัตและการจัดการเกษตรไทยในยุคเศรษฐกิจสร้างสรรค์ 26 01-58 (1)
พลวัตและการจัดการเกษตรไทยในยุคเศรษฐกิจสร้างสรรค์ 26 01-58 (1)Somporn Isvilanonda
 
Digital transformation พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Digital transformation พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ Digital transformation พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Digital transformation พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ Settapong Malisuwan
 
New Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesNew Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesBoonlert Aroonpiboon
 
Thai-Japan : Management of Technology
Thai-Japan : Management of TechnologyThai-Japan : Management of Technology
Thai-Japan : Management of Technologypantapong
 
Disruptive technology for agriculture v2
Disruptive technology for agriculture v2Disruptive technology for agriculture v2
Disruptive technology for agriculture v2Pisuth paiboonrat
 

Similar a 190828 royal council (8) wanlop (20)

NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2563
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
 
พลวัตและการจัดการเกษตรไทยในยุคเศรษฐกิจสร้างสรรค์ 26 01-58 (1)
พลวัตและการจัดการเกษตรไทยในยุคเศรษฐกิจสร้างสรรค์ 26 01-58 (1)พลวัตและการจัดการเกษตรไทยในยุคเศรษฐกิจสร้างสรรค์ 26 01-58 (1)
พลวัตและการจัดการเกษตรไทยในยุคเศรษฐกิจสร้างสรรค์ 26 01-58 (1)
 
พลวัตและการจัดการเกษตรไทยในยุคเศรษฐกิจสร้างสรรค์ 26 01-58 (1)
พลวัตและการจัดการเกษตรไทยในยุคเศรษฐกิจสร้างสรรค์ 26 01-58 (1)พลวัตและการจัดการเกษตรไทยในยุคเศรษฐกิจสร้างสรรค์ 26 01-58 (1)
พลวัตและการจัดการเกษตรไทยในยุคเศรษฐกิจสร้างสรรค์ 26 01-58 (1)
 
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2558
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2558NSTDA Newsletter ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2558
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2558
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2563
 
วปอ Science tech 3
วปอ Science tech 3วปอ Science tech 3
วปอ Science tech 3
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2562NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2562
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2563
 
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 16 ประจำเดือนกรกฎาคม 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 16 ประจำเดือนกรกฎาคม 2559NSTDA Newsletter ฉบับที่ 16 ประจำเดือนกรกฎาคม 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 16 ประจำเดือนกรกฎาคม 2559
 
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2559NSTDA Newsletter ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2559
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2561
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2561NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2561
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2561
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565
 
Digital transformation พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Digital transformation พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ Digital transformation พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Digital transformation พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
 
Lesson1
Lesson1Lesson1
Lesson1
 
New Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesNew Technology for Information Services
New Technology for Information Services
 
CPMO e-NEWS 12-2552
CPMO e-NEWS 12-2552CPMO e-NEWS 12-2552
CPMO e-NEWS 12-2552
 
Thai-Japan : Management of Technology
Thai-Japan : Management of TechnologyThai-Japan : Management of Technology
Thai-Japan : Management of Technology
 
Disruptive technology for agriculture v2
Disruptive technology for agriculture v2Disruptive technology for agriculture v2
Disruptive technology for agriculture v2
 

Más de worsak kanok-nukulchai

161012 AIT President Presentation at President Forum in Xian
161012 AIT President Presentation at President Forum in Xian161012 AIT President Presentation at President Forum in Xian
161012 AIT President Presentation at President Forum in Xianworsak kanok-nukulchai
 
Thailand 4.0 Value-Based Economy by Dr Suvit Maesincee
Thailand 4.0 Value-Based Economy by Dr Suvit MaesinceeThailand 4.0 Value-Based Economy by Dr Suvit Maesincee
Thailand 4.0 Value-Based Economy by Dr Suvit Maesinceeworsak kanok-nukulchai
 
Education for Global Citizenship: A Sustainable Solution for Mankind.
Education for Global Citizenship: A Sustainable Solution for Mankind.Education for Global Citizenship: A Sustainable Solution for Mankind.
Education for Global Citizenship: A Sustainable Solution for Mankind.worsak kanok-nukulchai
 

Más de worsak kanok-nukulchai (20)

Digital Transformation
Digital TransformationDigital Transformation
Digital Transformation
 
The ait stories @ ait 60
The ait stories @ ait 60The ait stories @ ait 60
The ait stories @ ait 60
 
190828 royal council (7) kanchit
190828 royal council (7) kanchit190828 royal council (7) kanchit
190828 royal council (7) kanchit
 
190828 royal council (6) passakorn
190828 royal council (6) passakorn190828 royal council (6) passakorn
190828 royal council (6) passakorn
 
190828 royal council (5) sirirerk
190828 royal council (5) sirirerk190828 royal council (5) sirirerk
190828 royal council (5) sirirerk
 
190828 royal council (4) chidchanok
190828 royal council (4) chidchanok190828 royal council (4) chidchanok
190828 royal council (4) chidchanok
 
190828 royal council (2) worsak
190828 royal council (2) worsak190828 royal council (2) worsak
190828 royal council (2) worsak
 
190828 royal council (1) pichet
190828 royal council (1) pichet190828 royal council (1) pichet
190828 royal council (1) pichet
 
190828 royal council (3) kanchana
190828 royal council (3) kanchana190828 royal council (3) kanchana
190828 royal council (3) kanchana
 
181117 education shift e
181117 education shift e181117 education shift e
181117 education shift e
 
AIT and the Disruptive World
AIT and the Disruptive WorldAIT and the Disruptive World
AIT and the Disruptive World
 
AIT As I Know.
AIT As I Know.AIT As I Know.
AIT As I Know.
 
161107 New Paradigm at AIT
161107 New Paradigm at AIT161107 New Paradigm at AIT
161107 New Paradigm at AIT
 
AIT Develops Global Citizens
AIT Develops Global CitizensAIT Develops Global Citizens
AIT Develops Global Citizens
 
161012 AIT President Presentation at President Forum in Xian
161012 AIT President Presentation at President Forum in Xian161012 AIT President Presentation at President Forum in Xian
161012 AIT President Presentation at President Forum in Xian
 
Thailand 4.0 Value-Based Economy by Dr Suvit Maesincee
Thailand 4.0 Value-Based Economy by Dr Suvit MaesinceeThailand 4.0 Value-Based Economy by Dr Suvit Maesincee
Thailand 4.0 Value-Based Economy by Dr Suvit Maesincee
 
BE PETROTHAI 2016 world ecomnomic
BE PETROTHAI 2016 world ecomnomic BE PETROTHAI 2016 world ecomnomic
BE PETROTHAI 2016 world ecomnomic
 
Keynote for Aquatainment Thailand
Keynote for Aquatainment ThailandKeynote for Aquatainment Thailand
Keynote for Aquatainment Thailand
 
To become global citizens
To become global citizensTo become global citizens
To become global citizens
 
Education for Global Citizenship: A Sustainable Solution for Mankind.
Education for Global Citizenship: A Sustainable Solution for Mankind.Education for Global Citizenship: A Sustainable Solution for Mankind.
Education for Global Citizenship: A Sustainable Solution for Mankind.
 

190828 royal council (8) wanlop

  • 1. ศาสตรจารย์ ดร.วัลลถ สุระกําพลธร 27/08/2019 1 สํานักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ National Science Technology and Innovation Policy Office 1 เทคโนโลยีดิจิทัลและอินเทอร์เน็ตสรรพสิง กับ อุตสาหกรรม ๔.๐ โดย ศ.ดร.วัลลภ สุระกําพลธร ภาคีสมาชิก สํานักวิทยาศาสตร์ การประชุมราชบัณฑิตยสภา วันพุธที ๒๘ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๒ Dr. Wolfgang Baltus, Industrial 4.0 – The future Revolution of Productivity and Competitiveness?, FTPI 20 th Anniversary Production Conference, 2015 Prof. Dr. Wanlop Surakampontorn ศาสตราจารย์ ดร.วัลลภ สุระกําพลธร ภาคีสมาชิก ราชบัณฑิต อาจารย์พิเศษ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล ้าเจ ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) อดีต รองอธิการบดีฝ่ ายวิชาการและวิจัย สจล. อดีต ผู้อํานวยการสถาบันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีชันสูง สวทน. ประวัติการศึกษา • วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (ไฟฟ้าสือสาร) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล ้าเจ ้าคุณทหารลาดกระบัง • วิศวกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต (ไฟฟ้าสือสาร) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล ้าเจ ้าคุณทหารลาดกระบัง • Ph.D. in Electronics University of Kent at Canterbury, England.
  • 2. ศาสตรจารย์ ดร.วัลลถ สุระกําพลธร 27/08/2019 2 อินเทอร์เน็ตสรรพสิงและ อุตสาหกรรม ๔.๐ Internet of Thing and Industrie 4.0 อินเทอร์เน็ตกับการปฏิวัติอุตสาหกรรม หน่วยความจําคลาวด์ และ ข ้อมูลขนาดใหญ่ Cloud Storage and Big Data Prof. Dr. Wanlop Surakampontorn
  • 3. ศาสตรจารย์ ดร.วัลลถ สุระกําพลธร 27/08/2019 3 ยุคของอินเทอร์เน็ตของสรรพสิง นับตังแต่ปี ค.ศ. ๒๐๑๒ ถือได ้ว่าเราได ้เข ้าสู่ ยุค IoT แล ้ว เนืองจากจํานวนอุปกรณ์ทีเชือมต่อ กันทางอินเทอร์เน็ตมีมากกว่าจํานวนประชากรของ โลก การขยายจํานวนอุปกรณ์ทีสามารถเชือมต่อ กับอินเทอร์เน็ตยังมีมากขึนทุกปี คาดว่าจะมีจํานวน มากถึง ๕๐,๐๐๐ ล ้านอุปกรณ์ภายในปี ๒๐๒๐ แต่อย่างไรก็ตามปัจจุบันถือว่ายังอยู่ในยุค เริมต ้นของ IoT เท่านัน ยังมีความท ้าทายและ ปัญหาให ้ต ้องพัฒนาต่อไปอีกมาก Dr. Wolfgang Baltus, Industrial 4.0 – The future Revolution of Productivity and Competitiveness?, FTPI 20 th Anniversary Production Conference, 2015 Prof. Dr. Wanlop Surakampontorn นิยามของอินเทอร์เน็ตของสรรพสิง อินเทอร์เน็ตสรรพสิง เป็นเทคโนโลยีทีทําให ้ บุคคล อุปกรณ์และ สิงของ สามารถ เชือมโยงสือสารกันได ้ ใน ทุกเวลา ทุกสถานที กับ ทุกสิง ทุกอุปกรณ์ และทุกบุคคล โดยผ่าน โครงข่ายและการ บริการ ระบบนิเวศน์ ของ อินเทอร์เน็ต สรรพสิง The Internet of Things: making the most of the Second Digital Revolution, A report by the UK Government Chief Scientific Adviser. Dr. Wolfgang Baltus, Industrial 4.0 – The future Revolution of Productivity and Competitiveness?, FTPI 20 th Anniversary Production Conference, 2015 Prof. Dr. Wanlop Surakampontorn
  • 4. ศาสตรจารย์ ดร.วัลลถ สุระกําพลธร 27/08/2019 4 สํานักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ National Science Technology and Innovation Policy Office 7 ผลจากการพัฒนาของอินเทอร์เน็ตสรรพสิง ผลของเทคโนโลยี อินเทอร์เน็ตสรรพสิง อาจทําให ้ ในอนาคตมี การพัฒนาเปลียนแปลงใน ๓ ด ้าน  ด ้านสังคม เช่น การติดต่อสือสาร เทคโนโลยีด ้าน การแพทย์ การดูแลสุขภาพ บ ้านสมาร์ต สํานักงาน สมาร์ต หรือ สือและการบันเทิง  ด ้านสิงแวดล ้อม เช่น การเฝ้าระวังรักษาสิงแวดล ้อม การเกษตร ปศุสัตว์ การใช ้พลังงานหมุนเวียน  ด ้านอุตสาหกรรม เช่น ด ้านการจัดการห่วงโซ่อุปทาน ด ้านการขนส่ง ด ้านการบินและอวกาศ หรือ ด ้านยาน ยนต์ เป็นต ้น Dr. Wolfgang Baltus, Industrial 4.0 – The future Revolution of Productivity and Competitiveness?, FTPI 20 th Anniversary Production Conference, 2015 Prof. Dr. Wanlop Surakampontorn สํานักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ National Science Technology and Innovation Policy Office 8 การเฝ้าสังเกตและควบคุม ยาน ยนต์ สินทรัพย์ บุคคล สัตว์ และสิงของ โทรศัพท์เคลือนที และอุปกรณ์ฝังตัว M2M และ โครงข่าย ตัวรับรู้ไร ้สาย บ ้านและเมืองสมาร์ต โทรเวชกรรมและการดูแล สุขภาพ อุปกรณ์และสรรพสิง การจัดการ การใช ้พลังงาน เกษตรกรรมอัตโนมัติ ระบบรักษาความปลอดภัย และการสอดส่อง การบริหารจัดการอาคาร คาดหมายกันว่า “อินเทอร์เน็ตสรรพสิงจะเป็ นตัวขับเคลือนสําคัญของ อุตสาหกรรมในยุคต่อไป และมีผลให้การปฏิสัมพันธ์กับโลกทางกายภาพของ ภาคธุรกิจ ภาครัฐ และผู้บริโภค เปลียนแปลงไป” คลาวด์ และ ข้อมูลขนาดใหญ่ ฟฟ ฟฟ ฟฟ Prof. Dr. Wanlop Surakampontorn
  • 5. ศาสตรจารย์ ดร.วัลลถ สุระกําพลธร 27/08/2019 5 DegreeofComplexity Industry 1.0 (๘๐ปี) Industry 2.0 (๙๙ปี) ปี ค.ศ. Industry 3.0 (๔๔ปี) 010001101 001010100 100101010 010010101 ๒๐๑๓ อุตสาหกรรมยุคที ๑ ยุคการผลิตด้วย เครืองจักรไอนํา เครืองจักรการผลิตแบบ ง่ายมีกลไกไม่ซับซ ้อน ขับเคลือนด ้วยพลังนํา และพลังไอนํา แทน แรงงานคนและสัตว์ อุตสาหกรรมยุคที ๒ ยุคการผลิตด้วย เครืองจักรไฟฟ้ า มี จักรกลไฟฟ้า ขับเคลือน เป็น Labor intensive และ Mass production มีสายพานลําเลียง จัด สายพานการผลิตทีสมดุล และประหยัด อุตสาหกรรมยุคที ๓ ยุคการผลิตด้วย ระบบอัตโนมัติ เครืองจักรควบคุมการ ผลิตโดยคอมพิวเตอร์ และระบบอัตโนมัติ (Robotic and Automation) อุตสาหกรรมยุคที ๔ ยุคอินเทอร์เน็ต อุตสาหกรรม กระบวนการผลิตสินค ้าผ่าน อินเทอร์เน็ตและเทคโนโล ยีดิจิทัล (Cyber-Physical Systems) ๑๙๖๙ เริมใช ้programmable Logic controller ในอุตสาหกรรม จากอุตสาหกรรมยุคที ๑ สู่อุตสาหกรรมยุคที ๔ นโยบายอุตสาหกรรมแห่งชาติเยอรมัน เป็น industry 4.0 ภายใน ๒๐ ปี เริมสร ้างเครืองจักรไอนํา ๑๘๗๐๑๗๘๔ เริมสายพานลําเลียงในโรงงาน แปรรูปเนือสัตว์ในเมืองซินซินเนติ มลรัฐโอไฮโอ Industry 4.0 (๖+) I-1 I-2 I-3 I-4 Prof. Dr. Wanlop Surakampontorn อุตสาหกรรม ๔.๐ • คําว่า Industrie 4.0 ถูกกล่าวถึงครังแรกในปี ค.ศ. ๒๐๑๑ ที Hannover Messe trade fair ประเทศเยอรมัน • นโยบายอุตสาหกรรมแห่งชาติของเยอรมันปี ค.ศ. ๒๐๑๓ ทีประกาศว่าโลกจะเข ้าสู การปฏิวัติอุตสาหกรรมครังที ๔ ใน ๒๐ ข ้างหน้า • เป็นการนํา เทคโนโลยีดิจิทัล และ อินเทอร์เน็ต มาใช ้ในกระบวนการผลิตสินค ้า และ เชือมโยงความต ้องการของผู้บริโภคแต่ละรายเข ้ากับกระบวนการผลิตสินค ้า • Smart factory และ Industrial Internet of Things (IIoT) เป็นพืนฐานสําคัญของ Industry 4.0 • เป็น smart and intelligence factory เป็นการเชือม เครืองจักรเข ้ากับเครืองจักร เชือมเข ้ากับคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์สือสาร เชือมกับอุปกรณ์ รถยนต์ โทรทัศน์ และสามารถคุยกันเองโดยไม่ต ้องมีมนุษย์มาออกคําสัง • องค์ประกอบทีสําคัญยังมี Big data เป็นฐานข ้อมูลทีเกียวข ้องทังต ้นนําถึงปลายนํา ซึงข ้อมูลจะถูกบริหารจัดการด ้วย cloud technology ทีทําให ้สามารถใช ้ร่วมกันทัว โลกได ้ • เป็นเทคโนโลยีที โลกการผลิตจริง (real sector) ถูกบูรณาการเชือมเข ้ากับ โลก เสมือน (cyber space) ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตทังมีสายและไร ้สาย และ ได ้ชือว่า Cyber-Physical System หรือ Internet of Things + Internet of Service • สามารถผลิตสินค ้าหลากหลายรูปแบบแตกต่างกัน ตามความต ้องการเฉพาะของ ผู้บริโภคแต่ละราย ด ้วยกระบวนการผลิตทีประหยัดและมีประสิทธิภาพสูง Dr. Wolfgang Baltus, Industrial 4.0 – The future Revolution of Productivity and Competitiveness?, FTPI 20 th Anniversary Production Conference, 2015 Prof. Dr. Wanlop Surakampontorn
  • 6. ศาสตรจารย์ ดร.วัลลถ สุระกําพลธร 27/08/2019 6 ระบบนิเวศน์ของ อุตสาหกรรม ๔.๐ เครืองปลาย ทางระยะไกล โครงข่ายอินเทอร์เน็ต วิเคราะห์ คําสัง/RFI เกตเวย์ หน่วยความจําเก็บข้อมูล Big data & Cloud Storage โรงงานสมาร์ต John Greenough and Jonathan Camhi, “How the Internet of Things will affect the world”, Business Insider, Jan, 4, 2016. Prof. Dr. Wanlop Surakampontorn อุตสาหกรรม ๓.๐ กับ อุตสาหกรรม ๔.๐ อุตสาหกรรม ๓.๐ อุตสาหกรรม ๔.๐ ๑ เป็นการใช ้เครืองจักรอัตโนมัติ หรือ หุ่นยนต์ในการ ผลิต แทนแรงงาน คน เพือเพิมประสิทฺธิภาพการ ผลิตให ้สูงขึน มีการนําระบบอิเล็กทรอนิกส์ มาใช ้ ในกระบวนการผลิต เป็นการนํา เทคโนโลยีดิจิทัล และ อินเทอร์เน็ต มาใช ้ ในกระบวนการผลิตสินค ้า และเชือมโยงความต ้องการ ของผู ้บริโภคแต่ละรายเข ้ากับกระบวนการผลิตสินค ้า ๒ เน้น ผลิตแบบ mass production สามารถผลิต สินค ้าแบบเดียวกันเหมือนกันหมด จํานวนมากใน เวลาทีรวดเร็ว สามารถผลิตสินค ้าหลากหลายรูปแบบแตกต่างกัน ตาม ความต ้องการเฉพาะของผู ้บริโภคแต่ละราย ด ้วย กระบวนการผลิตทีประหยัดและมีประสิทธิภาพสูง ๓ อุปกรณ์เครืองจักรสามารถควบคุมและสังการผ่าน วงจรอิเล็กทรอนิกส์มีเซ็นเซอร์และอุปกรณ์ ตรวจจับมากมายในหลายส่วน และสามารถผนวก กับการใช ้คอมพิวเตอร์มาควบคุมเครืองจักร สามารถโปรแกรมให ้ผลิตในหลายรูปแบบอย่าง อัตโนมัติ (automation หรือ programmable logic control) คนงานยกระดับความสามารถเป็น คนควบคุมเครืองจักรการผลิต เป็น smart and intelligence factory เป็นการเชือม เครืองจักรเข ้ากับเครืองจักร เชือมเข ้ากับคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์สือสาร เชือมกับอุปกรณ์ รถยนต์ โทรทัศน์ และสามารถคุยกันเองโดยไม่ต ้องมีมนุษย์มาออกคําสัง ๔ ระบบทังหมดยังต ้องได ้รับการบริหารจัดการจาก หน่วยควบคุมกลาง เราเรียกว่า ระบบรวมศูนย์ หรือ centralization เป็นการทําให ้กระบวนในการจัดการด ้านการผลิต ผลิตภัณฑ์มีความรวดเร็วขึน โดยการทําเป็น โมดูล และ ลดความซับซ ้อน Dr. Wolfgang Baltus, Industrial 4.0 – The future Revolution of Productivity and Competitiveness?, FTPI 20 th Anniversary Production Conference, 2015 Prof. Dr. Wanlop Surakampontorn
  • 7. ศาสตรจารย์ ดร.วัลลถ สุระกําพลธร 27/08/2019 7 สํานักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ National Science Technology and Innovation Policy Office 13 เทคโนโลยีทีสําคัญในอุตสาหกรรม ๔.๐ อุตสาหกรรม ๔.๐ ประกอบด ้วย เทคโนโลยีทีสําคัญ เช่น ๑. เทคโนโลยีทางข ้อมูลและการสือสาร (ICT) เพือประยุกต์ใช ้ใน กระบวนการเชือมโยงและสือสารกันของข ้อมูลทางดิจิทัล ตลอดห่วง โซ่อุปทาน จากด ้านวิศวกรรม ไปถึง การบริการหลังการขาย ๒. ระบบ Cyber-Physical Systems (CPS) ทีใช ้ ICT ในการตรวจสังเกต กระบวนการและระบบการผลิต ซึงอาจต ้องใช ้อุปกรณ์สมาร์ต เช่น sensor robot หรือ เครืองพิมพ์สามมิติ ๓. เทคโนโลยีในการสือสาร ระบบอินเทอร์เน็ตมีสายหรือไร ้สาย การ สือสารกันระหว่างอุปกรณ์ คน เครืองมือ suppliers หรือ distributers ๔. เทคโนโลยีการจําลองสถานการณ์ (simulation) เช่น Digital twin ๕. เทคโนโลยี Big data และ Cloud computing เพือการวิเคราะห์ สังเคราะห์ ข ้อมูลจํานวนมหาศาล ๖. เทคโนโลยีทีสนับสนุนด ้านการปฏิบัติการ เช่น หุ่นยนต์ หรือ เครืองมือ สมาร์ต Dr. Wolfgang Baltus, Industrial 4.0 – The future Revolution of Productivity and Competitiveness?, FTPI 20 th Anniversary Production Conference, 2015 Prof. Dr. Wanlop Surakampontorn Cyber-Physical Systems (CPS) Cyber-Physical Systems (CPS) คือ ระบบทางกายภาพ และทางวิศวกรรม (Physical) ทีการทํางาน, การตรวจสอบ สังเกตการณ์,การร่วมกัน ดําเนินการ, การควบคุมสังการ , และการบูรณาการกัน ของ ส่วนต่างๆในระบบ มีแกนกลาง ร่วมดําเนินการ โดยผ่านระบบ ดิจิทัล หรือ ระบบไซเบอร์ (Cyber) ซึงเป็นกระบวนการ คํานวณ (computing) และ การเชือมโยงสือสารกันเป็น โครงข่าย (networking) ของ ข ้อมูล
  • 8. ศาสตรจารย์ ดร.วัลลถ สุระกําพลธร 27/08/2019 8 เทคโนโลยีทางอินเทอร์เน็ต อินเทอร์เน็ตสรรพสิง (Internet of Things (IoT)) • การสือสารกันของอุปกรณ์โดยใช ้เทคโนโลยีของอินเทอร์เน็ต • การระบุเอกลักษณ์และการสืบค ้นโดยใช ้IPv6-address (120 bit address) • การตรวจหา การระบุเอกลักษณ์ และ การระบุตําแหน่ง ของอุปกรณ์ทางกายภาพ • การสือสารกันโดยผ่านเครือข่าย  ต ้องจัดให ้อุปกรณ์ทางกายภาพทุกอุปกรณ์มี IPv6-address อินเทอร์เน็ตการบริการ (Internet of Services (IoS)) • วิธีการแบบใหม่ของการบริการผ่านอินเทอร์เน็ต (internet based service) • แนวคิดการให ้บริการโดยเฉพาะ การบริการตามคําขอ (service on demand) การจัดการความรู ้(knowledge provision) และการบริการเพือควบคุมพฤติกรรม ของผลิตภัณฑ์ (product behavior) • การปฏิสัมพันธ์ระหว่าง คน เครืองมือ และ ระบบ เพือปรับปรุงมูลค่าเพิม  กระบวนการบริการเพือเพิมมูลค่าเพิม อินเทอร์เน็ตของข ้อมูล (Internet of Data (IoD)) • ข ้อมูลบริหารจัดการและใช ้ร่วมกันด ้วยเทคโนโลยีของอินเทอร์เน็ต • ระบบทางกายภาพของไซเบอร์ทีก่อให ้เกิดข ้อมูลจํานานมาก (big data) • หลักพืนฐานทีต ้องดําเนินการก่อน : การพัฒนาองค์รวมของการป้องกันภัยและ ความปลอดภัย เช่น ทําให ้มีสภาพแวดล ้อมแบบทีเชือถือได ้อย่างยังยืน  การบริหารจัดการข ้อมูลจํานวนมาก การบูรณาการผลิตภัณฑ์ และข ้อมูลของผลิตภัณฑ์ Prof. R. Anderl, Technical University of Darmstadt Prof. Dr. Wanlop Surakampontorn Smart Factory, Internet of Things และ Internet of Services ที่มา: Kagermann et al. (2013)  กระบวนการผลิตใน Industry ๔.๐ จะมี Smart factory เป็นองค์ประกอบ สําคัญ โดยมีการประยุกต์นําเอา Internet of Things และ Internet of Services เข ้ามี ส่วนร่วม ในกระบวนการผลิต คน เครืองมือ และอุปกรณ์ สนับสนุน จะติดต่อ สือสารกับ Smart factory เสมือนเป็น เครือข่ายทางสังคมกัน Smart Factory ต่อประสาน (interface) กับ Smart logistic และ Smart Grids เพือเป็น โครงสร ้างพืนฐานแบบสมาร์ต ของระบบใหญ่ต่อไป อินเทอร์เน็ตการบริการ อินเทอร์เน็ตสรรพสิง อินเทอร์เน็ตของข้อมูล Dr. Wolfgang Baltus, Industrial 4.0 – The future Revolution of Productivity and Competitiveness?, FTPI 20 th Anniversary Production Conference, 2015 Prof. Dr. Wanlop Surakampontorn
  • 9. ศาสตรจารย์ ดร.วัลลถ สุระกําพลธร 27/08/2019 9 การเตรียมความพร ้อม เพือรองรับ อุตสาหกรรม ๔.๐ อินเทอร์เน็ตกับการปฏิวัติอุตสาหกรรม Prof. Dr. Wanlop Surakampontorn เป้าหมายสําคัญของ อุตสาหกรรม ๔.๐ • เป็นยุทธศาสตร์ด ้าน เทคโนโลยีฐานความรู้ชันสูง ทีต ้องการรักษา และคงสถานภาพความเป็นผู้นําโลกด ้านอุตสาหกรรม • เป็นการเสริมสร ้างความสามารถการแข่งขัน และเป็นการรักษา อุตสาหกรรมให ้อยู่ในประเทศ • เป็นการเพิมประสิทธิภาพและความสามารถด ้านการผลิต ให ้มีความ คล่องตัวด ้านการผลิตและการบริการ โดยความยืดหยุ่น (flexibility) และ นวัตกรรม (Innovation) เป็นสะพานสู่ความสําเร็จ • เป็นการตอบสนองต่อการเปลียนแปลงของสภาวะแวดล ้อมอย่างรอบ ด ้าน (ค่าแรงงาน วงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ การมุ่งเน้นตัวลูกค ้า ผลิตภัณฑ์ทีเป็นความต ้องการเฉพาะ และคุณภาพของผลิตภัณฑ์) • เป็นการทําให ้กระบวนในการจัดการด ้านการผลิตผลิตภัณฑ์มีความ รวดเร็วขึน โดยการทําเป็น โมดูล และ ลดความซับซ ้อน • เป็นการเตรียมความพร ้อมของบุคลากรในอนาคตทีต ้องการความ เชียวชาญเฉพาะทาง Dr. Wolfgang Baaltus – Advisor PSL, Precise Corporation, FTPI 20th Anniversary Productivity Conference, September, 2nd 2015. Prof. Dr. Wanlop Surakampontorn
  • 10. ศาสตรจารย์ ดร.วัลลถ สุระกําพลธร 27/08/2019 10 แผนพัฒนาอุตสาหกรรมของหลายประเทศ • เยอรมันมี Industrie 4.0 ใช ้งบประมาณ E200m ลงทุนในงานวิจัยทังในภาค รัฐ ภาควิชาการ และภาคธุรกิจ รวมถึงบริษัท Deutsche Telekom, SAP และ Siemens ต ้องการเป็นผู้นําด ้าน cyber-physical systems ในปี ค.ศ. 2020 • อเมริกา มี Industrial Internet of Things (IIoT) Project โดยร่วมกับ AT&T, General Electric และ Intel • จีนมีโครงการ Made in China 2025 และ Internet Plus คล ้ายของเยอรมัน • ไต ้หวันมีโครงการ Productivity 4.0 • อินเดียมีโครงการ Industrial 4.0 “Made in India” • ญีปุ่ นมีโครงการ IVI – The Industrial Value Chain Initiative โดยเป็นการ สร ้างให ้เกิดมาตรฐานนานาชาติในการเชือมโยง/ความปลอดภัยของโรงงาน การผลิตจากญีปุ่ น โดยเฉพาะโรงงานขนาดเล็กและขนาดกลาง • เกาหลีมี Manufacturing Innovation 3.0 • ประเทศไทยมี การประกาศนโยบาย Digital Economy ทีเน้นพัฒนาโครงสร ้าง พืนฐานดิจิทัล การส่งเสริม E-Commerce, E-Document และ E-Learning จะ เป็นการรองรับ อุตสาหกรรม 4.0 หรือ ประเทศไทย 4.0 ได ้แต่ยังไม่มีความ ชัดเจนเกียวกับ ด ้านอุตสาหกรรม 4.0 Dr. Wolfgang Baltus, Industrial 4.0 – The future Revolution of Productivity and Competitiveness?, FTPI 20 th Anniversary Production Conference, 2015 Prof. Dr. Wanlop Surakampontorn ผลกระทบทีจะมีต่ออุตสาหกรรมไทย • ความสามารถของการแข่งขันของประเทศไทย โดยเฉพาะความ ต ้องการทีจะเป็นศูนย์กลางการผลิต (Production hup) ในหลาย อุตสาหกรรม • อุตสาหกรรมใหญ่อาจเลือนไหลกลับไปสู่ประเทศพัฒนาแล ้ว • การลงทุนของต่างชาติในประเทศไทยด ้านอุตสาหกรรมอาจลดลง • อุตสาหกรรม ๔.๐ ต ้องบุคลากรทีมีการความเชียวชาญเฉพาะทาง นันหมายถึง ถ ้าไม่เตรียมความพร ้อม การว่างงานจะมีมากขึน • มีผลกระทบด ้านระบบทางสังคม เพราะวิถีและปรัชญาการทํางาน อาจเปลียนไป • มีความจําเป็นต ้องปรับปรุงระบบการศึกษา โดยเฉพาะ อาชีวศึกษา และ ระบบการฝึกอบรม • ประเทศไทยต ้องปรับตัวและเตรียมความพร ้อมทีจะรองรับ • ประเทศไทยควรวางแผนทีจะใช ้ประโยชน์ของ อุตสาหกรรม ๔.๐ ในอุตสาหกรรมทีเราได ้เปรียบ เช่น อุตสาหกรรมการเกษตร อุตสาหกรรมการท่องเทียว อุตสาหกรรมด ้านอาหาร ฯลฯ Prof. Dr. Wanlop Surakampontorn
  • 11. ศาสตรจารย์ ดร.วัลลถ สุระกําพลธร 27/08/2019 11 ประเทศไทยควรมีส่วนร่วมอย่างไร? ๑. ไทยมีความเข ้มแข็งด ้านชินส่วนอุปกรณ์ เช่น ชินส่วนรถยนต์ เครืองทําความเย็น การหลอมกลึงขึนรูป อิเล็กทรอนิกส์ เคมี IT HDD เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ สารสนเทศ จะเตรียมความพร ้อม ไปกับการพัฒนาอุตสาหกรรมยุค ๔.๐ นีได ้อย่างไร? ๒. ประเทศไทยควรวางแผนทีจะใช ้ประโยชน์และพัฒนาจาก อุตสาหกรรมทีเรามีความเข ้มแข็ง เช่น อุตสาหกรรมการเกษตร เทคโนโลยีการเกษตร เครืองจักรกลการเกษตร หรือ การ สร ้างสรรค์นวัตกรรมในภาคการผลิตและบริการ? ๓. ควรมีการวิจัยพัฒนาและนวัตกรรม ทีมหาวิทยาลัยทํางาน ร่วมกับภาคอุตสาหกรรมอย่างใกล ้ชิด เพือสร ้างสรรค์ กระบวนการผลิตสินค ้าทีใช ้ประโยชน์ของ IoT และ อินเทอร์เน็ต และตรงกับความต ้องการของตลาดโลกได ้ Dr. Wolfgang Baltus, Industrial 4.0 – The future Revolution of Productivity and Competitiveness?, FTPI 20 th Anniversary Production Conference, 2015 Prof. Dr. Wanlop Surakampontorn การเตรียมความพร ้อมทีจะรองรับอุตสาหกรรม ๔.๐ ๔. พัฒนาเครืองมือเครืองจักรให ้เป็น smart devices ทีสามารถ ประกอบกันขึนเป็น smart factory ทีสามารถควบคุมและสังการ โดยวิธีทางดิจิทัลได ้ ๕. จัดทําข ้อมูลและทําความชัดเจน ของกระบวนการการเชือมโยง และสือสารกันของข ้อมูลทางดิจิทัล ตลอดห่วงโซ่อุปทาน จาก ด ้านวิศวกรรม ไปถึง การบริการหลังการขาย ๖. ทําการบูรณาการเข ้าด ้วยกันของเทคโนโลยี Internet of things และ เทคโนโลยี Big data และ Cloud ๗. พัฒนาให ้มีต ้นแบบของ โรงงานสมาร์ต (smart factory) เพือ เป็นจุดร่วมทีแสดงให ้เห็นถึง เค ้าโครงหลักการพืนฐานทีสําคัญ ของ อุตสาหกรรม ๔.๐ เช่นการบริหารจัดการในร ้านหรือโรงงาน ขนาดเล็ก Dr. Wolfgang Baltus, Industrial 4.0 – The future Revolution of Productivity and Competitiveness?, FTPI 20 th Anniversary Production Conference, 2015 Prof. Dr. Wanlop Surakampontorn