SlideShare a Scribd company logo
1 of 22
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
ในอดีตเมื่อมีเหตุการณ์ความเสียหายที่เกิดจากการใช้คอมพิวเตอร์
กระทาความผิด หรือสร้างความเสียหายแก่ระบบคอมพิวเตอร์ขึ้นมาแต่ละครั้ง
มักจะไม่สามารถเอาผิดผู้ที่กระทาความผิดได้ ผู้ก่อความผิดสามารถอยู่ ณ
สถานที่ใดในโลกก็ได้ ทาให้ยากที่จะนาตัวผู้กระทาความผิดมาลงโทษ และความ
เสียหายที่เกิดจากการใช้คอมพิวเตอร์กระทาผิดก็สร้างความเสียหายและส่ง
ผลกระทบต่อผู้คนจานวนมากและรวดเร็ว แต่ยังไม่มีกฎหมายมารองรับและ
สามารถนามาใช้ลงโทษได้ปัจจุบันประเทศไทยมีกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการใช้
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ อาทิ พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทาง
อิเล็กทรอนิกส์ พระราชกฤษฎีกากาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการทาธุรกรรม
ทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2549 ตลอดจนกฎหมายลิขสิทธิ์ เป็นต้น
ปัจจุบันได้มีพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทาผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.
2550 ที่ได้เริ่มพัฒนาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2541 แล้วพระราชบัญญัติได้ผ่านความ
เห็นชอบของสภานิติบัญญัติแห่งชาติวันที่ 9 พฤษภาคม 2550 จากนั้นได้มีการ
เสนอร้างพระราชบัญญัติเพื่อลงพระปรมาภิไธย และได้ประกาศในพระราชกิจจา
นุเบกษาวันที่ 18 มิถุนายน 2550 ส่งผลให้พระราชบัญญัติมีผลบังคับใช้ภายใน
สามสิบวัน ซึ่งก็คือ วันที่ 18 กรกฎาคม 2550 และกลายเป็น “พระราชบัญญัติว่า
ด้วยการกระทาผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พ.ศ. 2550” ที่ใช้ในปัจจุบัน ในที่นี้จะขอนาเสนอเฉพาะพระราชบัญญัติว่าด้วย
การกระทาผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 และกฎหมายลิขสิทธิ์ที่จะเป็น
ประโยชน์ในการใช้งานด้านสารสนเทศดังมีรายละเอียดดังนี้
1. พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทาผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทาผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
ประกอบด้วยมาตราต่างๆ รวมทั้งสิ้น 30 มาตรา โดยสามารถแบ่งได้เป็น 3 ส่วน
1.1 ส่วนทั่วไป บทบัญญัติในส่วนทั่วไปประกอบด้วย มาตรา 1 ชื่อ
กฎหมาย มาตรา 2 วันบังคับใช้กฎหมาย มาตรา 3 คานิยาม และมาตรา 4 ผู้
รักษาการ
1.2 หมวด 1 บทบัญญัติความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์มีทั้งสิ้น 13
มาตรา ตั้งแต่มาตรา 5 ถึงมาตรา 17 สาระสาคัญของหมวดนี้ว่าด้วยฐาน
ความผิด อันเป็นผลจากการกระทาที่กระทบต่อความมั่นคง ปลอดภัย ของระบบ
สารสนเทศโดยเป็นการกระทาความผิดที่กระทบต่อการรักษาความลับ
(Confidentiality) ความครบถ้วนและความถูกต้อง (Integrity) และความพร้อม
ใช้งาน (Availability) ของระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็นความผิดที่ไม่สามารถยอม
ความได้ ยกเว้นมาตรา 16 ซึ่งเป็นความผิดเกี่ยวกับการตัดต่อหรือดัดแปลงภาพ
ซึ่งยังคงกาหนดให้เป็นความผิดที่สามารถยอมความได้ เพราะความเสียหายมัก
เกิดขึ้นเพียงบุคคลใดบุคคลหนึ่งเท้านั้น คู่คดีสามารถหาข้อยุติและสรุปตกลง
ความเสียหายกันเองได้ ซึ่งต่างจากมาตราอื่นๆ ในหมวดนี้ที่ผลของการกระทา
ผิดอาจไม่ใช้เพียงแค้กระทบบุคคลใดบุคคลหนึ่ง แต่อาจกระทบต่อสังคม ก่อเกิด
ความเสียหายทางเศรษฐกิจในวงกว้าง ซึ่งสาระสาคัญมีดังต่อไปนี้
2.1 การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์โดยมิชอบ รายละเอียดอยู่ในมาตรา 5
ซึ่งการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ เช่น การใช้โปรแกรมสปายแวร์ (Spyware) ขโมย
ข้อมูลรหัสผ่านส่วนบุคคลของผู้อื่น เพื่อใช้บุกรุกเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ของผู้
นั้นผ่านช้องโหว่ของระบบดังกล่าวโดยไม่ได้รับอนุญาต
2.2 การล่วงรู้มาตรการปูองกันการเข้าถึง และนาไปเปิดเผยโดยมิชอบ
จะเกี่ยวข้องกับมาตรา 6 โดยการล่วงรู้มาตรการความปลอดภัยการเข้าถึงระบบ
คอมพิวเตอร์ เช่น การแอบบันทึกการกดรหัสผ่านของผู้อื่น แล้วนาไปโพสต์ไว้ใน
เว็บบอร์ดต่างๆ เพื่อให้บุคคลที่สามใช้รหัสผ่านเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ของผู้
ที่เป็นเหยื่อ
2.3 การเข้าถึงข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยมิชอบมาตรา7 การเข้าถึง
ข้อมูลคอมพิวเตอร์ เช่น การกระทาใดๆ เพื่อเข้าถึงแฟ้ มข้อมูล (File) ที่เป็น
ความลับโดยไม่ได้รับอนุญาต
2.4 การดักข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยมิชอบรายละเอียดอยู่ในมาตรา 8 ซึ่ง
การดักข้อมูลคอมพิวเตอร์ คือ การดักข้อมูลของผู้อื่นในระหว่างการส่ง เช่น การ
ใช้สนิฟเฟอร์ (Sniffer) แอบดักแพ็กเก็ต (Packet) ซึ่งเป็นชุดข้อมูลที่เล็กที่สุดที่อยู่
ระหว่างการส่งไปให้ผู้รับ
2.5 ในมาตรา 9 และมาตรา 10 เนื้อหาเกี่ยวกับการรบกวน
ข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือระบบคอมพิวเตอร์โดยมิชอบ ซึ่งการรบกวน
ข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือระบบคอมพิวเตอร์ เช่น การใช้โปรแกรมไวรัสเพื่อส่งอีเมล
จานวนมากไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น เพื่อทาให้คอมพิวเตอร์ไม่สามารถ
ทางานได้ตามปกติ
2.6 การสแปมเมล จะเกี่ยวข้องกับมาตรา 11 มาตรานี้เป็นมาตราที่
เพิ่มเติมขึ้นมาเพื่อให้ครอบคลุมถึงการส่งสแปมซึ่งเป็นลักษณะการกระทา
ความผิดที่ใกล้เคียงกับมาตรา 10 และยังเป็นวิธีกระทาความผิดโดยการใช้
โปรแกรมหรือชุดคาสั่งไปให้เหยื่อจานวนมาก โดยปกปิดแหล่งที่มา
2.7 มาตรา 12 การกระทาความผิดที่ก่อให้เกิดความเสียหายหรือส่งผล
กระทบต่อความมั่นคงของประเทศ การรบกวนระบบและข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่
ก่อให้เกิดความเสียหายต่อประชาชนหรือกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ
ความปลอดภัยสาธารณะ ความมั่นคงในทางเศรษฐกิจ และการบริการสาธารณะ
ซึ่งในปัจจุบันการกระทาความผิดทางคอมพิวเตอร์ที่ส่วนใหญ่วิตกกังวลกัน คือ
การเจาะเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์และแอบเพิ่มเติม หรือทาลาย
ข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรือแก้ไข เปลี่ยนแปลงข้อมูลคอมพิวเตอร์ ซึ่งอาจส่งผล
กระทบต่อระบบสาธารณูปโภค หรือระบบการเงินของประเทศ ซึ่งเป็นที่มาของ
การทาสงครามข้อมูลข่าวสาร (Information Warfare)
2.8 การจาหน่ายหรือเผยแพร่ชุดคาสั่งเพื่อใช้กระทาความผิด
รายละเอียดอยู่ในมาตรา 13
2.9 มาตรา 14 และมาตรา 15 จะกล่าวถึงการปลอมแปลง
ข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือเผยแพร่เนื้อหาที่ไม่เหมาะสม และการรับผิดของผู้
ให้บริการ สองมาตรานี้เป็นลักษณะที่เกิดจากการนาเข้าข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่เป็น
เท็จ หรือมีเนื้อหาไม่เหมาะสมในรูปแบบต่างๆ
2.10 การเผยแพร่ภาพจากการตัดต่อหรือดัดแปลงให้ผู้อื่นถูกดูหมิ่น
หรืออับอาย จะเกี่ยวข้องกับมาตรา 16 ซึ่งมาตรานี้เป็นการกาหนดฐานความผิด
ในเรื่องของการตัดต่อภาพของบุคคลอื่นที่อาจทาให้ผู้เสียหายเสียชื่อเสียง ถูกดู
หมิ่น เกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย โดยความผิดในมาตรานี้เป็นความผิดที่มี
ความใกล้เคียงกับความผิดฐานหมิ่นประมาท
2.11 มาตรา 17 กล่าวถึงการกระทาความผิดนอกราชอาณาจักรซึ่งต้อง
รับโทษในราชอาณาจักร โดยมาตรา 17 เป็นมาตราที่ว่าด้วยการนาตัวผู้กระทา
ความผิดมาลงโทษ
3. หมวด 2 สาหรับในหมวดนี้ได้มีการกาหนดเกี่ยวกับอานาจของพนักงาน
เจ้าหน้าที่ และยังมีการกาหนดเกี่ยวกับการตรวจสอบการใช้อานาจของพนักงาน
เจ้าหน้าที่ไว้อีกด้วย รวมทั้งยังมีการกาหนดหน้าที่ของผู้ให้บริการที่ต้องเก็บรักษา
ข้อมูลคอมพิวเตอร์ และต้องให้ความร่วมมือกับพนักงานเจ้าหน้าที่ในการส่งมอบ
ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์แก่พนักงานเจ้าหน้าที่ บทบัญญัติในหมวดนี้มี
ทั้งหมด 13 มาตรา ตั้งแต่มาตรา 18 ถึง มาตรา 30
พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์
กฎหมายส่วนใหญ่รับรองธุรกรรมที่มีลายมือชื่อบนเอกสารที่เป็นกระดาษ ทาให้เป็น
เป็นปัญหาต่อการทาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ประเทศต่างๆ รวมทั้งไทยจึงต้องสร้าง
สร้างกฎหมายใหม่ เพื่อให้การรองรับธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์เหล่านี้ ทั้งนี้กฎหมายของ
ของประเทศส่วนใหญ่ถูกสร้างบนแม่แบบที่กาหนดโดยคณะทางานสหประชาชาติ
1 กฎหมายนี้รับรองการทาธุรกรรมด้วยเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ทั้งหมด เช่น
โทรสาร โทรเลข ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ โดยมาตรา 7 ระบุไว้ว่า ห้ามมิให้ปฏิเสธ
ความมีผลผูกพันและการบังคับใช้ทางกฎหมายของข้อความใด เพียงเพราะเหตุที่
ข้อความนั้นอยู่ในรูปของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
2 ศาลจะต้องยอมรับฟังเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ แต่ทั้งนี้มิได้หมายความว่าศาล
จะต้องเชื่อว่าข้อความอิเล็กทรอนิกส์นั้นเป็นข้อความที่ถูกต้อง
3 ปัจจุบันธุรกิจจาเป็นต้องเก็บเอกสารทางการค้าที่เป็นกระดาษจานวนมาก ทา
ให้เกิดค้าใช้จ่ายและความไม่ปลอดภัยขึ้น กฎหมายฉบับนี้เปิดทางให้ธุรกิจ
สามารถเก็บเอกสารเหล่านี้ในรูปไฟล์อิเล็กทรอนิกส์ได้ตามมาตรา 10 ที่กล่าวว่า
ในกรณีที่กฎหมายกาหนดให้นาเสนอหรือเก็บรักษาข้อความใดในสภาพที่เป็นมา
แต่เดิมอย่างเอกสารต้นฉบับ ถ้าได้นาเสนอหรือเก็บรักษาในรูปข้อมูล
อิเล็กทรอนิกส์ตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ให้ถือว่าได้มีการนาเสนอหรือเก็บรักษา
เป็นเอกสารต้นฉบับตามกฎหมายแล้ว ซึ่งข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ได้ใช้วิธีการที่
เชื่อถือได้ในการรักษาความถูกต้องของข้อความตั้งแต่การสร้างข้อความจนเสร็จ
สมบูรณ์ และสามารถแสดงข้อความนั้นในภายหลังได้ความถูกต้องของข้อความ
ตามมาตราที่ 7
4 ปกติการทาสัญญาบนเอกสารที่เป็นกระดาษจะมีการระบุวันเวลาที่ทาธุรกรรม
นั้นด้วย ในกรณีธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์นั้นได้ให้ข้อวินิจฉัยเวลาของธุรกรรมตาม
มาตรา 23 ที่ระบุว่า การรับข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ให้ถือว่ามีผลนับแต่เวลาที่ข้อมูล
อิเล็กทรอนิกส์นั้นได้เข้ามาสู่ระบบข้อมูลของ
ผู้รับข้อมูล หากผู้รับข้อมูลได้กาหนดระบบข้อมูลที่ประสงค์จะใช้ในการรับข้อมูล
อิเล็กทรอนิกส์ไว้โดยเฉพาะ ให้ถือว่าการรับข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์มีผลนับแต่เวลา
ที่ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์นั้นได้เข้าสู่ระบบข้อมูลที่ผู้รับข้อมูลได้กาหนดไว้นั้น แต่ถ้า
ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ดังกล่าวได้ส่งไปยังระบบข้อมูลอื่นของผู้รับข้อมูลซึ่งมิใช้
ระบบข้อมูลที่ผู้รับกาหนดไว้ ให้ถือว่าการรับข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์มีผลนับแต่เวลา
ที่ได้เรียกข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์จากระบบข้อมูลนั้น จะเห็นว่าเวลาของธุรกรรม
5 มาตรา 25 ระบุถึงบทบาทของภาครัฐในการให้บริการประชาชนด้วยระบบ
อิเล็กทรอนิกส์ ให้อานาจหน่วยงานรัฐบาลสามารถสร้างระบบรัฐบาล
อิเล็กทรอนิกส์ (e-Government) ในการให้บริการประชาชนได้ โดยต้องออก
ประกาศ หรือกฎกระทรวงเพิ่มเติม
6 ใบรับรองอิเล็กทรอนิกส์หรือลายมือชื่อดิจิทัลของผู้ประกอบถือเป็นสิ่งสาคัญ
และมีค้าเทียบเท้าการลงลายมือชื่อบนเอกสารกระดาษ ดังนั้นผู้ประกอบการต้อง
เก็บรักษาใบรับรองอิเล็กทรอนิกส์นี้ไว้เป็นความลับ และมาตรา 27
กฎหมายลิขสิทธิ์ และการใช้งานโดยธรรม (Fair Use)
กฎหมายลิขสิทธิ์ภายใต้พระราชบัญญัติ พ.ศ. 2537 ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี
สารสนเทศและการใช้งานโดยธรรม (Fair Use) ก็คือมาตรา 15 ที่มีสาระสาคัญ
ในการคุ้มครองลิขสิทธิ์ของเจ้าของลิขสิทธิ์ เช่น สิทธิในการทาซ้าหรือดัดแปลง
งาน การเผยแพร่งานต่อสาธารณชน และให้เช่าต้นฉบับหรือสาเนางานบาง
ประเภท เป็นต้น
ข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิ์ ให้สามารถนาข้อมูลของผู้อื่นมาใช้ได้โดยไม่ต้องขอ
อนุญาต หรือเป็นการใช้งานโดยธรรม ต้องขึ้นอยู่กับปัจจัย 4 ประการดังนี้
1) พิจารณาว่าการกระทาดังกล่าวมีวัตถุประสงค์การใช้งานอย่างไร ลักษณะการ
นาไปใช้มิใช้เป็นเชิงพาณิชย์ แต่ควรเป็นไปในลักษณะไม่หวังผลกาไร อาจใช้เพื่อ
การศึกษา หรือประโยชน์ส่วนตัว การใช้เพื่อการติชมหรือวิจารณ์ เป็นต้น
2) ลักษณะของข้อมูลที่จะนาไปใช้ซึ่งข้อมูลดังกล่าวเป็นข้อเท็จจริง เป็นความจริง
อันเป็นสาธารณประโยชน์ ซึ่งทุกคนสามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้
3) จานวนและเนื้อหาที่จะคัดลอกไปใช้เมื่อเป็นสัดส่วนกับข้อมูลที่มีลิขสิทธิ์
ทั้งหมด
4) ผลกระทบของการนาข้อมูลไปใช้ที่มีต่อความเป็นไปได้ทางการตลาดหรือคุณ
ค้าของงานที่มีลิขสิทธิ์นั้น
ดังนั้นผู้ใช้งานควรนาข้อมูลมาใช้งานอย่างระมัดระวัง เพราะปัจจุบันโลกของ
อินเทอร์เน็ตเปิดกว้างสาหรับทุกคนให้มีโอกาสในการเผยแพร่ข้อมูลต่างๆ ได้ง่าย
และเสียค้าใช้จ่ายน้อย นอกจากนี้การนาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตไปใช้ก็สามารถ
กระทาได้โดยง่าย ไม่ว่าจะเป็นรูปภาพ เสียง คลิปวิดีโอ บทความหรือบทประพันธ์
(Text) และซอฟต์แวร์ เป็นต้น
คอมพิวเตอร์ เพื่อใช้งานโดยธรรมในมาตรา 35 ได้บัญญัติให้การกระทาแก่
โปรแกรมคอมพิวเตอร์อันมีลิขสิทธิ์ มิให้ถือว่าเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ หากไม่มี
วัตถุประสงค์เพื่อหากาไร ในกรณีดังต่อไปนี้
1) วิจัยหรือศึกษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์นั้น
2) ใช้เพื่อประโยชน์ของเจ้าของสาเนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์นั้น
3) ติชม วิจารณ์ หรือแนะนาผลงานโดยมีการรับรู้ถึงความเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ใน
โปรแกรมคอมพิวเตอร์นั้น
4) เสนอรายงานข่าวทางสื่อสารมวลชนโดยมีการรับรู้ถึงความเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์
ในโปรแกรมคอมพิวเตอร์นั้น
5) ทาสาเนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในจานวนที่สมควรโดยบุคคลผู้ซึ่งได้ซื้อหรือ
ได้รับโปรแกรมนั้นมาจากบุคคลอื่นโดยถูกต้อง เพื่อเก็บไว้ใช้ประโยชน์ในการ
บารุงรักษาหรือปูองกันการสูญหาย
6) ทาซ้า ดัดแปลง นาออกแสดง หรือทาให้ปรากฏเพื่อประโยชน์ในการพิจารณา
ของศาลหรือเจ้าพนักงานซึ่งมีอานาจตามกฎหมาย หรือในการรายงานผลการ
พิจารณาดังกล่าว
7) นาโปรแกรมคอมพิวเตอร์นั้นมาใช้เป็นส่วนหนึ่งในการถามและตอบในการ
สอบ
8) ดัดแปลงโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในกรณีที่จาเป็นแก่การใช้
9) จัดทาสาเนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อเก็บรักษาไว้สาหรับการอ้างอิง หรือ
ค้นคว้า เพื่อประโยชน์ของสาธารณชน

More Related Content

What's hot

แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน
แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงานแบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน
แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงานkrupornpana55
 
แบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงานแบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงานKanin Thejasa
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558dnavaroj
 
3 การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
3 การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม3 การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
3 การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรมMelody Minhyok
 
โครงงาน น้ำตะไคร้เพื่อสุขภาพ
โครงงาน น้ำตะไคร้เพื่อสุขภาพโครงงาน น้ำตะไคร้เพื่อสุขภาพ
โครงงาน น้ำตะไคร้เพื่อสุขภาพกก กอล์ฟ
 
วิจัยบทที่ 1 5
วิจัยบทที่ 1 5วิจัยบทที่ 1 5
วิจัยบทที่ 1 5Kongkrit Pimpa
 
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันเล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันPreeyapat Lengrabam
 
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาManchai
 
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คtumetr1
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานTiwapon Wiset
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์Aus2537
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Sarocha Makranit
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงพัน พัน
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2Toey_Wanatsanan
 

What's hot (20)

แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน
แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงานแบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน
แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน
 
แบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงานแบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงาน
 
สูตรคณิต
สูตรคณิตสูตรคณิต
สูตรคณิต
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558
 
3 การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
3 การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม3 การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
3 การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
 
คค
 
โครงงาน น้ำตะไคร้เพื่อสุขภาพ
โครงงาน น้ำตะไคร้เพื่อสุขภาพโครงงาน น้ำตะไคร้เพื่อสุขภาพ
โครงงาน น้ำตะไคร้เพื่อสุขภาพ
 
วิจัยบทที่ 1 5
วิจัยบทที่ 1 5วิจัยบทที่ 1 5
วิจัยบทที่ 1 5
 
ข้อสอบปลายภาคสังคม ม.1
ข้อสอบปลายภาคสังคม ม.1ข้อสอบปลายภาคสังคม ม.1
ข้อสอบปลายภาคสังคม ม.1
 
พรบ.คอมพิวเตอร์ 2550
พรบ.คอมพิวเตอร์ 2550พรบ.คอมพิวเตอร์ 2550
พรบ.คอมพิวเตอร์ 2550
 
ภาคผนวก
ภาคผนวกภาคผนวก
ภาคผนวก
 
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันเล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
 
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
 
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ชุดการสอนที่ 2 ต่อมใต้สมอง อาบ ok
ชุดการสอนที่ 2 ต่อมใต้สมอง อาบ okชุดการสอนที่ 2 ต่อมใต้สมอง อาบ ok
ชุดการสอนที่ 2 ต่อมใต้สมอง อาบ ok
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2
 

Viewers also liked

กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศKrieangsak Pholwiboon
 
บทที่ 7 กฏหมายและจริยธรรมคอมพิวเตอร์
บทที่ 7 กฏหมายและจริยธรรมคอมพิวเตอร์บทที่ 7 กฏหมายและจริยธรรมคอมพิวเตอร์
บทที่ 7 กฏหมายและจริยธรรมคอมพิวเตอร์Wanphen Wirojcharoenwong
 
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคม ที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคม ที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคม ที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคม ที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศNawanan Theera-Ampornpunt
 
กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศและอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศและอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศและอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศและอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์bomch
 
มารยาทและจริยธรรมทางวิชาการในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
มารยาทและจริยธรรมทางวิชาการในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศมารยาทและจริยธรรมทางวิชาการในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
มารยาทและจริยธรรมทางวิชาการในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ Dokhed Gam
 
กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ และ อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ และ อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ และ อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ และ อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์Kannika mnk
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ Radompon.com
 
การเขียนรายงานการวิจัย
การเขียนรายงานการวิจัยการเขียนรายงานการวิจัย
การเขียนรายงานการวิจัยnoinasang
 
แนวทางการสอนโรงเรียนมาตรฐานสากล ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2 (ล่าสุด สำหรับปี ก.ศ.2...
แนวทางการสอนโรงเรียนมาตรฐานสากล ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2 (ล่าสุด สำหรับปี ก.ศ.2...แนวทางการสอนโรงเรียนมาตรฐานสากล ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2 (ล่าสุด สำหรับปี ก.ศ.2...
แนวทางการสอนโรงเรียนมาตรฐานสากล ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2 (ล่าสุด สำหรับปี ก.ศ.2...supattrajra
 

Viewers also liked (10)

กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่ 7 กฏหมายและจริยธรรมคอมพิวเตอร์
บทที่ 7 กฏหมายและจริยธรรมคอมพิวเตอร์บทที่ 7 กฏหมายและจริยธรรมคอมพิวเตอร์
บทที่ 7 กฏหมายและจริยธรรมคอมพิวเตอร์
 
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคม ที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคม ที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคม ที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคม ที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศและอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศและอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศและอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศและอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
 
บทที่8กฎหมายคอมพิวเตอร์[1]
บทที่8กฎหมายคอมพิวเตอร์[1]บทที่8กฎหมายคอมพิวเตอร์[1]
บทที่8กฎหมายคอมพิวเตอร์[1]
 
มารยาทและจริยธรรมทางวิชาการในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
มารยาทและจริยธรรมทางวิชาการในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศมารยาทและจริยธรรมทางวิชาการในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
มารยาทและจริยธรรมทางวิชาการในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ และ อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ และ อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ และ อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ และ อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
การเขียนรายงานการวิจัย
การเขียนรายงานการวิจัยการเขียนรายงานการวิจัย
การเขียนรายงานการวิจัย
 
แนวทางการสอนโรงเรียนมาตรฐานสากล ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2 (ล่าสุด สำหรับปี ก.ศ.2...
แนวทางการสอนโรงเรียนมาตรฐานสากล ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2 (ล่าสุด สำหรับปี ก.ศ.2...แนวทางการสอนโรงเรียนมาตรฐานสากล ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2 (ล่าสุด สำหรับปี ก.ศ.2...
แนวทางการสอนโรงเรียนมาตรฐานสากล ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2 (ล่าสุด สำหรับปี ก.ศ.2...
 

Similar to กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ

อาชญากรรม ปอ
อาชญากรรม ปออาชญากรรม ปอ
อาชญากรรม ปอHatairat Srisawat
 
พรบ
พรบพรบ
พรบpotogus
 
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1Nukaem Ayoyo
 
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1Kamonchapat Boonkua
 
อาชญากรรม บาว
อาชญากรรม บาวอาชญากรรม บาว
อาชญากรรม บาวMind Candle Ka
 
พรบ(1)
พรบ(1)พรบ(1)
พรบ(1)Wuttipat
 
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้องอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้องKamonchapat Boonkua
 
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้องอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้องKamonchapat Boonkua
 
อาชญากรรม เบส
อาชญากรรม เบสอาชญากรรม เบส
อาชญากรรม เบสMind Candle Ka
 
อาชญากรรม บอล
อาชญากรรม บอลอาชญากรรม บอล
อาชญากรรม บอลAY'z Felon
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 2550
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 2550พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 2550
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 2550Piw ARSENAL
 
อาชญากรรม เอ๋
อาชญากรรม เอ๋อาชญากรรม เอ๋
อาชญากรรม เอ๋AY'z Felon
 

Similar to กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ (20)

อาชญากรรม ปอ
อาชญากรรม ปออาชญากรรม ปอ
อาชญากรรม ปอ
 
พรบ
พรบพรบ
พรบ
 
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1
 
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1
 
พรบ
พรบพรบ
พรบ
 
อาชญากรรม บาว
อาชญากรรม บาวอาชญากรรม บาว
อาชญากรรม บาว
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
พรบ(1)
พรบ(1)พรบ(1)
พรบ(1)
 
Bbbb
BbbbBbbb
Bbbb
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
พรบ.Computer
พรบ.Computerพรบ.Computer
พรบ.Computer
 
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้องอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
 
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้องอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
 
อาชญากรรม เบส
อาชญากรรม เบสอาชญากรรม เบส
อาชญากรรม เบส
 
อาชญากรรม บอล
อาชญากรรม บอลอาชญากรรม บอล
อาชญากรรม บอล
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 2550
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 2550พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 2550
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 2550
 
รายงานเจียบ
รายงานเจียบรายงานเจียบ
รายงานเจียบ
 
โบว์Pdf
โบว์Pdfโบว์Pdf
โบว์Pdf
 
คอมจ๊ะ
คอมจ๊ะคอมจ๊ะ
คอมจ๊ะ
 
อาชญากรรม เอ๋
อาชญากรรม เอ๋อาชญากรรม เอ๋
อาชญากรรม เอ๋
 

More from วีรวัฒน์ สว่างแสง

แนวโน้มการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
แนวโน้มการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต แนวโน้มการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
แนวโน้มการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต วีรวัฒน์ สว่างแสง
 
การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา
การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา
การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา วีรวัฒน์ สว่างแสง
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับที่มาขององค์ความรู้
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับที่มาขององค์ความรู้  ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับที่มาขององค์ความรู้
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับที่มาขององค์ความรู้ วีรวัฒน์ สว่างแสง
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูลและการสืบค้น
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูลและการสืบค้นความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูลและการสืบค้น
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูลและการสืบค้นวีรวัฒน์ สว่างแสง
 
แนวคิดเกี่ยวกับเครือข่ายสังคมออนไลน์
แนวคิดเกี่ยวกับเครือข่ายสังคมออนไลน์แนวคิดเกี่ยวกับเครือข่ายสังคมออนไลน์
แนวคิดเกี่ยวกับเครือข่ายสังคมออนไลน์วีรวัฒน์ สว่างแสง
 
ประวัติความเป็นมาและพัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
ประวัติความเป็นมาและพัฒนาการของอินเทอร์เน็ต ประวัติความเป็นมาและพัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
ประวัติความเป็นมาและพัฒนาการของอินเทอร์เน็ต วีรวัฒน์ สว่างแสง
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ วีรวัฒน์ สว่างแสง
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ วีรวัฒน์ สว่างแสง
 
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ วีรวัฒน์ สว่างแสง
 

More from วีรวัฒน์ สว่างแสง (11)

บทที่3
บทที่3บทที่3
บทที่3
 
10741756 764342770324920 1621793549_n
10741756 764342770324920 1621793549_n10741756 764342770324920 1621793549_n
10741756 764342770324920 1621793549_n
 
แนวโน้มการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
แนวโน้มการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต แนวโน้มการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
แนวโน้มการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
 
การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา
การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา
การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับที่มาขององค์ความรู้
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับที่มาขององค์ความรู้  ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับที่มาขององค์ความรู้
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับที่มาขององค์ความรู้
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูลและการสืบค้น
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูลและการสืบค้นความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูลและการสืบค้น
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูลและการสืบค้น
 
แนวคิดเกี่ยวกับเครือข่ายสังคมออนไลน์
แนวคิดเกี่ยวกับเครือข่ายสังคมออนไลน์แนวคิดเกี่ยวกับเครือข่ายสังคมออนไลน์
แนวคิดเกี่ยวกับเครือข่ายสังคมออนไลน์
 
ประวัติความเป็นมาและพัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
ประวัติความเป็นมาและพัฒนาการของอินเทอร์เน็ต ประวัติความเป็นมาและพัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
ประวัติความเป็นมาและพัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
 

กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ

  • 2. ในอดีตเมื่อมีเหตุการณ์ความเสียหายที่เกิดจากการใช้คอมพิวเตอร์ กระทาความผิด หรือสร้างความเสียหายแก่ระบบคอมพิวเตอร์ขึ้นมาแต่ละครั้ง มักจะไม่สามารถเอาผิดผู้ที่กระทาความผิดได้ ผู้ก่อความผิดสามารถอยู่ ณ สถานที่ใดในโลกก็ได้ ทาให้ยากที่จะนาตัวผู้กระทาความผิดมาลงโทษ และความ เสียหายที่เกิดจากการใช้คอมพิวเตอร์กระทาผิดก็สร้างความเสียหายและส่ง ผลกระทบต่อผู้คนจานวนมากและรวดเร็ว แต่ยังไม่มีกฎหมายมารองรับและ สามารถนามาใช้ลงโทษได้ปัจจุบันประเทศไทยมีกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการใช้ งานเทคโนโลยีสารสนเทศ อาทิ พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกส์ พระราชกฤษฎีกากาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการทาธุรกรรม ทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2549 ตลอดจนกฎหมายลิขสิทธิ์ เป็นต้น
  • 3. ปัจจุบันได้มีพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทาผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 ที่ได้เริ่มพัฒนาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2541 แล้วพระราชบัญญัติได้ผ่านความ เห็นชอบของสภานิติบัญญัติแห่งชาติวันที่ 9 พฤษภาคม 2550 จากนั้นได้มีการ เสนอร้างพระราชบัญญัติเพื่อลงพระปรมาภิไธย และได้ประกาศในพระราชกิจจา นุเบกษาวันที่ 18 มิถุนายน 2550 ส่งผลให้พระราชบัญญัติมีผลบังคับใช้ภายใน สามสิบวัน ซึ่งก็คือ วันที่ 18 กรกฎาคม 2550 และกลายเป็น “พระราชบัญญัติว่า ด้วยการกระทาผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
  • 4. พ.ศ. 2550” ที่ใช้ในปัจจุบัน ในที่นี้จะขอนาเสนอเฉพาะพระราชบัญญัติว่าด้วย การกระทาผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 และกฎหมายลิขสิทธิ์ที่จะเป็น ประโยชน์ในการใช้งานด้านสารสนเทศดังมีรายละเอียดดังนี้ 1. พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทาผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทาผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 ประกอบด้วยมาตราต่างๆ รวมทั้งสิ้น 30 มาตรา โดยสามารถแบ่งได้เป็น 3 ส่วน 1.1 ส่วนทั่วไป บทบัญญัติในส่วนทั่วไปประกอบด้วย มาตรา 1 ชื่อ กฎหมาย มาตรา 2 วันบังคับใช้กฎหมาย มาตรา 3 คานิยาม และมาตรา 4 ผู้ รักษาการ
  • 5. 1.2 หมวด 1 บทบัญญัติความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์มีทั้งสิ้น 13 มาตรา ตั้งแต่มาตรา 5 ถึงมาตรา 17 สาระสาคัญของหมวดนี้ว่าด้วยฐาน ความผิด อันเป็นผลจากการกระทาที่กระทบต่อความมั่นคง ปลอดภัย ของระบบ สารสนเทศโดยเป็นการกระทาความผิดที่กระทบต่อการรักษาความลับ (Confidentiality) ความครบถ้วนและความถูกต้อง (Integrity) และความพร้อม ใช้งาน (Availability) ของระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็นความผิดที่ไม่สามารถยอม ความได้ ยกเว้นมาตรา 16 ซึ่งเป็นความผิดเกี่ยวกับการตัดต่อหรือดัดแปลงภาพ ซึ่งยังคงกาหนดให้เป็นความผิดที่สามารถยอมความได้ เพราะความเสียหายมัก เกิดขึ้นเพียงบุคคลใดบุคคลหนึ่งเท้านั้น คู่คดีสามารถหาข้อยุติและสรุปตกลง ความเสียหายกันเองได้ ซึ่งต่างจากมาตราอื่นๆ ในหมวดนี้ที่ผลของการกระทา ผิดอาจไม่ใช้เพียงแค้กระทบบุคคลใดบุคคลหนึ่ง แต่อาจกระทบต่อสังคม ก่อเกิด ความเสียหายทางเศรษฐกิจในวงกว้าง ซึ่งสาระสาคัญมีดังต่อไปนี้
  • 6. 2.1 การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์โดยมิชอบ รายละเอียดอยู่ในมาตรา 5 ซึ่งการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ เช่น การใช้โปรแกรมสปายแวร์ (Spyware) ขโมย ข้อมูลรหัสผ่านส่วนบุคคลของผู้อื่น เพื่อใช้บุกรุกเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ นั้นผ่านช้องโหว่ของระบบดังกล่าวโดยไม่ได้รับอนุญาต 2.2 การล่วงรู้มาตรการปูองกันการเข้าถึง และนาไปเปิดเผยโดยมิชอบ จะเกี่ยวข้องกับมาตรา 6 โดยการล่วงรู้มาตรการความปลอดภัยการเข้าถึงระบบ คอมพิวเตอร์ เช่น การแอบบันทึกการกดรหัสผ่านของผู้อื่น แล้วนาไปโพสต์ไว้ใน เว็บบอร์ดต่างๆ เพื่อให้บุคคลที่สามใช้รหัสผ่านเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ ที่เป็นเหยื่อ
  • 7. 2.3 การเข้าถึงข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยมิชอบมาตรา7 การเข้าถึง ข้อมูลคอมพิวเตอร์ เช่น การกระทาใดๆ เพื่อเข้าถึงแฟ้ มข้อมูล (File) ที่เป็น ความลับโดยไม่ได้รับอนุญาต 2.4 การดักข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยมิชอบรายละเอียดอยู่ในมาตรา 8 ซึ่ง การดักข้อมูลคอมพิวเตอร์ คือ การดักข้อมูลของผู้อื่นในระหว่างการส่ง เช่น การ ใช้สนิฟเฟอร์ (Sniffer) แอบดักแพ็กเก็ต (Packet) ซึ่งเป็นชุดข้อมูลที่เล็กที่สุดที่อยู่ ระหว่างการส่งไปให้ผู้รับ
  • 8. 2.5 ในมาตรา 9 และมาตรา 10 เนื้อหาเกี่ยวกับการรบกวน ข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือระบบคอมพิวเตอร์โดยมิชอบ ซึ่งการรบกวน ข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือระบบคอมพิวเตอร์ เช่น การใช้โปรแกรมไวรัสเพื่อส่งอีเมล จานวนมากไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น เพื่อทาให้คอมพิวเตอร์ไม่สามารถ ทางานได้ตามปกติ 2.6 การสแปมเมล จะเกี่ยวข้องกับมาตรา 11 มาตรานี้เป็นมาตราที่ เพิ่มเติมขึ้นมาเพื่อให้ครอบคลุมถึงการส่งสแปมซึ่งเป็นลักษณะการกระทา ความผิดที่ใกล้เคียงกับมาตรา 10 และยังเป็นวิธีกระทาความผิดโดยการใช้ โปรแกรมหรือชุดคาสั่งไปให้เหยื่อจานวนมาก โดยปกปิดแหล่งที่มา
  • 9. 2.7 มาตรา 12 การกระทาความผิดที่ก่อให้เกิดความเสียหายหรือส่งผล กระทบต่อความมั่นคงของประเทศ การรบกวนระบบและข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่ ก่อให้เกิดความเสียหายต่อประชาชนหรือกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะ ความมั่นคงในทางเศรษฐกิจ และการบริการสาธารณะ ซึ่งในปัจจุบันการกระทาความผิดทางคอมพิวเตอร์ที่ส่วนใหญ่วิตกกังวลกัน คือ การเจาะเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์และแอบเพิ่มเติม หรือทาลาย ข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรือแก้ไข เปลี่ยนแปลงข้อมูลคอมพิวเตอร์ ซึ่งอาจส่งผล กระทบต่อระบบสาธารณูปโภค หรือระบบการเงินของประเทศ ซึ่งเป็นที่มาของ การทาสงครามข้อมูลข่าวสาร (Information Warfare)
  • 10. 2.8 การจาหน่ายหรือเผยแพร่ชุดคาสั่งเพื่อใช้กระทาความผิด รายละเอียดอยู่ในมาตรา 13 2.9 มาตรา 14 และมาตรา 15 จะกล่าวถึงการปลอมแปลง ข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือเผยแพร่เนื้อหาที่ไม่เหมาะสม และการรับผิดของผู้ ให้บริการ สองมาตรานี้เป็นลักษณะที่เกิดจากการนาเข้าข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่เป็น เท็จ หรือมีเนื้อหาไม่เหมาะสมในรูปแบบต่างๆ
  • 11. 2.10 การเผยแพร่ภาพจากการตัดต่อหรือดัดแปลงให้ผู้อื่นถูกดูหมิ่น หรืออับอาย จะเกี่ยวข้องกับมาตรา 16 ซึ่งมาตรานี้เป็นการกาหนดฐานความผิด ในเรื่องของการตัดต่อภาพของบุคคลอื่นที่อาจทาให้ผู้เสียหายเสียชื่อเสียง ถูกดู หมิ่น เกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย โดยความผิดในมาตรานี้เป็นความผิดที่มี ความใกล้เคียงกับความผิดฐานหมิ่นประมาท 2.11 มาตรา 17 กล่าวถึงการกระทาความผิดนอกราชอาณาจักรซึ่งต้อง รับโทษในราชอาณาจักร โดยมาตรา 17 เป็นมาตราที่ว่าด้วยการนาตัวผู้กระทา ความผิดมาลงโทษ
  • 12. 3. หมวด 2 สาหรับในหมวดนี้ได้มีการกาหนดเกี่ยวกับอานาจของพนักงาน เจ้าหน้าที่ และยังมีการกาหนดเกี่ยวกับการตรวจสอบการใช้อานาจของพนักงาน เจ้าหน้าที่ไว้อีกด้วย รวมทั้งยังมีการกาหนดหน้าที่ของผู้ให้บริการที่ต้องเก็บรักษา ข้อมูลคอมพิวเตอร์ และต้องให้ความร่วมมือกับพนักงานเจ้าหน้าที่ในการส่งมอบ ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์แก่พนักงานเจ้าหน้าที่ บทบัญญัติในหมวดนี้มี ทั้งหมด 13 มาตรา ตั้งแต่มาตรา 18 ถึง มาตรา 30
  • 13. พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ กฎหมายส่วนใหญ่รับรองธุรกรรมที่มีลายมือชื่อบนเอกสารที่เป็นกระดาษ ทาให้เป็น เป็นปัญหาต่อการทาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ประเทศต่างๆ รวมทั้งไทยจึงต้องสร้าง สร้างกฎหมายใหม่ เพื่อให้การรองรับธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์เหล่านี้ ทั้งนี้กฎหมายของ ของประเทศส่วนใหญ่ถูกสร้างบนแม่แบบที่กาหนดโดยคณะทางานสหประชาชาติ
  • 14. 1 กฎหมายนี้รับรองการทาธุรกรรมด้วยเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ทั้งหมด เช่น โทรสาร โทรเลข ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ โดยมาตรา 7 ระบุไว้ว่า ห้ามมิให้ปฏิเสธ ความมีผลผูกพันและการบังคับใช้ทางกฎหมายของข้อความใด เพียงเพราะเหตุที่ ข้อความนั้นอยู่ในรูปของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ 2 ศาลจะต้องยอมรับฟังเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ แต่ทั้งนี้มิได้หมายความว่าศาล จะต้องเชื่อว่าข้อความอิเล็กทรอนิกส์นั้นเป็นข้อความที่ถูกต้อง
  • 15. 3 ปัจจุบันธุรกิจจาเป็นต้องเก็บเอกสารทางการค้าที่เป็นกระดาษจานวนมาก ทา ให้เกิดค้าใช้จ่ายและความไม่ปลอดภัยขึ้น กฎหมายฉบับนี้เปิดทางให้ธุรกิจ สามารถเก็บเอกสารเหล่านี้ในรูปไฟล์อิเล็กทรอนิกส์ได้ตามมาตรา 10 ที่กล่าวว่า ในกรณีที่กฎหมายกาหนดให้นาเสนอหรือเก็บรักษาข้อความใดในสภาพที่เป็นมา แต่เดิมอย่างเอกสารต้นฉบับ ถ้าได้นาเสนอหรือเก็บรักษาในรูปข้อมูล อิเล็กทรอนิกส์ตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ให้ถือว่าได้มีการนาเสนอหรือเก็บรักษา เป็นเอกสารต้นฉบับตามกฎหมายแล้ว ซึ่งข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ได้ใช้วิธีการที่ เชื่อถือได้ในการรักษาความถูกต้องของข้อความตั้งแต่การสร้างข้อความจนเสร็จ สมบูรณ์ และสามารถแสดงข้อความนั้นในภายหลังได้ความถูกต้องของข้อความ ตามมาตราที่ 7
  • 16. 4 ปกติการทาสัญญาบนเอกสารที่เป็นกระดาษจะมีการระบุวันเวลาที่ทาธุรกรรม นั้นด้วย ในกรณีธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์นั้นได้ให้ข้อวินิจฉัยเวลาของธุรกรรมตาม มาตรา 23 ที่ระบุว่า การรับข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ให้ถือว่ามีผลนับแต่เวลาที่ข้อมูล อิเล็กทรอนิกส์นั้นได้เข้ามาสู่ระบบข้อมูลของ ผู้รับข้อมูล หากผู้รับข้อมูลได้กาหนดระบบข้อมูลที่ประสงค์จะใช้ในการรับข้อมูล อิเล็กทรอนิกส์ไว้โดยเฉพาะ ให้ถือว่าการรับข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์มีผลนับแต่เวลา ที่ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์นั้นได้เข้าสู่ระบบข้อมูลที่ผู้รับข้อมูลได้กาหนดไว้นั้น แต่ถ้า ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ดังกล่าวได้ส่งไปยังระบบข้อมูลอื่นของผู้รับข้อมูลซึ่งมิใช้ ระบบข้อมูลที่ผู้รับกาหนดไว้ ให้ถือว่าการรับข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์มีผลนับแต่เวลา ที่ได้เรียกข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์จากระบบข้อมูลนั้น จะเห็นว่าเวลาของธุรกรรม
  • 17. 5 มาตรา 25 ระบุถึงบทบาทของภาครัฐในการให้บริการประชาชนด้วยระบบ อิเล็กทรอนิกส์ ให้อานาจหน่วยงานรัฐบาลสามารถสร้างระบบรัฐบาล อิเล็กทรอนิกส์ (e-Government) ในการให้บริการประชาชนได้ โดยต้องออก ประกาศ หรือกฎกระทรวงเพิ่มเติม 6 ใบรับรองอิเล็กทรอนิกส์หรือลายมือชื่อดิจิทัลของผู้ประกอบถือเป็นสิ่งสาคัญ และมีค้าเทียบเท้าการลงลายมือชื่อบนเอกสารกระดาษ ดังนั้นผู้ประกอบการต้อง เก็บรักษาใบรับรองอิเล็กทรอนิกส์นี้ไว้เป็นความลับ และมาตรา 27
  • 18. กฎหมายลิขสิทธิ์ และการใช้งานโดยธรรม (Fair Use) กฎหมายลิขสิทธิ์ภายใต้พระราชบัญญัติ พ.ศ. 2537 ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี สารสนเทศและการใช้งานโดยธรรม (Fair Use) ก็คือมาตรา 15 ที่มีสาระสาคัญ ในการคุ้มครองลิขสิทธิ์ของเจ้าของลิขสิทธิ์ เช่น สิทธิในการทาซ้าหรือดัดแปลง งาน การเผยแพร่งานต่อสาธารณชน และให้เช่าต้นฉบับหรือสาเนางานบาง ประเภท เป็นต้น
  • 19. ข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิ์ ให้สามารถนาข้อมูลของผู้อื่นมาใช้ได้โดยไม่ต้องขอ อนุญาต หรือเป็นการใช้งานโดยธรรม ต้องขึ้นอยู่กับปัจจัย 4 ประการดังนี้ 1) พิจารณาว่าการกระทาดังกล่าวมีวัตถุประสงค์การใช้งานอย่างไร ลักษณะการ นาไปใช้มิใช้เป็นเชิงพาณิชย์ แต่ควรเป็นไปในลักษณะไม่หวังผลกาไร อาจใช้เพื่อ การศึกษา หรือประโยชน์ส่วนตัว การใช้เพื่อการติชมหรือวิจารณ์ เป็นต้น 2) ลักษณะของข้อมูลที่จะนาไปใช้ซึ่งข้อมูลดังกล่าวเป็นข้อเท็จจริง เป็นความจริง อันเป็นสาธารณประโยชน์ ซึ่งทุกคนสามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้
  • 20. 3) จานวนและเนื้อหาที่จะคัดลอกไปใช้เมื่อเป็นสัดส่วนกับข้อมูลที่มีลิขสิทธิ์ ทั้งหมด 4) ผลกระทบของการนาข้อมูลไปใช้ที่มีต่อความเป็นไปได้ทางการตลาดหรือคุณ ค้าของงานที่มีลิขสิทธิ์นั้น ดังนั้นผู้ใช้งานควรนาข้อมูลมาใช้งานอย่างระมัดระวัง เพราะปัจจุบันโลกของ อินเทอร์เน็ตเปิดกว้างสาหรับทุกคนให้มีโอกาสในการเผยแพร่ข้อมูลต่างๆ ได้ง่าย และเสียค้าใช้จ่ายน้อย นอกจากนี้การนาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตไปใช้ก็สามารถ กระทาได้โดยง่าย ไม่ว่าจะเป็นรูปภาพ เสียง คลิปวิดีโอ บทความหรือบทประพันธ์ (Text) และซอฟต์แวร์ เป็นต้น
  • 21. คอมพิวเตอร์ เพื่อใช้งานโดยธรรมในมาตรา 35 ได้บัญญัติให้การกระทาแก่ โปรแกรมคอมพิวเตอร์อันมีลิขสิทธิ์ มิให้ถือว่าเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ หากไม่มี วัตถุประสงค์เพื่อหากาไร ในกรณีดังต่อไปนี้ 1) วิจัยหรือศึกษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์นั้น 2) ใช้เพื่อประโยชน์ของเจ้าของสาเนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์นั้น 3) ติชม วิจารณ์ หรือแนะนาผลงานโดยมีการรับรู้ถึงความเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ใน โปรแกรมคอมพิวเตอร์นั้น 4) เสนอรายงานข่าวทางสื่อสารมวลชนโดยมีการรับรู้ถึงความเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ ในโปรแกรมคอมพิวเตอร์นั้น
  • 22. 5) ทาสาเนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในจานวนที่สมควรโดยบุคคลผู้ซึ่งได้ซื้อหรือ ได้รับโปรแกรมนั้นมาจากบุคคลอื่นโดยถูกต้อง เพื่อเก็บไว้ใช้ประโยชน์ในการ บารุงรักษาหรือปูองกันการสูญหาย 6) ทาซ้า ดัดแปลง นาออกแสดง หรือทาให้ปรากฏเพื่อประโยชน์ในการพิจารณา ของศาลหรือเจ้าพนักงานซึ่งมีอานาจตามกฎหมาย หรือในการรายงานผลการ พิจารณาดังกล่าว 7) นาโปรแกรมคอมพิวเตอร์นั้นมาใช้เป็นส่วนหนึ่งในการถามและตอบในการ สอบ 8) ดัดแปลงโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในกรณีที่จาเป็นแก่การใช้ 9) จัดทาสาเนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อเก็บรักษาไว้สาหรับการอ้างอิง หรือ ค้นคว้า เพื่อประโยชน์ของสาธารณชน