SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 91
ประชุมศูนย์เครือข่าย  ปีการศึกษา ๒๕๕๔ โดย ดร . อรรถพล  ตรึกตรอง ผอ . สพป . ขอนแก่น เขต ๕
ประเด็นวันนี้ ... ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
เจเนอเรชันของคนเพื่อการมองคนอย่างเข้าใจ อัตลักษณ์ของคน อัจฉริยภาพการเอาตัวรอด
การบริหารงานบุคคลยุคใหม่ของ สพป.ขก.๕
สพฐ . คัดเลือกให้ สพป . ขอนแก่น เขต ๕ นำเสนอเบื้องหลังความสำเร็จ  เมื่อ ๑๑ พค . ๕๔
ผลการทดสอบ  O-NET  ปี ๒๕๕๓ ป. ๖ ม.๓
แนวทางการพัฒนา โรงเรียนขนาดเล็ก สังกัด   สพฐ.
การบริหารและพัฒนาตนเอง ด้วย  7  อุปนิสัยพัฒนาสู่ผู้มีประสิทธิผลสูง ดร . อรรถพล  ตรึกตรอง ผอ . สพป . ขอนแก่น เขต  5
ประโยชน์ของ  7  อุปนิสัย  (1) ,[object Object],[object Object],[object Object]
อุปนิสัย  :  สิ่งที่คุณทำเป็นประจำอย่างต่อเนื่อง ความรู้ What to do & why? ทักษะ How to do? ความปรารถนา What need? อุปนิสัย
ไม่มีคำว่าสาย สำหรับนักสู้
อุปนิสัยที่  7   ลับเลื่อยให้คมอยู่เสมอ วงจรวุฒิภาวะ การพึ่งพาผู้อื่น การพึ่งพาตนเอง การพึ่งพาซึ่งกันและกัน อุปนิสัยที่  5 เข้าใจผู้อื่นก่อนให้ผู้อื่นเข้าใจเรา อุปนิสัยที่   6 ผนึกพลังประสานความต่าง อุปนิสัยที่   4 คิดแบบชนะ - ชนะ อุปนิสัยที่   3 ทำสิ่งที่สำคัญก่อน อุปนิสัยที่   1 บี โปรแอคทีพ อุปนิสัยที่   2 เริ่มต้นด้วยจุดมุ่งหมายในใจ ชนะใจตนเอง ชนะใจคนอื่น
“ ปลูก ความคิด  ผลที่ได้คือ การกระทำ ปลูก การกระทำ  ผลที่ได้คือ อุปนิสัย ปลูก อุปนิสัย  ผลที่ได้คือ คุณลักษณะ ปลูก คุณลักษณะ  ผลที่ได้คือ ชะตาชีวิต” แซมมวล สไมล์ส
คุณลักษณะ  ( Character)   กับ บุคลิกภาพ   (Personality) บุคลิกภาพ คุณลักษณะ ความซื่อสัตย์  ความถ่อมตน  ความจงรักภักดี  ความพอดี   ความกล้าหาญ  ความยุติธรรม   ความอดทน ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
หลักการ  :  กฎธรรมชาติที่ชัดเจนในตัวเอง เห็น กระทำ ได้รับ หลักการ
หลักการ ,[object Object],[object Object],[object Object]
กรอบความคิด  :  วิธีที่คนรับรู้ เข้าใจ และตีความสิ่งที่ อยู่รอบตัว เห็น กระทำ ได้รับ
“ หากคุณต้องการเปลี่ยนแปลงเพียง เล็กน้อย ให้เปลี่ยนที่ พฤติกรรมของคุณ   แต่หากคุณต้องการเปลี่ยนแปลง แบบก้าวกระโดด ให้เปลี่ยนที่ กรอบความคิดของคุณ ” สตีเฟน อาร์ โควีย์
แนวคิดบางประการเกี่ยวกับ กรอบความคิด  :   1.  กรอบความคิด ของเราอาจผิดก็ได้ 2.  กรอบความคิด อาจเป็นข้อจำกัดของเรา 3.  กรอบความคิด ของเราอาจเป็น ภาพสะท้อนจากสังคม 4.  การเปลี่ยนแปลงในชีวิต เกิดจาก การเปลี่ยน กรอบความคิด 5.  คนที่ขัดแย้งกัน อาจเป็นเพราะเขามี กรอบความคิด ที่ต่างกัน
เราเห็นอะไร ?
เราเห็นอะไร ?
เราเห็นอะไร ?
เราเห็นอะไร ?
เราเห็นอะไร ?
เราเห็นอะไร ?
เราเห็นอะไร ?
เราเห็นอะไร ?
เราเห็นอะไร ?
เราเห็นอะไร ?
ทำไมเราจึงเห็นแตกต่างกัน
ประสิทธิผล  VS   ประสิทธิภาพ (Effectiveness)   (Efficiency) ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
อุปนิสัยที่  7   ลับเลื่อยให้คมอยู่เสมอ วงจรวุฒิภาวะ การพึ่งพาผู้อื่น การพึ่งพาตนเอง การพึ่งพาซึ่งกันและกัน อุปนิสัยที่  5 เข้าใจผู้อื่นก่อนให้ผู้อื่นเข้าใจเรา อุปนิสัยที่   6 ผนึกพลังประสานความต่าง อุปนิสัยที่   4 คิดแบบชนะ - ชนะ อุปนิสัยที่   3 ทำสิ่งที่สำคัญก่อน อุปนิสัยที่   1 บี โปรแอคทีพ อุปนิสัยที่   2 เริ่มต้นด้วยจุดมุ่งหมายในใจ ชนะใจตนเอง ชนะใจคนอื่น
อุปนิสัยที่  1   ต้องเป็นฝ่ายเริ่มต้นทำก่อน  ( Be Proactive)   ฉันรับผิดชอบต่อ ทางเลือกของฉัน ฉันเลือกที่จะกระทำ มิใช่ถูกกระทำ ฉันมีขอบเขตแห่ง อิทธิพลเพิ่มขึ้น ฉันมีอิสรภาพในการเลือกและ รับผิดชอบต่อการเลือกนั้น เห็น กระทำ ได้รับ หลักการ
อุปนิสัยที่  1   ต้องเป็นฝ่ายเริ่มต้นทำก่อน  ( Be Proactive)   =  การเลือกตอบสนอง  (1) ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
อุปนิสัยที่  1   ต้องเป็นฝ่ายเริ่มต้นทำก่อน  ( Be Proactive)   =  การเลือกตอบสนอง  (2) ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ความสามารถในการเก็บแรงกระตุ้น การตอบสนองกับสิ่งกระตุ้น จะเป็น ไปอย่างรอบคอบ และผ่านการชั่งใจ มาก่อน  ( ไม่ยอมแพ้ หาทางออกได้  มั่นใจ ผ่านได้สบาย เชื่อปัญญา  แก้ปัญหาได้ ) คน   Proactive
อุปนิสัยที่  1 : PROACTIVE MODEL สิ่งกระตุ้น การตอบสนอง อิสระในการเลือก รู้ตนเอง จินตนาการ จิตสำนึก ความต้องการพึ่งพาตนเอง
คน   Proactive ควบคุมไม่ได้ เช่นดินฟ้าอากาศ / ภัยธรรมชาติ / เหตุการณ์บ้านเมือง ควบคุมได้ เช่นสุขภาพ / ครอบครัว / งาน ขอบเขตแห่งความกังวล Circle of Concern (COC) ขอบเขตแห่งอิทธิพล Circle of Influence (COI)
คน   Proactive พฤติกรรมโปรแอคทีพ ภาษาโปรแอคทีพ มีความสุขุม ฉันสามารถทำได้ มุ่งเน้นที่วิธีแก้ไข ฉันขอโทษ มีความรับผิดชอบ ฉันเลือกที่จะทำสิ่งนี้ ริเริ่มสร้างสรรค์สิ่งต่างๆ  ให้เกิดขึ้น ลองดูทางเลือกอื่นทั้งหมด ที่เรามีดีกว่า คิดก่อนทำการตอบสนอง จะต้องมีทางออกอื่นๆ อีก
คน   Reactive เป็นฝ่ายถูกกระทำ มักได้รับ ผ ลกระทบจากเงื่อนไข ท างสภาพแวดล้อม และเลือกที่จะให้อำนาจเหล่านั้นมาควบคุมตน  ( มันเป็นอย่างนี้ แก้ไม่ได้หรอก  ผมหัวเสีย มันจำเป็น เชื่อกรรม  มีจริง )
REACTIVE MODEL การตอบสนอง สิ่งเร้า ( เหตุการณ์ )
คน   Reactive ขอบเขตแห่งความกังวล ขอบเขตแห่งอิทธิพล
คน   Reactive พฤติกรรมรีแอคทีพ ภาษารีแอคทีพ โกรธและพูดแต่สิ่งที่แสดงออกถึง ความรู้สึกผิดของตนเอง คุณทำให้ฉันโกรธ คร่ำครวญและกล่าวโทษ มันไม่ใช่ความผิดของฉัน โทษผู้อื่นและสิ่งต่างๆ ฉันไม่สามารถช่วยอะไรได้ แสดงออกเหมือนกับตนเองตก เป็นเหยื่อ ฉันก็เป็นของฉันแบบนี้แหละ ไม่รับผิดชอบต่อการกระทำของ ตนเอง ฉันต้องทำสิ่งนี้
“ สถานการณ์ต่างๆ ไม่มีอำนาจในการ ควบคุมคุณ เพราะตัวคุณเองจะเป็น ผู้ควบคุมสภาวะภายในตัวคุณ ตลอดเวลาและตลอดกาล” โอลกา รอสมานิธ
“ ยิ่งความสามารถในการควบคุม ตนเองของคุณมีมากเท่าไร อิสระของคุณก็ยิ่งมีมากขึ้นเท่านั้น” มารี วอน เอบเนอร์ - เชนบัค
 
อุปนิสัยที่  2   เริ่มต้นด้วยจุดมุ่งหมายในใจ  ( Begin with the end in Mind) ฉันเป็นผู้สร้างอนาคต ของตนเอง ฉันสร้างและพัฒนา คำปณิธานส่วนตน ฉันมีความรู้สึกถึงเป้าหมาย และความหมายในชีวิตของฉัน การสร้างทางจิตใจเกิดขึ้นก่อน การสร้างทางกายภาพ เห็น กระทำ ได้รับ หลักการ
คำปณิธานส่วนตน  (Mission Statement) ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ปณิธาน   =   วิสัยทัศน์  +  หลักการ 1. อย่ารีบร้อนเขียนจนสมบูรณ์แบบในตอนเริ่มต้น 2. อย่าด่วนลงมือปฏิบัติถ้ายังไม่มีการร่วมมือย่างแท้จริง 3. อย่าละเลย พยายามทำให้ได้ตามนั้น
อุปนิสัยที่  2   เริ่มต้นด้วยจุดมุ่งหมายในใจ  ( Begin with the end in Mind) =  วิสัยทัศน์  (1) ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
อุปนิสัยที่  2   เริ่มต้นด้วยจุดมุ่งหมายในใจ  ( Begin with the end in Mind) =  วิสัยทัศน์  (2) ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
“ ไม่มีสิ่งใดให้ความสงบสุขกับชีวิต ได้มากเท่ากับเป้าหมายที่มั่นคง ซึ่งเป็นจุดที่ควรมุ่งเน้นด้วย จิตวิญญาณอย่างแท้จริง” แมรี่ โวลส โตนคราฟท์ เชลลีย์
อุปนิสัยที่  3   ทำสิ่งที่สำคัญก่อน  ( Put First Things First) ฉันมุ่งเน้นกับสิ่งที่สำคัญ ฉันวางแผนในการใช้เวลา สอดคล้องกับลำดับ ความสำคัญของงาน ฉันบรรลุผลสำเร็จในสิ่งที่มี ความสำคัญสูงสุดของฉัน ความมีประสิทธิผลเกิดจากความซื่อสัตย์ ต่อตนเองในการทำสิ่งที่สำคัญ เห็น กระทำ ได้รับ หลักการ
อุปนิสัยที่  3   ทำสิ่งที่สำคัญก่อน  ( Put First Things First) =   ความซื่อสัตย์และวินัยในการปฏิบัติ  (1) ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
อุปนิสัยที่  3   ทำสิ่งที่สำคัญก่อน  ( Put First Things First) =   ความซื่อสัตย์และวินัยในการปฏิบัติ  (2) ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
อุปนิสัยที่  3   ทำสิ่งที่สำคัญก่อน  ( Put First Things First) =   ความซื่อสัตย์และวินัยในการปฏิบัติ  (3) ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
“ สิ่งที่มีสำคัญมากที่สุดต้องไม่หลีกทาง ให้กับสิ่งที่มีความสำคัญน้อยกว่า” โจฮานน์ โวล์ฟกัง วอน เกอเธ่
วางแผนรายสัปดาห์ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ตารางเวลาของคนที่มีประสิทธิผลสูง ผลักดันงาน  I  เป็น  II  อยู่ห่างๆ จากงาน  III  และ  IV งาน เร่งด่วน ไม่เร่งด่วน สำคัญ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ไม่สำคัญ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
คุณค่าเวลา
การบริหารเวลา
“ สิ่งที่ดีที่สุดของการไม่วางแผนคือ เราแค่รู้สึกประหลาดใจเท่านั้น เมื่อเกิดความผิดพลาดขึ้น แทนที่จะรู้สึกกังวลและท้อถอย ในช่วงก่อนหน้าความผิดพลาดนั้น” จอห์น อาร์วี จอห์น
ฉันต้องการดำเนินชีวิตไปข้างหน้า อย่างไม่หยุดนิ่ง  เว้นเสียแต่ว่าถ้ามีสิ่งใด ที่ฉันสามารถช่วยเหลือหรือเอื้ออารีต่อ เพื่อนมนุษย์ได้   ฉันก็จะทำในทันที โดยไม่ลังเลหรือเดินผ่านไป เพราะฉันคงไม่มีโอกาสได้เดิน ผ่านมาทางนี้อีกครั้ง วิลเลียม เพนน์
ฉันสร้างผลลัพธ์ที่ดีขึ้นจากการร่วมมือกัน ไม่ใช่แข่งขันกัน ฉันมุ่งมั่นหาผลลัพธ์ แบบชนะ - ชนะ ฉันได้รับผลลัพธ์ที่ป็น ประโยชน์ร่วมกัน สัมพันธภาพในระยะยาวและมีประสิทธิผลเกิดจากความเคารพซึ่งกันและกัน และได้รับผลประโยชน์ร่วมกัน อุปนิสัยที่  4   คิดแบบชนะ - ชนะ  ( Think win-win) เห็น กระทำ ได้รับ หลักการ
อุปนิสัยที่  4   คิดแบบชนะ - ชนะ  ( Think win-win)   =  ผลประโยชน์ร่วมกัน  (1) ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
อุปนิสัยที่  4   คิดแบบชนะ - ชนะ  ( Think win-win)   =  ผลประโยชน์ร่วมกัน  (2) ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
แพ้ - แพ้  “ถ้าฉันล้มเหลว คุณก็ต้องล้มเหลวไปกับฉันด้วย” ชนะ - แพ้  “ความสำเร็จก็เหมือนขนมถาดหนึ่ง ถ้าคุณได้ชิ้นใหญ่ไป นั่นแปลว่าฉันได้ชิ้นเล็กลง” แพ้ - ชนะ  “เชิญเหยียบย่ำฉันได้เลย ใครๆก็ทำกันทั้งนั้น” ชนะ - ชนะ  “มันไม่ใช่คุณหรือฉัน แต่มันเป็นเราทั้งสองคน”
“ ถ้ามีใครสักคนรับฟัง ให้ความช่วยเหลือ ให้กำลังใจหรือพยายามทำความเข้าใจ ผู้ที่กำลังรู้สึกโดดเดี่ยว นั่นคือจุดเริ่มต้น ของสิ่งดีๆ มากมาย” ลอเร็ตตา เกอร์ซาติส
ถ้าฉันฟังเพื่อทำความเข้าใจก่อน ผู้อื่นก็จะเข้าใจฉัน ฉันใช้การฟัง อย่างเข้าอกเข้าใจ ฉันมีความเข้าใจ ซึ่งกันและกัน เพื่อการสื่อสารอย่างมีประสิทธิผล พวกเราต้องเข้าใจซึ่งกันและกันก่อน อุปนิสัยที่  5   เข้าใจผู้อื่นก่อนแล้วจึงให้ผู้อื่น เข้าใจเรา  ( Seek First to understand, then to be Understood) เห็น กระทำ ได้รับ หลักการ
อุปนิสัยที่  5   เข้าใจผู้อื่นก่อนแล้วจึงให้ผู้อื่น เข้าใจเรา  ( Seek First to understand, then to be Understood)   =  ความเข้าใจซึ่งกันและกัน  (1) ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
อุปนิสัยที่  5   เข้าใจผู้อื่นก่อนแล้วจึงให้ผู้อื่น เข้าใจเรา  ( Seek First to understand, then to be Understood)   =  ความเข้าใจซึ่งกันและกัน  (1) ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
“ เราต้องรับฟังซึ่งกันและกัน ถ้าเราต้องการที่จะก้าวผ่าน ช่วงเวลาแห่งกลียุคนี้ และหลีกเลี่ยงความสับสนอลหม่าน จากฝูงชน” ซาอิม โปตอค
ฉันให้คุณค่าใน ความแตกต่างของผู้อื่น ฉันมองหา ทางเลือกที่สาม ฉันสามารถสร้างวิธีการ ที่ดีกว่าเดิม ผลรวมทั้งหมดมีคุณค่ายิ่งใหญ่กว่า การนำคุณค่าของแต่ละส่วนมารวมกัน อุปนิสัยที่  6   ผนึกพลังประสานความต่าง  ( Synergize) เห็น กระทำ ได้รับ หลักการ
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],อุปนิสัยที่  6   ผนึกพลังประสานความต่าง  ( Synergize)  =  การร่วมมือกันอย่างสร้างสรรค์  (1)
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],อุปนิสัยที่  6   ผนึกพลังประสานความต่าง  ( Synergize)  =  การร่วมมือกันอย่างสร้างสรรค์  (2)
“ แก่นสำคัญของการผนึกพลังประสาน ความต่างคือ การให้คุณค่าใน ความแตกต่าง กล่าวคือ การให้เกียรติ ในความแตกต่าง การสร้างผลลัพธ์ จากจุดแข็งของทุกคน  และการชดเชยจุดอ่อนของแต่ละคน” สตีเฟน อาร์ โควีย์
บัญชีออมใจ ( เพื่อความไว้วางใจ ) Emotional Bank Account ฝาก ถอน รักษาคำสัญญา ไม่รักษาคำสัญญา สุภาพอ่อนน้อม ก้าวร้าว ไม่สุภาพ ไม่พูดลับหลัง นินทา พูดลับหลัง ฟังผู้อื่น ไม่ฟังผู้อื่น กล่าวคำขอโทษ หยิ่งยโส ยกตนข่มผู้อื่น กำหนดความคาดหวัง ที่ชัดเจน กำหนดความคาดหวัง ที่ไม่ชัดเจน
E MOTIONAL  B ANK  A CCOUNT KEEP PROMISES APOLOGIZE CLARIFY EXPECTATIONS TREAT OTHER KINDLY UNDERSTAND OTHERS LOYALITY TO THE ABSENT
ในการพัฒนาตนเอง ฉันต้องเติมพลังชีวิตอย่างสม่ำเสมอ ฉันวางแผนและ ใช้เวลาใส่ใจตนเอง ฉันได้รับการเติมพลัง เพื่อดูแลรักษาและเพิ่มพูนความมีประสิทธิผล เราต้องหมั่นเติมพลัง ชีวิตของเราเองในด้านร่างกาย อารมณ์ สติปัญญา และจิตวิญญาณ อุปนิสัยที่  7   ลับเลื่อยให้คมอยู่เสมอ  ( Sharpen the Saw) เห็น กระทำ ได้รับ หลักการ
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],อุปนิสัยที่  7   ลับเลื่อยให้คมอยู่เสมอ  ( Sharpen the Saw)  =   การเติมพลังชีวิต  (1)
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],อุปนิสัยที่  7   ลับเลื่อยให้คมอยู่เสมอ  ( Sharpen the Saw)  =   การเติมพลังชีวิต  (2)
ร่างกาย จิตวิญญาณ สติปัญญา สังคมและอารมณ์ การอ่านหนังสือ การมองไปข้างหน้า กาวางแผนและการเขียน การออกกำลังกาย โภชนาการและการ จัดการกับความเครียด ในจิตใจ การเห็นคุณค่าและรักษาคำมั่นสัญญา การศึกษา การอ่านวรรณกรรมที่สร้าง แรงบันดาลใจ ช่วยเหลือสังคม ใช้เวลา กับธรรมชาติและการทำสมาธิ การบริหาร การ แบ่งปัน ความรู้สึก  การรวมพลังและ ความมั่นคงในจิตใจ ที่แท้จริง มิติ  4  ประการ สำหรับการปรับตัวใหม่ “ เลื่อย”
“ โอ้ความรุ่งโรจน์แห่งการเจริญเติบโต ความเงียบสงบ พลานุภาพ ความยั่งยืน ความแน่นอน เพื่อให้ข้าได้ตื่นขึ้น ได้เปิดรับแสงสว่างแห่งสติสัมปชัญญะ ดั่งดอกไม้ที่เบิกบานรับแสงสุริยา” เอมิลี่ คาร์
นิสัย  7  ประการของผู้มีประสิทธิผลสูง ,[object Object],[object Object],[object Object],ชนะใจตนเอง
นิสัย  7  ประการของผู้มีประสิทธิผลสูง ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
นิสัย  7  ประการของผู้มีประสิทธิผลสูง ,[object Object],[object Object]
[object Object],ช่างทำดินสอ  หยิบดินสอแท่งหนึ่งมาวางไว้ต่างหาก  ก่อนหยิบลงบรรจุกล่อง และส่งไปยังโลกกว้าง  พร้อมกล่าวกับดินสอว่า “ ดินสอเอ๋ย  ก่อนจะออกไปท่องโลกกว้าง จงจดจำไว้และไม่มีวันลืมว่า ..... ถึงแม้เจ้าจะมีไม้ห่อหุ้มอยู่เพื่อปกป้องความเปราะบางของเจ้า แต่จงจำไว้ว่าสิ่งที่ดีที่สุดของเจ้าคือ  ข้างในตัวของเจ้าของ”
“ ..... เจ้าจงยอมลดละเลิกอัตตา  และให้ใครบางคนจับเจ้าไว้ในมือ  เพื่อเอื้อให้เจ้าได้ใช้ศักยภาพของความเป็นดินสอของเจ้า  อย่างสมบูรณ์” “ ..... จงยอมรับกับเจ็บปวดจากการเหลา  เพราะดินสอที่ดีต้องแหลมคม  จงจำไว้ว่า ปัญหา  อุปสรรค  การทบทวน  ความล้มเหลว  การปรับตัว  ความคับข้องใจ  การเสียหน้า  การไม่ได้ดังใจ ฯลฯ  เป็นความจำเป็นที่ก่อให้เกิดความดีเลิศสมบูรณ์แบบในตน และ  ต้องเกิดขึ้นเป็นระยะ ๆ ชั่วชีวิตเจ้า”
“ ..... ไม่ว่าอะไรจะเกิดขึ้นรอบตัวเจ้า  จงจำไว้เสมอว่า  เจ้ามีหน้าที่เขียน  และจงทำหน้าที่เขียนอยู่เสมอ  โดยอดทนต่อความผันแปร  ซึ่งเป็นเรื่องปกติธรรมดารอบตัวเจ้า” “ ..... จงกล้าเสี่ยงที่จะเขียนทุกอย่าง  เพราะเจ้าเป็นดินสอที่มียางลบติดอยู่ตรงปลาย  สามารถลบคำผิดจากการเขียนของเจ้าได้  ด้วยตัวเจ้าเอง” “ ..... ชีวิตของเจ้าจะหดสั้นลงตามวาระแห่งการเหลา  แต่เจ้า  จะเป็นดินสอที่ดีที่สุด  มีคุณค่าที่สุด  ถ้าเจ้าทิ้งร่องรอยของเจ้าไว้  ทุกหนทุกแห่งที่ได้มีโอกาสผ่านไป  ร่องรอยของเจ้าไม่มีวันตาย”
 
สู่ความสำเร็จ
Thank you for your attention

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

นำเสนอคุณธรรมจริยธรรม
นำเสนอคุณธรรมจริยธรรมนำเสนอคุณธรรมจริยธรรม
นำเสนอคุณธรรมจริยธรรมssuser34255a
 
[บทที่10]ภาวะผู้นำ
[บทที่10]ภาวะผู้นำ[บทที่10]ภาวะผู้นำ
[บทที่10]ภาวะผู้นำguest817d3d
 
การใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็กการใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็กOzone Thanasak
 
นำเสนอการห่อขนมไทย
นำเสนอการห่อขนมไทยนำเสนอการห่อขนมไทย
นำเสนอการห่อขนมไทยPatcharee Kongpun
 
การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์Thida Noodaeng
 
บทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่ม
บทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่มบทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่ม
บทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่มAj.Mallika Phongphaew
 
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบันการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบันTaraya Srivilas
 
Chapter 3 หลักการและแนวคิดการบริหารคุณภาพ
Chapter 3 หลักการและแนวคิดการบริหารคุณภาพChapter 3 หลักการและแนวคิดการบริหารคุณภาพ
Chapter 3 หลักการและแนวคิดการบริหารคุณภาพRonnarit Junsiri
 
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์Pazalulla Ing Chelsea
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้Sutthiluck Kaewboonrurn
 
บันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาลบันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาลSutthiluck Kaewboonrurn
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกThanyamon Chat.
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)Nattakorn Sunkdon
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpa
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpaตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpa
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpaNattakorn Sunkdon
 
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำบทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำAj.Mallika Phongphaew
 

La actualidad más candente (20)

แผนการนิเทศภายใน 2564 ร่มเกล้า
แผนการนิเทศภายใน 2564 ร่มเกล้าแผนการนิเทศภายใน 2564 ร่มเกล้า
แผนการนิเทศภายใน 2564 ร่มเกล้า
 
Business Model Canvas Tools
Business Model Canvas ToolsBusiness Model Canvas Tools
Business Model Canvas Tools
 
นำเสนอคุณธรรมจริยธรรม
นำเสนอคุณธรรมจริยธรรมนำเสนอคุณธรรมจริยธรรม
นำเสนอคุณธรรมจริยธรรม
 
Good to great
Good to greatGood to great
Good to great
 
คำกริยา
คำกริยาคำกริยา
คำกริยา
 
[บทที่10]ภาวะผู้นำ
[บทที่10]ภาวะผู้นำ[บทที่10]ภาวะผู้นำ
[บทที่10]ภาวะผู้นำ
 
การใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็กการใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็ก
 
นำเสนอการห่อขนมไทย
นำเสนอการห่อขนมไทยนำเสนอการห่อขนมไทย
นำเสนอการห่อขนมไทย
 
การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์
 
บทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่ม
บทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่มบทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่ม
บทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่ม
 
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบันการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
 
9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)
9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)
9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)
 
Chapter 3 หลักการและแนวคิดการบริหารคุณภาพ
Chapter 3 หลักการและแนวคิดการบริหารคุณภาพChapter 3 หลักการและแนวคิดการบริหารคุณภาพ
Chapter 3 หลักการและแนวคิดการบริหารคุณภาพ
 
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
 
บันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาลบันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาล
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpa
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpaตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpa
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpa
 
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำบทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
 

Similar a 7 habits (19 5-2554)

บทความการคิดแก้ปัญหา ลงสไรแชร์
บทความการคิดแก้ปัญหา  ลงสไรแชร์บทความการคิดแก้ปัญหา  ลงสไรแชร์
บทความการคิดแก้ปัญหา ลงสไรแชร์bussaba_pupa
 
การพัฒนากรอบความคิด(Mindset)สู่ความสำเร็จ
การพัฒนากรอบความคิด(Mindset)สู่ความสำเร็จการพัฒนากรอบความคิด(Mindset)สู่ความสำเร็จ
การพัฒนากรอบความคิด(Mindset)สู่ความสำเร็จmarkable33
 
ทักษะชีวิตราชการ
ทักษะชีวิตราชการทักษะชีวิตราชการ
ทักษะชีวิตราชการChanida_Aingfar
 
Organization Behavior
Organization BehaviorOrganization Behavior
Organization Behaviortltutortutor
 
จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2kungcomedu
 
OKRs Measure What Matters: OKRs วัดสิ่งที่สำคัญ.pdf
OKRs Measure What Matters: OKRs วัดสิ่งที่สำคัญ.pdfOKRs Measure What Matters: OKRs วัดสิ่งที่สำคัญ.pdf
OKRs Measure What Matters: OKRs วัดสิ่งที่สำคัญ.pdfmaruay songtanin
 
JD (job description)
JD (job description)JD (job description)
JD (job description)Goal Maria
 
ภาวะผู้นำทางวิชาการ
ภาวะผู้นำทางวิชาการภาวะผู้นำทางวิชาการ
ภาวะผู้นำทางวิชาการTwatchai Tangutairuang
 

Similar a 7 habits (19 5-2554) (20)

บทความการคิดแก้ปัญหา ลงสไรแชร์
บทความการคิดแก้ปัญหา  ลงสไรแชร์บทความการคิดแก้ปัญหา  ลงสไรแชร์
บทความการคิดแก้ปัญหา ลงสไรแชร์
 
คุณลักษณะผู้บริหารที่ดีพ.พ
คุณลักษณะผู้บริหารที่ดีพ.พคุณลักษณะผู้บริหารที่ดีพ.พ
คุณลักษณะผู้บริหารที่ดีพ.พ
 
Strengths Quest Thai version
Strengths Quest Thai versionStrengths Quest Thai version
Strengths Quest Thai version
 
การพัฒนากรอบความคิด(Mindset)สู่ความสำเร็จ
การพัฒนากรอบความคิด(Mindset)สู่ความสำเร็จการพัฒนากรอบความคิด(Mindset)สู่ความสำเร็จ
การพัฒนากรอบความคิด(Mindset)สู่ความสำเร็จ
 
The 15 invaluable laws of growth
The 15 invaluable laws of growthThe 15 invaluable laws of growth
The 15 invaluable laws of growth
 
ทักษะชีวิตราชการ
ทักษะชีวิตราชการทักษะชีวิตราชการ
ทักษะชีวิตราชการ
 
งานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinkingงานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinking
 
Thinking
 Thinking Thinking
Thinking
 
งานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinkingงานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinking
 
Thinking
ThinkingThinking
Thinking
 
Thinking
 Thinking Thinking
Thinking
 
Organization Behavior
Organization BehaviorOrganization Behavior
Organization Behavior
 
Disc model
Disc modelDisc model
Disc model
 
จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2
 
51105
5110551105
51105
 
OKRs Measure What Matters: OKRs วัดสิ่งที่สำคัญ.pdf
OKRs Measure What Matters: OKRs วัดสิ่งที่สำคัญ.pdfOKRs Measure What Matters: OKRs วัดสิ่งที่สำคัญ.pdf
OKRs Measure What Matters: OKRs วัดสิ่งที่สำคัญ.pdf
 
การแนะแนว
การแนะแนวการแนะแนว
การแนะแนว
 
Managing oneself
Managing oneselfManaging oneself
Managing oneself
 
JD (job description)
JD (job description)JD (job description)
JD (job description)
 
ภาวะผู้นำทางวิชาการ
ภาวะผู้นำทางวิชาการภาวะผู้นำทางวิชาการ
ภาวะผู้นำทางวิชาการ
 

7 habits (19 5-2554)

  • 1. ประชุมศูนย์เครือข่าย ปีการศึกษา ๒๕๕๔ โดย ดร . อรรถพล ตรึกตรอง ผอ . สพป . ขอนแก่น เขต ๕
  • 2.
  • 5. สพฐ . คัดเลือกให้ สพป . ขอนแก่น เขต ๕ นำเสนอเบื้องหลังความสำเร็จ เมื่อ ๑๑ พค . ๕๔
  • 6. ผลการทดสอบ O-NET ปี ๒๕๕๓ ป. ๖ ม.๓
  • 8. การบริหารและพัฒนาตนเอง ด้วย 7 อุปนิสัยพัฒนาสู่ผู้มีประสิทธิผลสูง ดร . อรรถพล ตรึกตรอง ผอ . สพป . ขอนแก่น เขต 5
  • 9.
  • 10. อุปนิสัย : สิ่งที่คุณทำเป็นประจำอย่างต่อเนื่อง ความรู้ What to do & why? ทักษะ How to do? ความปรารถนา What need? อุปนิสัย
  • 12. อุปนิสัยที่ 7 ลับเลื่อยให้คมอยู่เสมอ วงจรวุฒิภาวะ การพึ่งพาผู้อื่น การพึ่งพาตนเอง การพึ่งพาซึ่งกันและกัน อุปนิสัยที่ 5 เข้าใจผู้อื่นก่อนให้ผู้อื่นเข้าใจเรา อุปนิสัยที่ 6 ผนึกพลังประสานความต่าง อุปนิสัยที่ 4 คิดแบบชนะ - ชนะ อุปนิสัยที่ 3 ทำสิ่งที่สำคัญก่อน อุปนิสัยที่ 1 บี โปรแอคทีพ อุปนิสัยที่ 2 เริ่มต้นด้วยจุดมุ่งหมายในใจ ชนะใจตนเอง ชนะใจคนอื่น
  • 13. “ ปลูก ความคิด ผลที่ได้คือ การกระทำ ปลูก การกระทำ ผลที่ได้คือ อุปนิสัย ปลูก อุปนิสัย ผลที่ได้คือ คุณลักษณะ ปลูก คุณลักษณะ ผลที่ได้คือ ชะตาชีวิต” แซมมวล สไมล์ส
  • 14.
  • 15. หลักการ : กฎธรรมชาติที่ชัดเจนในตัวเอง เห็น กระทำ ได้รับ หลักการ
  • 16.
  • 17. กรอบความคิด : วิธีที่คนรับรู้ เข้าใจ และตีความสิ่งที่ อยู่รอบตัว เห็น กระทำ ได้รับ
  • 18. “ หากคุณต้องการเปลี่ยนแปลงเพียง เล็กน้อย ให้เปลี่ยนที่ พฤติกรรมของคุณ แต่หากคุณต้องการเปลี่ยนแปลง แบบก้าวกระโดด ให้เปลี่ยนที่ กรอบความคิดของคุณ ” สตีเฟน อาร์ โควีย์
  • 19. แนวคิดบางประการเกี่ยวกับ กรอบความคิด : 1. กรอบความคิด ของเราอาจผิดก็ได้ 2. กรอบความคิด อาจเป็นข้อจำกัดของเรา 3. กรอบความคิด ของเราอาจเป็น ภาพสะท้อนจากสังคม 4. การเปลี่ยนแปลงในชีวิต เกิดจาก การเปลี่ยน กรอบความคิด 5. คนที่ขัดแย้งกัน อาจเป็นเพราะเขามี กรอบความคิด ที่ต่างกัน
  • 31.
  • 32. อุปนิสัยที่ 7 ลับเลื่อยให้คมอยู่เสมอ วงจรวุฒิภาวะ การพึ่งพาผู้อื่น การพึ่งพาตนเอง การพึ่งพาซึ่งกันและกัน อุปนิสัยที่ 5 เข้าใจผู้อื่นก่อนให้ผู้อื่นเข้าใจเรา อุปนิสัยที่ 6 ผนึกพลังประสานความต่าง อุปนิสัยที่ 4 คิดแบบชนะ - ชนะ อุปนิสัยที่ 3 ทำสิ่งที่สำคัญก่อน อุปนิสัยที่ 1 บี โปรแอคทีพ อุปนิสัยที่ 2 เริ่มต้นด้วยจุดมุ่งหมายในใจ ชนะใจตนเอง ชนะใจคนอื่น
  • 33. อุปนิสัยที่ 1 ต้องเป็นฝ่ายเริ่มต้นทำก่อน ( Be Proactive) ฉันรับผิดชอบต่อ ทางเลือกของฉัน ฉันเลือกที่จะกระทำ มิใช่ถูกกระทำ ฉันมีขอบเขตแห่ง อิทธิพลเพิ่มขึ้น ฉันมีอิสรภาพในการเลือกและ รับผิดชอบต่อการเลือกนั้น เห็น กระทำ ได้รับ หลักการ
  • 34.
  • 35.
  • 36. ความสามารถในการเก็บแรงกระตุ้น การตอบสนองกับสิ่งกระตุ้น จะเป็น ไปอย่างรอบคอบ และผ่านการชั่งใจ มาก่อน ( ไม่ยอมแพ้ หาทางออกได้ มั่นใจ ผ่านได้สบาย เชื่อปัญญา แก้ปัญหาได้ ) คน Proactive
  • 37. อุปนิสัยที่ 1 : PROACTIVE MODEL สิ่งกระตุ้น การตอบสนอง อิสระในการเลือก รู้ตนเอง จินตนาการ จิตสำนึก ความต้องการพึ่งพาตนเอง
  • 38. คน Proactive ควบคุมไม่ได้ เช่นดินฟ้าอากาศ / ภัยธรรมชาติ / เหตุการณ์บ้านเมือง ควบคุมได้ เช่นสุขภาพ / ครอบครัว / งาน ขอบเขตแห่งความกังวล Circle of Concern (COC) ขอบเขตแห่งอิทธิพล Circle of Influence (COI)
  • 39. คน Proactive พฤติกรรมโปรแอคทีพ ภาษาโปรแอคทีพ มีความสุขุม ฉันสามารถทำได้ มุ่งเน้นที่วิธีแก้ไข ฉันขอโทษ มีความรับผิดชอบ ฉันเลือกที่จะทำสิ่งนี้ ริเริ่มสร้างสรรค์สิ่งต่างๆ ให้เกิดขึ้น ลองดูทางเลือกอื่นทั้งหมด ที่เรามีดีกว่า คิดก่อนทำการตอบสนอง จะต้องมีทางออกอื่นๆ อีก
  • 40. คน Reactive เป็นฝ่ายถูกกระทำ มักได้รับ ผ ลกระทบจากเงื่อนไข ท างสภาพแวดล้อม และเลือกที่จะให้อำนาจเหล่านั้นมาควบคุมตน ( มันเป็นอย่างนี้ แก้ไม่ได้หรอก ผมหัวเสีย มันจำเป็น เชื่อกรรม มีจริง )
  • 41. REACTIVE MODEL การตอบสนอง สิ่งเร้า ( เหตุการณ์ )
  • 42. คน Reactive ขอบเขตแห่งความกังวล ขอบเขตแห่งอิทธิพล
  • 43. คน Reactive พฤติกรรมรีแอคทีพ ภาษารีแอคทีพ โกรธและพูดแต่สิ่งที่แสดงออกถึง ความรู้สึกผิดของตนเอง คุณทำให้ฉันโกรธ คร่ำครวญและกล่าวโทษ มันไม่ใช่ความผิดของฉัน โทษผู้อื่นและสิ่งต่างๆ ฉันไม่สามารถช่วยอะไรได้ แสดงออกเหมือนกับตนเองตก เป็นเหยื่อ ฉันก็เป็นของฉันแบบนี้แหละ ไม่รับผิดชอบต่อการกระทำของ ตนเอง ฉันต้องทำสิ่งนี้
  • 44. “ สถานการณ์ต่างๆ ไม่มีอำนาจในการ ควบคุมคุณ เพราะตัวคุณเองจะเป็น ผู้ควบคุมสภาวะภายในตัวคุณ ตลอดเวลาและตลอดกาล” โอลกา รอสมานิธ
  • 45. “ ยิ่งความสามารถในการควบคุม ตนเองของคุณมีมากเท่าไร อิสระของคุณก็ยิ่งมีมากขึ้นเท่านั้น” มารี วอน เอบเนอร์ - เชนบัค
  • 46.  
  • 47. อุปนิสัยที่ 2 เริ่มต้นด้วยจุดมุ่งหมายในใจ ( Begin with the end in Mind) ฉันเป็นผู้สร้างอนาคต ของตนเอง ฉันสร้างและพัฒนา คำปณิธานส่วนตน ฉันมีความรู้สึกถึงเป้าหมาย และความหมายในชีวิตของฉัน การสร้างทางจิตใจเกิดขึ้นก่อน การสร้างทางกายภาพ เห็น กระทำ ได้รับ หลักการ
  • 48.
  • 49.
  • 50.
  • 51. “ ไม่มีสิ่งใดให้ความสงบสุขกับชีวิต ได้มากเท่ากับเป้าหมายที่มั่นคง ซึ่งเป็นจุดที่ควรมุ่งเน้นด้วย จิตวิญญาณอย่างแท้จริง” แมรี่ โวลส โตนคราฟท์ เชลลีย์
  • 52. อุปนิสัยที่ 3 ทำสิ่งที่สำคัญก่อน ( Put First Things First) ฉันมุ่งเน้นกับสิ่งที่สำคัญ ฉันวางแผนในการใช้เวลา สอดคล้องกับลำดับ ความสำคัญของงาน ฉันบรรลุผลสำเร็จในสิ่งที่มี ความสำคัญสูงสุดของฉัน ความมีประสิทธิผลเกิดจากความซื่อสัตย์ ต่อตนเองในการทำสิ่งที่สำคัญ เห็น กระทำ ได้รับ หลักการ
  • 53.
  • 54.
  • 55.
  • 57.
  • 58.
  • 61. “ สิ่งที่ดีที่สุดของการไม่วางแผนคือ เราแค่รู้สึกประหลาดใจเท่านั้น เมื่อเกิดความผิดพลาดขึ้น แทนที่จะรู้สึกกังวลและท้อถอย ในช่วงก่อนหน้าความผิดพลาดนั้น” จอห์น อาร์วี จอห์น
  • 62. ฉันต้องการดำเนินชีวิตไปข้างหน้า อย่างไม่หยุดนิ่ง เว้นเสียแต่ว่าถ้ามีสิ่งใด ที่ฉันสามารถช่วยเหลือหรือเอื้ออารีต่อ เพื่อนมนุษย์ได้ ฉันก็จะทำในทันที โดยไม่ลังเลหรือเดินผ่านไป เพราะฉันคงไม่มีโอกาสได้เดิน ผ่านมาทางนี้อีกครั้ง วิลเลียม เพนน์
  • 63. ฉันสร้างผลลัพธ์ที่ดีขึ้นจากการร่วมมือกัน ไม่ใช่แข่งขันกัน ฉันมุ่งมั่นหาผลลัพธ์ แบบชนะ - ชนะ ฉันได้รับผลลัพธ์ที่ป็น ประโยชน์ร่วมกัน สัมพันธภาพในระยะยาวและมีประสิทธิผลเกิดจากความเคารพซึ่งกันและกัน และได้รับผลประโยชน์ร่วมกัน อุปนิสัยที่ 4 คิดแบบชนะ - ชนะ ( Think win-win) เห็น กระทำ ได้รับ หลักการ
  • 64.
  • 65.
  • 66. แพ้ - แพ้ “ถ้าฉันล้มเหลว คุณก็ต้องล้มเหลวไปกับฉันด้วย” ชนะ - แพ้ “ความสำเร็จก็เหมือนขนมถาดหนึ่ง ถ้าคุณได้ชิ้นใหญ่ไป นั่นแปลว่าฉันได้ชิ้นเล็กลง” แพ้ - ชนะ “เชิญเหยียบย่ำฉันได้เลย ใครๆก็ทำกันทั้งนั้น” ชนะ - ชนะ “มันไม่ใช่คุณหรือฉัน แต่มันเป็นเราทั้งสองคน”
  • 67. “ ถ้ามีใครสักคนรับฟัง ให้ความช่วยเหลือ ให้กำลังใจหรือพยายามทำความเข้าใจ ผู้ที่กำลังรู้สึกโดดเดี่ยว นั่นคือจุดเริ่มต้น ของสิ่งดีๆ มากมาย” ลอเร็ตตา เกอร์ซาติส
  • 68. ถ้าฉันฟังเพื่อทำความเข้าใจก่อน ผู้อื่นก็จะเข้าใจฉัน ฉันใช้การฟัง อย่างเข้าอกเข้าใจ ฉันมีความเข้าใจ ซึ่งกันและกัน เพื่อการสื่อสารอย่างมีประสิทธิผล พวกเราต้องเข้าใจซึ่งกันและกันก่อน อุปนิสัยที่ 5 เข้าใจผู้อื่นก่อนแล้วจึงให้ผู้อื่น เข้าใจเรา ( Seek First to understand, then to be Understood) เห็น กระทำ ได้รับ หลักการ
  • 69.
  • 70.
  • 71. “ เราต้องรับฟังซึ่งกันและกัน ถ้าเราต้องการที่จะก้าวผ่าน ช่วงเวลาแห่งกลียุคนี้ และหลีกเลี่ยงความสับสนอลหม่าน จากฝูงชน” ซาอิม โปตอค
  • 72. ฉันให้คุณค่าใน ความแตกต่างของผู้อื่น ฉันมองหา ทางเลือกที่สาม ฉันสามารถสร้างวิธีการ ที่ดีกว่าเดิม ผลรวมทั้งหมดมีคุณค่ายิ่งใหญ่กว่า การนำคุณค่าของแต่ละส่วนมารวมกัน อุปนิสัยที่ 6 ผนึกพลังประสานความต่าง ( Synergize) เห็น กระทำ ได้รับ หลักการ
  • 73.
  • 74.
  • 75. “ แก่นสำคัญของการผนึกพลังประสาน ความต่างคือ การให้คุณค่าใน ความแตกต่าง กล่าวคือ การให้เกียรติ ในความแตกต่าง การสร้างผลลัพธ์ จากจุดแข็งของทุกคน และการชดเชยจุดอ่อนของแต่ละคน” สตีเฟน อาร์ โควีย์
  • 76. บัญชีออมใจ ( เพื่อความไว้วางใจ ) Emotional Bank Account ฝาก ถอน รักษาคำสัญญา ไม่รักษาคำสัญญา สุภาพอ่อนน้อม ก้าวร้าว ไม่สุภาพ ไม่พูดลับหลัง นินทา พูดลับหลัง ฟังผู้อื่น ไม่ฟังผู้อื่น กล่าวคำขอโทษ หยิ่งยโส ยกตนข่มผู้อื่น กำหนดความคาดหวัง ที่ชัดเจน กำหนดความคาดหวัง ที่ไม่ชัดเจน
  • 77. E MOTIONAL B ANK A CCOUNT KEEP PROMISES APOLOGIZE CLARIFY EXPECTATIONS TREAT OTHER KINDLY UNDERSTAND OTHERS LOYALITY TO THE ABSENT
  • 78. ในการพัฒนาตนเอง ฉันต้องเติมพลังชีวิตอย่างสม่ำเสมอ ฉันวางแผนและ ใช้เวลาใส่ใจตนเอง ฉันได้รับการเติมพลัง เพื่อดูแลรักษาและเพิ่มพูนความมีประสิทธิผล เราต้องหมั่นเติมพลัง ชีวิตของเราเองในด้านร่างกาย อารมณ์ สติปัญญา และจิตวิญญาณ อุปนิสัยที่ 7 ลับเลื่อยให้คมอยู่เสมอ ( Sharpen the Saw) เห็น กระทำ ได้รับ หลักการ
  • 79.
  • 80.
  • 81. ร่างกาย จิตวิญญาณ สติปัญญา สังคมและอารมณ์ การอ่านหนังสือ การมองไปข้างหน้า กาวางแผนและการเขียน การออกกำลังกาย โภชนาการและการ จัดการกับความเครียด ในจิตใจ การเห็นคุณค่าและรักษาคำมั่นสัญญา การศึกษา การอ่านวรรณกรรมที่สร้าง แรงบันดาลใจ ช่วยเหลือสังคม ใช้เวลา กับธรรมชาติและการทำสมาธิ การบริหาร การ แบ่งปัน ความรู้สึก การรวมพลังและ ความมั่นคงในจิตใจ ที่แท้จริง มิติ 4 ประการ สำหรับการปรับตัวใหม่ “ เลื่อย”
  • 82. “ โอ้ความรุ่งโรจน์แห่งการเจริญเติบโต ความเงียบสงบ พลานุภาพ ความยั่งยืน ความแน่นอน เพื่อให้ข้าได้ตื่นขึ้น ได้เปิดรับแสงสว่างแห่งสติสัมปชัญญะ ดั่งดอกไม้ที่เบิกบานรับแสงสุริยา” เอมิลี่ คาร์
  • 83.
  • 84.
  • 85.
  • 86.
  • 87. “ ..... เจ้าจงยอมลดละเลิกอัตตา และให้ใครบางคนจับเจ้าไว้ในมือ เพื่อเอื้อให้เจ้าได้ใช้ศักยภาพของความเป็นดินสอของเจ้า อย่างสมบูรณ์” “ ..... จงยอมรับกับเจ็บปวดจากการเหลา เพราะดินสอที่ดีต้องแหลมคม จงจำไว้ว่า ปัญหา อุปสรรค การทบทวน ความล้มเหลว การปรับตัว ความคับข้องใจ การเสียหน้า การไม่ได้ดังใจ ฯลฯ เป็นความจำเป็นที่ก่อให้เกิดความดีเลิศสมบูรณ์แบบในตน และ ต้องเกิดขึ้นเป็นระยะ ๆ ชั่วชีวิตเจ้า”
  • 88. “ ..... ไม่ว่าอะไรจะเกิดขึ้นรอบตัวเจ้า จงจำไว้เสมอว่า เจ้ามีหน้าที่เขียน และจงทำหน้าที่เขียนอยู่เสมอ โดยอดทนต่อความผันแปร ซึ่งเป็นเรื่องปกติธรรมดารอบตัวเจ้า” “ ..... จงกล้าเสี่ยงที่จะเขียนทุกอย่าง เพราะเจ้าเป็นดินสอที่มียางลบติดอยู่ตรงปลาย สามารถลบคำผิดจากการเขียนของเจ้าได้ ด้วยตัวเจ้าเอง” “ ..... ชีวิตของเจ้าจะหดสั้นลงตามวาระแห่งการเหลา แต่เจ้า จะเป็นดินสอที่ดีที่สุด มีคุณค่าที่สุด ถ้าเจ้าทิ้งร่องรอยของเจ้าไว้ ทุกหนทุกแห่งที่ได้มีโอกาสผ่านไป ร่องรอยของเจ้าไม่มีวันตาย”
  • 89.  
  • 91. Thank you for your attention

Notas del editor

  1. แก่นแท้ของแต่ละอุปนิสัย คือ หลักการนั่นเอง
  2. P คือไข่ทอง คำ PC คือความสามารถในการผลิต **** ความรู้ในวิชาชีพใดก็ตามใช้ได้ดีเพียง 4 ปี เท่านั้น
  3. อุปนิสัยที่ 1 คือ โปรแกรมเมอร์
  4. อุปนิสัยที่ 1 คือ โปรแกรมเมอร์ อุปนิสัยที่ 2 คือ การเขียนโปรแกรม ( ให้สอดคล้องกับค่านิยมส่วนตนให้มากที่สุด )