Se ha denunciado esta presentación.
Se está descargando tu SlideShare. ×

ยกระดับคุณภาพอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทย

Anuncio
Anuncio
Anuncio
Anuncio
Anuncio
Anuncio
Anuncio
Anuncio
Anuncio
Anuncio
Anuncio
Anuncio
Próximo SlideShare
Lanna longstay
Lanna longstay
Cargando en…3
×

Eche un vistazo a continuación

1 de 60 Anuncio

ยกระดับคุณภาพอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทย

Descargar para leer sin conexión

PPT ประกอบการบรรยาย เรื่อง "การยกระดับคุณภาพอุตสาหกรรมท่องเที่ยว" โดย คุณรุ่งทิพ ว่องปฏิการ คิมูระ ผู้อำนวยการกองเผยแพร่ความรู้ด้านการท่องเที่ยว การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทน ในการอบรม เรื่องการพัฒนารูปแบบสินค้า การบริการและการท่องเที่ยวในเส้นทางเขตพัฒนาการท่องเที่ยวอารยธรรมล้านนา" รุ่นที่ 4 วันที่ 21 เมษายน 2560 ณ โรงแรมเวียงอินทร์ รีเวอร์ไซด์ รีสอร์ท จ.เชียงราย ภายใต้โครงการพัฒนาเส้นทางท่องเที่ยวสุดยอดอารยธรรมล้านนา The Ultimate Lanna Experience Campaign จัดโดย ศูนย์วิจัยและพัฒนาการท่องเที่ยว สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

PPT ประกอบการบรรยาย เรื่อง "การยกระดับคุณภาพอุตสาหกรรมท่องเที่ยว" โดย คุณรุ่งทิพ ว่องปฏิการ คิมูระ ผู้อำนวยการกองเผยแพร่ความรู้ด้านการท่องเที่ยว การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทน ในการอบรม เรื่องการพัฒนารูปแบบสินค้า การบริการและการท่องเที่ยวในเส้นทางเขตพัฒนาการท่องเที่ยวอารยธรรมล้านนา" รุ่นที่ 4 วันที่ 21 เมษายน 2560 ณ โรงแรมเวียงอินทร์ รีเวอร์ไซด์ รีสอร์ท จ.เชียงราย ภายใต้โครงการพัฒนาเส้นทางท่องเที่ยวสุดยอดอารยธรรมล้านนา The Ultimate Lanna Experience Campaign จัดโดย ศูนย์วิจัยและพัฒนาการท่องเที่ยว สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

Anuncio
Anuncio

Más Contenido Relacionado

Presentaciones para usted (17)

Similares a ยกระดับคุณภาพอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทย (20)

Anuncio

Más de Korawan Sangkakorn (20)

Más reciente (14)

Anuncio

ยกระดับคุณภาพอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทย

  1. 1. การยกระดับคุณภาพอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทย
  2. 2. คุณภาพ คือ การเป็ นไปตามมาตรฐานหรือข้อกาหนด การสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้า ด้วยต้นทุนและการดาเนินงานที่เหมาะสม คุณภาพของผลิตภัณฑ์: สมรรถนะ ลักษณะเฉพาะ เชื่อถือได้ทนทาน สวยงาม เป็นที่รับรู้/มีชื่อเสียง คุณภาพของงานบริการ: ตอบสนองความต้องการ เข้าถึงได้สุภาพ สื่อสาร เชื่อถือได้ ปลอดภัย รู้สึกได้ในบริการ
  3. 3. นโยบายจากภาครัฐ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เน้นคุณภาพ - สมดุล - ยั่งยืน แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ แผนพัฒนาการท่องเที่ยว แห่งชาติ แนวนโยบายผู้ถือหุ้นภาครัฐ ที่มีต่อรัฐวิสาหกิจ ยุทธศาสตร์จากกระทรวง การท่องเที่ยวและกีฬา นโยบายรัฐบาล • ส่งเสริมกิจกรรมการท่องเที่ยวที่สอดคล้องกับศักยภาพของพื้นที่และ กระแสความต้องการของตลาดโลก • ดาเนินกลยุทธ์ทางการตลาดรูปแบบใหม่ที่สามารถเข้าถึงกลุ่มลูกค้าและขยายไปยัง ตลาดใหม่ๆ ที่มีศักยภาพ • บริหารจัดการการท่องเที่ยวให้เกิดความสมดุลและยั่งยืน • ส่งเสริมการขายในกลุ่มเป้ าหมายนักท่องเที่ยวเฉพาะกลุ่มที่มีศักยภาพ และรองรับตลาดบน • สร้างจิตสานึกและค่านิยมแห่งความเป็ นไทย และสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าท่องเที่ยว • ร่วมกับภาคเอกชนจัดทา Package เฉพาะเพื่อส่งเสริมการขาย • พัฒนาระบบฐานข้อมูลด้านการตลาด • ร่วมมือกับหน่วยงานด้านการท่องเที่ยวเข้ามามีส่วนร่วมในการส่งเสริมการท่องเที่ยว • ยกระดับภาพลักษณ์ประเทศไทยสู่ความมีคุณภาพและมูลค่าเพิ่มสูง • มุ่งเน้นการแสวงหาตลาดและความต้องการที่เปิ ดกว้างโดยไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม • ตอบสนองความต้องการของกลุ่มนักท่องเที่ยวเป้ าหมาย • ส่งเสริมการท่องเที่ยวภายในประเทศ • พัฒนาสินค้าและบริการด้านการท่องเที่ยวให้มีคุณภาพและปลอดภัย • ส่งเสริมการท่องเที่ยวในเชิงคุณภาพให้มีการเติบโตอย่างสมดุลและยั่งยืน • สนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ด้านการท่องเที่ยวและกีฬา
  4. 4. จากแผนชาติสู่…ยุทธศาสตร์ ททท. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ยุทธศาสตร์ประเทศ นโยบายรัฐบาล “มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน” ยุทธศาสตร์แผนพัฒนา การท่องเที่ยวแห่งชาติ ยุทธศาสตร์กระทรวง การท่องเที่ยวและกีฬา แผนปฏิบัติการ ททท. ปี 2560 แผนวิสาหกิจ ททท. พ.ศ.2560 – 2564 การวิเคราะห์ปัจจัย ภายในและภายนอก ผลการ ดาเนินงาน
  5. 5. Key Tourism in 2016 Aging Society – Global Silver Age : วัยเกษียณมั่งคั่ง Womenization : พลังผู้หญิงขับเคลื่อนเศรษฐกิจ Forever Young : หนุ่มสาวตลอดกาลAuthenticity & Uniqueness : ความเดิมแท้และพิเศษเฉพาะบุคคล Green Concern : กระแสรักโลกรักสิ่งแวดล้อม Internet of Everything : ยุคหลากหลายสรรพสิ่ง เชื่อมโยงกัน
  6. 6. เส้นทางการท่องเที่ยวคุณภาพที่ยั่งยืน การท่องเที่ยว เติบโตอย่าง ยั่งยืน เพิ่ม รายได้ สังคม เข้มแข็ง รักษา สิ่งแวดล้อม นักท่องเที่ยว พึงพอใจ • เพิ่มค่าใช้จ่ายนักท่องเที่ยว • เพิ่มสัดส่วนกลุ่มระดับกลาง-บน • กระจายโอกาส การท่องเที่ยว • สร้างความรัก และภาคภูมิใจ ในความเป็นไทย • เพิ่มความร่วมมือกับ Value Chain • สร้างความสัมพันธ์ ที่ดีกับนักท่องเที่ยว • สร้างจิตสานึกใส่ใจสิ่งแวดล้อม ฝ่ายวางแผน
  7. 7. International Tourist Arrivals by Country of Destination (Million) 2010 2012 2013 2014 1 France 77.6 1 France 82 1 France 83.6 1 France 83.8 2 United States 60.0 2 United States 66.7 2 United States 70.0 2 United States 74.8 3 China 55.7 3 China 57.7 3 Spain 60.7 3 Spain 65 4 Spain 52.7 4 Spain 57.5 4 China 55.7 4 China 55.6 5 Italy 43.6 5 Italy 46.4 5 Italy 47.7 5 Italy 48.6 6 Turkey 31.4 6 Turkey 35.7 6 Turkey 37.8 6 Turkey 39.8 7 United Kingdom 28.3 7 Germany 30.4 7 Germany 31.5 7 Germany 33 8 Germany 26.9 8 United Kingdom 29.3 8 United Kingdom 31.1 8 United Kingdom 32.6 9 Malaysia 24.6 9 Russian Federation 25.7 9 Russian Federation 28.4 9 Russian Federation 29.8 10 Mexico 23.3 10 Malaysia 25 10 Thailand 26.5 10 Mexico 29.3 11 Austria 22.0 11 Austria 24.2 11 Hong Kong (China) 25.7 11 Hong Kong (China) 27.8 12 Ukraine 21.2 12 Hong Kong (China) 23.8 12 Malaysia 25.7 12 Malaysia 27.4 13 Russian Federation 20.3 13 Mexico 23.4 13 Austria 24.8 13 Austria 25.3 14 Hong Kong (China) 20.1 14 Ukraine 23 14 Ukraine 24.7 14 Thailand 24.8 15 Canada 16.2 15 Thailand 22.4 15 Mexico 24.2 15 Greece 22.0 16 Thailand 15.9 16 Saudi Arabia 16.3 16 Greece 17.9 16 Saudi Arabia 18.3 International Tourism Receipts (US$ billion) 2010 2012 2013 2014 1 United States 137.0 1 United States 161.6 1 United States 172.9 1 United States 177.2 2 Spain 54.6 2 Spain 58.2 2 Spain 62.6 2 Spain 65.2 3 France 47.0 3 France 53.6 3 France 56.6 3 France 57.4 4 China 45.8 4 China 50.0 4 Macao (China) 51.8 4 China 56.9 5 Italy 38.8 5 Macao (China) 43.9 5 China 51.7 5 Macao (China) 50.8 6 Germany 34.7 6 Italy 41.2 6 Italy 43.9 6 United Kingdom 45.9 7 United Kingdom 32.4 7 Germany 38.1 7 Thailand 41.8 7 Italy 45.5 8 Australia 28.6 8 United Kingdom 36.6 8 Germany 41.3 8 Germany 43.3 9 Macao (China) 27.8 9 Thailand 33.9 9 United Kingdom 41.0 9 Thailand 38.4 10 Turkey 22.6 10 Hong Kong (China) 33.1 10 Hong Kong (China) 38.9 10 Hong Kong (China) 38.4 11 Hong Kong (China) 22.2 11 Australia 31.9 11 Australia 31.3 11 Australia 31.9 12 Thailand 20.1 12 Turkey 25.3 12 Turkey 28.0 12 Turkey 29.6 13 Austria 18.6 13 Malaysia 20.2 13 Malaysia 21.5 13 Malaysia 22.6 Source: UNWTO, August 2015 สถานการณ์ท่องเที่ยวไทย การท่องเที่ยวไทยเติบโตอย่างต่อเนื่องทั้งด้านรายได้และจานวน ติด 1 ใน 10 แหล่งท่องเที่ยวที่ทารายได้สูงที่สุดในโลกตั้งแต่ปี 2556
  8. 8. ในด้านกลุ่มตลาดศักยภาพ...การมุ่งเน้นการท่องเที่ยวสาหรับกลุ่มเฉพาะซึ่งแม้ว่าจะมีจานวนน้อย แต่สามารถสร้างรายได้สูง ซึ่งที่ผ่านมา ททท. ประสบความสาเร็จในการเจาะกลุ่มตลาดเหล่านี้ ในระดับหนึ่ง สุขภาพ กอล์ฟ แต่งงาน ฮันนีมูน ชาว มุสลิม • ชาวมุสลิม มีจานวนนักท่องเที่ยวมากกว่า 4 ล้านคน (16%) • ท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ มากกว่า 1 ล้าน 8 แสนคน (7%) • กอล์ฟและแต่งงาน ฮันนีมูนรวมกันกว่า 1 ล้าน 8 แสนคน • โลกเข้าสู่ Aging Population อายุเฉลี่ยของคน มากขึ้น ส่งผลให้บริการทางการแพทย์มีคนสนใจ มากขึ้น • กลุ่มกอล์ฟ แต่งงาน และ ฮันนีมูน ปัจจุบัน นิยมไปหาประสบการณ์ต่างประเทศกันมากขึ้น • ชาวมุสลิมคิดเป็นสัดส่วน 1 ใน 4 ของประชากร โอกาสทางด้านการท่องเที่ยวของกลุ่มเฉพาะ 0 10 20 30 40 50 - 0.50 1.00 1.50 2.00 2.50 3.00 3.50 4.00 4.50 Thousands Millions จำนวนนักท่องเที่ยว2551 จำนวนนักท่องเที่ยว2556 ค่ำใช้จ่ำยต่อคน จานวนนักท่องเที่ยวกลุ่มเฉพาะ และค่าใช้จ่าย 36,262 14,290 33,174 45,065 Source: กรมกำรท่องเที่ยว,TAT
  9. 9. นักท่องเที่ยวแบบหรูหราก็เป็นอีกกลุ่มที่น่าสนใจ เนื่องจากมีการใช้จ่ายสูงกว่า 10 เท่า ของนักท่องเที่ยว ธรรมดา โดยเฉลี่ยอยู่นาน 10 วัน และเดินทาง 3-5 ครั้งต่อปี ซึ่ง ททท. ยังอยู่ในช่วงเริ่มต้นของการ ดาเนินงานเจาะตลาดดังกล่าวอย่างจริงจังในช่วง 2 ปีที่ผ่านมา . “The top 3% of luxury tourists spends 20% of total tourism expenditure” ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อคนต่อทริปแบบหรูหรา ระยะเวลาพัก จานวนครั้งเดินทาง/ปี ไม่อ่อนไหวต่อภาวะเศรษฐกิจ จานวนและมูลค่าสินทรัพย์ของกลุ่มผู้มีความมั่งคั่งสุทธิสูงมีอัตราการเติบโตสูง >$30m Ultra-HNWIs $5m-$30m Mid-Tier Millionaires $1m-$5m Millionaires Nest Door Number of Individuals HNWI Population CAGR Growth HNWI Wealth CAGR Growth % of HNWI Wealth 128.3k (0.9% of total) 1230.6k (9.0% of total) 12,371.5k (90.1% of total) 2013 2008-2013 2012-2013 2008-2013 2012-2013 2013 10.5% 15.6% 10.1% 15.2% 9.8% 14.6% 9.9% 12.0% 10.2% 15.2% 9.9% 14.7% 34.6% 22.3% 43.1% 41% 37% 12% 10%>$30,000 $20,000-$30,000 $5,000-$10,000 1 2 3 $10,000-$20,000 ระยะเวลำ พักเฉลี่ยที่ 10 วัน 4 ครั้ง 48% > 4 ครั้ง 20% < 4 ครั้ง 32% หำกเปรียบเทียบกับ ค่ำใช้จ่ำยต่อทริปโดยทั่ว ป ซึ่งอยู่ที่ $1,066 แล้ว จึงมี มูลค่ำสูงกว่ำอย่ำงมำก จำกผลสำรวจพบว่ำเกือบร้อยละ 80 ยังคงท่องเที่ยวแม้ภำวะเศรษฐกิจ ม่ดีมีผล 21%ไม่มีผล 79% Source: The future of luxury travel report (ILTM), Top of the pyramid 2014, Wealth report (อ่ำนสรุปจำกหน้ำส ลด์
  10. 10. การดาเนินงานที่ผ่านมา ททท. บริหารความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวในช่วงก่อนเดินทางได้ดี แต่ยังมีปัญหาในช่วงระหว่างและหลังเดินทาง ซึ่งต้องเน้นการทางานกับ stakeholder อย่างใกล้ชิด และเข้มข้นมากขึ้น จาก Value Chain พบว่าช่วง Destination Dreaming การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยมี บทบาทสาคัญในช่วง Before the trip เช่น อย่างไรก็ตาม ในช่วง During the trip และ After the trip ยังมีบทบาทไม่มากนัก ทา ให้ยังไม่เกิดการบูรณาการกับทั้งภาครัฐ และภาคเอกชน ?ออกนิตยสารเกี่ยวกับการท่องเที่ยว, พัฒนาเว็บไซต์ให้มีหลากหลายภาษา รวมทั้งจัดตั้งสานักงาน ณ ต่างประเทศเพื่อ กระตุ้นนักท่องเที่ยวในประเทศนั้นๆ การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยสามารถ เป็นผู้ประสานและร่วมมือกับหน่วยงานอื่นๆ เพื่อเพิ่มความสามารถด้านการท่องเที่ยว ของประเทศ สมาคมและภาคเอกชนต่างๆ ยังไม่มีเป้ าหมาย ร่วมกันอย่างชัดเจน เนื่องจากไม่มีแผนด้านการ ท่องเที่ยวในภาพรวมให้กับอุตสาหกรรม
  11. 11. การกระตุ้น การใช้จ่ายของ นักท่องเที่ยว การปรับภาพลักษณ์ และขยายการรับรู้ คุณค่าแบรนด์ ท่องเที่ยวไทย การเพิ่มรายได้ ทางการท่องเที่ยว การเพิ่มจานวน นักท่องเที่ยว กลุ่มระดับกลาง-บน ผล:ตลาดต่างประเทศปี2555-2558 ตลาดต่างประเทศ สามารถสร้างการรับรู้ภาพลักษณ์ในฐานะแหล่งท่องเที่ยวทรงคุณค่าเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในแง่ของรายได้เพิ่มขึ้นตามการเพิ่มจานวนนักท่องเที่ยวเป็ นหลัก ขณะที่การใช้จ่ายต่อครั้งยังคงอยู่ในระดับต่า และ เริ่มมีสัญญานการปรับโครงสร้างตลาดสู่กลุ่มตลาดระดับกลาง-บนเพิ่มขึ้นในระดับค่อนข้างต่า กลุ่มระดับกลาง-บนเติบโตเฉลี่ย 10%
  12. 12. ผล:ตลาดในประเทศปี2555-2558 การกระตุ้น ความต้องการ การเดินทาง ท่องเที่ยว ของคนไทย การกระตุ้น การใช้จ่ายของ นักท่องเที่ยว หลงรักประเทศ ไทย/วิถีไทย เก๋ไก๋ การรักษา สังคมและ สิ่งแวดล้อม จานวนและรายได้จากการท่องเที่ยวภายในประเทศในปี 2555-2557 ตลาดในประเทศ สามารถกระตุ้นความต้องการเดินทางของนักท่องเที่ยวชาวไทยได้อย่างต่อเนื่อง แต่การใช้จ่ายยังเพิ่มในระดับต่าจากภาวะเศรษฐกิจที่ชะลอตัว
  13. 13. 2010 2014 2015 - 500,000 1,000,000 1,500,000 2,000,000 2,500,000 3,000,000 Jan Feb Mar Apr May Jun Jul Aug Sep Oct Nov Dec No. of Arrivals International Arrivals to Thailand 2010 and 2015 ที่มา: ข้อมูลปี 2010-2014 เป็ นสถิติรายถิ่นที่อยู่ / ปี 2015 เป็ นข้อมูลรายสัญชาติ จากกรมการท่องเที่ยว การสร้างสมดุลเชิงเวลา คนไทยยังคงเดินทางกระจุกตัวอยู่ในช่วงวันเสาร์อาทิตย์และช่วง วันหยุดยาว ขณะที่คนต่างชาติเดินทางหนาแน่นในช่วงไตรมาสที่ 1 และ 4
  14. 14. ตาแหน่งทางการตลาด รางวัล การจัด อันดับของสถาบันต่างๆ
  15. 15. 2555 2556 2557 2558Tr 2559G 2560G รวม 1,561,929 1,867,860 1,876,462 2,164,930 2,343,000 2,500,000 ในประเทศ 578,001 660,714 703,664 746,930 807,000 870,000 ต่างประเทศ 983,928 1,207,146 1,172,798 1,418,000 1,536,000 1,630,000 0 500,000 1,000,000 1,500,000 2,000,000 2,500,000 3,000,000 รายได้ทางการท่องเที่ยว รวม ในประเทศ ต่างประเทศ เป้าหมายการดาเนินงานปี 2560 : ฝ่ายวางแผน สร้างรายได้รวมเพิ่มขึ้น 8.5% • ตลาดต่างประเทศ 8.5% • ตลาดในประเทศ 8% หมายเหตุ: Tr = แนวโน้ม G=เป้ าหมาย +27% +23% -2% +21% +8% +8.5% +19% +14% +7% +6% +8% +8% +24% +20% +0.5% +15% +8% +8.5%
  16. 16. การดาเนินงาน *Thailand Tourism Award (TTA) -- รางวัลกินรี *เจ้าบ้านที่ดี
  17. 17. ยุทธศาสตร์สร้าง ความยั่งยืนทางการ ท่องเที่ยว ส่งเสริมและสร้าง ศักยภาพของ ผู้ประกอบการและ เครือข่าย การส่งเสริม และ พัฒนารางวัล อุตสาหกรรม ท่องเที่ยวไทย
  18. 18. สร้างภาพลักษณ์ และส่งเสริมให้ ประเทศไทย ก้าวสู่ Quality Destination ส่งเสริมมาตรฐานบริการ และสินค้าสู่ Quality Product & Services
  19. 19. Kinnari Quality Awards Oscar แห่งวงการท่องเที่ยวไทย Kinnari Quality Mark
  20. 20. Business Betterment Excellent Service Satisfaction of Consumer Trusted Kinnari represents the best quality
  21. 21. 1 •กรอบแนวคิดการตัดสินรางวัล 2 •ประเภทและจานวนรางวัล 3 • สิทธิประโยชน์ และแนวทางการต่อยอดทางการตลาด
  22. 22. กรอบแนวคิดการตัดสินรางวัล
  23. 23. องค์กรสนับสนุนและ ส่งเสริมการท่องเที่ยว รายการนาเที่ยว ที่พักนักท่องเที่ยว แหล่งท่องเที่ยวการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ประเภทและจานวนรางวัล
  24. 24. ประเภทองค์กรสนับสนุนและส่งเสริมการท่องเที่ยว
  25. 25. ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคเหนือ ภาคใต้ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก ภาคกลาง
  26. 26. ประเภทรายการนาเที่ยว
  27. 27. สาหรับนักท่องเที่ยว ในประเทศ สาหรับนักท่องเที่ยว ต่างประเทศ ภาคเหนือ ภาคใต้ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออก กรุงเทพฯ -ปริมณฑล *ส่วนกลาง
  28. 28. ประเภทแหล่งท่องเที่ยว
  29. 29. ธรรมชาติ ประวัติศาสตร์และ วัฒนธรรม ภาคเหนือ ภาคใต้ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก ภาคกลาง เชิงเกษตร ชุมชน นันทนาการ
  30. 30. ประเภทที่พักนักท่องเที่ยว
  31. 31. ในเมือง พูลวิลล่า ภาคเหนือ ภาคใต้ ตะวันออก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก ภาคกลาง ตากอากาศ บูติค เพื่อการประชุมสัมมนา ภาคใต้ ตะวันตก ภาคตะวันตก กทม.
  32. 32. ประเภทการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
  33. 33. Hotel / Resort Spa Health & Wellness Destination ภาคเหนือ ภาคใต้ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก ภาคกลาง Day Spa Thai Wisdom Spa
  34. 34. มีใบอนุญาตประกอบธุรกิจโรงแรม เฉพาะประเภท Health & Wellness Destination / Hotel & Resort Spa ย
  35. 35. มีโฉนดที่ดิน / เอกสารสิทธิ์ที่ถูกต้อง ตามกฏหมาย หรือมีเอกสารที่ได้รับ อนุญาตให้ใช้พื้นที่จากทางราชการ หรือสัญญาเช่า มีผลการตรวจสอบลักษณะน้าทิ้ง ในกรณีเป็นสถานประกอบกิจการที่ต้อง ถูกควบคุมการระบายน้าทิ้ง ตามที่ กฏหมายกาหนด
  36. 36. กาหนดแผนงานการประชาสัมพันธ์และรูปแบบ การจัดกิจกรรมบูรณาการร่วมกับผู้เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างการรับรู้โครงการฯ
  37. 37. •กาหนดให้เป็นวาระองค์กร •ผูกสินค้าของ TTA กับ กิจกรรม CSR •ให้ความรู้เกี่ยวกับผลงาน ททท. แก่พนักงานใหม่ • พัฒนา TTA สู่ Qual Mark • สร้างเส้นทางผ่านเรื่องราวกินรี • ผูกสินค้าของ TTA ในกิจกรรม • จัดสรรพื้นที่ TTA ในงานต่างๆ • ให้ส่วนลดค่าเข้าร่วมงาน • จัด Fam Trip ทดสอบเส้นทาง • ตรวจสอบคุณภาพผลงาน • PR ตลอดระยะเวลาโครงการ • จัด Media Fam Trip เส้นทางกินรี • จัด Online Activities คู่กับแผน PR ประชาสัมพันธ์ ตลาด แผน และ บริหาร สินค้า
  38. 38. อัตรา การรับรู้ TTA 30% อัตรา การรับรู้ TTA 35% อัตรา การยอมรับ TTA 25% อัตรา การยอมรับ TTA 30% อัตรา ความต้องการ ใช้บริการ แหล่ง TTA 60%

×