SlideShare a Scribd company logo
1 of 84
Download to read offline
Creative Craft Tourism
Creative Craft Tourism and
Learning Crafts Service
เติมเต็มศักยภาพการพัฒนาเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์
โครงการ HANDMADE CHIANG MAI
13-19 พฤศจิกายน 2556 ณ ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ เชียงใหม่

โดย วริธธิ ตรีประเสริฐ และอนันตา อินทรอักษร เจ้าหน้าที่พัฒนาการออกแบบ
และธุรกิจสร้างสรรค์ ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ (TCDC)
Creative Craft Tourism Team
วริธธิ ตรีประเสริฐ : TCDC บริหารธุรกิจ และจัดการด้านการออกแบบ
อนันตา อินทรอักษร: TCDC พัฒนาเครือข่ายและธุรกิจสร้างสรรค์
จักรพันธ์ สุวรรณพาณิชย์:
Designer | Art Director | Illustrator | Photographer | Editor
หัวข้อการอบรมสัมมนาเชิงปฏิบัติการ
วันแรก 14 พ.ย. 56

การท่องเที่ยว
นักท่องเที่ยว

วันที่สอง 15 พ.ย. 56

ธุรกิจ Learning Crafts Service

วันที่ 3-5 | 16, 18, 19

เข้าเยี่ยมและร่วมออกแบบธุรกิจ
Learning Crafts Service
จุดประกาย
ร่วมกันคิด
ร่วมกันทำ
คุณ
กาลังจะดาเนิน
ธุรกิจการท่องเที่ยว
1. การท่องเที่ยว และ การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์
1.1 การท่องเที่ยวไทย

1.2 การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการเดินทางของนักท่องเทียว
่
1.3 การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ CREATIVE TOURISM
1.1 การท่องเที่ยวไทย
A variety of tourists’ attractions and activities
ประเทศไทย มีรูปแบบและกิจกรรมการท่องเที่ยวที่หลากหลาย
Cultural and historical attractions
แหล่งดึงดูดเชิงวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์
รวมถึงแหล่งท่องเทียวด้านความบันเทิงยามราตรี
่
รูปแบบการท่องเที่ยวแบบผจญภัย และท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติ
/มีโครงสร้างพื้นฐานที่สะดวกในการเดินทาง
/ความมีวัฒนธรรมที่เด่น มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว
/ลักษณะทางกายภาพของสถานที่ ได้แก่ ทะเล หาดทราย น้าตก
และสภาพภูมิอากาศที่น่าดึงดูด
ลักษณะของอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
 เป็นอุตสาหกรรมบริการ สินค้าคือบริการ ได้แก่ ความสะดวกในด้านต่าง ๆ
การพบเห็นแหล่งท่องเที่ยว พบปะผู้คน ความประทับใจ อารมณ์ความรู้สึก
ความผูกพัน เป็นสินค้าที่ไม่มีตัวตน ไม่สามารถจับต้องได้
 เป็นอุตสาหกรรมที่สินค้าไม่อาจจัดส่งให้แก่ผู้ซื้อได้ ผู้ซื้อต้องเดินทางมาซื้อ
สินค้าหรือใช้บริการด้วยตนเองไม่ว่าจะเป็นการขนส่ง ที่พักแรม หรือแหล่ง
ท่องเที่ยว

 เป็นอุตสาหกรรมที่ไม่มีขีดจากัดในการผลิตและจาหน่าย เพราะไม่ต้องใช้
วัตถุดิบในการ ผลิต ผลผลิตคือทรัพยากรทางการท่องเที่ยวที่มีอยู่
แล้ว ต้องการเพียงการจัดระบบ การอนุรักษ์และการพัฒนาอย่างถูกวิธี ก็จะ
เป็นอุตสาหกรรมที่ให้ผลผลิตไม่มีวันสิ้นสุด
ลักษณะของอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
 เป็นอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมอื่น ๆ แทบทุกประเภทก่อให้เกิด
การลงทุน ทางอุตสาหกรรม การนาเอาทรัพยากรของประเทศมาใช้ประโยชน์
อย่างสูงสุดทั้งทางด้านแรงงาน และวัตถุดิบ ได้แก่ อุตสาหกรรมเกี่ยวกับ
ศิลปหัตถกรรมพื้นบ้าน อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่มประจา
ถิ่น อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ท้องถิ่นต่าง ๆ ฯลฯ ที่นักท่องเที่ยวสามารถซื้อหา
กลับไปเป็นที่ระลึกหรือใช้ประโยชน์ได้
 เป็นอุตสาหกรรมที่สร้างความเจริญและเสริมความมั่นคงปลอดภัยให้แก่
ท้องถิ่น โดยเฉพาะท้องถิ่นที่ได้รับการพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยว
 เป็นอุตสาหกรรมที่มุ่งสร้างความจรรโลงใจ มีผลต่อสันติภาพ สัมพันธไมตรี
และความเข้าใจอันดีระหว่างมนุษยชาติ
เดินทางและท่องเที่ยวเพื่ออะไร
1. การท่องเที่ยวเพื่อความสนุก
นักท่องเที่ยวจะใช้วันหรือเวลาหยุดงาน เพื่อเปลี่ยนบรรยากาศ เพื่อสนองความอยากรู้
อยากเห็นเพื่อพบในสิ่งแปลก ๆ และอุปกรณ์เทคโนโลยีใหม่ ๆ เพื่อชมทิวทัศน์อัน
สวยงามของชนบท เพื่อพบเห็นขนบธรรมเนียมประเพณีของท้องถิ่น เพื่อสนุกสนาน
กับแสงสีเสียงของสถานที่นั้น ๆ และความสวยงามโอ่อ่าของอาคาร ในเมืองใหญ่ และ
เมืองศูนย์การค้าการท่องเทียว สิ่งเหล่านี้จะทาให้นกท่องเทียวได้รับความสนุกสนาน
่
ั
่
ทั้งสิ้น เช่น ไป Shopping ที่โตเกียว, ล่องแก่งที่นครนายก , เที่ยวดิสนีย์แลนด์ที่
อเมริกา , พายเรือแคนู , เล่นบันจี้จั๊ม , ปีนเขา , ปั่นจักรยานภูเขา , ดาน้าดูปะการัง ,
เล่นเจ็ตสกี , ดูหนัง ฟังเพลง เป็นต้น
2. การท่องเที่ยวเพื่อการพักผ่อน
นักท่องเที่ยวจะ ใช้วันหยุดเพื่อการพักผ่อน โดยไม่คานึงถึงสิ่งอื่นใด เพื่อขจัดหรือ
บรรเทาความเหน็ดเหนื่อยทั้งกายและใจ ที่เกิดขึ้นในระหว่างการทางานที่ผ่านมาให้หมด
สิ้นไป เพื่อเรียกกาลังกายและกาลังใจให้กลับคืนมาสาหรับการทางานต่อไปบางคนไปพัก
ฟื้นเพราะการเจ็บป่วยนักท่องเที่ยวพวกนี้จึงไปพักในที่ที่เป็นประโยชน์แก่ตนเองมาก
ที่สุด เช่น ช่วงปีใหม่, ตรุษจีน , สงกรานต์ ก็จะไปเที่ยวกับครอบครัว อาจเดินทางไปหา
ครอบครัวที่อยู่ต่างจังหวัด เป็นต้น
3. การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
นักท่องเที่ยว ที่ปรารถนาจะเรียนรู้ศิลปวิทยา ที่เกี่ยวกับวัฒนธรรมของชาติต่าง ๆ ใน
สถาบันหรือสถานศึกษาที่มีชื่อเสียง หรือในประเทศที่มีวัฒนธรรมน่าสนใจ เขาอาจจะไป
ประเทศนั้น ๆ เพื่อศึกษาหาความรู้ในเรื่องต่าง ๆ เช่น ความเป็นอยู่ในแง่มนุษย์ศึกษาและ
สังคม โบราณสถาน โบราณวัตถุ ความเจริญทางวัตถุและเทคโนโลยีปัจจุบัน ศิลปะนานา
ชนิด หรือเพื่อไปนมัสการศูนย์ศาสนาที่สาคัญ การร่วมในงานมหกรรมงานฉลอง งานพิธี
การที่สาคัญต่าง ๆ การชมการแสดงครั้งสาคัญ ๆ เป็นต้น เช่น ชมแสงสีเสียงที่อยุธยา
, การพักแบบโฮมสเตย์ , การร่วมกิจกรรมวันสาคัญทางศาสนา เช่นการรดน้าดาหัวในวัน
สงกรานต์, การลอยกระทงในวันลอยกระทง , การแห่เทียนในวันเข้าพรรษา เป็นต้น
4. การท่องเที่ยวเพื่อการกีฬา
4.1 การไปชมการแข่งขัน เช่น ไปชมบอลโลกที่ออสเตรเลีย ไปดูซีเกมส์ที่บรูไน
4.2 การไปเล่นกีฬา เช่น นักกีฬาเกือบทุกประเทศเดินทางไปแข่งกีฬาโอลิมปิกที่จีน,
ทีมรวมดาราช่อง 3 ไปแข่งฟุตบอลกับทีมรวมนักข่าวบันเทิงที่ฉะเชิงเทรา เป็นต้น
5. การท่องเที่ยวเพื่อธุรกิจ
ที่จริงการท่องเที่ยวเพื่อประกอบธุรกิจไม่น่าจะเป็นการท่องเทียวเพราะขาดปัจจัยที่วา การ
่
่
ท่องเทียวต้องเป็นการกระทาอย่างอิสระเสรี และมีความตั้งใจที่จะท่องเที่ยว แต่นักธุรกิจ
่
เมื่อติดต่องานธุรกิจเสร็จแล้ว ทุกคนก็จะเจียดเวลาที่จะท่องเทียวด้วย เช่น ไปซื้อของ
่
ฝาก หรือ กลุ่มที่ประชุมนัดหมายไปเที่ยวด้วยกันตามสถานที่ต่าง ๆ
6. การท่องเที่ยวเพื่อการประชุมสัมมนา
ในปัจจุบัน องค์กรต่าง ๆ มีการจัดประชุมสัมมนากันมาก ซึ่งเป็นการส่งเสริมการท่องเที่ยว
อย่างหนึ่ง ในวาระการประชุมจะจัดช่วงให้ผู้เข้าประชุมได้มีโอกาสท่องเที่ยวเพื่อผ่อน คลาย
ความเครียดกันด้วย
7. การท่องเที่ยวเพื่อการศึกษา
ไปทาวิจัย ไปศึกษาต่อ ไปสอน ไปดูงาน เช่น เอนทรานซ์ได้ที่มหาวิทยาลัยสงขลาฯ, ไป
ทาวิจัยปริญญาโทที่หมู่บ้านไทยโซ่ง จ . นครปฐม , ดูงานทอผ้าไหมที่ อ.ปักธงชัย จ.
นครราชสีมา, บ้านดิน อ.แม่แตง จ.เชียงใหม่
ลักษณะของการท่องเที่ยว
1. การท่องเที่ยวส่วนบุคคล
จัดขึ้นสาหรับตน เองและครอบครัว เพื่อนฝูง โดยใช้รถของตนเอง หรือ เช่า จัดทากาหนดการ
เองว่าจะไปไหนไปเมื่อไร แวะพักที่ไหน เที่ยวที่ไหน ใช้เวลาเท่าไร งบประมาณเท่าไร
ลักษณะของการท่องเที่ยว
2. การท่องเที่ยวแบบทัวร์หรือแบบนาเที่ยว
นักท่องเที่ยวมาพบกันโดยมิได้นัดหมาย จ่ายเงินให้กับบริษัทนาเที่ยว นักท่องเที่ยวเลือก
รายการที่ตรงกับต้องการของตน ขาดอิสระไปบ้าง แต่บริการทุกอย่างบริษัทท่องเที่ยว
จัดการให้ ค่าใช้จ่ายจะน้อยกว่าการส่วนบุคคล
ลักษณะของการท่องเที่ยว
3. การท่องเที่ยวตามคาบเวลาของการท่องเที่ยว
3.1 ท่องเที่ยวตามคาบเวลายาว การพักอยู่ ณ ที่แห่งใดแห่งหนึ่งเป็นสัปดาห์ เป็น
เดือน เช่น นักโบราณคดีไปขุดซากไดโนเสาร์ที่กาฬสินธุ์นานกว่า 3 เดือน, หนูนาไปเข้าค่าย
เยาวชนรักษ์ธรรมชาติ 1 สัปดาห์
3.2 ท่องเที่ยวคาบเวลาสั้น การพักอยู่ ณ ที่นั้น ๆ 2–3 วัน แต่ไม่เกิน 10 วัน ประเภท
นี้จาเป็นต่อธุรกิจการท่องเที่ยวอย่างมาก เช่น ไปเที่ยวเชียงใหม่ – เชียงรายในช่วงหยุด
เทศกาลสงกรานต์
3.3 ท่องเที่ยวแบบทัศนาจร ไม่มีการพักแรม ใช้เวลาท่องเที่ยวไม่เกิน 24 ชั่วโมง
เช่น โรงเรียนนานักเรียนไปเที่ยวอยุธยา
3.4 ท่องเที่ยวจัดตามยานพาหนะที่ใช้ท่องเที่ยว เช่น แฟมิลี่แรลลี่ไปกาญจนบุร,ี ปั่น
จักรยานรอบเกาะรัตนโกสินทร์, นั่งสามล้อรอบวัดพระแก้ว
1.1 สรุปเบื้องต้น: การท่องเที่ยว
เดินทาง
ใช้ชีวิต
พักผ่อนหย่อนใจ ผ่อนคลายความเครียด
เรียนรู้ แลกเปลี่ยนวัฒนธรรม
บันเทิงรื่นเริง กินลมชมวิว
สนุกสนาน เฮฮา
กิจกรรม
สันทนาการ
การจับจ่ายใช้สอย
สินค้าและบริการอื่นๆ
อาหารและเครื่องดื่ม
1.2 การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการเดินทางของ
นักท่องเที่ยว
และ
ประเภทการท่องเที่ยว
Products to Services & Experiences

http://enviableworkplace.com/wp-content/uploads/2011/11/Experience-Economy.jpg
Co-Creation

Creative Tourism

Transformation

Experiences
Services

ไม่แตกต่าง

Goods
Commodity
ราคาตลาด

คุณค่า มูลค่า การตั้งราคา
Greg Richard, 2009

ราคาพรีเมี่ยม

Production/ Consumption

แตกต่างมาก

พัฒนาการของ Experience Economy: การท่องเที่ยว
Beach -Sun-Sea-Sex- Tourism
Cultural Tourism & Sustainable Tourism
Creative Tourism
1.3 การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ CREATIVE TOURISM
นิยามการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ CREATIVE TOURISM
นิยามการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ CREATIVE TOURISM
'Creative Tourism' หรือ 'การท่องเที่ยวเชิง
สร้ า งสรรค์ ' เป็ น การท่ อ งเที่ ย วที่ มุ่ ง เน้ น ให้
นั ก ท่ อ งเที่ ย วได้ มี ส่ ว นร่ ว มเรี ย นรู้ จากการไป
ท่องเที่ยวในสถานที่หรือชุมชนที่มีเอกลักษณ์อัน
โดดเด่ น ในแง่ ข องศิ ล ปวั ฒ นธรรม ประเพณี
ท้องถิ่นที่สืบทอดต่อเนื่องกันมาอย่ า งยาวนาน
หรือภูมิปัญญาชาวบ้านที่สอดคล้องกับวิถีชีวิต
อย่างลงตัว ซึ่งนอกจากจะเรียนรู้วัฒนธรรมในแต่
ละชุมชนแล้ว การท่องเที่ยวในรูปแบบนี้ยังสร้าง
แรงบันดาลใจให้กับนักท่องเที่ยวผ่านการ เข้าไป
สัมผัสและได้รับประสบการณ์โดยตรงจากการลง
มือทาจนเกิดความเชื่อมโยงระหว่างนักท่องเที่ยว
เองและผู้คนที่อยู่ในสถานที่ท่องเที่ยวแห่งนั้น อีก
ทั้งยังเกิดเป็นองค์ความรู้ที่สามารถนาไปต่อยอด
ในรูปแบบของตัวเองได้อีกด้วย

การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ (Creative
Tourism)
ซึ่งเป็นรูปแบบหนึ่งของการ
ท่องเทียวทางวัฒนธรรมทีคานึงถึงความ
่
่
ยั่งยืนเป็นสาคัญ โดยเน้นย้าถึงความผูกพัน
(Engaged) ของนักท่องเที่ยว (ผู้มาเยือนVisitor-Guest) กับผู้ถูกท่องเที่ยว (เจ้าบ้านHost) ประสบการณแท้/ปฏิบัติการจริงที่มา
จากการเรียนรู้ในพื้นทีท่องเทียว (Active
่
่
Participation)
และเป็นผลให้เกิดความ
จดจา ประทับใจอย่างลึกซึ้ง ในพื้นที่ของ
การท่องเที่ยว (Understanding Specific
Cultural of the Place)
นิยามการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ CREATIVE TOURISM
การท่องเที่ยวที่ นักท่องเที่ยวได้เรียนรู้
เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ ศิลปวัฒนธรรม
วิถีชีวิต และเอกลักษณ์ของชุมชนหรือ
สถานที่นั้นๆ จากประสบการณ์ตรง หรือ
ร่วมสร้างประสบการณ์ดีๆ กับเจ้าของ
วัฒนธรรม หรือมีปฏิสัมพันธ์กับคนใน
พื้นที่ ทั้งจากการพูดคุย ทดลองทา และ
การใช้ชีวิตร่วมกัน

“การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์”
คือ การท่องเที่ยวทีมุ่งไปสู่ความผูกพันและ
่
ประสบการณ์อันแท้จริง ซึ่งได้มาจากการเข้า
ไปมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ด้าน ศิลปะ มรดก
ทางวัฒนธรรม หรือคุณลักษณะเฉพาะของ
พื้นที”
่
(Creative Tourism is a tourism directed
toward an engaged and authentic
experience with participative learning in
the arts, heritage or special character of a
place. Wurzburger: 2009, pp.17)
การท่องเที่ยว : การผลิตซ้าทางวัฒนธรรม และ การบริโภค
Production
Heritage
Tourism

High
Culture

Art
Tourism

Cultural Tourism

Pop
Culture

Creative
Tourism

Crafts
Tourism

Everyday
Culture
Passive

Consumption

Active
Greg Richard, 2009
การท่องเที่ยว : ART TOURISM
การท่องเที่ยว : ART TOURISM

บ้านดา สร้างขึ้นโดย อ.ถวัลย์ ดัชนี ศิลปินแห่งชาติ | ต.นางแล อ.เมือง จ.เชียงราย
การท่องเที่ยว : ART TOURISM

ทรงเดช ทิพย์ทอง ศิลปินล้านนา ผู้สร้างสรรค์งานศิลปะ กับแรงบันดาลใจในพระพุทธศาสนา |
68 หมู่ 1 บ้านแม่คาสบเปิน ต.แม่คา อ.แม่จัน เชียงราย 57240
การท่องเที่ยว : ART TOURISM
การท่องเที่ยว : CRAFT TOURISM?

คาจันทร์ ยาโน ศิลปินผู้ให้ชีวิตกับเศษไม้ | 111 หมู่ที่ 6 ต. ท่าสุด อ.เมือง เชียงราย 57100
การท่องเที่ยว : CRAFT TOURISM?
การท่องเที่ยว : CRAFT TOURISM?
กรกต อารมย์ดี นักออกแบบผลิตภัณฑ์ | 335 หมู่ที่ 10 ต.บ้านแหลม อ.บ้านแหลม จ.เพชรบุรี
ประเด็นสาคัญของการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์
 การทองเที่ยวที่เนน การเรียนรูในดาน “วัฒนธรรม”
 โดยมีวิธีการเรียนรู้ทเกิดจากประสบการณ์ตรงของนักทองเที่ยวเปนหัวใจสาคัญ
ี่
 สร้างประสบการณ์ที่ประทับใจให้กับนักท่องเที่ยว และกระตุ้นให้เกิดการเดินทาง
กลับมาเยือนซ้า
 การพัฒนาสินค้าและบริการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ ควรมีการสืบค้นเอกลักษณ์
และ/หรืออัตลักษณ์ที่โดดเด่นในแต่ละแหล่งท่องเที่ยว เพื่อผนวกแนวคิดสร้างสรรค์ และ
เพิ่มศักยภาพให้กับสินค้าและบริการท่องเที่ยวมากขึ้น โดยมีเอกลักษณ์เฉพาะตัวอย่าง
ชัดเจน ขณะเดียวกันต้องคงการอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณี และวิถีชีวิตของพื้นถิ่นให้คง
อยู่สืบไป
 ตลาดแคบ Niche มาก ๆ
มรดกทางวัฒนธรรม

ศิลปะและวัฒนธรรม

ประวัติศาสตร์
วิถีชีวิต

ชุมชน

สถานที่
การตอบสนองความต้องการที่แตกต่าง (Functional Creation)
While traditional cultural tourism is based on “visiting”,
“viewing”, “seeing” and “contemplating” (e.g. visiting
museums, art galleries, concerts, ballet performances).

Creative tourism is based on “experiencing”,
“participating” and “learning” (e.g. not only observing
icons or icon painting but taking courses in icon
painting in the destination).
หลักการสาคัญของ
การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์
The Principle of Creative Tourism
แบรนด์แก้ววรรณา ผลิตหม้อห้อมธรรมชาติ 100%
วุฒิไกร ผาทอง นักพัฒนาชุมชนและผู้ก่อตั้ง
มันมีทั้งที่รู้สึกดีภายในจิตใจของตัวเองคือเราได้สนุกกับมัน เราเจอเหตุการณ์
แปลกๆ เรื่องราวใหม่ๆกับมัน ทั้งๆที่มันเป็นของโบราณแต่เราก็ได้เรียนรู้อะไร
ใหม่ๆเสมอ ทั้งในแง่วิธีการย้อม ทั้งในแง่ของคนที่เข้ามาสัมผัส
แบรนด์แก้ววรรณา
วัฒนธรรม
ของ
เชียงใหม่
จิตใจ วิญญาณ
ความเป็นมิตร เจ้าบ้าน

LEARNING
CRAFTS
EXPERIENCE
จดจา ประทับใจ
เข้าใจ

การมีส่วน
ร่วมและ ลง
มือทาจริง

HAND-ON
PARTICIPATION
CO-CREATION
EXCHANGE
TRANSFORM
ENGAGE
INTERACTION

DIY
CUSTOMIZATION
ADAPTATION

AUTHENTICITY
OF
CRAFTS
Product
Process (กระบวนการ ความลึกซึ้ง)
People (โดยคนท้องถิ่น ช่างฝีมือ)
Professional (ความชานาญ ความ
เป็นตัวของตัวเอง)

ลักษณะ
กิจกรรม
CITY BRANDING
ออกแบบเมืองสร้างสรรค์
Creative Craft Tourism
กิจกรรม ที่ ๑
The Principle of Creative Tourism
สร้างแนวทางของ Creative Craft Tourism
ของแต่ละกลุ่ม จากหลักการสาคัญของ
การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์
วัฒนธรรม
ของ
เชียงใหม่

LEARNING
CRAFTS
EXPERIENCE

AUTHENTICITY
OF
CRAFTS

จดจา ประทับใจ
เข้าใจ
การมีส่วน
ร่วมและ ลง
มือทาจริง

ลักษณะ
กิจกรรม
เมืองต้นแบบเศรษฐกิจสร้างสรรค์ และ
"CREATIVE CRAFT TOURISM"

เชียงใหม่ .... เมืองหัตถกรรมสร้างสรรค์
เชียงใหม่ถือเป็นแหล่งผลิตสินค้าหัตถกรรมที่สาคัญและแหล่งใหญ่ของประเทศ
งานหัตถกรรมมีความเป็นเอกลักษณ์ และมีช่างฝีมือที่มีความชานาญ เชี่ยวชาญ
ตลอดจนความประณีตที่ถูกถ่ายทอดออกมาในชิ้นงานหัตถกรรมแต่ละชิ้น เช่น
หัตถกรรมเครื่องเงิน ไม้แกะสลัก ผ้าทอตีนจก ผ้าไหมสันกาแพง เซรามิคศิลาดล

ร่ม และกระดาษ
ความคิด
สร้างสรรค์
ต้นทุนทางเศรษฐกิจ

องค์ความรู้

แหล่งข้อมูลทาง
ปัญญา

ทักษะ
ความเชี่ยวชาญ เช่น
การออกแบบ การบริหารจัดการ

เทคโนโลยี

นวัตกรรม

วัฒนธรรม

วิถีการดาเนินชีวิต
อัตลักษณ์–Identity

สินค้าหรือ
บริการ
สร้างสรรค์

มูลค่าทางเศรษฐกิจ
และคุณค่าทางสังคม
Creative Crafts Tourism: เป็นกลุ่ม หรือ แยกวง

More Related Content

What's hot

ประวัติศาสตร์จีน
ประวัติศาสตร์จีนประวัติศาสตร์จีน
ประวัติศาสตร์จีนKittayaporn Changpan
 
สอนSpss
สอนSpssสอนSpss
สอนSpsskaew393
 
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียนแบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียนssuser456899
 
บทที่ 4 การสื่อสารข้ามวัฒนธรรม
บทที่ 4 การสื่อสารข้ามวัฒนธรรมบทที่ 4 การสื่อสารข้ามวัฒนธรรม
บทที่ 4 การสื่อสารข้ามวัฒนธรรมTeetut Tresirichod
 
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ Homestay
ความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ Homestayความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ Homestay
ความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ HomestayKorawan Sangkakorn
 
การตลาดโดยใช้พิกัดสถานที่เป็นฐาน
การตลาดโดยใช้พิกัดสถานที่เป็นฐานการตลาดโดยใช้พิกัดสถานที่เป็นฐาน
การตลาดโดยใช้พิกัดสถานที่เป็นฐานAtit Patumvan
 
อารยธรรมกรีกโบราณ(TH)
อารยธรรมกรีกโบราณ(TH)อารยธรรมกรีกโบราณ(TH)
อารยธรรมกรีกโบราณ(TH)Horania Vengran
 
2.2 อารยธรรมอินเดีย
2.2 อารยธรรมอินเดีย2.2 อารยธรรมอินเดีย
2.2 อารยธรรมอินเดียJitjaree Lertwilaiwittaya
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Sine
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Sineคัมภีร์ฉันทศาสตร์ Sine
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ SineKat Suksrikong
 
ใบความรู้ศาสนาคริสต์
ใบความรู้ศาสนาคริสต์ใบความรู้ศาสนาคริสต์
ใบความรู้ศาสนาคริสต์Proud N. Boonrak
 
หนังสือการสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
หนังสือการสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติหนังสือการสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
หนังสือการสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติSutat Inpa
 
แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖
แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖
แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖Makiya Khompong
 
6 บุคลิกภาพบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
6 บุคลิกภาพบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว6 บุคลิกภาพบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
6 บุคลิกภาพบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยวMint NutniCha
 

What's hot (20)

ประวัติศาสตร์จีน
ประวัติศาสตร์จีนประวัติศาสตร์จีน
ประวัติศาสตร์จีน
 
สอนSpss
สอนSpssสอนSpss
สอนSpss
 
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียนแบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียน
 
Strategy and Competitive Advantage (ch.6)
Strategy and Competitive Advantage (ch.6)Strategy and Competitive Advantage (ch.6)
Strategy and Competitive Advantage (ch.6)
 
บทที่ 4 การสื่อสารข้ามวัฒนธรรม
บทที่ 4 การสื่อสารข้ามวัฒนธรรมบทที่ 4 การสื่อสารข้ามวัฒนธรรม
บทที่ 4 การสื่อสารข้ามวัฒนธรรม
 
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
 
การเขียนแผนธุรกิจเพื่อการนำเสนอ
การเขียนแผนธุรกิจเพื่อการนำเสนอการเขียนแผนธุรกิจเพื่อการนำเสนอ
การเขียนแผนธุรกิจเพื่อการนำเสนอ
 
ร่วมค้า หน่วยที่-2
ร่วมค้า หน่วยที่-2ร่วมค้า หน่วยที่-2
ร่วมค้า หน่วยที่-2
 
ความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ Homestay
ความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ Homestayความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ Homestay
ความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ Homestay
 
การตลาดโดยใช้พิกัดสถานที่เป็นฐาน
การตลาดโดยใช้พิกัดสถานที่เป็นฐานการตลาดโดยใช้พิกัดสถานที่เป็นฐาน
การตลาดโดยใช้พิกัดสถานที่เป็นฐาน
 
อารยธรรมกรีกโบราณ(TH)
อารยธรรมกรีกโบราณ(TH)อารยธรรมกรีกโบราณ(TH)
อารยธรรมกรีกโบราณ(TH)
 
2.2 อารยธรรมอินเดีย
2.2 อารยธรรมอินเดีย2.2 อารยธรรมอินเดีย
2.2 อารยธรรมอินเดีย
 
swot
swotswot
swot
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Sine
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Sineคัมภีร์ฉันทศาสตร์ Sine
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Sine
 
ใบความรู้ศาสนาคริสต์
ใบความรู้ศาสนาคริสต์ใบความรู้ศาสนาคริสต์
ใบความรู้ศาสนาคริสต์
 
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
 
Culture and Consumer Behavior (Ch.3)
Culture and Consumer Behavior (Ch.3)Culture and Consumer Behavior (Ch.3)
Culture and Consumer Behavior (Ch.3)
 
หนังสือการสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
หนังสือการสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติหนังสือการสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
หนังสือการสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
 
แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖
แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖
แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖
 
6 บุคลิกภาพบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
6 บุคลิกภาพบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว6 บุคลิกภาพบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
6 บุคลิกภาพบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
 

Viewers also liked

6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชนMint NutniCha
 
Applying technologies for effective instruction
Applying technologies for effective instructionApplying technologies for effective instruction
Applying technologies for effective instructionSathapron Wongchiranuwat
 
ธุรกิจการท่องเที่ยว
ธุรกิจการท่องเที่ยวธุรกิจการท่องเที่ยว
ธุรกิจการท่องเที่ยวPornpan Larbsib
 
6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์Mint NutniCha
 
การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน.Ppt
การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน.Pptการพัฒนาเมืองเก่าลำพูน.Ppt
การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน.PptMate Soul-All
 
การศึกษาโอกาส และศักยภาพการแข่งขันด้านธุรกิจ Long stay
การศึกษาโอกาส และศักยภาพการแข่งขันด้านธุรกิจ Long stayการศึกษาโอกาส และศักยภาพการแข่งขันด้านธุรกิจ Long stay
การศึกษาโอกาส และศักยภาพการแข่งขันด้านธุรกิจ Long stayKorawan Sangkakorn
 
7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน
7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน
7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชนMint NutniCha
 
6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ
6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ
6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการMint NutniCha
 
แนวทางการจัดกิจกรรมท่องเที่ยวสำหรับโฮมสเตย์ (Homestay)
แนวทางการจัดกิจกรรมท่องเที่ยวสำหรับโฮมสเตย์ (Homestay)แนวทางการจัดกิจกรรมท่องเที่ยวสำหรับโฮมสเตย์ (Homestay)
แนวทางการจัดกิจกรรมท่องเที่ยวสำหรับโฮมสเตย์ (Homestay)Manisa Piuchan
 
พื้นฐานของการบริการที่ดี และมาตรฐานการให้บริการ
พื้นฐานของการบริการที่ดี และมาตรฐานการให้บริการพื้นฐานของการบริการที่ดี และมาตรฐานการให้บริการ
พื้นฐานของการบริการที่ดี และมาตรฐานการให้บริการSomyot Ongkhluap
 
การท่องเที่ยวแบบ Slow Tourism สำหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ
การท่องเที่ยวแบบ Slow Tourism สำหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุการท่องเที่ยวแบบ Slow Tourism สำหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ
การท่องเที่ยวแบบ Slow Tourism สำหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุKorawan Sangkakorn
 
เศรษฐกิจกับการท่องเที่ยว
เศรษฐกิจกับการท่องเที่ยวเศรษฐกิจกับการท่องเที่ยว
เศรษฐกิจกับการท่องเที่ยวPare Liss
 
Sustainable tourism sheet 2558
Sustainable tourism sheet 2558Sustainable tourism sheet 2558
Sustainable tourism sheet 2558Somyot Ongkhluap
 
Tourism principles and practice
Tourism principles and practiceTourism principles and practice
Tourism principles and practiceSomyot Ongkhluap
 
การจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourism
การจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourismการจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourism
การจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green TourismKorawan Sangkakorn
 
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศหลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศSomyot Ongkhluap
 

Viewers also liked (20)

6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
 
Applying technologies for effective instruction
Applying technologies for effective instructionApplying technologies for effective instruction
Applying technologies for effective instruction
 
Samedthailand
SamedthailandSamedthailand
Samedthailand
 
การท่องเที่ยว[2]
การท่องเที่ยว[2]การท่องเที่ยว[2]
การท่องเที่ยว[2]
 
ธุรกิจการท่องเที่ยว
ธุรกิจการท่องเที่ยวธุรกิจการท่องเที่ยว
ธุรกิจการท่องเที่ยว
 
T guide2
T  guide2T  guide2
T guide2
 
Thailand tourism cluster in 2014
Thailand tourism cluster in 2014Thailand tourism cluster in 2014
Thailand tourism cluster in 2014
 
6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
 
การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน.Ppt
การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน.Pptการพัฒนาเมืองเก่าลำพูน.Ppt
การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน.Ppt
 
การศึกษาโอกาส และศักยภาพการแข่งขันด้านธุรกิจ Long stay
การศึกษาโอกาส และศักยภาพการแข่งขันด้านธุรกิจ Long stayการศึกษาโอกาส และศักยภาพการแข่งขันด้านธุรกิจ Long stay
การศึกษาโอกาส และศักยภาพการแข่งขันด้านธุรกิจ Long stay
 
7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน
7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน
7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน
 
6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ
6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ
6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ
 
แนวทางการจัดกิจกรรมท่องเที่ยวสำหรับโฮมสเตย์ (Homestay)
แนวทางการจัดกิจกรรมท่องเที่ยวสำหรับโฮมสเตย์ (Homestay)แนวทางการจัดกิจกรรมท่องเที่ยวสำหรับโฮมสเตย์ (Homestay)
แนวทางการจัดกิจกรรมท่องเที่ยวสำหรับโฮมสเตย์ (Homestay)
 
พื้นฐานของการบริการที่ดี และมาตรฐานการให้บริการ
พื้นฐานของการบริการที่ดี และมาตรฐานการให้บริการพื้นฐานของการบริการที่ดี และมาตรฐานการให้บริการ
พื้นฐานของการบริการที่ดี และมาตรฐานการให้บริการ
 
การท่องเที่ยวแบบ Slow Tourism สำหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ
การท่องเที่ยวแบบ Slow Tourism สำหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุการท่องเที่ยวแบบ Slow Tourism สำหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ
การท่องเที่ยวแบบ Slow Tourism สำหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ
 
เศรษฐกิจกับการท่องเที่ยว
เศรษฐกิจกับการท่องเที่ยวเศรษฐกิจกับการท่องเที่ยว
เศรษฐกิจกับการท่องเที่ยว
 
Sustainable tourism sheet 2558
Sustainable tourism sheet 2558Sustainable tourism sheet 2558
Sustainable tourism sheet 2558
 
Tourism principles and practice
Tourism principles and practiceTourism principles and practice
Tourism principles and practice
 
การจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourism
การจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourismการจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourism
การจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourism
 
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศหลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
 

More from Anunta Intra-aksorn

More from Anunta Intra-aksorn (7)

BIGTrees Talk : Green Community
BIGTrees Talk : Green CommunityBIGTrees Talk : Green Community
BIGTrees Talk : Green Community
 
Yala Bird City-Process 2016
Yala Bird City-Process 2016Yala Bird City-Process 2016
Yala Bird City-Process 2016
 
Ignite Talk by Anunta BIGTrees-2017
Ignite Talk by Anunta BIGTrees-2017Ignite Talk by Anunta BIGTrees-2017
Ignite Talk by Anunta BIGTrees-2017
 
BIGTrees Project-GALA Asia
BIGTrees Project-GALA AsiaBIGTrees Project-GALA Asia
BIGTrees Project-GALA Asia
 
BIGTrees Project
BIGTrees ProjectBIGTrees Project
BIGTrees Project
 
BIGTrees Bangkachao Eat Art 2015
BIGTrees Bangkachao Eat Art 2015BIGTrees Bangkachao Eat Art 2015
BIGTrees Bangkachao Eat Art 2015
 
CREATIVE BUSINESS - CITY BRANDING | TK PARK YALA 2013
CREATIVE BUSINESS - CITY BRANDING | TK PARK YALA 2013CREATIVE BUSINESS - CITY BRANDING | TK PARK YALA 2013
CREATIVE BUSINESS - CITY BRANDING | TK PARK YALA 2013
 

CREATIVE CRAFT TOURISM | HANDMADE CHIANG MAI 2013