SlideShare a Scribd company logo
1 of 29
กฎหมายลักษณะทรัพย์สิน
ความหมายของทรัพย์
 ทรัพย์หมายถึง วัตถุมีรูปร่างซึ่งมีราคา
 วัตถุมีรูปร่าง หมายถึง สิ่งที่เห็นได้ด้วยตาและจับต้องสัมผัสได้เช่น ช้าง บ้าน ตตะะ เป็นต้น
 มีราคา หมายถึง มีคุณค่าในตัวของสิ่งนั้นเอง ตดยอาจมีคุณค่าเพื่อประตยชน์ใช้สอยในทาง
เศรษฐกิจหรือประตยชน์ทางจิตใจ เช่น จดหมายติดต่อระหว่างคู่รัก สลากกินแบ่งรัฐบาลที่
ไม่ถูกรางวัลแต่เจ้าของเก็บไว้เป็นที่ระลึก เป็นต้น
ความหมายของทรัพย์สิน
 ทรัพย์สิน หมายถึง ทรัพย์และวัตถุไม่มีรูปร่างซึ่งมีราคาและอาจถือเอาได้
 วัตถุไม่มีรูปร่าง หมายถึง สิ่งที่ไม่สามารถเห็นได้ด้วยตาและไม่สามารถจับต้องสัมผัสได้
เช่น แกะส กระแสไฟฟ้า สิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา หุ้นของบริษัท สิทธิตามสัญญาเช่า
ที่ดิน เป็นต้น จะเห็นได้ว่าวัตถุไม่มีรูปร่างอาจเป็นทรัพย์สินได้หากมีราคาและอาจถือเอา
ได้แต่ไม่สามารถเป็นทรัพย์ได้เพราะทรัพย์ต้องเป็นวัตถุมีรูปร่างเท่านั้น
ประเภทของทรัพย์สิน
แบ่งตามการเคลื่อนที่ได้ของทรัพย์สิน
อสังหาริมทรัพย์
อสังหาริมทรัพย์หมายถึง
ทรัพย์สินอันเคลื่อนที่ไม่ได้
ได้แก่ ที่ดิน ทรัพย์อันติดอยู่กับ
ที่ดินอันมีลักษณะเป็นการถาวร
ทรัพย์ซึ่งประกอบเป็นอันหนึ่ง
อันเดียวกับที่ดิน และทรัพย์สิน
อันเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์
สังหาริมทรัพย์
สังหาริมทรัพย์หมายถึง
ทรัพย์ที่เคลื่อนที่ได้ได้แก่
ทรัพย์สินอื่นใดที่ไม่ใช่
อสังหาริมทรัพย์และสิทธิ
ทั้งหลายอันเกี่ยวกับ
สังหาริมทรัพย์
อสังหาริมทรัพย์
สังหาริมทรัพย์
ความแตกต่างระหว่างอสังหาริมทรัพย์กับสังหาริมทรัพย์
ประเด็น อสังหาริมทรัพย์ สังหาริมทรัพย์
1.ความเป็ นเจ้าของ ต้องมีเจ้าของเสมอ หากไม่มีบุคคลใด
เป็ นเจ้าของก็จะตกเป็ นของแผ่นดิน
อาจไม่มีเจ้าของก็ได้
2.การครอบครองปรปักษ์ ได้รับกรรมสิทธิ์เมื่อครอบครอง
ติดต่อกันเป็ นเวลา10ปี
ได้กรรมสิทธิ์เมื่อครอบครองติดต่อกันเป็ น
ระยะเวลา5ปี
3.การโอนกรรมสิทธิ์ ต้องทาเป็ นหนังสือและจดทะเบียนต่อ
พนักงานเจ้าหน้าที่
ไม่ต้องทาเป็ นหนังสือและจดทะเบียนต่อ
พนักงานเจ้าหน้าที่
4.การสันนิษฐานความเป็ นเจ้าของ พิจารณาจากชื่อที่ปรากฏในทะเบียน พิจารณาจากการครอบครองทรัพย์
5.แดนกรรมสิทธิ์ กรรมสิทธิ์ไม่ได้จากัดอยู่ใน
อสังหาริมทรัพย์เท่านั้น แต่รวมถึง
พื้นดินและใต้พื้นดิน
กรรมสิทธิ์มีจากัดอยู่เฉพาะตัว
สังหาริมทรัพย์นั้นเท่านั้น
6.การมีทรัพยสิทธิบางประเภท ทรัพย์สิทธิบางประเภท เช่น ภาระจา
ยอม สิทธิอาศัย มีได้เฉพาะใน
อสังหาริมทรัพย์เท่านั้น
ไม่อาจมีทรัพย์สิทธิบางประเภทได้ เช่น
ภาระจายอม สิทธิอาศัย
ประเภทของทรัพย์สิน
แบ่งตามการแยกออก
จากกันได้ของ
ทรัพย์สิน
ทรัพย์แบ่งได้
ทรัพย์แบ่งได้ หมายถึง ทรัพย์ที่อาจ
แยกออกจากกันได้เป็นส่วนๆตดยไม่
เสียรูปลักษณะของทรัพย์เดิม และแต่
ละส่วนที่แยกออกไปได้รูปบริบูรณ์
ในตัวเอง เช่น ที่ดินซึ่งแยกเป็นแปลง
เล็กๆหลายแปลงได้ข้าวสารซึ่งอาจ
แยกเป็นหลายกระสอบได้
ทรัพย์แบ่งไม่ได้
ทรัพย์แบ่งไม่ได้หมายถึง ทรัพย์ทรัพย์
ซึ่งไม่สามารถแยกออกจากกันได้หาก
แยกออกจากกันจะทาให้เปลี่ยนแปลง
ภาวะหรือรูปลักษณะของทรัพย์จนผิด
แผกไปจากเดิม เช่น เก้าอี้ หากแยกขา
เก้าอี้ออกไปก็จะทาให้เก้าอี้ใช้นั่งไม่ได้
อีกต่อไป
ประเภทของทรัพย์สิน
แบ่งตามความสามารถในการถือเอาทรัพย์สิน
1.ทรัพย์นอกพาณิชย์หมายถึง ทรัพย์ที่ไม่สามารถ
ยึดถือเอาได้และทรัพย์ที่ไม่สามารถตอนแก่กันได้
ตดยชอบด้วยกฎหมาย ทรัพย์นอกพาณิชย์จะเป็น
สังหาริมทรัพย์หรืออสังหาริมทรัพย์ก็ได้ ทรัพย์
นอกพาณิชย์มี 2 ประเภท ดังนี้
(1) ทรัพย์ที่ไม่สามารถยึดถือเอาได้ได้แก่ สาย
ลม แสงแดด ดวงดาว ดวงอาทิตย์เป็นต้น
(2)ทรัพย์ที่ไม่สามารถตอนกันได้ตดยชอบด้วย
กฎหมาย เช่น ที่วัด ที่ธรณีสงฆ์เป็นต้น
2.ทรัพย์ในพาณิชย์หมายถึง ทรัพย์ที่ไม่ใช่ทรัพย์
นอกพาณิชย์คือ ทรัพย์ที่ประชาชนสามารถถือเอาได้
อย่างเสรีและสามารถตอนกันได้ตดยไม่มีกฎหมาย
ห้ามไว้เช่น เงิน ที่ดิน มือถือ หนังสือ เก้าอี้ เป็นต้น
ส่วนควบ
ส่วนควบของทรัพย์หมายถึง ส่วนซึ่งตดยสภาพแห่งทรัพย์หรือตดยจารีตประเพณีแห่ง
ท้องถิ่น เป็นสาระสาคัญในความเป็นอยู่ของทรัพย์นั้นและไม่อาจแยกจากกันได้นอกจาก
ทาลายทาให้บุบสลาย หรือทาให้ทรัพย์นั้นเปลี่ยนแปลงรูปทรงหรือสภาพไป
ทรัพย์ที่จะเป็นส่วนควบได้จะต้องประกอบด้วยหลักเกณฑ์2 ประการ ได้แก่
1) ส่วนควบต้องเป็นสาระสาคัญใน
ความเป็นอยู่ของทรัพย์นั้น เช่น เลนส์
แว่นตาย่อมเป็นสาระสาคัญของแว่นตา
หากแว่นตาไม่มีเลนส์ย่อมไม่อาจใช่
งานได้
2)ส่วนควบต้องมีสภาพที่ไม่อาจแยก
ออกจากทรัพย์นั้นได้นอกจากจะบุญ
ทาให้บุบสลายหรือเสียรูปทรงหรือเสีย
สภาพไป เช่น ขาตตะะไม่อาจแยกจากตัว
ตตะะได้นอกจะทาให้มันบุบสลาย
 ข้อยกเว้นของส่วนควบ
1.ไม้ล้มลุกหรือธัญชาติ ตามกฎหมายไม้ยืนต้นย่อมเป็นส่วนควบของที่ดินเสมอ เช่น ต้น
มะม่วง ต้นไผ่ ต้อนพลู เป็นต้น แต่ถ้าไม้ล้มลุกหมายถึงต้นไม้ที่มีอายุไม่เกิน 3 ปี เช่น ต้นกล้วย
ต้นอ้อย เป็นต้น หรือธัญชาติ เช่น ข้าว ข้าวตพด พืชผักสวนครัวเป็นต้นกฎหมายกาหนดว่าไม่
เป็นส่วนที่ดิน
2.ทรัพย์ที่ติดกับที่ดินหรือตรงเรือนเป็นเป็นการชั่วคราว กรณีที่เจ้าของที่ดินหรือเจ้าของ
ตรงเรือนนาทรัพย์อื่นมาติดกับที่ติดหรือนามาติดกับตรงเรือนเป็นการชั่วคราว ทรัพย์ที่นามาติด
ดังกล่าวไม่เป็นส่วนควบ
3.ตรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างที่ปลูกลงในที่ดินของผู้อื่นตดยมีสิทธิเหนือที่ดินนั้น เช่น แดง
เช่าที่ดินของดาเพื่อปลูกบ้าน หากแดงสร้างบ้านในที่ดินของดา บ้านย่อมไม่เป็นส่วนควบของ
ที่ดิน
อุปกรณ์
หมายถึง สังหาริมทรัพย์ซึ่งตดยปกตินิยมเป็นของใช้
ประจาอยู่กับทรัพย์ที่เป็นประธานเป็นอาจิณ เพื่อประตยชน์แก่
การจัดการดูแล ใช้สอย หรือรักษาทรัพย์ที่เป็นประธาน อุปกรณ์
ที่แยกออกจากทรัพย์ที่เป็นประธานชั่วคราว ถือว่ายังไม่ขาดจาก
การเป็นอุปกรณ์ของทรัพย์ที่เป็นประธานนั้น
อุปกรณ์ต้องมีลักษณะดังต่อไปนี้
1. อุปกรณ์จะต้องเป็นสังหาริมทรัพย์
2. อุปกรณ์จะต้องมีทรัพย์ที่เป็นประธาน
3. อุปกรณ์จะต้องเป็นของใช้ประจาอยู่กับทรัพย์ประธาน
4. อุปกรณ์ต้องเป็นไปเพื่อใช้เป็นประตยชน์ในการจัดการดูแลใช้สอยหรือรักษา
5. อุปกรณ์และทรัพย์ประธานต้องมีเจ้าของคนเดียวกัน
6. อุปกรณ์จะต้องเป็นทรัพย์ที่เจ้าของทรัพย์ประธานได้นามาในฐานะเป็นของใช้
ประกอบทรัพย์
ความแตกต่างระหว่างส่วนควบกับอุปกรณ์
ส่วนควบ อุปกรณ์
 สังหาริมทรัพย์และอสังหาริมทรัพย์
 ไม่มีทรัพย์ประธาน
 ไม่สามารถแยกออกจากกันได้
 สังหาริมทรัพย์เท่านั้น
 มีทรัพย์ประธาน
 แยกออกจากทรัพย์ประธานได้
ดอกผล
1. ดอกผลธรรมดา หมายความว่า สิ่งที่
เกิดขึ้นตามธรรมชาติของทรัพย์ ซึ่ง
ได้มาจากตัวทรัพย์ ตดยการมีหรือใช้
ทรัพย์นั้นตามปกตินิยม และ
สามารถถือเอาได้เมื่อขาดจากทรัพย์
นั้น เช่น ลูกไก่เป็นดอกผลของแม่ไก่
ลูกมะม่วงเป็นดอกผลของต้นมะม่วง
ดอกผลมีอยู่ 2 ชนิด คือ
2. ดอกผลนิตินัย หมายความว่า ทรัพย์หรือ
ประตยชน์อย่างอื่นที่ได้มาเป็นครั้งคราวแก่
เจ้าของทรัพย์จากผู้อื่นเพื่อการที่ได้ใช้
ทรัพย์นั้น และสามารถคานวณและถือเอา
ได้เป็นรายวันหรือตามระยะเวลาที่กาหนด
ไว้เช่น ดอกเบี้ยจาการให้กู้ยืม ค่าเช่าจาก
ให้ทรัพย์สิน
สาธารณสมบัติของแผ่นดิน
หมายถึง สาธารณสมบัติของแผ่นดินนั้นมีได้ทั้งที่เป็น
สังหาริมทรัพย์และอสังหาริมทรัพย์ ทรัพย์สินของแผ่นดินที่จะมี
ลักษณะเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินจะต้องเป็นทรัพย์ที่สงวนไว้
หรือใช้เพื่อประตยชน์ส่วนร่วมกัน เช่น ที่ดินรกร้างว่างเปล่า ที่ดิน
เวนคืนกลับมาเป็นของรัฐไว้สาหรับประชาชนใช้ร่วมกัน
ทรัพย์สินจะเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินจะต้องมี ๒ ลักษณะ
1. ทรัพย์สินนั้นจะต้องเป็นทรัพย์สินของแผ่นดิน
2. ทรัพย์สินนั้นได้ใช้เพื่อสาธารณประตยชน์หรือสงวนไว้เพื่อใช้ประตยชน์
ร่วมกัน
ผลของการเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินมี ๓ ประการ
1.สาธารณสมบัติของแผ่นดินจะตอนแก่กันไม่ได้
2.สาธารณสมบัติของแผ่นดินไม่สามารถถูกครอบครองปรปักษ์ได้
3.สาธารณสมบัติของแผ่นดินไม่สามารถถูกยึดมาบังคับคดีได้
กรรมสิทธิ์
หมายถึง ทรัพย์สินที่แสดงความเป็นเจ้าของทรัพย์สินหรือสิทธิทั้งปวงผู้เป็นเจ้าของมีอยู่ใน
ทรัพย์สิน ได้แก่ ๑. สิทธิใช้สอย
๒. สิทธิจาหน่ายจ่ายตอน
๓. สิทธิได้ดอกผลในทรัพย์สิน
๔. สิทธิขัดขวางมิให้ผู้อื่นเข้ามายุ่งเกี่ยวกับทรัพย์สินของตน
๕. สิทธิติดตามเอาทรัพย์สินคืนจากผู้ไม่มีสิทธิจะยึดถือ
Ex
มดแดงเป็นเจ้าของรถยนต์คันหนึ่ง มดแดงมีกรรมสิทธิ์ในรถยนต์คันดังกล่าว ดังนั้น มดแดงจึง
สามารถใช้รถยนต์ของตนอย่างไรก็ได้นาไปขายก็ได้นาไปให้เช่าก็ได้ขัดขวางไม่ให้ใครมายุ่ง
เกี่ยวกับรถของตน และหากมีผู้ใดเอารถของตนไปมดแดงก็สามารถติดตามเอารถคืนจากผู้นั้นได้
ครอบครองปรปักษ์
หมายถึง การได้กรรมสิทธิ์ตดยอายุความ กล่าวคือ บุคคลใด
ครอบครองทรัพย์ของผู้อื่นตดยสงบและเปิดเผยด้วยเจตนาเป็นเจ้าของ ถ้า
เป็นอสังหาริมทรัพย์ครอบครองติดต่อกันเป็นเวลานาน ๑๐ ปี ส่วน
สังหาริมทรัพย์ครอบครองติดต่อกันนานเป็นเวลา ๕ ปี บุคคลนั้นได้กรรม
สิทธ์ในทรัพย์สินที่ตนครอบครอง
Ex
วิทยุซื้อที่ดินต่างจังหวัดทิ้งไว้ดวงเป็นชาวบ้านบริเวณนั้นได้เข้ามา
ครอบครองที่ดินของวิทยุตดยการปลูกบ้านและล้อมรั้วที่ดิน และยังได้บอก
แก่ชาวบ้านว่าเป็นที่ดินของตนดวงได้ครอบครองที่ดินของวิทยุติดต่อกันมา
เป็นระยะเวลา ๑๐ ปี ดังนั้นดวงย่อมได้รับกรรมสิทธิ์ในที่ดิน ส่วนวิทยุไม่มี
กรรมสิทธ์ในที่ดินอีกต่อไป
บุคคลจะได้กรรมสิทธิ์ในการครอบครองปรปักษ์ก็
ต่อเมื่อมีข้อเท็จจริง ๕ ประการ
๑. ทรัพย์สินที่ครอบครองต้องเป็นทรัพย์สินของผู้อื่น
๒. ต้องครอบครองทรัพย์สินนั้นด้วยความสงบและเปิดเผย
๓. ต้องครอบครองทรัพย์สินนั้นด้วยเจตนาเป็นเจ้าของ
๔. ต้องครอบครองทรัพย์สินนั้นติดต่อกัน
๕. ต้องครอบครองครบตามเวลาที่กฎหมายกาหนด
ทางจาเป็นและภาวะจายอม
ทางจาเป็น หมายถึง ที่ดินแปลงใดที่มีที่ดินแปลงอื่นล้อมอยู่เช่น สระ บึง
หรือทะเลล้อมอยู่ จนไม่มีทางออกถึงทางสาธารณได้ก็มีสิทธิสามารถที่จะผ่าน
ที่ดินที่ล้อมอยู่ได้
Ex
ฟ้าใสมีที่ดินแปลงหนึ่งซึ่งไม่มีทางออกสู่สาธารณะ เนื่องจากทิศเหนือติดกับที่ดิน
ของตมเมซึ่งติดอยู่กับถนนหลวง ทิศใต้ติดกับแม่น้าไม่สามารถสัญจรไปมาได้ ทิศ
ตะวันออกติดกับที่ดินของมดแดงและทิศตะวันตกติดกับที่ดินของดวง ดังนั้นฟ้า
ใส สามารถผ่านที่ดินของตมเมไปสู่ถนนหลวงอันเป็นทางสาธารณะได้ ตดยฟ้าใส
ต้องเสียค่าทดแทนแก่ตมเมเพื่อตอบแทนการใช้ทางจาเป็นบนที่ดินของตมเม หาก
ตมเมไม่ยินยอมให้ผ่านที่ดินของตนฟ้าใสก็สามารถฟ้องศาลขอให้เปิดทางจา
เป็นได้
ภาระจายอมหมายถึง ทรัพยสิทธิที่เจ้าของอสังหาริมทรัพย์ หนึ่งซึ่ง
เรียกว่า สามยทรัพย์ มีสิทธิใช้ประตยชน์บางอย่างใน อีกอสังหาริมทรัพย์
หนึ่งที่เรียกว่า ภารยทรัพย์ อันเนื่องจากเจ้าของภารยทรัพย์ต้องมีหน้าที่
บางอย่างซึ่งกระทบถึงทรัพย์สินของตน หรือต้องงดเว้นการใช้สิทธิ
บางอย่าง ที่มีอยู่ในกรรมสิทธิ์ในทรัพย์นั้น เพื่อประตยชน์แก่
ภาระจายอมจะเกิดขึ้นได้ต้องมีองค์ประกอบ 3 ประการคือ
1.ต้องมีอสังหาริมทรัพย์ 2 อสังหาริมทรัพย์
2.อสังหาริมทรัพย์ทั้งสองนั้นต้องมีเจ้าของคนละคนกัน
3.เจ้าของภารยทรัพย์ต้องมีหน้าที่บางอย่างหรือต้องงดเว้นสิทธิบางอย่างเพื่อ
ประตยชน์แก่สามยทรัพย์
การได้มาซึ่งภาระจายอมอาจได้มา 2 วิธีได้แก่
1. ได้มาโดยผลของกฎหมาย
ตัวอย่างเช่นการที่ นายดา เดินหรือขับรถผ่านที่ดินของนายขาว เพื่อออกไป
ทางานเป็นประจาด้วยเจตนาเป็นเจ้าของ ติดต่อกันเป็นเวลา 10 ปี
กรณีเช่นนี้นายดา ได้ภาระจายอมเหนือที่ดินนายดา คือมีสิทธิเดินผ่าน
ที่ดินนายขาว ได้ตดยนายขาว ไม่มีสิทธิที่จะห้ามไม่ให้นายดา ใช้ทาง
ดังกล่าว
2. การได้มาโดยนิติกรรม
ตัวอย่างเช่น นายเขียว ขายที่ดินให้นายมดดา และตกลงว่าให้นายมด
ดา เดินผ่านที่ดินของนายเขียว เพื่อออกสู่ทางสาธารณะได้กรณี เช่นนี้นาย
มดดา ได้ภาระจายอมเหนือที่ดินของนายเขียว
ตารวจสุพรรณบุรี จับแกะงวิ่งราว ลักทรัพย์ของกลางเพียบ
วันเสาร์ 9 พฤศจิกายน 2556 เวลา 16:14 น.พ.ต.ท.สุมนตรี
กรรณเลขา เมืองสุพรรณบุรี พร้อมกาลังฝ่ายสืบสวนร่วมกันแถลงข่าว
จับกุมผู้ต้องหาคดีวิ่งราวทรัพย์ และลักทรัพย์ พร้อมของกลางหลาย
รายการ ประกอบด้วยคดีวิ่งราวทรัพย์ผู้ต้องหา 2 คนคือนายชานนท์
บุญมี และนางไพรวรรณ บุญมี อายุ 34 ปีเท่ากัน คู่สามีภรรยา นายชา
นนท์ ให้การว่าร่วมกับภรรยาใช้รถจักรยานยนต์ที่ยืมมาจากคนรู้จัก
ออกตระเวนวิ่งราวทรัพย์เหยื่อที่ขับขี่รถจักรยานยนต์ตามท้องถนน
ตดยตนเป็ นคนขับ ภรรยานั่งซ้อนท้ายเป็ นคนกระชากกระเป๋ า
ทรัพย์สินที่ได้ส่วนมากเป็นตทรศัพท์มือถือ และเงินสด เมื่อได้เงินก็จะ
นาไปซื้อยาบ้ามาเสพ
มาตรา 357 ผู้ใดช่วยซ่อนเร้น ช่วยจาหน่าย ช่วยพาเอาไปเสีย
ซื้อ รับจานาหรือรับไว้ตดยประการใดซึ่งทรัพย์อันได้มาตดยการ
กระทาความผิด ถ้าความผิดนั้นเข้าลักษณะลักทรัพย์ วิ่งราวทรัพย์
กรรตชก รีดเอาทรัพย์ ชิงทรัพย์ ปล้นทรัพย์ ฉ้อตกง ยักยอก หรือเจ้า
พนักงานยักยอกทรัพย์ ผู้นั้นกระทาความผิดฐานรับของตจร ต้อง
ระวางตทษจาคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจา
ทั้งปรับ
ตร.รวบ 2 สามี-ภรรยา ลักทรัพย์นักท่องเที่ยว
พล.ต.ต.รอย อิงคไพตรจน์ ผู้บังคับการตารวจท่องเที่ยว แถลงผล
การจับกุม นายสราวุธ สายปัญญา ที่ร่วมกับ นางฌานิกา สายปัญญา ภรรยา
ก่อเหตุลักทรัพย์สินมีค่าของนักท่องเที่ยว พร้อมยึดของกลางหลายรายการ
เช่น เงินสกุลประเทศตอมาน เงินสกุลยูตร และเงินหยวน เงินเวียดนาม
รวมทั้งเสื้อผ้าและรองเท้าอีกจานวนหนึ่ง ซึ่งมีมูลค่ากว่า 7 แสนบาท
มาตรา 334 ผู้ใดเอาทรัพย์ของผู้อื่น หรือที่ผู้อื่นเป็นเจ้าของ
รวมอยู่ด้วยไปตดยทุจริต ผู้นั้นกระทาความผิดฐานลักทรัพย์ต้อง
ระวางตทษจาคุกไม่เกินสามปี และปรับไม่เกินหกพันบาท
http://news.sanook.com
คาถามท้ายบท
1.ทรัพย์สิน หมายถึง
2. มีราคา คือ
3.ความแตกต่างระหว่าง อสังหาริมทรัพย์กับ
สังหาริมทรัพย์ ในการโอนกรรมสิทธิ์
4. กรรมสิทธิ์ หมายถึง
5. การได้มาซึ่งภาระจายอมอาจได้มา2 วิธีได้แก่
เฉลยคาตอบ
1. ทรัพย์และวัตถุไม่มีรูปร่างซึ่งมีราคา
2. มีคุณค่าในตัวของสิ่งนั้นเอง โดยอาจมีคุณค่าเพื่อประโยชน์ใช้สอยในทาง
เศรษฐกิจหรือประโยชน์ทางจิตใจ
3. อสังหาริมทรัพย์ ต้องทาเป็นหนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่
สังหาริมทรัพย์ ส่วนไม่ต้องทาเป็นหนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงาน
เจ้าหน้าที่
4. ทรัพย์สินที่แสดงความเป็นเจ้าของทรัพย์สินหรือสิทธิทั้งปวงผู้เป็นเจ้าของมี
อยู่ในทรัพย์สิน
5. ได้มาโดยผลของกฎหมาย กับ การได้มาโดยนิติกรรม
จัดทาโดย
นางสาว พัชรี เพชรพญาไพร531120913
นางสาว สโรชา มงคล 531120936
นางสาว ดวงใจ วนาศรีธาดา 531120936
นางสาว วิไล งามงอนคีรี 531120939

More Related Content

What's hot

บทที่ 5 ซื้อขาย
บทที่ 5 ซื้อขายบทที่ 5 ซื้อขาย
บทที่ 5 ซื้อขายChi Wasana
 
กฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญา
กฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญากฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญา
กฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญาYosiri
 
ทรัพย์สินทางปัญญา
ทรัพย์สินทางปัญญาทรัพย์สินทางปัญญา
ทรัพย์สินทางปัญญาshikapu
 
กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดกกฎหมายมรดก
กฎหมายมรดกYosiri
 
กฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัวกฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัวYosiri
 
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.11.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1Kruthai Kidsdee
 
การเขียนตอบข้อสอบกฎหมาย
การเขียนตอบข้อสอบกฎหมายการเขียนตอบข้อสอบกฎหมาย
การเขียนตอบข้อสอบกฎหมายNurat Puankhamma
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1montira
 
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์wiraja
 
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยาความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยาPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
กฎหมายทะเบียนราษฎร
กฎหมายทะเบียนราษฎรกฎหมายทะเบียนราษฎร
กฎหมายทะเบียนราษฎรYosiri
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4supphawan
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญาYosiri
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ เลขที่ 28 ม.5 1
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ เลขที่ 28 ม.5 1คัมภีร์ฉันทศาสตร์ เลขที่ 28 ม.5 1
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ เลขที่ 28 ม.5 1Natthaphong Messi
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2Sukanya Nak-on
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์Jiraporn
 

What's hot (20)

ใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมายใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมาย
 
บทที่ 5 ซื้อขาย
บทที่ 5 ซื้อขายบทที่ 5 ซื้อขาย
บทที่ 5 ซื้อขาย
 
กฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญา
กฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญากฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญา
กฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญา
 
ทรัพย์สินทางปัญญา
ทรัพย์สินทางปัญญาทรัพย์สินทางปัญญา
ทรัพย์สินทางปัญญา
 
กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดกกฎหมายมรดก
กฎหมายมรดก
 
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยาพัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
 
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์
 
กฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัวกฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัว
 
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.11.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
 
การเขียนตอบข้อสอบกฎหมาย
การเขียนตอบข้อสอบกฎหมายการเขียนตอบข้อสอบกฎหมาย
การเขียนตอบข้อสอบกฎหมาย
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
 
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
 
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยาความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
 
กฎหมายทะเบียนราษฎร
กฎหมายทะเบียนราษฎรกฎหมายทะเบียนราษฎร
กฎหมายทะเบียนราษฎร
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ เลขที่ 28 ม.5 1
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ เลขที่ 28 ม.5 1คัมภีร์ฉันทศาสตร์ เลขที่ 28 ม.5 1
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ เลขที่ 28 ม.5 1
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
 
Key of sheet 8 56x
Key of sheet 8 56xKey of sheet 8 56x
Key of sheet 8 56x
 

Viewers also liked

ความหมายและลักษณะของกฎหมาย
ความหมายและลักษณะของกฎหมายความหมายและลักษณะของกฎหมาย
ความหมายและลักษณะของกฎหมายbilly ratchadamri
 
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีthnaporn999
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย2003
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย2003ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย2003
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย2003billy ratchadamri
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๒)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๒)ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๒)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๒)Chacrit Sitdhiwej
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2 กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2 AJ Por
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑)ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑)Chacrit Sitdhiwej
 

Viewers also liked (7)

ความหมายและลักษณะของกฎหมาย
ความหมายและลักษณะของกฎหมายความหมายและลักษณะของกฎหมาย
ความหมายและลักษณะของกฎหมาย
 
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย2003
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย2003ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย2003
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย2003
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๒)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๒)ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๒)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๒)
 
low basic
low basiclow basic
low basic
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2 กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑)ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑)
 

More from Yosiri

กฎหมายลักษณะนิติกรรม
กฎหมายลักษณะนิติกรรมกฎหมายลักษณะนิติกรรม
กฎหมายลักษณะนิติกรรมYosiri
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญาYosiri
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้Yosiri
 
ตอบปัญหาอาเซียน
ตอบปัญหาอาเซียนตอบปัญหาอาเซียน
ตอบปัญหาอาเซียนYosiri
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันกฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันYosiri
 
กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญากฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญาYosiri
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญาYosiri
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้Yosiri
 
กฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัวกฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัวYosiri
 
กฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคล กฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคล Yosiri
 
กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดก กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดก Yosiri
 
บุคคล 17
บุคคล 17บุคคล 17
บุคคล 17Yosiri
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้Yosiri
 
กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรมกฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรมYosiri
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญาYosiri
 
กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรมกฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรมYosiri
 
กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดกกฎหมายมรดก
กฎหมายมรดกYosiri
 
ครอบครัว
ครอบครัวครอบครัว
ครอบครัวYosiri
 
กฎหมายบุุคคล ปี1/56
กฎหมายบุุคคล ปี1/56กฎหมายบุุคคล ปี1/56
กฎหมายบุุคคล ปี1/56Yosiri
 
กฎหมายเครื่องหมายการค้า
กฎหมายเครื่องหมายการค้ากฎหมายเครื่องหมายการค้า
กฎหมายเครื่องหมายการค้าYosiri
 

More from Yosiri (20)

กฎหมายลักษณะนิติกรรม
กฎหมายลักษณะนิติกรรมกฎหมายลักษณะนิติกรรม
กฎหมายลักษณะนิติกรรม
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้
 
ตอบปัญหาอาเซียน
ตอบปัญหาอาเซียนตอบปัญหาอาเซียน
ตอบปัญหาอาเซียน
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันกฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
 
กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญากฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้
 
กฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัวกฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัว
 
กฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคล กฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคล
 
กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดก กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดก
 
บุคคล 17
บุคคล 17บุคคล 17
บุคคล 17
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้
 
กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรมกฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
 
กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรมกฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม
 
กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดกกฎหมายมรดก
กฎหมายมรดก
 
ครอบครัว
ครอบครัวครอบครัว
ครอบครัว
 
กฎหมายบุุคคล ปี1/56
กฎหมายบุุคคล ปี1/56กฎหมายบุุคคล ปี1/56
กฎหมายบุุคคล ปี1/56
 
กฎหมายเครื่องหมายการค้า
กฎหมายเครื่องหมายการค้ากฎหมายเครื่องหมายการค้า
กฎหมายเครื่องหมายการค้า
 

กฎหมายทรัพย์สิน