SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
การวิเคราะห์ SWOT ปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอก1
ในความคิดของข้าพเจ้า (ผิดถูกช่วยกันเติมเต็มครับ)
ในการประเมินสถานการณ์และแนวโน้มภายใน (ปัจจัยภายใน) ให้ทดลองใช้เครื่องมือ McKinsey 7-S
ในการวิเคราะห์ประกอบด้วย 7 ประเด็น ได้แก่ กลยุทธ์ขององค์กร (Strategy) ประเด็นเชิงโครงสร้าง (Structure)
ประเด็นด้านบุคลากร (Staff) ประเด็นด้านระบบงาน (System) ประเด็นด้านทักษะ (Skills) ประเด็น ด้านลักษณะ
การทางาน (Style) และประเด็นค่านิยม วัฒนธรรมองค์กร (Shared Value)
ในการประเมินสถานการณ์และแนวโน้มภายนอก (ปัจจัยภายนอก) ได้ยึดหลักการ SPELT – En หรือ
PESTLE หรือ PEST ในการวิเคราะห์ เพื่อทาความเข้าใจเกี่ยวกับภาพรวมของสภาพแวดล้อมภายนอกทั้งด้าน
โอกาสและอุปสรรค หลักการดังกล่าวประกอบด้วย ๖ ประเด็น ได้แก่ สถานการณ์ด้านสังคม (Social : S)
สถานการณ์ทางการเมือง (Politics : P) สถานการณ์ด้านเศรษฐกิจ (Economics : E) ด้านกฎหมาย (Legal : L)
ด้านเทคโนโลยี (Technology) และด้านสิ่งแวดล้อม (Environment : En)
ตัวอย่างการวิเคราะห์ SWOT ด้านการเกษตร
การวิเคราะห์ปัจจัยภายใน
จุดแข็ง (Strength : S) จุดอ่อน (Weakness : W)
ด้านกลยุทธ์ขององค์กร (Strategy)
S1 ผู้บริหารมีการกากับติดตามความก้าวหน้า
ของงาน ทั้งในส่วนกลางและในระดับพื้นที่
อย่างสม่าเสมอ
W1 การจัดสรรงบประมาณบางส่วนยังไม่สอดคล้อง
กับระยะเวลาและกิจกรรมที่จะดาเนินการ
S2 มีผลงานส่งเสริมการเกษตรที่ดีเด่นและ
เกษตรกรที่ประสบความสาเร็จ สามารถ
ใช้เป็นต้นแบบให้กับเกษตรกรและหน่วยงาน
อื่น ๆ
W2 การบริหารงบประมาณและแผนงาน
โครงการส่วนใหญ่คานึงถึงเป้าหมายในระดับ
ผลผลิต (Output) แต่ไม่ให้ความสาคัญกับ
ผลลัพธ์ (Outcome) และผลกระทบ (Impact)
S3 มีการส่งเสริมให้เกษตรกรปลูกพืชในเขต
ที่เหมาะสมตามหลัก Zoning
W3 การบริหารงานยังเป็นแบบตั้งรับมากกว่า
การดาเนินการเชิงรุก และยังไม่ใช้แผน
ยุทธศาสตร์ในการขับเคลื่อนและนาองค์กร
อย่างแท้จริง
S4 มีการบูรณาการการทางานกับหน่วยงานต่าง ๆ
ทุกภาคส่วน และมีภาคีเครือข่ายในการส่งเสริม
การเกษตรมากขึ้น เช่น องค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น สถาบันการศึกษา ภาคเอกชน
W4 การสื่อสารทาความเข้าใจในนโยบายสาคัญ
ไปยังเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติยังไม่มีประสิทธิภาพ
เท่าที่ควร
1
กรมส่งเสริมการเกษตร. (2560). แผนยุทธศาสตร์ส่งเสริมการเกษตร ระยะ 20 ปี และแผนปฏิบัติงาน ระยะ 5 ปี กรุงเทพมหานคร:
บริษัท นิวธรรมดาการพิมพ์ (ประเทศไทย) จากัด.
จุดแข็ง (Strength : S) จุดอ่อน (Weakness : W)
S5 การจัดทาโครงการและงบประมาณสอดคล้อง
กับแผนยุทธศาสตร์ของกรมส่งเสริมการเกษตร
W5 การกาหนดตัวชี้วัดส่วนใหญ่มุ่งเน้นเชิงปริมาณ
และไม่สะท้อนผลการดาเนินงานในเชิงคุณภาพ
S6 กรมส่งเสริมการเกษตรมีบทบาทสาคัญ
ในการขับเคลื่อนนโยบายของกระทรวงเกษตร
และสหกรณ์
W6 การติดตามและประเมินผลนโยบายและ
โครงการสาคัญยังไม่ชัดเจนและไม่เป็นรูปธรรม
ทาให้ไม่สามารถนาไปใช้ปรับปรุง/พัฒนางานได้
W7 การบูรณาการงานร่วมกันภายในกรมส่งเสริม
การเกษตร ยังไม่ครอบคลุมทุกมิติ
ด้านโครงสร้าง (Structure)
S7 มีโครงสร้างการทางานที่ครอบคลุมทุกระดับ
โดยเฉพาะระดับตาบล ซึ่งใกล้ชิดเกษตรกร
มากที่สุด
W8 เจ้าหน้าที่ในพื้นที่มีภารกิจมาก รวมทั้งได้รับ
การมอบหมายงานนอกภารกิจเพิ่มเติม
ซึ่งส่งผลกระทบต่อการปฏิบัติงาน
ตามภารกิจหลัก
W9 การสนับสนุนเครื่องมืออุปกรณ์ และสิ่งอานวย
ความสะดวกในการปฏิบัติงานยังไม่เพียงพอ และไม่
ทันสมัย
ด้านบุคลากร (Staff)
S8 บุคลากรมีความพร้อมที่จะพัฒนาความรู้ใหม่ ๆ
ยอมรับ และมีการปรับแนวคิดในการทางาน
W10 มีบุคลากรใกล้จะเกษียณเป็นจานวนมาก
แต่การสร้างบุคลากรทดแทนทาได้ล่าช้า
S9 บุคลากรมีความสามารถ เสียสละ เข้าถึง
และเป็นที่ยอมรับของเกษตรกร
W11 บุคลากรมีการโอนย้ายไปหน่วยงานอื่น
จานวนมาก
ด้านระบบงาน (System)
S10 มีเครือข่ายการทางานครอบคลุมในทุกพื้นที่ W12 งบประมาณไม่เพียงพอและการจัดสรร
งบประมาณล่าช้า โดยเฉพาะค่าสาธารณูปโภค
S11 มีการรายงานข้อมูล/สถานการณ์ต่าง ๆ
ผ่าน Social Media ช่วยให้สามารถตัดสินใจ
และแก้ไขปัญหาได้อย่างรวดเร็ว
W13 กฎระเบียบบางส่วนยังล้าสมัย มีขั้นตอนยุ่งยาก
ทาให้การปฏิบัติงานล่าช้า
S12 มีข้อมูลสารสนเทศที่สนับสนุนการดาเนินงาน
ของหน่วยงานทั้งภายในและภายนอก
S13 มีเครือข่ายคอมพิวเตอร์รองรับการสื่อสารและ
การประชุมผ่านระบบ Video Conference
S14 มีศูนย์เรียนรู้ทางการเกษตร เป็นแหล่งเรียนรู้
และพัฒนาเกษตรกรในชุมชน
จุดแข็ง (Strength : S) จุดอ่อน (Weakness : W)
ด้านทักษะ (Skills)
S15 บุคลากรมีความรู้ ความสามารถ และ
มีประสบการณ์ กระจายอยู่ในพื้นที่ ทางาน
ใกล้ชิดกับเกษตรกร มีทักษะในการแก้ไข
ปัญหา สามารถพัฒนาให้เป็นผู้นา
W14 ยังขาดการรวบรวมองค์ความรู้ และ
การเตรียมความพร้อมของบุคลากรในการ
ส่งเสริมการทาการเกษตรแบบ Smart Farming
การเปลี่ยนแปลงได้ W15 บุคลากรขาดการพัฒนาทักษะและความรู้
วิชาการเฉพาะด้าน
W16 เจ้าหน้าที่ขาดความเข้าใจในการวางแผน
เชิงกลยุทธ์และไม่มีการใช้แผนเป็นกรอบ
ในการดาเนินงาน
W17 บุคลากรบางส่วนโดยเฉพาะในระดับภูมิภาค
ไม่ได้รับการพัฒนาอย่างเป็นระบบและ
ต่อเนื่อง เพื่อให้มีความพร้อมในการปฏิบัติงาน
ที่รับผิดชอบ
ด้านลักษณะการทางาน (Style)
S16 บุคลากรมีความพร้อมในการปฏิบัติงาน
ตามที่ได้รับมอบหมาย
W18 การมอบหมายงานบางส่วนไม่สอดคล้องกับ
ความรู้ความสามารถของบุคลากร
W19 การปฏิบัติภารกิจที่ได้รับมอบหมาย
อย่างเร่งด่วนภายใต้เวลาที่จากัด ทาให้ผลงาน
ไม่มีคุณภาพ
ด้านค่านิยม วัฒนธรรมองค์กร (Shared Value)
S17 นักส่งเสริมรุ่นใหม่มีการใส่ใจในการค้นหา
นวัตกรรม ความรู้ใหม่ ๆ เพื่อใช้ในการ
ปฏิบัติงาน
W20 ค่านิยมในการทางานของเจ้าหน้าที่บางส่วน
ยังเคยชินต่อการรอรับฟังคาสั่งจากผู้บังคับบัญชา
การทางานยึดติดรูปแบบและขาดความริเริ่มในการ
พัฒนางาน
S18 การทางานในพื้นที่เน้นการทางานเป็นทีม
ทาให้เกิดความสามัคคีในการทางาน
การวิเคราะห์ปัจจัยภายนอก
โอกาส (Opportunity : O) อุปสรรค (Threat : T)
ด้านสังคม (Social : S)
O1 เกษตรกรรุ่นใหม่มีศักยภาพ และสามารถรับ
เทคโนโลยีใหม่ ๆ เพื่อพัฒนาอาชีพการเกษตร
T1 การรวมกลุ่มของเกษตรกรและสร้างเครือข่าย
ที่เข้มแข็งยังมีน้อย และขาดองค์ความรู้
ในการบริหารจัดการ
O2 การเข้าสู่สังคมสูงอายุส่งผลต่อทั้งเศรษฐกิจ
รูปแบบ การดาเนินชีวิต และการบริโภค
เป็นโอกาสในการพัฒนาสินค้าและบริการ
ทางการเกษตรสาหรับผู้สูงอายุ
T2 ขนาดการถือครองที่ดินต่อครัวเรือนมีแนวโน้ม
ลดลงจากการแยกครัวเรือน
O3 วิถีชีวิตของคนในยุคดิจิทัล เป็นโอกาส
ในการขายสินค้าทางออนไลน์ ทาให้เกษตรกร
เข้าถึงผู้บริโภคได้โดยตรง
T3 แรงงานภาคการเกษตรมีแนวโน้มลดลง
O4 ประชากรโลกเพิ่มขึ้น ส่งผลให้ความต้องการ
บริโภคอาหารเพิ่มขึ้น
T4 การเข้าสู่ภาวะสังคมผู้สูงอายุในภาคเกษตร
จะส่งผลต่อการเข้าถึงและการใช้ประโยชน์
จากเทคโนโลยีใหม่
O5 แนวโน้มผู้บริโภคให้ความสาคัญกับการ
รักษาสุขภาพ ทาให้มีความต้องการบริโภค
สินค้าปลอดภัย มีคุณภาพ และสินค้าเกษตร
อินทรีย์มากขึ้น
T5 เกษตรกรส่วนใหญ่ขาดโอกาสในการเข้าถึง
แหล่งวิชาการ ข้อมูลข่าวสาร เงินทุน
O6 เกษตรกรมีภูมิปัญญาท้องถิ่นที่สืบทอดกันมา
สามารถนามาประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพ
O7 คนรุ่นใหม่และผู้ที่ประกอบอาชีพอื่นสนใจ
อาชีพการเกษตรมากขึ้น
ด้านการเมือง (Politics : P)
O8 รัฐบาลมีนโยบายส่งเสริมความร่วมมือใน
รูปแบบประชารัฐเพื่อพัฒนาภาคการเกษตร
T6 การบริหารและการจัดทาโครงการงบประมาณ
เป็นแบบ Top Down ทาให้ไม่สอดคล้องกับ
ความต้องการของพื้นที่
O9 แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๒ ให้ความสาคัญกับ
การพัฒนาการเกษตร การค้นคว้าวิจัย
การสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์ และ
การพัฒนาที่ยั่งยืน
T7 นโยบายมีการเปลี่ยนแปลงบ่อย ทาให้การทางาน
ไม่ต่อเนื่อง
โอกาส (Opportunity : O) อุปสรรค (Threat : T)
O10 นโยบายของประเทศ เน้นดูแลเกษตรกร
ให้มีรายได้ ที่เหมาะสม และใช้กลไกตลาด
ดูแลราคาสินค้าเกษตร
T8 ขาดข้อมูลความต้องการของเกษตรกร
เพื่อประกอบการกาหนดนโยบายให้เหมาะสม
O11 นโยบายกระทรวงเกษตรฯ กาหนดให้
บูรณาการการทางานในทุกระดับ และมีกลไก
ของ Chief of operation เพื่อบูรณาการ
การทางานในระดับพื้นที่
O12 นโยบายการพัฒนาให้ประเทศไทยเป็น
ศูนย์กลาง ด้านสุขภาพ (Medical Hub)
จะทาให้เกิดการพัฒนา การผลิตสมุนไพร
และผลิตภัณฑ์ และบริการที่เกี่ยวข้อง
O13 นโยบายให้ความสาคัญกับการพัฒนา
เกษตรกรรุ่นใหม่ให้เป็น Young Smart
Farmer เพื่อทดแทนเกษตรกรผู้สูงอายุ
O14 นโยบายของประเทศให้ความสาคัญกับ
การพัฒนา โดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง
และการทาเกษตรทฤษฎีใหม่
O15 รัฐบาลสนับสนุนการพัฒนาการเกษตรและ
การจัดทาโครงการตามความต้องการ
ของชุมชน
ด้านเศรษฐกิจ (Economics : E)
O16 รายได้ของประชากรมีแนวโน้มสูงขึ้น
ส่งผลให้การบริโภคเพิ่มขึ้น
T9 ราคาสินค้าเกษตรมีความผันผวน ส่งผลให้
เกษตรกรมีรายได้ไม่แน่นอน
O17 การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ และการเข้าสู่
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC : ASEAN
Economic Community) เป็นโอกาส
ในการพัฒนาการผลิตสินค้าเกษตรให้
ได้มาตรฐานและการขยายตลาดสินค้าเกษตร
ของไทย
T10 เกษตรกรได้รับผลตอบแทนต่า เนื่องจาก
ส่วนใหญ่ขายผลผลิตขั้นต้น
O18 เครื่องจักรกลทางการเกษตรมีราคาลดลง
ทาให้เกษตรกรเข้าถึงได้ง่ายขึ้น
T11 การเปิดเสรีทางการค้าทาให้เกิดการแข่งขัน
ที่รุนแรงมากขึ้น
O19 ตลาดต่างประเทศมีความต้องการบริโภค
ผลไม้ไทยมากขึ้น เช่น จีน ญี่ปุ่น
T12 มีมาตรการกีดกันทางการค้าที่ไม่ใช่ภาษี
เพิ่มสูงขึ้น เช่น มาตรการด้านสุขอนามัยและ
สุขอนามัยพืช เป็นต้น
โอกาส (Opportunity : O) อุปสรรค (Threat : T)
O20 การขยายตัวของการท่องเที่ยว ทาให้มี
นักท่องเที่ยวจากต่างประเทศเข้ามา
T13 ค่าแรงภาคการเกษตรน้อยเมื่อเปรียบเทียบกับ
ค่าแรงของภาคอุตสาหกรรม และภาคบริการ
จานวนมาก ส่งผลให้มีการบริโภคอาหาร
และสินค้าเกษตรมากขึ้น
T14 การบริหารจัดการระบบโลจิสติกส์ด้าน
การเกษตร ยังขาดประสิทธิภาพ และ
ทาให้ต้นทุนสูงไม่สามารถแข่งขันได้
ด้านกฎหมาย (Legal : L)
O21 มีพระราชบัญญัติส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน
ที่ช่วยอานวยความสะดวกในการส่งเสริม
และพัฒนาวิสาหกิจชุมชน
T15 เกษตรกรขาดกรรมสิทธิ์ในที่ดินทากิน ทาให้
ขาดแรงจูงใจในการพัฒนาและวางแผนการ
ผลิตในระยะยาว
O22 มีกฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังเมืองรวมใน
ทุกจังหวัด กาหนดให้มีการใช้ประโยชน์ที่ดิน
เพื่อกิจการต่าง ๆ อย่างชัดเจน รวมทั้งเพื่อ
เกษตรกรรม
ด้านเทคโนโลยี (Technology : T)
O23 มีการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่สามารถ
ใช้ในการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต และ
สร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่สินค้าเกษตร
T16 ขาดการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรม
ในการแปรรูปและพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อ
สร้างมูลค่าเพิ่ม
O24 เจ้าหน้าที่และเกษตรกรเข้าถึงองค์ความรู้
ได้สะดวกและรวดเร็วขึ้น
O25 เจ้าหน้าที่สามารถให้บริการและติดต่อสื่อสาร
กับเกษตรกรได้อย่างมีประสิทธิภาพ
O26 มีองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรม
ด้านการเกษตร ที่เอื้อต่อการทาการเกษตร
แบบ Smart Farming รวมถึงการตลาดออนไลน์
O27 มีเทคโนโลยีที่ทันสมัยและเครื่องจักรกล
การเกษตร ที่สามารถทดแทนแรงงาน
ในภาคการเกษตร
ด้านสิ่งแวดล้อม (Environment : En)
O28 เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) สนับสนุน
การสร้างความมั่นคงทางอาหารและส่งเสริม
เกษตรกรรมยั่งยืน
T17 การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศก่อให้เกิดภัย
ธรรมชาติที่มีความรุนแรง และการระบาดของศัตรูพืช
สร้างความเสียหายต่อการเพาะปลูก
O29 สภาพทางภูมิศาสตร์ที่เหมาะสม และความ
หลากหลายทางชีวภาพ ส่งผลให้เพาะปลูกสินค้า
เกษตรได้หลายชนิด
T18 พื้นที่การเกษตรส่วนใหญ่ยังอาศัยน้าฝน ระบบ
ชลประทานยังไม่ครอบคลุมทุกพื้นที่ ซึ่งเป็นอุปสรรค
ต่อการพัฒนาการผลิตทางการเกษตร
โอกาส (Opportunity : O) อุปสรรค (Threat : T)
O30 กระแสการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและเศรษฐกิจ
สีเขียว ทาให้เกิดการผลิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
และการผลิตโดยยึดหลักZero-Waste
การวิเคราะห์ TOWS Matrix หรือ SWOT Matrix
หลังจากวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในภายนอก ให้เห็นถึง จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาสและอุปสรรคแล้ว
ก็จะต้องนาข้อมูลทั้งหมดมาวิเคราะห์ในรูปแบบความสัมพันธ์แบบแมตริกซ์ โดยใช้ตารางที่เรียกว่า TOWS Matrix
ปัจจัยภายใน/ภายนอก จุดแข็ง (Strengths)
S1. ................................................
S2. ................................................
S3. ................................................
จุดอ่อน (Weaknesses)
W1. ................................................
W2. ................................................
W3. ................................................
โอกาส (Opportunities)
O1. ................................................
O2. ................................................
O3. ................................................
กลยุทธ์เชิงรุก (SO)
(ใช้จุดแข็งเกาะกุมโอกาส)
กลยุทธ์เชิงแก้ไข (WO)
(ใช้โอกาสเอาชนะจุดอ่อน)
อุปสรรค (Threats)
T1. ................................................
T2. ................................................
T3. ................................................
กลยุทธ์ป้องกัน (ST)
(ใช้จุดแข็งหลีกเลี่ยงอุปสรรค)
กลยุทธ์เชิงรับ (WT)
(ลดจุดอ่อนและหลีกเลี่ยงอุปสรรค)
ยกตัวอย่าง TOWS Matrix
1. S3O1 มีการส่งเสริมให้เกษตรกรปลูกพืชในเขตที่เหมาะสมตามหลัก Zoning + เกษตรกรรุ่นใหม่มีศักยภาพ และ
สามารถรับเทคโนโลยีใหม่ๆ เพื่อพัฒนาอาชีพการเกษตร
ประเด็นที่ได้จากการวิเคราะห์ปัจจัยภายนอกและภายในของแต่ละคู่ ประการเราจะต้องหา Content
(เนื้อหา) สาคัญ หรือเรียกว่าหา Key Word (คาหลัก) ในแต่ละประโยคออกมาให้ได้เสียก่อน แล้วค่อยนามา
ร้อยเรียงให้เป็นประโยคใหม่ เป็นประโยคของกลยุทธ์
ยกตัวอย่างเช่น S3 : มีการส่งเสริมให้เกษตรกรปลูกพืชในเขตที่เหมาะสมตามหลัก Zoning
มี Key Word คือ เขตที่เหมาะสมตามหลัก Zoning
O1: เกษตรกรรุ่นใหม่มีศักยภาพ และสามารถรับเทคโนโลยีใหม่ๆ เพื่อพัฒนาอาชีพการเกษตร
มี Key Word คือ เกษตรกรรุ่นใหม่มีศักยภาพ สามารถรับเทคโนโลยีใหม่ๆ
แล้วนา ทั้งสองคา คือ เขตที่เหมาะสมตามหลัก Zoning และเกษตรกรรุ่นใหม่มีศักยภาพ สามารถรับ
เทคโนโลยีใหม่ๆ นามาร้อยเรียงให้เป็นประโยคใหม่ที่สละสลวย
S3 : มีการส่งเสริมให้เกษตรกรปลูกพืชในเขตที่
เหมาะสมตามหลัก Zoning
O1 : เกษตรกรรุ่นใหม่มีศักยภาพ และสามารถรับ
เทคโนโลยีใหม่ๆ เพื่อพัฒนาอาชีพการเกษตร
ได้เป็นกลยุทธ์เชิงรุก (S3O1) คือ ส่งเสริมให้เกษตรกรรุ่นใหม่ซึ่งมีศักยภาพและสามารถใช้เทคโนโลยีใหม่
ในการปลูกพืชในเขตที่เหมาะสมตามหลัก Zoning
2. W10O1 มีบุคลากรใกล้จะเกษียณเป็นจานวนแต่การสร้างบุคลากรทดแทนทาได้ล่าช้า + เกษตรกรรุ่นใหม่
มีศักยภาพ และสามารถรับเทคโนโลยีใหม่ๆ เพื่อพัฒนาอาชีพการเกษตร
W10 : มีบุคลากรใกล้จะเกษียณเป็นจานวนแต่การ
สร้างบุคลากรทดแทนทาได้ล่าช้า
O1 : เกษตรกรรุ่นใหม่มีศักยภาพ และสามารถรับ
เทคโนโลยีใหม่ๆ เพื่อพัฒนาอาชีพการเกษตร
ได้เป็นกลยุทธ์เชิงแก้ไข (W10O1) คือ เกษตรกรรุ่นใหม่เป็นผู้ช่วยเจ้าหน้าที่ในการใช้เทคโนโลยีใหม่ๆ
ต่อการพัฒนาอาชีพการเกษตร
3. S17T10 นักส่งเสริมรุ่นใหม่มีการใส่ใจในการค้นหานวัตกรรม ความรู้ใหม่ๆ เพื่อใช้ในการปฏิบัติงาน + เกษตรกร
ได้รับผลตอบแทนต่า เนื่องจากส่วนใหญ่ขายผลผลิตขั้นต้น
S17 นักส่งเสริมรุ่นใหม่มีการใส่ใจในการค้นหา
นวัตกรรม ความรู้ใหม่ๆ เพื่อใช้ในการ
ปฏิบัติงาน
T10 เกษตรกรได้รับผลตอบแทนต่า เนื่องจาก
ส่วนใหญ่ขายผลผลิตขั้นต้น
ได้เป็นกลยุทธ์เชิงป้องกัน (S17T10) คือ การใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมสมัยใหม่ในการแปรรูปผลผลิต
การเกษตร
4. W3T18 การบริหารงานยังเป็นแบบตั้งรับมากกว่าการดาเนินการเชิงรุก และยังไม่ใช้แผนยุทธศาสตร์
ในการขับเคลื่อนและนาองค์กรอย่างแท้จริง + พื้นที่การเกษตรส่วนใหญ่ยังอาศัยน้าฝน ระบบชลประทาน
ยังไม่ครอบคลุมทุกพื้นที่ ซึ่งเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาการผลิตทางการเกษตร
W3 การบริหารงานยังเป็นแบบตั้งรับมากกว่า
การดาเนินการเชิงรุก และยังไม่ใช้แผน
ยุทธศาสตร์ในการขับเคลื่อนและนาองค์กร
อย่างแท้จริง
T18 พื้นที่การเกษตรส่วนใหญ่ยังอาศัยน้าฝน ระบบ
ชลประทานยังไม่ครอบคลุมทุกพื้นที่ ซึ่งเป็นอุปสรรค
ต่อการพัฒนาการผลิตทางการเกษตร
ได้เป็นกลยุทธ์เชิงรับ (W3T18) คือ การบริหารงานเชิงรุกในการใช้น้าอย่างรู้คุณค่า
ช่วยกันวิจารณ์ แนะนาและเติมเต็ม เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้นะครับ

More Related Content

What's hot

ตัวอย่างแผนธุรกิจทะเลซีฟู๊ด
ตัวอย่างแผนธุรกิจทะเลซีฟู๊ดตัวอย่างแผนธุรกิจทะเลซีฟู๊ด
ตัวอย่างแผนธุรกิจทะเลซีฟู๊ด
Nattakorn Sunkdon
 
รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
Love Plukkie Zaa
 
การจัดทำ Tows matrix
การจัดทำ  Tows matrixการจัดทำ  Tows matrix
การจัดทำ Tows matrix
Lateefah Hansuek
 
เครื่องมือแบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 3 มี.ค.56
เครื่องมือแบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 3 มี.ค.56เครื่องมือแบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 3 มี.ค.56
เครื่องมือแบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 3 มี.ค.56
krupornpana55
 
หลักสูตร Is ม.ต้น.56doc
หลักสูตร Is ม.ต้น.56docหลักสูตร Is ม.ต้น.56doc
หลักสูตร Is ม.ต้น.56doc
krupornpana55
 
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมินคำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
pupphawittayacom
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
Parichart Ampon
 
ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์
Rapheephan Phola
 
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯโครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
ศิริพัฒน์ ธงยศ
 

What's hot (20)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2
 
รายงานการประชุมครั้งที่ 2 54
รายงานการประชุมครั้งที่ 2 54รายงานการประชุมครั้งที่ 2 54
รายงานการประชุมครั้งที่ 2 54
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจทะเลซีฟู๊ด
ตัวอย่างแผนธุรกิจทะเลซีฟู๊ดตัวอย่างแผนธุรกิจทะเลซีฟู๊ด
ตัวอย่างแผนธุรกิจทะเลซีฟู๊ด
 
รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
 
การจัดทำ Tows matrix
การจัดทำ  Tows matrixการจัดทำ  Tows matrix
การจัดทำ Tows matrix
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริกตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
 
เครื่องมือแบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 3 มี.ค.56
เครื่องมือแบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 3 มี.ค.56เครื่องมือแบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 3 มี.ค.56
เครื่องมือแบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 3 มี.ค.56
 
หลักสูตร Is ม.ต้น.56doc
หลักสูตร Is ม.ต้น.56docหลักสูตร Is ม.ต้น.56doc
หลักสูตร Is ม.ต้น.56doc
 
ตัวอย่างคำกล่าวรายงาน
ตัวอย่างคำกล่าวรายงานตัวอย่างคำกล่าวรายงาน
ตัวอย่างคำกล่าวรายงาน
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
 
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมินคำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
 
สารบัญ.
สารบัญ.สารบัญ.
สารบัญ.
 
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษาบริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
 
ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
 
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯโครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
 

Similar to การวิเคราะห์ SWOT & TOWS Matrix

SWOT Analysis สำหรับผู้บริหาร และการจัดทำแผนการตลาด
SWOT Analysis สำหรับผู้บริหาร และการจัดทำแผนการตลาดSWOT Analysis สำหรับผู้บริหาร และการจัดทำแผนการตลาด
SWOT Analysis สำหรับผู้บริหาร และการจัดทำแผนการตลาด
ssuser711f08
 
การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้
uncasanova
 
NESDB View on ICT and Productivity
NESDB View on ICT and ProductivityNESDB View on ICT and Productivity
NESDB View on ICT and Productivity
guestad02e0
 

Similar to การวิเคราะห์ SWOT & TOWS Matrix (20)

Strategic Management
Strategic ManagementStrategic Management
Strategic Management
 
การวางแผนกลยุทธ์
การวางแผนกลยุทธ์การวางแผนกลยุทธ์
การวางแผนกลยุทธ์
 
SWOT Analysis สำหรับผู้บริหาร และการจัดทำแผนการตลาด
SWOT Analysis สำหรับผู้บริหาร และการจัดทำแผนการตลาดSWOT Analysis สำหรับผู้บริหาร และการจัดทำแผนการตลาด
SWOT Analysis สำหรับผู้บริหาร และการจัดทำแผนการตลาด
 
Metropolitan Waterworks Authority: KPIs
Metropolitan Waterworks Authority: KPIsMetropolitan Waterworks Authority: KPIs
Metropolitan Waterworks Authority: KPIs
 
(Swot)
(Swot)(Swot)
(Swot)
 
Po
PoPo
Po
 
Po
PoPo
Po
 
No1
No1No1
No1
 
Watsubsamosorn
WatsubsamosornWatsubsamosorn
Watsubsamosorn
 
D:\2
D:\2D:\2
D:\2
 
หน่วยที่๕
หน่วยที่๕หน่วยที่๕
หน่วยที่๕
 
Plan 21072011181254
Plan 21072011181254Plan 21072011181254
Plan 21072011181254
 
หลักการบริหาร
หลักการบริหารหลักการบริหาร
หลักการบริหาร
 
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
 
Kpi 18 1_55
Kpi 18 1_55Kpi 18 1_55
Kpi 18 1_55
 
Plans
PlansPlans
Plans
 
การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้
 
Chapter 4
Chapter 4Chapter 4
Chapter 4
 
Learning Organization
Learning OrganizationLearning Organization
Learning Organization
 
NESDB View on ICT and Productivity
NESDB View on ICT and ProductivityNESDB View on ICT and Productivity
NESDB View on ICT and Productivity
 

การวิเคราะห์ SWOT & TOWS Matrix

  • 1. การวิเคราะห์ SWOT ปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอก1 ในความคิดของข้าพเจ้า (ผิดถูกช่วยกันเติมเต็มครับ) ในการประเมินสถานการณ์และแนวโน้มภายใน (ปัจจัยภายใน) ให้ทดลองใช้เครื่องมือ McKinsey 7-S ในการวิเคราะห์ประกอบด้วย 7 ประเด็น ได้แก่ กลยุทธ์ขององค์กร (Strategy) ประเด็นเชิงโครงสร้าง (Structure) ประเด็นด้านบุคลากร (Staff) ประเด็นด้านระบบงาน (System) ประเด็นด้านทักษะ (Skills) ประเด็น ด้านลักษณะ การทางาน (Style) และประเด็นค่านิยม วัฒนธรรมองค์กร (Shared Value) ในการประเมินสถานการณ์และแนวโน้มภายนอก (ปัจจัยภายนอก) ได้ยึดหลักการ SPELT – En หรือ PESTLE หรือ PEST ในการวิเคราะห์ เพื่อทาความเข้าใจเกี่ยวกับภาพรวมของสภาพแวดล้อมภายนอกทั้งด้าน โอกาสและอุปสรรค หลักการดังกล่าวประกอบด้วย ๖ ประเด็น ได้แก่ สถานการณ์ด้านสังคม (Social : S) สถานการณ์ทางการเมือง (Politics : P) สถานการณ์ด้านเศรษฐกิจ (Economics : E) ด้านกฎหมาย (Legal : L) ด้านเทคโนโลยี (Technology) และด้านสิ่งแวดล้อม (Environment : En) ตัวอย่างการวิเคราะห์ SWOT ด้านการเกษตร การวิเคราะห์ปัจจัยภายใน จุดแข็ง (Strength : S) จุดอ่อน (Weakness : W) ด้านกลยุทธ์ขององค์กร (Strategy) S1 ผู้บริหารมีการกากับติดตามความก้าวหน้า ของงาน ทั้งในส่วนกลางและในระดับพื้นที่ อย่างสม่าเสมอ W1 การจัดสรรงบประมาณบางส่วนยังไม่สอดคล้อง กับระยะเวลาและกิจกรรมที่จะดาเนินการ S2 มีผลงานส่งเสริมการเกษตรที่ดีเด่นและ เกษตรกรที่ประสบความสาเร็จ สามารถ ใช้เป็นต้นแบบให้กับเกษตรกรและหน่วยงาน อื่น ๆ W2 การบริหารงบประมาณและแผนงาน โครงการส่วนใหญ่คานึงถึงเป้าหมายในระดับ ผลผลิต (Output) แต่ไม่ให้ความสาคัญกับ ผลลัพธ์ (Outcome) และผลกระทบ (Impact) S3 มีการส่งเสริมให้เกษตรกรปลูกพืชในเขต ที่เหมาะสมตามหลัก Zoning W3 การบริหารงานยังเป็นแบบตั้งรับมากกว่า การดาเนินการเชิงรุก และยังไม่ใช้แผน ยุทธศาสตร์ในการขับเคลื่อนและนาองค์กร อย่างแท้จริง S4 มีการบูรณาการการทางานกับหน่วยงานต่าง ๆ ทุกภาคส่วน และมีภาคีเครือข่ายในการส่งเสริม การเกษตรมากขึ้น เช่น องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น สถาบันการศึกษา ภาคเอกชน W4 การสื่อสารทาความเข้าใจในนโยบายสาคัญ ไปยังเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติยังไม่มีประสิทธิภาพ เท่าที่ควร 1 กรมส่งเสริมการเกษตร. (2560). แผนยุทธศาสตร์ส่งเสริมการเกษตร ระยะ 20 ปี และแผนปฏิบัติงาน ระยะ 5 ปี กรุงเทพมหานคร: บริษัท นิวธรรมดาการพิมพ์ (ประเทศไทย) จากัด.
  • 2. จุดแข็ง (Strength : S) จุดอ่อน (Weakness : W) S5 การจัดทาโครงการและงบประมาณสอดคล้อง กับแผนยุทธศาสตร์ของกรมส่งเสริมการเกษตร W5 การกาหนดตัวชี้วัดส่วนใหญ่มุ่งเน้นเชิงปริมาณ และไม่สะท้อนผลการดาเนินงานในเชิงคุณภาพ S6 กรมส่งเสริมการเกษตรมีบทบาทสาคัญ ในการขับเคลื่อนนโยบายของกระทรวงเกษตร และสหกรณ์ W6 การติดตามและประเมินผลนโยบายและ โครงการสาคัญยังไม่ชัดเจนและไม่เป็นรูปธรรม ทาให้ไม่สามารถนาไปใช้ปรับปรุง/พัฒนางานได้ W7 การบูรณาการงานร่วมกันภายในกรมส่งเสริม การเกษตร ยังไม่ครอบคลุมทุกมิติ ด้านโครงสร้าง (Structure) S7 มีโครงสร้างการทางานที่ครอบคลุมทุกระดับ โดยเฉพาะระดับตาบล ซึ่งใกล้ชิดเกษตรกร มากที่สุด W8 เจ้าหน้าที่ในพื้นที่มีภารกิจมาก รวมทั้งได้รับ การมอบหมายงานนอกภารกิจเพิ่มเติม ซึ่งส่งผลกระทบต่อการปฏิบัติงาน ตามภารกิจหลัก W9 การสนับสนุนเครื่องมืออุปกรณ์ และสิ่งอานวย ความสะดวกในการปฏิบัติงานยังไม่เพียงพอ และไม่ ทันสมัย ด้านบุคลากร (Staff) S8 บุคลากรมีความพร้อมที่จะพัฒนาความรู้ใหม่ ๆ ยอมรับ และมีการปรับแนวคิดในการทางาน W10 มีบุคลากรใกล้จะเกษียณเป็นจานวนมาก แต่การสร้างบุคลากรทดแทนทาได้ล่าช้า S9 บุคลากรมีความสามารถ เสียสละ เข้าถึง และเป็นที่ยอมรับของเกษตรกร W11 บุคลากรมีการโอนย้ายไปหน่วยงานอื่น จานวนมาก ด้านระบบงาน (System) S10 มีเครือข่ายการทางานครอบคลุมในทุกพื้นที่ W12 งบประมาณไม่เพียงพอและการจัดสรร งบประมาณล่าช้า โดยเฉพาะค่าสาธารณูปโภค S11 มีการรายงานข้อมูล/สถานการณ์ต่าง ๆ ผ่าน Social Media ช่วยให้สามารถตัดสินใจ และแก้ไขปัญหาได้อย่างรวดเร็ว W13 กฎระเบียบบางส่วนยังล้าสมัย มีขั้นตอนยุ่งยาก ทาให้การปฏิบัติงานล่าช้า S12 มีข้อมูลสารสนเทศที่สนับสนุนการดาเนินงาน ของหน่วยงานทั้งภายในและภายนอก S13 มีเครือข่ายคอมพิวเตอร์รองรับการสื่อสารและ การประชุมผ่านระบบ Video Conference S14 มีศูนย์เรียนรู้ทางการเกษตร เป็นแหล่งเรียนรู้ และพัฒนาเกษตรกรในชุมชน
  • 3. จุดแข็ง (Strength : S) จุดอ่อน (Weakness : W) ด้านทักษะ (Skills) S15 บุคลากรมีความรู้ ความสามารถ และ มีประสบการณ์ กระจายอยู่ในพื้นที่ ทางาน ใกล้ชิดกับเกษตรกร มีทักษะในการแก้ไข ปัญหา สามารถพัฒนาให้เป็นผู้นา W14 ยังขาดการรวบรวมองค์ความรู้ และ การเตรียมความพร้อมของบุคลากรในการ ส่งเสริมการทาการเกษตรแบบ Smart Farming การเปลี่ยนแปลงได้ W15 บุคลากรขาดการพัฒนาทักษะและความรู้ วิชาการเฉพาะด้าน W16 เจ้าหน้าที่ขาดความเข้าใจในการวางแผน เชิงกลยุทธ์และไม่มีการใช้แผนเป็นกรอบ ในการดาเนินงาน W17 บุคลากรบางส่วนโดยเฉพาะในระดับภูมิภาค ไม่ได้รับการพัฒนาอย่างเป็นระบบและ ต่อเนื่อง เพื่อให้มีความพร้อมในการปฏิบัติงาน ที่รับผิดชอบ ด้านลักษณะการทางาน (Style) S16 บุคลากรมีความพร้อมในการปฏิบัติงาน ตามที่ได้รับมอบหมาย W18 การมอบหมายงานบางส่วนไม่สอดคล้องกับ ความรู้ความสามารถของบุคลากร W19 การปฏิบัติภารกิจที่ได้รับมอบหมาย อย่างเร่งด่วนภายใต้เวลาที่จากัด ทาให้ผลงาน ไม่มีคุณภาพ ด้านค่านิยม วัฒนธรรมองค์กร (Shared Value) S17 นักส่งเสริมรุ่นใหม่มีการใส่ใจในการค้นหา นวัตกรรม ความรู้ใหม่ ๆ เพื่อใช้ในการ ปฏิบัติงาน W20 ค่านิยมในการทางานของเจ้าหน้าที่บางส่วน ยังเคยชินต่อการรอรับฟังคาสั่งจากผู้บังคับบัญชา การทางานยึดติดรูปแบบและขาดความริเริ่มในการ พัฒนางาน S18 การทางานในพื้นที่เน้นการทางานเป็นทีม ทาให้เกิดความสามัคคีในการทางาน
  • 4. การวิเคราะห์ปัจจัยภายนอก โอกาส (Opportunity : O) อุปสรรค (Threat : T) ด้านสังคม (Social : S) O1 เกษตรกรรุ่นใหม่มีศักยภาพ และสามารถรับ เทคโนโลยีใหม่ ๆ เพื่อพัฒนาอาชีพการเกษตร T1 การรวมกลุ่มของเกษตรกรและสร้างเครือข่าย ที่เข้มแข็งยังมีน้อย และขาดองค์ความรู้ ในการบริหารจัดการ O2 การเข้าสู่สังคมสูงอายุส่งผลต่อทั้งเศรษฐกิจ รูปแบบ การดาเนินชีวิต และการบริโภค เป็นโอกาสในการพัฒนาสินค้าและบริการ ทางการเกษตรสาหรับผู้สูงอายุ T2 ขนาดการถือครองที่ดินต่อครัวเรือนมีแนวโน้ม ลดลงจากการแยกครัวเรือน O3 วิถีชีวิตของคนในยุคดิจิทัล เป็นโอกาส ในการขายสินค้าทางออนไลน์ ทาให้เกษตรกร เข้าถึงผู้บริโภคได้โดยตรง T3 แรงงานภาคการเกษตรมีแนวโน้มลดลง O4 ประชากรโลกเพิ่มขึ้น ส่งผลให้ความต้องการ บริโภคอาหารเพิ่มขึ้น T4 การเข้าสู่ภาวะสังคมผู้สูงอายุในภาคเกษตร จะส่งผลต่อการเข้าถึงและการใช้ประโยชน์ จากเทคโนโลยีใหม่ O5 แนวโน้มผู้บริโภคให้ความสาคัญกับการ รักษาสุขภาพ ทาให้มีความต้องการบริโภค สินค้าปลอดภัย มีคุณภาพ และสินค้าเกษตร อินทรีย์มากขึ้น T5 เกษตรกรส่วนใหญ่ขาดโอกาสในการเข้าถึง แหล่งวิชาการ ข้อมูลข่าวสาร เงินทุน O6 เกษตรกรมีภูมิปัญญาท้องถิ่นที่สืบทอดกันมา สามารถนามาประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพ O7 คนรุ่นใหม่และผู้ที่ประกอบอาชีพอื่นสนใจ อาชีพการเกษตรมากขึ้น ด้านการเมือง (Politics : P) O8 รัฐบาลมีนโยบายส่งเสริมความร่วมมือใน รูปแบบประชารัฐเพื่อพัฒนาภาคการเกษตร T6 การบริหารและการจัดทาโครงการงบประมาณ เป็นแบบ Top Down ทาให้ไม่สอดคล้องกับ ความต้องการของพื้นที่ O9 แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๒ ให้ความสาคัญกับ การพัฒนาการเกษตร การค้นคว้าวิจัย การสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์ และ การพัฒนาที่ยั่งยืน T7 นโยบายมีการเปลี่ยนแปลงบ่อย ทาให้การทางาน ไม่ต่อเนื่อง
  • 5. โอกาส (Opportunity : O) อุปสรรค (Threat : T) O10 นโยบายของประเทศ เน้นดูแลเกษตรกร ให้มีรายได้ ที่เหมาะสม และใช้กลไกตลาด ดูแลราคาสินค้าเกษตร T8 ขาดข้อมูลความต้องการของเกษตรกร เพื่อประกอบการกาหนดนโยบายให้เหมาะสม O11 นโยบายกระทรวงเกษตรฯ กาหนดให้ บูรณาการการทางานในทุกระดับ และมีกลไก ของ Chief of operation เพื่อบูรณาการ การทางานในระดับพื้นที่ O12 นโยบายการพัฒนาให้ประเทศไทยเป็น ศูนย์กลาง ด้านสุขภาพ (Medical Hub) จะทาให้เกิดการพัฒนา การผลิตสมุนไพร และผลิตภัณฑ์ และบริการที่เกี่ยวข้อง O13 นโยบายให้ความสาคัญกับการพัฒนา เกษตรกรรุ่นใหม่ให้เป็น Young Smart Farmer เพื่อทดแทนเกษตรกรผู้สูงอายุ O14 นโยบายของประเทศให้ความสาคัญกับ การพัฒนา โดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง และการทาเกษตรทฤษฎีใหม่ O15 รัฐบาลสนับสนุนการพัฒนาการเกษตรและ การจัดทาโครงการตามความต้องการ ของชุมชน ด้านเศรษฐกิจ (Economics : E) O16 รายได้ของประชากรมีแนวโน้มสูงขึ้น ส่งผลให้การบริโภคเพิ่มขึ้น T9 ราคาสินค้าเกษตรมีความผันผวน ส่งผลให้ เกษตรกรมีรายได้ไม่แน่นอน O17 การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ และการเข้าสู่ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC : ASEAN Economic Community) เป็นโอกาส ในการพัฒนาการผลิตสินค้าเกษตรให้ ได้มาตรฐานและการขยายตลาดสินค้าเกษตร ของไทย T10 เกษตรกรได้รับผลตอบแทนต่า เนื่องจาก ส่วนใหญ่ขายผลผลิตขั้นต้น O18 เครื่องจักรกลทางการเกษตรมีราคาลดลง ทาให้เกษตรกรเข้าถึงได้ง่ายขึ้น T11 การเปิดเสรีทางการค้าทาให้เกิดการแข่งขัน ที่รุนแรงมากขึ้น O19 ตลาดต่างประเทศมีความต้องการบริโภค ผลไม้ไทยมากขึ้น เช่น จีน ญี่ปุ่น T12 มีมาตรการกีดกันทางการค้าที่ไม่ใช่ภาษี เพิ่มสูงขึ้น เช่น มาตรการด้านสุขอนามัยและ สุขอนามัยพืช เป็นต้น
  • 6. โอกาส (Opportunity : O) อุปสรรค (Threat : T) O20 การขยายตัวของการท่องเที่ยว ทาให้มี นักท่องเที่ยวจากต่างประเทศเข้ามา T13 ค่าแรงภาคการเกษตรน้อยเมื่อเปรียบเทียบกับ ค่าแรงของภาคอุตสาหกรรม และภาคบริการ จานวนมาก ส่งผลให้มีการบริโภคอาหาร และสินค้าเกษตรมากขึ้น T14 การบริหารจัดการระบบโลจิสติกส์ด้าน การเกษตร ยังขาดประสิทธิภาพ และ ทาให้ต้นทุนสูงไม่สามารถแข่งขันได้ ด้านกฎหมาย (Legal : L) O21 มีพระราชบัญญัติส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน ที่ช่วยอานวยความสะดวกในการส่งเสริม และพัฒนาวิสาหกิจชุมชน T15 เกษตรกรขาดกรรมสิทธิ์ในที่ดินทากิน ทาให้ ขาดแรงจูงใจในการพัฒนาและวางแผนการ ผลิตในระยะยาว O22 มีกฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังเมืองรวมใน ทุกจังหวัด กาหนดให้มีการใช้ประโยชน์ที่ดิน เพื่อกิจการต่าง ๆ อย่างชัดเจน รวมทั้งเพื่อ เกษตรกรรม ด้านเทคโนโลยี (Technology : T) O23 มีการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่สามารถ ใช้ในการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต และ สร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่สินค้าเกษตร T16 ขาดการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรม ในการแปรรูปและพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อ สร้างมูลค่าเพิ่ม O24 เจ้าหน้าที่และเกษตรกรเข้าถึงองค์ความรู้ ได้สะดวกและรวดเร็วขึ้น O25 เจ้าหน้าที่สามารถให้บริการและติดต่อสื่อสาร กับเกษตรกรได้อย่างมีประสิทธิภาพ O26 มีองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ด้านการเกษตร ที่เอื้อต่อการทาการเกษตร แบบ Smart Farming รวมถึงการตลาดออนไลน์ O27 มีเทคโนโลยีที่ทันสมัยและเครื่องจักรกล การเกษตร ที่สามารถทดแทนแรงงาน ในภาคการเกษตร ด้านสิ่งแวดล้อม (Environment : En) O28 เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) สนับสนุน การสร้างความมั่นคงทางอาหารและส่งเสริม เกษตรกรรมยั่งยืน T17 การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศก่อให้เกิดภัย ธรรมชาติที่มีความรุนแรง และการระบาดของศัตรูพืช สร้างความเสียหายต่อการเพาะปลูก O29 สภาพทางภูมิศาสตร์ที่เหมาะสม และความ หลากหลายทางชีวภาพ ส่งผลให้เพาะปลูกสินค้า เกษตรได้หลายชนิด T18 พื้นที่การเกษตรส่วนใหญ่ยังอาศัยน้าฝน ระบบ ชลประทานยังไม่ครอบคลุมทุกพื้นที่ ซึ่งเป็นอุปสรรค ต่อการพัฒนาการผลิตทางการเกษตร
  • 7. โอกาส (Opportunity : O) อุปสรรค (Threat : T) O30 กระแสการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและเศรษฐกิจ สีเขียว ทาให้เกิดการผลิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และการผลิตโดยยึดหลักZero-Waste การวิเคราะห์ TOWS Matrix หรือ SWOT Matrix หลังจากวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในภายนอก ให้เห็นถึง จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาสและอุปสรรคแล้ว ก็จะต้องนาข้อมูลทั้งหมดมาวิเคราะห์ในรูปแบบความสัมพันธ์แบบแมตริกซ์ โดยใช้ตารางที่เรียกว่า TOWS Matrix ปัจจัยภายใน/ภายนอก จุดแข็ง (Strengths) S1. ................................................ S2. ................................................ S3. ................................................ จุดอ่อน (Weaknesses) W1. ................................................ W2. ................................................ W3. ................................................ โอกาส (Opportunities) O1. ................................................ O2. ................................................ O3. ................................................ กลยุทธ์เชิงรุก (SO) (ใช้จุดแข็งเกาะกุมโอกาส) กลยุทธ์เชิงแก้ไข (WO) (ใช้โอกาสเอาชนะจุดอ่อน) อุปสรรค (Threats) T1. ................................................ T2. ................................................ T3. ................................................ กลยุทธ์ป้องกัน (ST) (ใช้จุดแข็งหลีกเลี่ยงอุปสรรค) กลยุทธ์เชิงรับ (WT) (ลดจุดอ่อนและหลีกเลี่ยงอุปสรรค)
  • 8. ยกตัวอย่าง TOWS Matrix 1. S3O1 มีการส่งเสริมให้เกษตรกรปลูกพืชในเขตที่เหมาะสมตามหลัก Zoning + เกษตรกรรุ่นใหม่มีศักยภาพ และ สามารถรับเทคโนโลยีใหม่ๆ เพื่อพัฒนาอาชีพการเกษตร ประเด็นที่ได้จากการวิเคราะห์ปัจจัยภายนอกและภายในของแต่ละคู่ ประการเราจะต้องหา Content (เนื้อหา) สาคัญ หรือเรียกว่าหา Key Word (คาหลัก) ในแต่ละประโยคออกมาให้ได้เสียก่อน แล้วค่อยนามา ร้อยเรียงให้เป็นประโยคใหม่ เป็นประโยคของกลยุทธ์ ยกตัวอย่างเช่น S3 : มีการส่งเสริมให้เกษตรกรปลูกพืชในเขตที่เหมาะสมตามหลัก Zoning มี Key Word คือ เขตที่เหมาะสมตามหลัก Zoning O1: เกษตรกรรุ่นใหม่มีศักยภาพ และสามารถรับเทคโนโลยีใหม่ๆ เพื่อพัฒนาอาชีพการเกษตร มี Key Word คือ เกษตรกรรุ่นใหม่มีศักยภาพ สามารถรับเทคโนโลยีใหม่ๆ แล้วนา ทั้งสองคา คือ เขตที่เหมาะสมตามหลัก Zoning และเกษตรกรรุ่นใหม่มีศักยภาพ สามารถรับ เทคโนโลยีใหม่ๆ นามาร้อยเรียงให้เป็นประโยคใหม่ที่สละสลวย S3 : มีการส่งเสริมให้เกษตรกรปลูกพืชในเขตที่ เหมาะสมตามหลัก Zoning O1 : เกษตรกรรุ่นใหม่มีศักยภาพ และสามารถรับ เทคโนโลยีใหม่ๆ เพื่อพัฒนาอาชีพการเกษตร ได้เป็นกลยุทธ์เชิงรุก (S3O1) คือ ส่งเสริมให้เกษตรกรรุ่นใหม่ซึ่งมีศักยภาพและสามารถใช้เทคโนโลยีใหม่ ในการปลูกพืชในเขตที่เหมาะสมตามหลัก Zoning 2. W10O1 มีบุคลากรใกล้จะเกษียณเป็นจานวนแต่การสร้างบุคลากรทดแทนทาได้ล่าช้า + เกษตรกรรุ่นใหม่ มีศักยภาพ และสามารถรับเทคโนโลยีใหม่ๆ เพื่อพัฒนาอาชีพการเกษตร W10 : มีบุคลากรใกล้จะเกษียณเป็นจานวนแต่การ สร้างบุคลากรทดแทนทาได้ล่าช้า O1 : เกษตรกรรุ่นใหม่มีศักยภาพ และสามารถรับ เทคโนโลยีใหม่ๆ เพื่อพัฒนาอาชีพการเกษตร ได้เป็นกลยุทธ์เชิงแก้ไข (W10O1) คือ เกษตรกรรุ่นใหม่เป็นผู้ช่วยเจ้าหน้าที่ในการใช้เทคโนโลยีใหม่ๆ ต่อการพัฒนาอาชีพการเกษตร 3. S17T10 นักส่งเสริมรุ่นใหม่มีการใส่ใจในการค้นหานวัตกรรม ความรู้ใหม่ๆ เพื่อใช้ในการปฏิบัติงาน + เกษตรกร ได้รับผลตอบแทนต่า เนื่องจากส่วนใหญ่ขายผลผลิตขั้นต้น S17 นักส่งเสริมรุ่นใหม่มีการใส่ใจในการค้นหา นวัตกรรม ความรู้ใหม่ๆ เพื่อใช้ในการ ปฏิบัติงาน T10 เกษตรกรได้รับผลตอบแทนต่า เนื่องจาก ส่วนใหญ่ขายผลผลิตขั้นต้น ได้เป็นกลยุทธ์เชิงป้องกัน (S17T10) คือ การใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมสมัยใหม่ในการแปรรูปผลผลิต การเกษตร
  • 9. 4. W3T18 การบริหารงานยังเป็นแบบตั้งรับมากกว่าการดาเนินการเชิงรุก และยังไม่ใช้แผนยุทธศาสตร์ ในการขับเคลื่อนและนาองค์กรอย่างแท้จริง + พื้นที่การเกษตรส่วนใหญ่ยังอาศัยน้าฝน ระบบชลประทาน ยังไม่ครอบคลุมทุกพื้นที่ ซึ่งเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาการผลิตทางการเกษตร W3 การบริหารงานยังเป็นแบบตั้งรับมากกว่า การดาเนินการเชิงรุก และยังไม่ใช้แผน ยุทธศาสตร์ในการขับเคลื่อนและนาองค์กร อย่างแท้จริง T18 พื้นที่การเกษตรส่วนใหญ่ยังอาศัยน้าฝน ระบบ ชลประทานยังไม่ครอบคลุมทุกพื้นที่ ซึ่งเป็นอุปสรรค ต่อการพัฒนาการผลิตทางการเกษตร ได้เป็นกลยุทธ์เชิงรับ (W3T18) คือ การบริหารงานเชิงรุกในการใช้น้าอย่างรู้คุณค่า ช่วยกันวิจารณ์ แนะนาและเติมเต็ม เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้นะครับ