SlideShare a Scribd company logo
1 of 22
Download to read offline
อาหารและสารอาหาร
กลมสาระการเรียนรวิทยาศาสตรกลุมสาระการเรยนรูวทยาศาสตร
ั้ ป ศึ ป ี่ 4ชนประถมศกษาปท 4
อาหารและสารอาหาร
อาหาร คือ สิ่งที่รับประทานไดไมเปนพิษและกอใหเกิดประโยชนตอรางกาย ชวยใหรางกาย
เจริญเติบโตแข็งแรงตานทานโรค
ื ่   ่ ่  ไ  สารอาหาร คือ สารเคมีทีเปนสวนประกอบของอาหารเปนสิงทีกินเขาไปแลวมีประโยชนตอ
รางกายใชเผาผลาญเปนพลังงาน ใชในการเจริญเติบโตและซอมแซมสวนที่สึกหรอและใชใน
กิจกรรมตางๆของสิ่งมีชีวิต มี 6 ชนิด คือ คารโบโฮเดรต โปรตีน ไขมัน แรธาตุ และน้ําุ
สารอาหารทั้ง 6 ชนิดสารอาหารทง 6 ชนด
1.คารโบไฮเดรต ไดแก อาหารประเภทแปงและน้ําตาล ซึ่งสวนใหญไดมาจากพืช เชน ขาว
เผือก มัน และออย
2.โปรตีน ไดแก เนื้อ ไข นม และถั่ว
3.ไขมัน ไดแก ไขมันและน้ํามัน แหลงที่มาทั้งจากสัตวและพืช
4.วิตามิน ไดแก ผัก และผลไม
5.แรธาตุ ไดแก ผัก และผลไม
้ํ ไ   ้ํ ป  ้ํ 6.นํา ไดแก นําเปลา และนําแร
สารอาหารแบงออกเปน 2 ประเภท คือ สารอาหารที่ใหพลังงานแกรางกายและสารอาหารที่ไมให
พลังงานแกรางกาย
สารอาหารที่ใหพลังงานแกรางกาย คือ คารโบไฮเดรต โปรตีน และไขมัน
สารอาหารที่ไมใหพลังงานแกรางกาย คือ วิตามิน แรธาตุ และน้ํา
สารอาหารที่ใหพลังงานแกรางกาย
คารโบไฮเดรต
- พบในแปงและน้ําตาล
- เมื่อยอยแลวไดโมเลกุลที่เล็กที่สุด คือ กลูโคส
- ใหพลังงาน 4 kcal/g
- ถารางกายไดรับในปริมาณมากคารโบไฮเดรตจะเปลี่ยนเปนไขมันและสะสมไว
่ ่ ้ ้ ่- เปนแหลงพลังงานซึ่งสะสมไวที่กลามเนื้อและตับทั้งแปงและไกลโคเจนจะถูกเปลี่ยนเปน
กลูโคสเพื่อใชเผาผลาญพลังงานในยามที่เราตองการ
ปริมาณคารโบไฮเดรตที่รางกายควรไดรับขึ้นอยกับการใชพลังงานของแตละบคคล กลาวคือ- ปรมาณคารโบไฮเดรตทรางกายควรไดรบขนอยูกบการใชพลงงานของแตละบุคคล กลาวคอ
พลังงาน 50-60% ไดมาจากคารโบไฮเดรต
- ประโยชนของคารโบไฮเดรต
1.ใหพลังงานแกรางกาย
2.ชวยทําใหไขมันเผาผลาญไดสมบูรณ
3.เก็บสะสมไวในรางกาย เพื่อนําไปใชเวลาขาดแคลน
- ผลของการขาดคารโบไฮเดรต จะทําใหรูสึกออนเพลีย ตาลาย
โปรตีน
- พบในกลุม เนื้อสัตว นม ไข ถั่ว
- เมื่อยอยแลวไดกรดอะมิโน
- ใหพลังงาน 4 kcal/g
- รางกายเปลี่ยนโปรตีนเปนคารโบไฮเดรตและไขมัน- รางกายเปลยนโปรตนเปนคารโบไฮเดรตและไขมน
- กรดอะมิโนมีอยู 8 ชนิดที่รางกายสังเคราะหขึ้นเองไมได และจําเปนตองไดรับจากอาหารเรียกวา กรดอะมิ
โนจําเปน
ปริมาณของโปรตีนที่รางกายควรไดรับ- ปรมาณของโปรตนทรางกายควรไดรบ
เด็ก ปริมาณ 2 กรัม ตอน้ําหนักตัว 1 กิโลกรัม
ผูใหญ ปริมาณ 1 กรัม ตอน้ําหนักตัว 1 กิโลกรัม
โ  โ ี- ประโยชนของโปรตีน
1.ทําใหรางกายเจริญเติบโต ซอมแซมสวนที่สึกหรอ
2.เปนองคประกอบของสาระสําคัญตางๆในการสรางเอนไซม ฮอรโมนและสารภูมิคุมกันญ ู ุ
- ผลของการขาดโปรตีน
เด็ก ถาหากขาดโปรตีนอยางมากจะทําใหเกิดโรคคะวาซิออรกอร(kwashiokor) มีอาการออนเพลีย
บวม ตับโต
ผูใหญ ซูบผอม ไมมีเรี่ยวแรง ฟนจากโรคไดชา
ไขมัน
้- พบในน้ํามันจากพืชและสัตว
- ไขมันมี 2 ประเภทคือ ไขมันธรรมดา ไดแก ไขมันสัตวและน้ํามันพืช และไขมันพิเศษ เชน ไขแดง
- เมื่อยอยแลวไดกรดไขมันกับกลีเซอรอลเมอยอยแลวไดกรดไขมนกบกลเซอรอล
- ใหพลังงาน 9 kcal/g
- ชวยละลายวิตามิน A D E และ K
 ่ ้ ่  ่ ่- คอเลสเตอรอล เปนไขมันพิเศษที่ตับสรางขึนไดเพื่อนําไปใชประโยชนในรางกาย แตควรหลีกเลี่ยงอาหารที่มี
คอเลสเตอรอลสูง เนื่องจากจะทําใหไปสะสมอยูตามหลอดเลือด เปนสาเหตุใหเกิดโรคหลอดเลือดตีบตัน
- ถารับประทานไขมันในปริมาณมากจะทําใหเกิดโรคอวนและความดันโลหิตสูงได
- ประโยชนของไขมัน
1.เปนแหลงพลังงานของรางกาย
2 ไขมันที่สะสมไวใตผิวหนังเปนฉนวนปองกันความรอนไมใหสญเสียออกจากรางกาย2.ไขมนทสะสมไวใตผวหนงเปนฉนวนปองกนความรอนไมใหสูญเสยออกจากรางกาย
3.เปนสวนประกอบของเซลลประสาทเยื่อหุมเซลล
- ผลของการขาดไขมัน
1.ผิวหนังแหงแตกเปนแผล และเปนโรคผิวหนังไดงาย
2.ทําใหอาหารไมอยูทอง คือ หิวงาย
สารอาหารที่ไมใหพลังงานแกรางกาย
วิตามิน
รางกายตองการวิตามินในปริมาณนอยมาก แตมีความจําเปนตองไดรับ เพราะมีบทบาทในการ
ควบคุมปฏิกิริยาเคมีตางๆในรางกาย ซึ่งจะชวยใหเซลลตางๆในรางกายสามารถเจริญเติบโต และทําหนาที่
ไดอยางเปนปกติไดอยางเปนปกต
วิตามินแบงออกเปน 2 ประเภท คือ
-วิตามินไมละลายในน้ําหรือวิตามินละลายในไขมัน ไดแก วิตามิน A D E และ K
-วิตามินละลายในน้ําไดแก วิตามินB ชนิดตางๆ และวิตามินC
ประโยชน ผลจากการขาดวิตามิน
วิตามินละลายในไขมัน
ผลจากการขาดวตามน
วิตามิน A พบใน
อาหารจําพวก ไข ผัก
ชวยบํารุงสายตาและผิวหนัง
ชวยสรางเคลือบฟน
จะทําใหเด็กไมเจริญเติบโต
ผูใหญตามองไมเห็นในที่
ั ัผลไม สลัว ตาอักเสบ
วิตามิน D
พบในอาหารจําพวก
ป ป ป ไ  ั
ชวยในการดูดซึมแคลเซียม
ฟอสฟอรัส
ชวยรักษากระดกและฟน
จะทําใหเกิดโรคกระดูกออนและ
ฟนผุ
นมแปรรูป ปลา ไข ตบ
สรางโดยเซลลผิวหนังเมื่อ
ถูกแสงแดด
ชวยรกษากระดูกและฟน
วิตามิน ประโยชน ผลจากการขาดวตามน ประโยชน ผลจากการขาด
วิตามิน E
พบในอาหารจําพวก
่
ชวยรักษาเซลลเม็ดเลือดแดง
ปองกันการเปนหมันและแทงลูก
จะทําใหเปนหมัน กลามเนื้อลีบ
โลหิตจาง เนื่องจากเม็ดเลือด
เมล็ดขาว ถั่ว ผักใบเขียว ธัญพืช ชวยสรางเอนไซมหลายชนิด
โลหตจาง เนองจากเมดเลอด
แดงแตก
วิตามิน K
พบในอาหารจําพวก
ชวยใหเลือดแข็งตัว จะทําใหมีอาการเลือดออกงาย
ไมแข็งตัว
ตับ นม ผักใบเขียวหรือเหลือง
สรางโดยการสังเคราะหแสงของ
แบคทีเรียในลําไส
วิตามินละลายในน้ํา
วิตามิน ประโยชน ผลจากการขาด
วิตามิน B1
พบในอาหารจําพวก
เนื้อสัตว ขาวซอมมือ ถั่ว เห็ด
บํารุงประสาทและหัวใจ
ชวยยอยคารโบไฮเดรต
จะทําใหมีอาการเหน็บชา
ออนเพลีย เบื่ออาหาร หงุดหงิด
เนอสตว ขาวซอมมอ ถว เหด
วิตามิน B2 ชวยใหการเจริญเติบโตเปนไปตาม จะทําใหเกิดโรคปากนกกระจอก
พบในอาหารจําพวก
ผักยอดออน เนยแข็ง ตับ ไข
ปกติ
บํารุงผิวหนัง ลิ้น ตา
ผิวหนังอักเสบ แหง แตก
และปวดศีรษะ
วิตามิน B6
พบในอาหารจําพวก
้ ่
ชวยรักษาสุขภาพเหงือกและฟน
ชวยรักษาเสนเลือดและเม็ดเลือดแดง
จะทําใหมีอาการบวม เบื่ออาหาร
ประสาทเสื่อม เปนโรคโลหิตจาง
เนื้อสัตว ขาวโพด มันฝรั่ง ตับ ชวยในการทํางานของระบบยอย ผิวหนังแหง
วิตามิน ประโยชน ผลจากการขาด
วิตามิน B12
พบในอาหารจําพวก
ตับ เนย เนื้อปลา หอย กะป
ชวยรักษาสุขภาพของระบบประสาท
จําเปนตอการสรางเซลลเม็ดเลือดแดง
ป ั โ โ ิ
จะทําใหเปนโรคโลหิตจาง
ประสาทเสื่อม
ตบ เนย เนอปลา หอย กะป ปองกันโรคโลหิตจาง
วิตามิน C ตานทานการติดเชื้อ จะทําใหเปนโรคลักปดลักเปด
พบในอาหารจําพวก
ผลไม ผักใบเขียว
ปองกันเลือดออกตามไรฟน
ชวยในการดูดซอมอาหารอื่นภาย
ในรางกาย
เหงือกบวม กระดูกออน
เปนหวัดงาย
ในรางกาย
ชวยในการตอกระดูกรักษาบาดแผล
จําเปนตอการสรางเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน
ชวยทําใหผนังหลอดเลือดแข็งชวยทาใหผนงหลอดเลอดแขง
ไมเปราะหรือแตกงาย
แรธาตุ
รางกายตองการใชแรธาตในปริมาณนอย แตแรธาตก็มีความจําเปนตอรางกาย แรธาตรางกายตองการใชแรธาตุในปรมาณนอย แตแรธาตุกมความจาเปนตอรางกาย แรธาตุ
เปนสารอาหารที่ไมไดสรางจากสิ่งมีชีวิต แตเปนสารที่พืชดูดซึมขึ้น มาจากดินผานทางราก เรา
จึงไดแรธาตุตางๆจากการรับประทานผัก และผลไม ดังนั้นในแตละวันเราควรรับประทาน
ิ ื่ ใ   ไ  ั  ี่ ํ ป อาหารหลายๆชนิด เพือใหรางกายไดรับแรธาตุทีจําเปนครบถวน
รางกายมีสวนประกอบของธาตุอยูแลว คือ ออกซิเจน คารบอนไดออกไซด ไฮโดรเจน
และไนโตรเจน ซึ่งธาตุทั้ง 4 ไดรับจากสารอาหาร คือ คารโบไฮเดรต โปรตีน และไขมันุ
นอกจากธาตุทั้ง 4 ที่เปนสวนประกอบของรางกายธาตุอื่นๆ ที่มีปริมาณนอยกวา เรียกวา แรธาตุ
ไดแก แคลเซียม ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม โซเดียม แมกนีเซียม เหล็ก ไอโอดีน คลอรีน
ฟลออรีน ฯลฯฟลูออรน ฯลฯ
แรธาตุที่เปนตอรางกาย
แรธาตุ ประโยชน ผลจากการขาด
แคลเซียม เปนสวนประกอบของกระดูกและฟน
 ใ ํ ั ใ  ื้
จะทําใหเปนโรคกระดูกออน
ื ็ ั ไ   ํพบในอาหารจําพวก
นม เตาหู เนย ผักใบเขียว
ชวยในการทํางานของหัวใจ กลามเนือ
และประสาท
ชวยในการแข็งตัวของเลือด
เลือดแข็งตัวไดชา ระบบทํางาน
ของหัวใจไมปกติ
ฟอสฟอรัส ชวยในการสรางกระดูกและฟน จะทําใหเกิดโรคกระดูกออน
พบในอาหารจําพวก
เนื้อสัตว ไข นม ตับ
ชวยสรางเซลลสมองและประสาท
ชวยในการดูดซึมคารโบไฮเดรต
การยืด และหดตัวของ
กลามเนื้อไมดี
 ป โ แรธาตุ ประโยชน ผลจากการขาด
โพแทสเซียม
พบในอาหารจําพวก
ชวยรักษาสมดุลของน้ําในรางกาย
จําเปนตอการทํางานของกลามเนื้อ
จะทําใหกลามเนื้อออนแรง
พบในอาหารจาพวก
ปลา ผัก ผลไม นม
จาเปนตอการทางานของกลามเนอ
และประสาท
โซเดียม
พบในอาหารจําพวก
ชวยรักษาสมดุลของน้ําในรางกาย
เปนสวนประกอบของน้ํายอย
จะทําใหเกิดอาการเบื่ออาหาร
เปนตะคริวพบในอาหารจาพวก
เกลือแกง อาหารทะเล เนื้อปลา
เปนสวนประกอบของนายอย
ชวยใหระบบประสาททํางานไดปกติ
เปนตะครว
 ป โ แรธาตุ ประโยชน ผลจากการขาด
แมกนีเซียม
พบในอาหารจําพวก
จําเปนตอการทํางานของกลามเนื้อ
และประสาท
จะทําใหเกิดอาการชัก เกิดความ
ผิดปกติของระบบประสาทและพบในอาหารจาพวก
เนื้อวัว ธัญพืช ผัก ถั่ว นม
และประสาท
เปนสวนประกอบของกระดูกและฟน
ชวยกระตุนใหเอนไซมทํางาน
ผดปกตของระบบประสาทและ
กลามเนื้อ
เหล็ก
ใ ํ
เปนสวนประกอบของเฮลโมโกลบิน
ใ ็ ื
จะทําใหเปนโรคโลหิตจาง
 ีพบในอาหารจาพวก
ตับ ไขแดง ผลไมตากแหง
ในเมดเลอดแดง
ชวยในการสรางเม็ดเลือดแดง
ออนเพลย
 ป โ แรธาตุ ประโยชน ผลจากการขาด
ไอโอดีน ชวยในการเจริญเติบโต จะทําใหเกิดโรคคอพอก
พบในอาหารจําพวก
อาหารทะเล เกลือผสมไอโอดีน
ปลา
ญ
เปนสวนประกอบสําคัญของฮอรโมน
ซึ่งชวยในการปลดปลอยพลังงาน
แคระแกร็น เชื่องชาทั้งความคิด
และอากัปกริยา
ปลา
คลอรีน
ใ ํ
ชวยรักษาสมดุลของน้ําในรางกาย
 
จะทําใหการถายไมปกติ
พบในอาหารจําพวก
เกลือแกง ซอสถั่วเหลือง
ชวยยอยอาหาร
ฟลูออรีน
พบในอาหารจําพวก
ชวยสรางกระดูกและฟน
ปองกันฟนผุ
จะทําใหฟนผุงาย
ชา ปลา อาหารทะเล
การรับประทานอาหารเพื่อสขภาพ 9 ประการการรบประทานอาหารเพอสุขภาพ 9 ประการ
1) กินอาหารครบ 5 หมู
2) กินขาวเปนอาหารหลัก
3) กินพืชผักใหมาก
4) กินปลา เนื้อสัตวไมติดมัน ไขและถั่วเมล็ดแหงเปนประจํา
5) ื่ ใ  ั5) ดมนมใหเหมาะสมตามวย
6) กินอาหารที่มีไขมันแตพอควร
7) หลีกเลี่ยงการกินอาหรรสหวานจัดและเค็มจัด7) หลกเลยงการกนอาหรรสหวานจดและเคมจด
8) กินอาหารที่สะอาดปราศจากการปนเปอน
9) งดหรือลดเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล
การรับประทานอาหารใหถูกสัดสวน
ปริมาณที่รางกายตองการตามความเหมาะสมกับเพศ วัย และการทํางาน
พลังงานของรางกายไดมาจากอาหาร ปริมาณอาหารที่เรารับประทานจึงมีความสัมพันธกับพลังงานที่รางกาย
ตองการ ดังนั้นในแตละวันเราจึงตองการพลังงานจากสารอาหารเพื่อนําไปใชในการทํากิจกรรมตางๆ ในปริมาณตองการ ดงนนในแตละวนเราจงตองการพลงงานจากสารอาหารเพอนาไปใชในการทากจกรรมตางๆ ในปรมาณ
ทีแตกตางขึ้นอยูกับเพศ วัย สภาพรางกาย และกิจกรรมของแตละบุคคล เพื่อสุขภาพที่แข็งแรงสมบูรณ
เพศตางกัน อายเทากัน เพศ เพศเดียวกัน อายุเทากัน แตอาชีพ
่ 
ุ
ชายตองการพลังงาน
มากกวาเพศหญิง
ตางกันชายที่มีอาชีพเปนกรรมกร
ใชพลังงานมากกวาชายที่มีอาชีพ
เปนเลขานุการความตองการพลังงานของ
ศ ี ั ไ   ั 
ุ
ศ ี ั  ั ส
แตละบุคคลที่แตกตางกัน
ไปในแตละวัน
เพศเดยวกนอายุไมเทากนตองการ
พลังงานตางกัน วัยที่กําลังเจริญเติบโต
ซึ่งตองทํากิจกรรมมากจะใชพลังงาน
เพศเดยวกน อายุเทากน แตสภาพ
รางกายตางกันความตองการพลังงาน
ตางกัน หญิงมีครรภอายุ 25ป และ
่ มากหญิงอายุ 25 ปที่ตองใหนมบุตร
ตองการพลังงานมากกวาหญิงมีครรภ
อาหารที่เรารับประทานกันทุกวันนี้มีหลายชนิดที่มีสารพิษเจือปน เมื่อบริโภคแลวจะทําให
่
สารปนเปอนในอาหาร
ผูบริโภคเกิดการเจ็บปวยได สารพิษที่ปะปนในอาหารสามารถจําแนกไดเปน 2 ประเภท คือ
1.สิ่งปนเปอนในอาหารที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ
2.สิ่งปนเปอนในอาหารที่เกิดขึ้นจากการกระทําของมนุษย
ไวรัสทําใหเกิดโรคตับอักเสบ แบคทีเรียทําใหเกิดโรคทองเสีย อหิวาตกโรค
ฟ ิ ํ ใ  ิ โ ็ ัอะฟลาทอกชนทําใหเกดโรคมะเร็งตับไวรัสทําใหเกิดโรคไขหวัดนก
่  ่ ้ สารพิษในพืชหรือสัตว
- เห็ดมีพิษบางชนิด
- ผักขี้หนอน
สิ่งปนเปอนในอาหารที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ
ผกขหนอน
- ปลาปกเปา
- แมงดาทะเล
 ี ิ ใ ื่
พยาธิบางชนิด
ิใ ไ ใ ั ิ ั ป ป ิ ี่ ี ถามสารพษอยูในอาหาร เมอเรา
รับประทานเขาไปอาจเปน
อันตรายถึงชีวิตได
- พยาธิใบไมในตับเกิดจากการรับประทานปลาดิบทีมี
ไขพยาธิ ซึ่งไขพยาธิจะเจริญเติบโตในรางกาย ทําใหตับ
แข็งและตายในที่สุด
2.สารอาหารกันเสีย 3.สีผสมอาหาร
ฟอรมาลีน (น้ํายาดองศพ) พบในผัก
สด อาหารทะเลสด และเนื้อสัตว เมื่อ
ปรอท จะสะสมในสมองทําใหประสาทหลอน เปน
อัมพาต ถาผูหญิงที่ตั้งครรภรับประทานเขาไปจะทําให
รับประทานเขาไปจะทําใหเกิดอาการปวด
ทองอยางรุนแรง ทองเสีย อาเจียน หมด
สติ
กรดซาลิซิลิก ใชปองกันเชื้อรา พบใน
ู
ระบบประสาทของทารกในครรภถูกทําลาย
ผักดอง แหนม หมูยอ เมื่อ
รับประทานเขาไปจะทําใหหูอื้อ มีไข
อาเจียน และอาจเสียชีวิตได
ตะกั่ว ทําลายเซลลเม็ดเลือดแดง
และเซลลสมอง ทําใหเปนอัมพาต
แคดเมียม เปนอันตรายตอปอดและไต
โครเมียม เปนอันตรายตอปอดและผิวหนัง
การปองกันอันตรายจากสารปนเปอน
ผลไม
โรคที่พบ ไดแก ระบบตับ ไต กระเพาะอาหารผิดปกติจาก
อาหารทะเล
โรคที่พบ ไดแก โรคมะเร็งจากการที่มีสารเคมี
การที่มีสารเคมีสะสมอยูในรางกาย
วิธีการปองกัน บริโภคผลไมตามฤดูกาล ลางและปลอก
เปลือกผลไมทุกครั้งกอนที่จะรับประทาน
สะสมอยูในรางกาย โรคภูมิแพจากยาปฏิชีวนะ
วิธีการปองกัน เลือกรับประทานอาหารสด เนื้อไม
เปอยยุย วางแชน้ําแข็ง
เนื้อวัว
โรคที่พบ ไดแก โรคมะเร็งจากการสะสม
ของสารเคมี โรคพยาธิ วิธีการปองกัน
เนื้อไก
โรคที่พบ ไดแก โรคภูมิแพจากยา
ปฏิชีวนะ โรคไขรากสาดเทียม
ผักสด
โรคที่พบ ไดแก โรคมะเร็งจากการที่มี
สารเคมีสะสมอยในรางกาย โรคพยาธิจาก
คือ เลือกซื้อเนื้อวัวที่มีสีตามธรรมชาติ
ซื้อจากแหลงที่เชื่อถือได และปรุงอาหาร
ดวยความรอนสูง
ฏ
วิธีปองกัน เลือกซื้อเนื้อที่มีสี
ธรรมชาติ หลีกเลี่ยงการบริโภคคอ
และหัวไก
ู
ไขพยาธิที่ติดมากับผัก
วิธีการปองกัน เลือกรับประทานผักที่มีรู
พรุน และลางผักใหสะอาด
อาหารที่เรารับประทานกันอยูในปจจุบันมักพบสารปนเปอนตางๆ ไดแก
สารเรงเนื้อแดง สารฟอกขาว สารกันเชื้อรา สารบอแรกช และยาฆาแมลง
ผูที่รับประทานอาหารที่มีสารปนเปอนเหลานี้เปนประจําจะมีความเสี่ยงตอู
การเปนโรคมะเร็งสูง ซึ่งขณะนี้สาเหตุการตายอันดับ 1 ของคนไทยคือการ
ปวยเปนโรคมะเร็งประมาณปละ 45,000 คน
กระทรวงสาธารณสุขไดจัดทําโครงการ “อาหารปลอดภัย” ดวยการ
ตรวจสอบสารปนเปอนในอาหารสดในตลาดทั่วประเทศไทย ผูขายรายใดที่
ฝาฝนยังจําหนายอาหารปนเปอนสารพิษจะมีโทษปรับไมเกิน 20,000
บาท และจําคุกไมเกิน 2 ป
Th k YThank You

More Related Content

What's hot

อาหารกระดูก แผ่นพับ
อาหารกระดูก แผ่นพับอาหารกระดูก แผ่นพับ
อาหารกระดูก แผ่นพับTODSAPRON TAWANNA
 
อาหารตามวัย
อาหารตามวัยอาหารตามวัย
อาหารตามวัยPloyLii
 
งานผลไม้ ชื่อศุภกฤต
งานผลไม้ ชื่อศุภกฤตงานผลไม้ ชื่อศุภกฤต
งานผลไม้ ชื่อศุภกฤตFrank Jkg
 
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพrubtumproject.com
 
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุกPanjaree Bungong
 
พีระมิดอาหาร ( Food guide pyramid )
พีระมิดอาหาร ( Food guide pyramid )พีระมิดอาหาร ( Food guide pyramid )
พีระมิดอาหาร ( Food guide pyramid )Rose Banioki
 
ประโยชน์ของขนุน
ประโยชน์ของขนุน ประโยชน์ของขนุน
ประโยชน์ของขนุน Suchart Sriwichai
 
กินอย่างไรลดโรค ลดพุง
กินอย่างไรลดโรค ลดพุงกินอย่างไรลดโรค ลดพุง
กินอย่างไรลดโรค ลดพุงtechno UCH
 
อาหารหลัก 5 หมู่
อาหารหลัก 5 หมู่อาหารหลัก 5 หมู่
อาหารหลัก 5 หมู่Janjira Majai
 
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่kasocute
 
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการแผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการNattaka_Su
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการพัน พัน
 
วิตามินบี 2
วิตามินบี 2วิตามินบี 2
วิตามินบี 2earthquake66
 
สุดา แสงเกตุ
สุดา แสงเกตุสุดา แสงเกตุ
สุดา แสงเกตุDa_saengket
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกาย
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกายเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกาย
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกายKan Pan
 
เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010
เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010
เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010Coco Tan
 
โครงงานการปลูกผักพื้นบ้าน
โครงงานการปลูกผักพื้นบ้านโครงงานการปลูกผักพื้นบ้าน
โครงงานการปลูกผักพื้นบ้านNatsarin Khakhai
 
CVD Brochure
CVD BrochureCVD Brochure
CVD BrochurePha C
 

What's hot (20)

อาหารกระดูก แผ่นพับ
อาหารกระดูก แผ่นพับอาหารกระดูก แผ่นพับ
อาหารกระดูก แผ่นพับ
 
อาหารตามวัย
อาหารตามวัยอาหารตามวัย
อาหารตามวัย
 
งานผลไม้ ชื่อศุภกฤต
งานผลไม้ ชื่อศุภกฤตงานผลไม้ ชื่อศุภกฤต
งานผลไม้ ชื่อศุภกฤต
 
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
 
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
 
พีระมิดอาหาร ( Food guide pyramid )
พีระมิดอาหาร ( Food guide pyramid )พีระมิดอาหาร ( Food guide pyramid )
พีระมิดอาหาร ( Food guide pyramid )
 
ประโยชน์ของขนุน
ประโยชน์ของขนุน ประโยชน์ของขนุน
ประโยชน์ของขนุน
 
Health1 1-2
Health1 1-2Health1 1-2
Health1 1-2
 
กินอย่างไรลดโรค ลดพุง
กินอย่างไรลดโรค ลดพุงกินอย่างไรลดโรค ลดพุง
กินอย่างไรลดโรค ลดพุง
 
อาหารหลัก 5 หมู่
อาหารหลัก 5 หมู่อาหารหลัก 5 หมู่
อาหารหลัก 5 หมู่
 
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
 
Vit&mineral acr56
Vit&mineral acr56Vit&mineral acr56
Vit&mineral acr56
 
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการแผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการ
 
วิตามินบี 2
วิตามินบี 2วิตามินบี 2
วิตามินบี 2
 
สุดา แสงเกตุ
สุดา แสงเกตุสุดา แสงเกตุ
สุดา แสงเกตุ
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกาย
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกายเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกาย
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกาย
 
เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010
เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010
เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010
 
โครงงานการปลูกผักพื้นบ้าน
โครงงานการปลูกผักพื้นบ้านโครงงานการปลูกผักพื้นบ้าน
โครงงานการปลูกผักพื้นบ้าน
 
CVD Brochure
CVD BrochureCVD Brochure
CVD Brochure
 

Similar to Food ao

How to have good health
How to have good healthHow to have good health
How to have good healthPiyaratt R
 
มิกซ์ไฟเบอร์
 มิกซ์ไฟเบอร์ มิกซ์ไฟเบอร์
มิกซ์ไฟเบอร์manasapat
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน34LIFEYES
 
สาระความรู้เรื่องผักและผลไม้
สาระความรู้เรื่องผักและผลไม้สาระความรู้เรื่องผักและผลไม้
สาระความรู้เรื่องผักและผลไม้bombay06
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นjatupron2
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นjatupron2
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นjatupron2
 
เรื่องน่ารู้ของผัก ผลไม้
เรื่องน่ารู้ของผัก ผลไม้เรื่องน่ารู้ของผัก ผลไม้
เรื่องน่ารู้ของผัก ผลไม้Smile Chotika
 
เกล็ดความรู้เรื่องสุขภาพ
เกล็ดความรู้เรื่องสุขภาพเกล็ดความรู้เรื่องสุขภาพ
เกล็ดความรู้เรื่องสุขภาพZee Gopgap
 
ธวัชชัย วงค์อนันต์
ธวัชชัย วงค์อนันต์ธวัชชัย วงค์อนันต์
ธวัชชัย วงค์อนันต์Tawadchai Wong-anan
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน2
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน2มะเร็งการรักษาและการป้องกัน2
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน24LIFEYES
 
Samunpai
SamunpaiSamunpai
Samunpaimuisza
 
ขมิ้นชัน+..
ขมิ้นชัน+..ขมิ้นชัน+..
ขมิ้นชัน+..preeyanuch2
 
ขมิ้นชัน+..
ขมิ้นชัน+..ขมิ้นชัน+..
ขมิ้นชัน+..preeyanuch2
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอPacharee
 

Similar to Food ao (20)

How to have good health
How to have good healthHow to have good health
How to have good health
 
มิกซ์ไฟเบอร์
 มิกซ์ไฟเบอร์ มิกซ์ไฟเบอร์
มิกซ์ไฟเบอร์
 
บทที่ 3
บทที่  3บทที่  3
บทที่ 3
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3
 
สาระความรู้เรื่องผักและผลไม้
สาระความรู้เรื่องผักและผลไม้สาระความรู้เรื่องผักและผลไม้
สาระความรู้เรื่องผักและผลไม้
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
 
เรื่องน่ารู้ของผัก ผลไม้
เรื่องน่ารู้ของผัก ผลไม้เรื่องน่ารู้ของผัก ผลไม้
เรื่องน่ารู้ของผัก ผลไม้
 
Lesson 3
Lesson 3Lesson 3
Lesson 3
 
Mom knowledge
Mom knowledgeMom knowledge
Mom knowledge
 
เกล็ดความรู้เรื่องสุขภาพ
เกล็ดความรู้เรื่องสุขภาพเกล็ดความรู้เรื่องสุขภาพ
เกล็ดความรู้เรื่องสุขภาพ
 
ธวัชชัย วงค์อนันต์
ธวัชชัย วงค์อนันต์ธวัชชัย วงค์อนันต์
ธวัชชัย วงค์อนันต์
 
โภชนาการ[3[1]
โภชนาการ[3[1]โภชนาการ[3[1]
โภชนาการ[3[1]
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน2
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน2มะเร็งการรักษาและการป้องกัน2
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน2
 
Samunpai
SamunpaiSamunpai
Samunpai
 
ขมิ้นชัน+..
ขมิ้นชัน+..ขมิ้นชัน+..
ขมิ้นชัน+..
 
ขมิ้นชัน+..
ขมิ้นชัน+..ขมิ้นชัน+..
ขมิ้นชัน+..
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
Pompea3
Pompea3Pompea3
Pompea3
 

Food ao

  • 2. อาหารและสารอาหาร อาหาร คือ สิ่งที่รับประทานไดไมเปนพิษและกอใหเกิดประโยชนตอรางกาย ชวยใหรางกาย เจริญเติบโตแข็งแรงตานทานโรค ื ่   ่ ่  ไ  สารอาหาร คือ สารเคมีทีเปนสวนประกอบของอาหารเปนสิงทีกินเขาไปแลวมีประโยชนตอ รางกายใชเผาผลาญเปนพลังงาน ใชในการเจริญเติบโตและซอมแซมสวนที่สึกหรอและใชใน กิจกรรมตางๆของสิ่งมีชีวิต มี 6 ชนิด คือ คารโบโฮเดรต โปรตีน ไขมัน แรธาตุ และน้ําุ
  • 3. สารอาหารทั้ง 6 ชนิดสารอาหารทง 6 ชนด 1.คารโบไฮเดรต ไดแก อาหารประเภทแปงและน้ําตาล ซึ่งสวนใหญไดมาจากพืช เชน ขาว เผือก มัน และออย 2.โปรตีน ไดแก เนื้อ ไข นม และถั่ว 3.ไขมัน ไดแก ไขมันและน้ํามัน แหลงที่มาทั้งจากสัตวและพืช 4.วิตามิน ไดแก ผัก และผลไม 5.แรธาตุ ไดแก ผัก และผลไม ้ํ ไ   ้ํ ป  ้ํ 6.นํา ไดแก นําเปลา และนําแร สารอาหารแบงออกเปน 2 ประเภท คือ สารอาหารที่ใหพลังงานแกรางกายและสารอาหารที่ไมให พลังงานแกรางกาย สารอาหารที่ใหพลังงานแกรางกาย คือ คารโบไฮเดรต โปรตีน และไขมัน สารอาหารที่ไมใหพลังงานแกรางกาย คือ วิตามิน แรธาตุ และน้ํา
  • 4. สารอาหารที่ใหพลังงานแกรางกาย คารโบไฮเดรต - พบในแปงและน้ําตาล - เมื่อยอยแลวไดโมเลกุลที่เล็กที่สุด คือ กลูโคส - ใหพลังงาน 4 kcal/g - ถารางกายไดรับในปริมาณมากคารโบไฮเดรตจะเปลี่ยนเปนไขมันและสะสมไว ่ ่ ้ ้ ่- เปนแหลงพลังงานซึ่งสะสมไวที่กลามเนื้อและตับทั้งแปงและไกลโคเจนจะถูกเปลี่ยนเปน กลูโคสเพื่อใชเผาผลาญพลังงานในยามที่เราตองการ ปริมาณคารโบไฮเดรตที่รางกายควรไดรับขึ้นอยกับการใชพลังงานของแตละบคคล กลาวคือ- ปรมาณคารโบไฮเดรตทรางกายควรไดรบขนอยูกบการใชพลงงานของแตละบุคคล กลาวคอ พลังงาน 50-60% ไดมาจากคารโบไฮเดรต - ประโยชนของคารโบไฮเดรต 1.ใหพลังงานแกรางกาย 2.ชวยทําใหไขมันเผาผลาญไดสมบูรณ 3.เก็บสะสมไวในรางกาย เพื่อนําไปใชเวลาขาดแคลน - ผลของการขาดคารโบไฮเดรต จะทําใหรูสึกออนเพลีย ตาลาย
  • 5. โปรตีน - พบในกลุม เนื้อสัตว นม ไข ถั่ว - เมื่อยอยแลวไดกรดอะมิโน - ใหพลังงาน 4 kcal/g - รางกายเปลี่ยนโปรตีนเปนคารโบไฮเดรตและไขมัน- รางกายเปลยนโปรตนเปนคารโบไฮเดรตและไขมน - กรดอะมิโนมีอยู 8 ชนิดที่รางกายสังเคราะหขึ้นเองไมได และจําเปนตองไดรับจากอาหารเรียกวา กรดอะมิ โนจําเปน ปริมาณของโปรตีนที่รางกายควรไดรับ- ปรมาณของโปรตนทรางกายควรไดรบ เด็ก ปริมาณ 2 กรัม ตอน้ําหนักตัว 1 กิโลกรัม ผูใหญ ปริมาณ 1 กรัม ตอน้ําหนักตัว 1 กิโลกรัม โ  โ ี- ประโยชนของโปรตีน 1.ทําใหรางกายเจริญเติบโต ซอมแซมสวนที่สึกหรอ 2.เปนองคประกอบของสาระสําคัญตางๆในการสรางเอนไซม ฮอรโมนและสารภูมิคุมกันญ ู ุ - ผลของการขาดโปรตีน เด็ก ถาหากขาดโปรตีนอยางมากจะทําใหเกิดโรคคะวาซิออรกอร(kwashiokor) มีอาการออนเพลีย บวม ตับโต ผูใหญ ซูบผอม ไมมีเรี่ยวแรง ฟนจากโรคไดชา
  • 6. ไขมัน ้- พบในน้ํามันจากพืชและสัตว - ไขมันมี 2 ประเภทคือ ไขมันธรรมดา ไดแก ไขมันสัตวและน้ํามันพืช และไขมันพิเศษ เชน ไขแดง - เมื่อยอยแลวไดกรดไขมันกับกลีเซอรอลเมอยอยแลวไดกรดไขมนกบกลเซอรอล - ใหพลังงาน 9 kcal/g - ชวยละลายวิตามิน A D E และ K  ่ ้ ่  ่ ่- คอเลสเตอรอล เปนไขมันพิเศษที่ตับสรางขึนไดเพื่อนําไปใชประโยชนในรางกาย แตควรหลีกเลี่ยงอาหารที่มี คอเลสเตอรอลสูง เนื่องจากจะทําใหไปสะสมอยูตามหลอดเลือด เปนสาเหตุใหเกิดโรคหลอดเลือดตีบตัน - ถารับประทานไขมันในปริมาณมากจะทําใหเกิดโรคอวนและความดันโลหิตสูงได - ประโยชนของไขมัน 1.เปนแหลงพลังงานของรางกาย 2 ไขมันที่สะสมไวใตผิวหนังเปนฉนวนปองกันความรอนไมใหสญเสียออกจากรางกาย2.ไขมนทสะสมไวใตผวหนงเปนฉนวนปองกนความรอนไมใหสูญเสยออกจากรางกาย 3.เปนสวนประกอบของเซลลประสาทเยื่อหุมเซลล - ผลของการขาดไขมัน 1.ผิวหนังแหงแตกเปนแผล และเปนโรคผิวหนังไดงาย 2.ทําใหอาหารไมอยูทอง คือ หิวงาย
  • 7. สารอาหารที่ไมใหพลังงานแกรางกาย วิตามิน รางกายตองการวิตามินในปริมาณนอยมาก แตมีความจําเปนตองไดรับ เพราะมีบทบาทในการ ควบคุมปฏิกิริยาเคมีตางๆในรางกาย ซึ่งจะชวยใหเซลลตางๆในรางกายสามารถเจริญเติบโต และทําหนาที่ ไดอยางเปนปกติไดอยางเปนปกต วิตามินแบงออกเปน 2 ประเภท คือ -วิตามินไมละลายในน้ําหรือวิตามินละลายในไขมัน ไดแก วิตามิน A D E และ K -วิตามินละลายในน้ําไดแก วิตามินB ชนิดตางๆ และวิตามินC
  • 8. ประโยชน ผลจากการขาดวิตามิน วิตามินละลายในไขมัน ผลจากการขาดวตามน วิตามิน A พบใน อาหารจําพวก ไข ผัก ชวยบํารุงสายตาและผิวหนัง ชวยสรางเคลือบฟน จะทําใหเด็กไมเจริญเติบโต ผูใหญตามองไมเห็นในที่ ั ัผลไม สลัว ตาอักเสบ วิตามิน D พบในอาหารจําพวก ป ป ป ไ  ั ชวยในการดูดซึมแคลเซียม ฟอสฟอรัส ชวยรักษากระดกและฟน จะทําใหเกิดโรคกระดูกออนและ ฟนผุ นมแปรรูป ปลา ไข ตบ สรางโดยเซลลผิวหนังเมื่อ ถูกแสงแดด ชวยรกษากระดูกและฟน
  • 9. วิตามิน ประโยชน ผลจากการขาดวตามน ประโยชน ผลจากการขาด วิตามิน E พบในอาหารจําพวก ่ ชวยรักษาเซลลเม็ดเลือดแดง ปองกันการเปนหมันและแทงลูก จะทําใหเปนหมัน กลามเนื้อลีบ โลหิตจาง เนื่องจากเม็ดเลือด เมล็ดขาว ถั่ว ผักใบเขียว ธัญพืช ชวยสรางเอนไซมหลายชนิด โลหตจาง เนองจากเมดเลอด แดงแตก วิตามิน K พบในอาหารจําพวก ชวยใหเลือดแข็งตัว จะทําใหมีอาการเลือดออกงาย ไมแข็งตัว ตับ นม ผักใบเขียวหรือเหลือง สรางโดยการสังเคราะหแสงของ แบคทีเรียในลําไส
  • 10. วิตามินละลายในน้ํา วิตามิน ประโยชน ผลจากการขาด วิตามิน B1 พบในอาหารจําพวก เนื้อสัตว ขาวซอมมือ ถั่ว เห็ด บํารุงประสาทและหัวใจ ชวยยอยคารโบไฮเดรต จะทําใหมีอาการเหน็บชา ออนเพลีย เบื่ออาหาร หงุดหงิด เนอสตว ขาวซอมมอ ถว เหด วิตามิน B2 ชวยใหการเจริญเติบโตเปนไปตาม จะทําใหเกิดโรคปากนกกระจอก พบในอาหารจําพวก ผักยอดออน เนยแข็ง ตับ ไข ปกติ บํารุงผิวหนัง ลิ้น ตา ผิวหนังอักเสบ แหง แตก และปวดศีรษะ วิตามิน B6 พบในอาหารจําพวก ้ ่ ชวยรักษาสุขภาพเหงือกและฟน ชวยรักษาเสนเลือดและเม็ดเลือดแดง จะทําใหมีอาการบวม เบื่ออาหาร ประสาทเสื่อม เปนโรคโลหิตจาง เนื้อสัตว ขาวโพด มันฝรั่ง ตับ ชวยในการทํางานของระบบยอย ผิวหนังแหง
  • 11. วิตามิน ประโยชน ผลจากการขาด วิตามิน B12 พบในอาหารจําพวก ตับ เนย เนื้อปลา หอย กะป ชวยรักษาสุขภาพของระบบประสาท จําเปนตอการสรางเซลลเม็ดเลือดแดง ป ั โ โ ิ จะทําใหเปนโรคโลหิตจาง ประสาทเสื่อม ตบ เนย เนอปลา หอย กะป ปองกันโรคโลหิตจาง วิตามิน C ตานทานการติดเชื้อ จะทําใหเปนโรคลักปดลักเปด พบในอาหารจําพวก ผลไม ผักใบเขียว ปองกันเลือดออกตามไรฟน ชวยในการดูดซอมอาหารอื่นภาย ในรางกาย เหงือกบวม กระดูกออน เปนหวัดงาย ในรางกาย ชวยในการตอกระดูกรักษาบาดแผล จําเปนตอการสรางเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน ชวยทําใหผนังหลอดเลือดแข็งชวยทาใหผนงหลอดเลอดแขง ไมเปราะหรือแตกงาย
  • 12. แรธาตุ รางกายตองการใชแรธาตในปริมาณนอย แตแรธาตก็มีความจําเปนตอรางกาย แรธาตรางกายตองการใชแรธาตุในปรมาณนอย แตแรธาตุกมความจาเปนตอรางกาย แรธาตุ เปนสารอาหารที่ไมไดสรางจากสิ่งมีชีวิต แตเปนสารที่พืชดูดซึมขึ้น มาจากดินผานทางราก เรา จึงไดแรธาตุตางๆจากการรับประทานผัก และผลไม ดังนั้นในแตละวันเราควรรับประทาน ิ ื่ ใ   ไ  ั  ี่ ํ ป อาหารหลายๆชนิด เพือใหรางกายไดรับแรธาตุทีจําเปนครบถวน รางกายมีสวนประกอบของธาตุอยูแลว คือ ออกซิเจน คารบอนไดออกไซด ไฮโดรเจน และไนโตรเจน ซึ่งธาตุทั้ง 4 ไดรับจากสารอาหาร คือ คารโบไฮเดรต โปรตีน และไขมันุ นอกจากธาตุทั้ง 4 ที่เปนสวนประกอบของรางกายธาตุอื่นๆ ที่มีปริมาณนอยกวา เรียกวา แรธาตุ ไดแก แคลเซียม ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม โซเดียม แมกนีเซียม เหล็ก ไอโอดีน คลอรีน ฟลออรีน ฯลฯฟลูออรน ฯลฯ
  • 13. แรธาตุที่เปนตอรางกาย แรธาตุ ประโยชน ผลจากการขาด แคลเซียม เปนสวนประกอบของกระดูกและฟน  ใ ํ ั ใ  ื้ จะทําใหเปนโรคกระดูกออน ื ็ ั ไ   ํพบในอาหารจําพวก นม เตาหู เนย ผักใบเขียว ชวยในการทํางานของหัวใจ กลามเนือ และประสาท ชวยในการแข็งตัวของเลือด เลือดแข็งตัวไดชา ระบบทํางาน ของหัวใจไมปกติ ฟอสฟอรัส ชวยในการสรางกระดูกและฟน จะทําใหเกิดโรคกระดูกออน พบในอาหารจําพวก เนื้อสัตว ไข นม ตับ ชวยสรางเซลลสมองและประสาท ชวยในการดูดซึมคารโบไฮเดรต การยืด และหดตัวของ กลามเนื้อไมดี
  • 14.  ป โ แรธาตุ ประโยชน ผลจากการขาด โพแทสเซียม พบในอาหารจําพวก ชวยรักษาสมดุลของน้ําในรางกาย จําเปนตอการทํางานของกลามเนื้อ จะทําใหกลามเนื้อออนแรง พบในอาหารจาพวก ปลา ผัก ผลไม นม จาเปนตอการทางานของกลามเนอ และประสาท โซเดียม พบในอาหารจําพวก ชวยรักษาสมดุลของน้ําในรางกาย เปนสวนประกอบของน้ํายอย จะทําใหเกิดอาการเบื่ออาหาร เปนตะคริวพบในอาหารจาพวก เกลือแกง อาหารทะเล เนื้อปลา เปนสวนประกอบของนายอย ชวยใหระบบประสาททํางานไดปกติ เปนตะครว
  • 15.  ป โ แรธาตุ ประโยชน ผลจากการขาด แมกนีเซียม พบในอาหารจําพวก จําเปนตอการทํางานของกลามเนื้อ และประสาท จะทําใหเกิดอาการชัก เกิดความ ผิดปกติของระบบประสาทและพบในอาหารจาพวก เนื้อวัว ธัญพืช ผัก ถั่ว นม และประสาท เปนสวนประกอบของกระดูกและฟน ชวยกระตุนใหเอนไซมทํางาน ผดปกตของระบบประสาทและ กลามเนื้อ เหล็ก ใ ํ เปนสวนประกอบของเฮลโมโกลบิน ใ ็ ื จะทําใหเปนโรคโลหิตจาง  ีพบในอาหารจาพวก ตับ ไขแดง ผลไมตากแหง ในเมดเลอดแดง ชวยในการสรางเม็ดเลือดแดง ออนเพลย
  • 16.  ป โ แรธาตุ ประโยชน ผลจากการขาด ไอโอดีน ชวยในการเจริญเติบโต จะทําใหเกิดโรคคอพอก พบในอาหารจําพวก อาหารทะเล เกลือผสมไอโอดีน ปลา ญ เปนสวนประกอบสําคัญของฮอรโมน ซึ่งชวยในการปลดปลอยพลังงาน แคระแกร็น เชื่องชาทั้งความคิด และอากัปกริยา ปลา คลอรีน ใ ํ ชวยรักษาสมดุลของน้ําในรางกาย   จะทําใหการถายไมปกติ พบในอาหารจําพวก เกลือแกง ซอสถั่วเหลือง ชวยยอยอาหาร ฟลูออรีน พบในอาหารจําพวก ชวยสรางกระดูกและฟน ปองกันฟนผุ จะทําใหฟนผุงาย ชา ปลา อาหารทะเล
  • 17. การรับประทานอาหารเพื่อสขภาพ 9 ประการการรบประทานอาหารเพอสุขภาพ 9 ประการ 1) กินอาหารครบ 5 หมู 2) กินขาวเปนอาหารหลัก 3) กินพืชผักใหมาก 4) กินปลา เนื้อสัตวไมติดมัน ไขและถั่วเมล็ดแหงเปนประจํา 5) ื่ ใ  ั5) ดมนมใหเหมาะสมตามวย 6) กินอาหารที่มีไขมันแตพอควร 7) หลีกเลี่ยงการกินอาหรรสหวานจัดและเค็มจัด7) หลกเลยงการกนอาหรรสหวานจดและเคมจด 8) กินอาหารที่สะอาดปราศจากการปนเปอน 9) งดหรือลดเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล
  • 18. การรับประทานอาหารใหถูกสัดสวน ปริมาณที่รางกายตองการตามความเหมาะสมกับเพศ วัย และการทํางาน พลังงานของรางกายไดมาจากอาหาร ปริมาณอาหารที่เรารับประทานจึงมีความสัมพันธกับพลังงานที่รางกาย ตองการ ดังนั้นในแตละวันเราจึงตองการพลังงานจากสารอาหารเพื่อนําไปใชในการทํากิจกรรมตางๆ ในปริมาณตองการ ดงนนในแตละวนเราจงตองการพลงงานจากสารอาหารเพอนาไปใชในการทากจกรรมตางๆ ในปรมาณ ทีแตกตางขึ้นอยูกับเพศ วัย สภาพรางกาย และกิจกรรมของแตละบุคคล เพื่อสุขภาพที่แข็งแรงสมบูรณ เพศตางกัน อายเทากัน เพศ เพศเดียวกัน อายุเทากัน แตอาชีพ ่  ุ ชายตองการพลังงาน มากกวาเพศหญิง ตางกันชายที่มีอาชีพเปนกรรมกร ใชพลังงานมากกวาชายที่มีอาชีพ เปนเลขานุการความตองการพลังงานของ ศ ี ั ไ   ั  ุ ศ ี ั  ั ส แตละบุคคลที่แตกตางกัน ไปในแตละวัน เพศเดยวกนอายุไมเทากนตองการ พลังงานตางกัน วัยที่กําลังเจริญเติบโต ซึ่งตองทํากิจกรรมมากจะใชพลังงาน เพศเดยวกน อายุเทากน แตสภาพ รางกายตางกันความตองการพลังงาน ตางกัน หญิงมีครรภอายุ 25ป และ ่ มากหญิงอายุ 25 ปที่ตองใหนมบุตร ตองการพลังงานมากกวาหญิงมีครรภ
  • 19. อาหารที่เรารับประทานกันทุกวันนี้มีหลายชนิดที่มีสารพิษเจือปน เมื่อบริโภคแลวจะทําให ่ สารปนเปอนในอาหาร ผูบริโภคเกิดการเจ็บปวยได สารพิษที่ปะปนในอาหารสามารถจําแนกไดเปน 2 ประเภท คือ 1.สิ่งปนเปอนในอาหารที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ 2.สิ่งปนเปอนในอาหารที่เกิดขึ้นจากการกระทําของมนุษย ไวรัสทําใหเกิดโรคตับอักเสบ แบคทีเรียทําใหเกิดโรคทองเสีย อหิวาตกโรค ฟ ิ ํ ใ  ิ โ ็ ัอะฟลาทอกชนทําใหเกดโรคมะเร็งตับไวรัสทําใหเกิดโรคไขหวัดนก ่  ่ ้ สารพิษในพืชหรือสัตว - เห็ดมีพิษบางชนิด - ผักขี้หนอน สิ่งปนเปอนในอาหารที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ผกขหนอน - ปลาปกเปา - แมงดาทะเล  ี ิ ใ ื่ พยาธิบางชนิด ิใ ไ ใ ั ิ ั ป ป ิ ี่ ี ถามสารพษอยูในอาหาร เมอเรา รับประทานเขาไปอาจเปน อันตรายถึงชีวิตได - พยาธิใบไมในตับเกิดจากการรับประทานปลาดิบทีมี ไขพยาธิ ซึ่งไขพยาธิจะเจริญเติบโตในรางกาย ทําใหตับ แข็งและตายในที่สุด
  • 20. 2.สารอาหารกันเสีย 3.สีผสมอาหาร ฟอรมาลีน (น้ํายาดองศพ) พบในผัก สด อาหารทะเลสด และเนื้อสัตว เมื่อ ปรอท จะสะสมในสมองทําใหประสาทหลอน เปน อัมพาต ถาผูหญิงที่ตั้งครรภรับประทานเขาไปจะทําให รับประทานเขาไปจะทําใหเกิดอาการปวด ทองอยางรุนแรง ทองเสีย อาเจียน หมด สติ กรดซาลิซิลิก ใชปองกันเชื้อรา พบใน ู ระบบประสาทของทารกในครรภถูกทําลาย ผักดอง แหนม หมูยอ เมื่อ รับประทานเขาไปจะทําใหหูอื้อ มีไข อาเจียน และอาจเสียชีวิตได ตะกั่ว ทําลายเซลลเม็ดเลือดแดง และเซลลสมอง ทําใหเปนอัมพาต แคดเมียม เปนอันตรายตอปอดและไต โครเมียม เปนอันตรายตอปอดและผิวหนัง
  • 21. การปองกันอันตรายจากสารปนเปอน ผลไม โรคที่พบ ไดแก ระบบตับ ไต กระเพาะอาหารผิดปกติจาก อาหารทะเล โรคที่พบ ไดแก โรคมะเร็งจากการที่มีสารเคมี การที่มีสารเคมีสะสมอยูในรางกาย วิธีการปองกัน บริโภคผลไมตามฤดูกาล ลางและปลอก เปลือกผลไมทุกครั้งกอนที่จะรับประทาน สะสมอยูในรางกาย โรคภูมิแพจากยาปฏิชีวนะ วิธีการปองกัน เลือกรับประทานอาหารสด เนื้อไม เปอยยุย วางแชน้ําแข็ง เนื้อวัว โรคที่พบ ไดแก โรคมะเร็งจากการสะสม ของสารเคมี โรคพยาธิ วิธีการปองกัน เนื้อไก โรคที่พบ ไดแก โรคภูมิแพจากยา ปฏิชีวนะ โรคไขรากสาดเทียม ผักสด โรคที่พบ ไดแก โรคมะเร็งจากการที่มี สารเคมีสะสมอยในรางกาย โรคพยาธิจาก คือ เลือกซื้อเนื้อวัวที่มีสีตามธรรมชาติ ซื้อจากแหลงที่เชื่อถือได และปรุงอาหาร ดวยความรอนสูง ฏ วิธีปองกัน เลือกซื้อเนื้อที่มีสี ธรรมชาติ หลีกเลี่ยงการบริโภคคอ และหัวไก ู ไขพยาธิที่ติดมากับผัก วิธีการปองกัน เลือกรับประทานผักที่มีรู พรุน และลางผักใหสะอาด อาหารที่เรารับประทานกันอยูในปจจุบันมักพบสารปนเปอนตางๆ ไดแก สารเรงเนื้อแดง สารฟอกขาว สารกันเชื้อรา สารบอแรกช และยาฆาแมลง ผูที่รับประทานอาหารที่มีสารปนเปอนเหลานี้เปนประจําจะมีความเสี่ยงตอู การเปนโรคมะเร็งสูง ซึ่งขณะนี้สาเหตุการตายอันดับ 1 ของคนไทยคือการ ปวยเปนโรคมะเร็งประมาณปละ 45,000 คน กระทรวงสาธารณสุขไดจัดทําโครงการ “อาหารปลอดภัย” ดวยการ ตรวจสอบสารปนเปอนในอาหารสดในตลาดทั่วประเทศไทย ผูขายรายใดที่ ฝาฝนยังจําหนายอาหารปนเปอนสารพิษจะมีโทษปรับไมเกิน 20,000 บาท และจําคุกไมเกิน 2 ป
  • 22. Th k YThank You