SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 54
Descargar para leer sin conexión
เฉลยข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัยระบบใหม่




                   ครั้งที่   2/2543              ตุลาคม   2543




มวลอะตอมที่กำาหนดให้
H=1                                                      C=12
N=14
    O=16                                               Na=23
Mg=24
    P=31                                                S = 32
Ca=40
    Cl=35.5                                           Cr=52
Fe=56
   Cu=63.5                                            Sb=122
I=127
ตอนที่   1      ข้อ   1 / 50
1.   ปัจจัยใดต่อไปนี้มีผลต่อความดันไอของของเหลว
     1. แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของของเหลว
     2. ปริมาณของของเหลวซึ่งมีสมดุลของของเหลวและไอ
     3. อุณหภูมิของของเหลว
      1. ก เท่านั้น          2. ก และ ข เท่านั้น   3.             ก และ ค เท่านั้น        4.   ก, ข
และ ค


2.   ข้อมูลแสดงค่าพลังงานที่เกี่ยวข้องกับการละลายของสาร A , B และ C เป็นดังนี้
             สาร             พลังงานไฮเดรชัน ( kJ /     พลังงานแลตทิซ ( kJ /
                                         mol )                        mol )
                    A                    745                          750
                    B                    590                          550
                    C                    690                          700
        ถ้าใช้สาร A , B และ C จำานวนโมลเท่ากันละลายในนำ้าที่มีปริมาตร          100Ccm3          การ
เปรียบเทียบ
        อุณหภูมิของแต่ละสารละลาย ข้อใดถูก
     1. A > B > C                          2. B > A > C                       3. B > C > A
4. C > A > B

3. นักเรียนผู้หนึ่งทำาการททดลองเกี่ยวกับสมบัติของสารละลายพบว่าตัวทำาละลาย X           มีจุดเยือกแข็งที่
5. 5 o C
     นำาสารประกอบ X 0 . 2 โมล มาละลายในตัวทำาละลาย X 100 cm
                                                                           3
                                                                                      พบว่าจุดเยือกแข็ง
เปลี่ยนเป็น
         -4.3   o
                      C
                   ถ้านำาสารประกกอบ        Z 8.4 g.      มาละลายในตัวทำาละลาย        X 50 cm3
จุดเยือกแข็งขอองสาร
     ละลายเป็น –4.3
                          o
                              C   เช่นเดียวกันถ้าสารประกอบ   Z   ประกอบด้วยธาตุคาร์บอนร้อยละ
85.71         ธาตุ
     ไฮโดรเจนร้อยละ       14.29     โดยโมล สูตรโมเลกุลของสารประกอบนี้จะเป็นดังข้อใด
1. C6H6                                         2. C6 H12                                             3. C 9H8
4. C9 H14

4.       ถ้าการแยกสารด้วยวิธีโครมาโทกราฟโดยใช้กระดาษกรองเป็นตัวดูดซับได้ผลดังนี้
                                                                                    จุด   X =       สาร   A   บริสทธิ์
                                                                                                                  ุ
                                                                                    จุด   y=        สารตัวอย่างประกอบ
ด้วยสาร     A    และสาร     B




           ข้อสรุปใดน่าจะเป็นไปได้
            ก. สาร     A    และสาร    B     มีค่า   Rf    เท่ากัน จึงแยกสาร     A     และ     B   ออกจากกันไม่ได้ด้วยวิธี
การนี้

         2.สาร    B    อาจเป็นสารไม่มีสี จึงควรตรวจสมบัติตอไปโดยผ่านแสงอัลตราไวโอเลต
                                                          ่

         3.สาร    A และสาร        B   เคลือนที่ไปบนตัวดูดซับได้ใกล้เคียงกัน จึงควรทำาการทดลองซำ้าโดย
                                          ่
            เปลี่ยน
               ตัวทำาละลาย
          1.     ก เท่านั้น                 2.      ข เท่านั้น                 3.     ก และ ข                       4.
ข และ ค


5.        แร่ตัวอย่างหนัก     1.12 g.         นำามาวิเคราะห์หาปริมาณ       Fe (           ΙΙΙ ) โดยทำาปฏิกิรยากับ
                                                                                                            ิ
สารละลาย        KΙ
         ความเข้มข้น   1 mol / dm-3                     ปริมาตร   10 cm3       เกิดแก็ส Ι 2       44.8 cm3         ที่
STP        ปฏิกิริยาเกิดขึ้นดัง

         สมการ      Fe ( ΙΙΙ ) + 2 Ι( aq ) → FeΙΙΙ ) + Ι 2 ( g )
                                                       (
         แร่ตัวอย่างนี้มีเหล็กในรูป Fe ( ΙΙΙ ) อยู่ร้อยละเท่าใดโดยมวล
   1. 10                                                    2. 25                                     3. 50
4. 100

6.ปฏิกิริยาระหว่างสารประกอบ             สมมติ       A    และ   B   เป็นดังสมการ

                                  A + 3B                 → 4C
           จากการทดลองเพื่อการทดสอบประสิทธิภาพของปฏิกิริยานี้ พบว่าร้อยละของผลได้ มีค่า                           75
%
            ถ้าต้องการเตรียมสารประกอบ               C 6        โมล จะต้องใช้   A      และ    B

                                                             A                         B
                                       1.                    1                         3
                                       2.                   1.1                       3.3
3.                1.5                  4.5
                                       4.                 2                    6

 7.    ข้อใดถูก
                            สูตรเคมี              นำ้าหนักสาร         จำานวนโมเลกุล        ชนิดของสารประกอบ

             1.           NO2                         2.3              0.05 x                     โคเวเลนต์
                                                                                                  โคเวเลนต์
             2.        N ( CH3)3                      1.18              1023                       ไอออนิก
             3.          NaCl                         5.85                   1.2                   ไอออนิก
             4.          H2SO4                        4.9            x 10 22

                                                                      2 x 1022
                                                                       0.10 x
                                                                        1023


 8.       โลหะ  A 2 mol ถูกยิงด้วยอนุภาค                    จนอิเล็กตรอนกระเด็นออกไปเกิดเป็น      A3+   ไอออน
 ร้อยละ      0.10
          อิเล็กตรอน ทีกระเดนออกไปมีจำานวนเท่าใด
                       ่
        1 . 1.8 X 1021                                                  2. 3.6 X 10         21

3. 1.2 X 1024           4. 3.6X 1024
 9. พิจารณาตารางข้อมูลต่อไปนี้
                             ΙE พลังงานไอออไนเซชัน           ( MJ / moI-1 )
ธาตุ      ΙE 1         ΙE 2 ΙE 3        ΙE 4      ΙE 5      ΙE 6 ΙE 7 ΙE 8           Ι E 9 Ι E 10 Ι E 11
  X       1.7         3.4 6.1           8.4       11.       15. 17. 92.              106
                                                  0         2    9    1              .4
  Y       0.5         4.6      6.9      9.6       13.       16. 20. 25.              28. 141 159
                                                  4         6    1    5              9     .4     .1
       ข้อสรุปใดผิด
       1. อิเล็กตรอนในระดับพลังงาน             n= 1       ของ   X   ต้องคายพลังงาน   90.15 MJ / mol
เพื่อจะไปอยูที่ระดับ
            ่
              พลังงาน     n =2
        2.     ผลต่างของระดับภพลังงาน          n=2    และ    n = 1       ใน   Y     จะมากกว่าใน   X
        3.     ธาตุ   X   เป็นธาตุหมู่เดียวกับ 53 Ι
        4.    สาประกอบระหว่าง      Y    กับ   X   เป็นสารประกอบไอออนิก


10.พิจารณาแผนภาพต่อไปนี้




รูปใดแสดงการจัดเรียงอิเล็กตรอนในสภาวะพื้นของอะตอมไม่ถกต้อง
                                                     ู
1. 1 และ                 2    เท่านั้น     2.   และ   3   เท่านั้น      3. 1        และ     3    เท่านั้น    4.
1 , 2 และ

11.                      X , Y และ Z ดังนี้
          กำาหนดข้อมูลของธาตุ
      Ι ธาตุ X มี ΙΕ 1 < ΙΕ 2 << ΙΕ 3
     ΙΙ ธาตุ Y มี เป็นธาตุหมู่เดียวกับ 13AI
    ΙΙΙ ไอโซโทปหนึ่งของธาตุ Z ไม่มีนิวตรอน
     สูตรของสารประกอบซัลไฟด์ของ X และ Y , Z ควรเป็นข้อใด
      1. X S Y2S3 Z2S           2. XS Y2S3 ZS         3. XS Y3S2 ZS
4. XS Y3S2 Z2S



12.  ธาตุสมมติ X2 . 17 Y และ 35Z มีสตรโมเลกุลเป็น
                                    ู                                  x2 Y2   และ   Z   2    ตามลำาดับ เกิด
สารประกอบไอออนิก
      กับโพแทสเซียม เมือพิจารณาผลการทดลองต่อไปนี้
                       ่
          Ι เมื่อนำาสารละลาย KX มาทำาปฏิกิริยากับ Y2 พบว่าไม่เกิดการเปลี่ยนแปลง
         ΙΙ เมือนำาสารละสาย KZ มาทำาปฏิกิริยากับ Y2 พบว่าจะได้ Z2 เกิดขึ้น
               ่
          ข้อสรุปใดถูกต้อง
      1. X เป็นตัวรีดิวซ์ที่ดกว่า Y และ Z
                             ี
      2. เมื่อผสมสารละสาย KY กับ X2 จะไม่มการเปลี่ยนแปลงใดเกิดขึ้น
                                                ี
      3. เวเลนซ์ อิเล็กตรอนของ X หลุดได้ง่ายกว่าเวเลนซ์อิเล็กตรอนของ Y-
                                   -
                                                                                             และของ     Z-
      4. เมื่อผสมสารละลาย KZ กับ X-2 จะเกิด Z 2 และ KX ขึ้น

13.   ในการละสายตัวของ
                                 238
                                       U92   ประกอบด้วยขั้นตอนต่าง ๆ      14    ขั้นตอน แต่ละขั้นตอนให้
อนุภาคต่าง
          ตามลำาดับดังนี้        .β βαα α α α β α β β β                                      และ     ผลผลิตในขั้น
ตอนที่   14   คือ
           ข้อใด
                                                   210                                   206
            1.      222
                           Rn
                          86                 2.     84 Po                        3.       82 Pb
      206
4.     76 Os


14.การเปรียบเทียบจำานวนอิเล็กตรอนคู่โดดเดียวของอะตอมกลางต่อไปนี้
                                          ่                                     ข้อใดถูก
   1. NH3>NO 3>ClO 4 -        -
                                                                                              2. NCl3>NO3-
   >ClF3
   3. ClO4->ClO-3>NO-3                                                                          4.
   ClF3>NCl3>ClO-3

15.สารประกอบทีเกิดจากการรวมตัวของธาตุหมู่ต่าง ๆ ต่อไปนี้ ข้อใดมีรายละเอียดถูกต้อง (เลขอะตอม
   ของธาตุทั้งหมดตำ่ากว่า 50 )
หมู่ของธาตุ
                      ที่เป็นองค์        อัตราส่วนอะตอม   จุดเดือด       การละลายนำ้า/สมบัติ
                      ประกอบ
            1.        I   กับ VI             1:2            สูง             ละลาย/เบส
                                                            ตำ่า
            2.       V    กับ VI             2:3            ตำ่า            ละลาย/กรด
            3.      II    กับ VII            1:2            สูง             ละลาย/กลาง
            4.       II   กับ IV             1:1                             ไม่ละลาย




16.กำาหนค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตี (E.N) ของอะตอมบางชนิด
           อะตอม                 E.N
             Si                  1.90
              H                  2.20
              S                  2.58
             Br                  2.96
             Cl                  3.16

        สภาพมีขั้วของพันธะโควาเลนต์ต่อไปนี้ ข้อใดเรียงลำาดับจากมากไปน้อยได้ถกต้อง
                                                                            ู
1. H-Cl, H-Br, Si-S, Si-H                                                          2. H-Cl,
Si-S, Si-H, H-Br
3. H-Cl, H-Br, Si-H, Si-S                                                          4. Si-H,
Si-S, H-Br, H-Cl

17.กำาหนดพลังงานพันธะเฉลี่ย
       พันธะ              พลังงา               พันธะ          พลังงาน
                    รพันธะ(kJ/mol)                        พันธะ(kJ/mol)
       C-H                 415                O=O                  500
       C-C                 340                O-O                  140
       C=C                 610                C-O                  350
       C≡C                 840                O-H                  460
       C=O                 740


ปฎิกิริยาในข้อใดคายพลังงานมากที่สุด
                           7
      1. CH3-CH3+ O 2                   → 2CO2+3H2O
                           2
      2. CH2=CH2+3O2                    → 2CO2+2 H2O
5
        3. CH ≡ CH+ O 2                      → 2CO2+ H2O
                                 2
        4. CH3-CH-CH+3O2                            → 2CO2+3H2O

18.ไอออนหรือโมเลกุลใดมีรูปร่างโมเลกุลเหมือนกัน                 และมีสภาพมีขั้วของโมเลกุลชนิดเดียวกัน
   1. BeCl2(g)               CO2                                                                         2.   PCl5
   ClF5
   3. CCl4                   XeF4                                                                        4. BCl3
   PCl3

19.ถ้า O,P,Q      และ       R   เป็นธาตี่มีเลขอะตอม     7,11,17        และ    20    ตามลำาดับ สูตรของสารประกอบ
      ข้อใดเป็นไปได้
   1. OQ                        2. PO                                                    3. Q2P3
   4. R3O2
20.C5H10 เป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่มีหลายไอโซเมอร์                         ไอโซเมอร์เหล่านี้มีสตรโครงสร้างเป็นแบบ
                                                                                                 ู
      วงโซ่ตรง และโซ่กิ่ง ข้อใดเป็นจำานวนไอโซเมอร์ทถูกต้องทั้ง
                                                   ี่                         3   แบบ


                                 แบบวง                          โซ่ตรง                         โซ่กิ่ง

                   1.                2                             3                             2
                   2.                3                             2                             3
                   3.                3                             3                             2
                   4.                4                             2                             3

21.     สาร   A    ประกอบด้วยธาตุ    3   ชนิดคือ   X.Y   และ   Z   สาร   A    เป็นสารที่เสถียรและมีโครงสร้างดังนี้




         ธาตุ      X,Y,Z        ควรเป็นธาตุดังข้อใด


                            X                            Y                               Z
              1.        N                           P                              Cl
              2.        O                           S                              Cl
              3.        P                           C                              F
              4.        N                           C                              H

22.       สารประกอบในข้อใดที่ทกสารมีหมู่คาร์บอนีลอยู่ในโมเลกุล
                              ุ
              ก.    CH3COCH2COOCH3,CH3CH2CH2CHO , CH3CH2COCH2CH3
ข.   CH3COCH2COOCH3, CH3OCH3, CH3CH2OCH2CH2OH

     ค.




         ง.




23.แก๊สผสมประกอบด้วย C2H6 , C 2 H4                        และ   C 2 H2 เมื่อเผาไหม้อย่างสมบูรณ์จะต้องใช้แก๊ส
   O2 อย่างน้อยกี่
   โมลและเกิด CO2 กี่ dm ที่ STP
                        3




        ใช้   O2(mol)                  เกิด   CO2(dm3)
    1.                        6                67.2
    2.                        9               134.4
    3.                                         89.6
    12                                        224.0
    4.
    15

                                                      ตัวเร่งปฏิกิริยา
24.โพรพานาไมด์ + H 2O                                                    สาร   A +    สาร   B
                                                            ความร้อน
         สาร B เปลียนสีกระดาษลิตมัสจากสีแดงเป็นสีนำ้าเงิน
                    ่
          พิจารณาข้อความต่อไปนี้
   1.    สาร    B    คือเอมีน
   2.    หมู่ฟังก์ชันของสาร         A     คือ   -OH
   3.    สาร    A     ทำาปฏิกิริยากับโลหะโซเดียมเกิดแก๊สไฮโดรเจน
   4.    สาร    A     ทำาปฏิกิริยากับกรดเอทาโนอิกโดยมีกรดซัลฟิวริกเป็นตัวเร่งปฏิกิริยาได้โพรพิลเอทาโน
         เอต


25.สาร A,B          และ   C       เป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอน เมื่อนำาสาร         A    ทำาปฏิกิริยากับสารละลาย
   โพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนต และนำาสาร                  B    และ   C   ทำาปฏิกิริยากับสารละลายโบรมีนในที่สว่างจะ
   เกิดปฏิกิริยา ดังสมการ
                          A + KMnO4 + H 2O                                →       C 3H 6O2
                                   B + Br2                                      →      C 3H 6Br
                                   C + Br2                                     →     C3H5Br + HBr
    ข้อต่อไปนี้ข้อใดถูกต้อง
    1.    สาร   A     มีสตรโมเลกุล
                         ู                    C 3H4
    ข.        สาร  B      และ      C    เป็นไอโซเมอร์กัน
     ค.         สาร C     ฟอกสีสารละลายโพเเทสเซียมเปอร์แมงกาเนต
ง.   สาร A 1             mol       เกิดปฏิกริยาการเผาไหม้อย่างสมบูรณ์ได้แก๊ส
                                                        ิ
คาร์บอนไดออกไซด์และนำ้าอย่างละ
                           3    โมล


               1.       ก และ ข เท่านั้น              2.     ค และ ง เท่านั้น                 3.   ก, ค และ ง
4.   ก ,ข และ ค




 26.สาร X        สามารถสลายตัวได้ดังสมการ
                           3X →         5Y + 6 Z
            เมื่อวัดความเข้มข้นของสารละลาย x ในขณะที่เกิดปฏิกิริยาสลายตัวพบว่าได้ข้อมูลดังตาราง
 ต่อไปนี้


                  เวลา (วินาที)         (X) (mol / dm3)
                         0.00                1.00
                         5.00                0.850
                        10.00                0.750
                        15.00                0.700
                        20.00                0.670

          ถ้าอัตราการเกิดปฏิกิริยาในช่วงเวลา     15    ถึง   20    วินาที มีค่าคงที่ และมีค่าเท่ากับอัตราการ
 เกิดปฏิกิริยาเฉลี่ย
            ในช่วงนี้ ความเข้มข้นของสาร     X       mol / dm3
                                                 ในหน่วย                        ทีเวลา
                                                                                  ่      17   วินาที มีค่าเท่าใด
            1. 0.670                             2. 0.688                                             3.
 0.690                                     4. 0.700
 27.เปรียบเทียบสารอินทรีย์แต่ละคู่ตอไปนี้
                                   ่            สารใดละลายนำ้าได้ดีว่ากัน
    ก. กรดเอทาโนอิกกับบิวทานอล                                 ข. กรดบิวทาโนอิกกับกรดโพรพาโนอิก
    ค. บิวทานอลกับเพนทานอล                                      ง. โพรพาโนนกับโพรพานาล
                    ก                       ข                          ค               ง
       1.    กรดเอทาโนอิก             กรดโพรพาโนอิก                บิวทานอล        โพรพาโนน
                                      กรดโพรพาโรอิก               เพนทานอล         โพรพาโนน
       2.    กรดเอทาโนอิก             กรดบิวทาโนอิก                บิวทานอล        โพรพานาล
       3.    บิวทานอล                 กรดบิวทาโนอิก               เพนทานอล         โพรพานาล
       4.    บิวทานอล
28.พิจารณารูปต่อไปนี้




        การเปรียบเทียบพลังงานก่อกัมมันต์ และการบอกชนิดของปฏิกิรยา
                                                               ิ       I   และปฏิกิริยา   II   ในข้อใดถูก
ต้อง
        พลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยา      ปฎิกิริยาดูดความร้อน   ปฎิกิริยาคายความร้อน
       1.              I = II                         I                       II
       2.              I > II                         I                       II
       3.              I < II                        II                        I
       4.                            I               II                        I
       = II


29.     ปฏิกิริยาต่อไปนี้เกิดในสถานะแก๊ส    และอัตราการเกิดปฏิกิริยาขึ้นกับความเข้มข้นของทั้งสาร     A,
และสาร   B
                  A + B→ C
               ก.- สาร A 1 mol ทำาปฏิกิริยากับสาร B 1 mol ในภาชนะขนาด 1 dm
                                                                           3
        ระบบ
               ข. – สาร A 2 mol ทำาปฏิกิริยากับสาร B 2 mol ในภาชนะขนาด 2 dm
                                                                             3
       ระบบ
       ระบบ    ค. – สาร A 0.2 mol ทำาปฏิกิริยากับสาร B 0.2 mol ในภาชนะขนาด
0.1 dm3
       จากข้อมูลข้างต้น จงหาว่า
Ι Ι.          ระบบใดได้สาร   C   มากที่สุดภายในเวลาที่กำาหนด
   ΙΙ.            ระบบใดมีอตราการเกิดปฏิกิริยาสูงที่สูง
                           ั


                                 Ι             ΙΙ
                  1.             ก             ข
                                 ข             ค
                  2.             ค             ข
                  3.             ค             ค
                  4.
30. ทีอุณหภูมิ 30OC
       ่                      ปฏิกิริยา   CO(g) + Cl2(g)                            COCl2(g) +
108 KJ มีความสัมพันธ์
          ระหว่างความเข้มข้นระหว่างเวลาเป็นดังกราฟต่อไปนี้




หลังจากระบบเข้าสู่สมดุลที่   30OC     แล้วถ้าเพิ่มอุณหภูมิเป็น   50OC   กราฟของปฏิกิรยาควรดำาเนินต่อไป
                                                                                     ิ
อย่างไร




31.แก๊ส X และ Y ทำาปฏิกิริยาได้แก๊ส Z ดังสมการ
   . X(g) + 3Y (g)                             2Z(g)
    ถ้าให้ X และ Y อย่างละ 0.1 mol ทำาปฏิกิริยากันในกระบอกสูบขนาด 500 cm
                                                                        3

จนเข้าสู่สภาวะสมดุล
      ข้อใดถูกต้อง
    1. เมือขยายปริมาตรของกระบอกสูบจะได้ Z น้อยลง
           ่
ΙΙ 2.ค่าคงทีสมดุลของปฏิกิริยานี้แปรผันโดยตรงกับความเข้มข้นของ Z และแปรผกผันกับ X และ Y
               ่
       3. ที่ภาวะสมดุลจะมีแต่แก๊ส X และ Y ในกระบอกสูบ
ΙΙΙ 4. ถ้าเพิ่มปริมาณสารตั้งต้น Y เป็น 0.3 mol ทีสภาวะสมดุลใหม่ X และ Y จะทำา
                                                     ่
    ปฏิกิริยากันหมดพอดี
32.   ปฏิกิริยาข้อใดไม่ใช่ปฏิกิริยากรด    -    เบส
          1.

          2.


          3. 2CH3COOH + 2Na → 2CH3COONa + H2
          4. CH3COOH + NH3 → CH3COONH4

33.   พิจารณาปฏิกิริยาสมมติตอไปนี้
                            ่
                      A + B                                 2C
         จากการทดลองได้ข้อมูลความเข้มข้นเริ่มต้นและความเข้มข้นที่สภาวะสมดุลของสารต่างๆใน
ปฏิกิริยานี้

  การทดลองที่       ความเข้มข้นเริ่มต้น   mol / dm3            ความเข้มข้นที่สภาวะสมดุล     mol /
                                                                              dm      3

                      [ A]        [ B]               [ C]         [ A]         [ B]          [ C]
          1.  0.04      0.04            0      0.02                             M            N
          2.  0.03      0.02            0       X                               y            z
   ถ้าการทดลองที่ 1 และ 2 ที่ทำาอุณหภูมิ 30
                                            o
                                              C ค่า Z                        จะเป็นเท่าใด
    1. 0.010                       2. 0.012                                      3. 0.020
4. 0.024

34.       นำ้าส้มสายชูตัวอย่างมีกรดอะซีตกอยู่รอยละ
                                        ิ     ้      4.8/   โดยมวล       ปริมาตร ในการไทเทรตนำ้าส้ม
สายชูกับสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์พบว่านำ้าส้มสายชู 10 cm
                                                         3
                                                                         ทำาปฏิกิริยาพอดีกับสารละลาย
NaOH 20 cm3 จงหาความเข้มข้นของสารละลาย NaOH                              ในหน่วยร้อยละโดยมวล   /
ปริมาตร
1. 1.0                                           2. 1.6                                             3.
2.0                                              4. 2.4

35.  สารละลายกรด        HA    ความเข้มข้น      1 × 10-3 mol / dm3          ปริมาตร    10 cm3   ร้อยละ
การแตกตัวของกรด
      เท่ากับ    10     สารละลายนี้มี     pH    เท่าใด และมีค่า   Ka     โดยประมาณเท่าใด


                      pH                        K a (ประมาณ)
      1.               3                          1 × 10-3
      2.               4                         1.0 × 10-5
      3.               5                         1.0 × 10-4
      4.               6                         1.0 × 10-5
36.    จากข้อมูลอินดิเคเตอร์และช่วง             pH      ของการเปลี่ยนสี ดังตาราง


        อินดิเค                       ช่วง pH             สีที่เปลี่ยน
        เตอร์
                       ก         3.2- 4.4              แดง – เหลือง
                  ข                                    แดง – เหลือง
                  ค                4.2- 6.3           เหลือง – นำ้าเงิน
                  ง                6.0– 7.6            เหลือง – แดง
                                 6.8 – 8.4
             ข้อใดแสดงอินดิเคเตอร์ที่เหมาะสมสำาหรับการบอกจุดยุติของการไทเทรต
            1.        ไทเทรต     NH4OH                             ด้วย HCI  ใช้อินดิเคเตอร์ ค
            2.        ไทเทรต     HNO3                              ด้วย NaOH ใช้อินดิเคเตอร์ ง
            3.        ไทเทรต     CH3COOH                         ด้วย NaOH ใช้อินดิเคเตอร์ ก
            4.        ไทเทรต     NH4O H                           ด้วย HCN   ใช้อินดิเคเตอร์ ข


37.          สาร      A    และ    B     คูใดเมื่อผสมกันได้สารละลายบัฟเฟอร์
                                          ่


                           A    สาร                                    B สาร
        1.       CaCO3 หนัก 40 g                               HNO3 0.1 mol
        2.       NH4OH 1 mol /                                  HCl 0.1 mol
                 dm3 100 cm3                                   NH4Cl 0.2 mol
        3.       CH3COOH 0.1 mol                               NaOH 1 mol /
        4.       H3PO4 1 mol /                                  dm3 50 cm3
                 dm3 50 cm3

38.         สาร       A     ประกอบด้วยฟอสฟอรัสและคลอรีน นำาสาร            A 13.75               กรัม ไปทำาปฏิกิริยา
กับนำ้าจน                                   ปฏิกิริยาสิ้นสุด   ได้กรดฟอสฟอริก 9.8 กรัม          และกรดไฮโดรครอริก
10.95 กรัม                สาร    A     ประกอบด้วย                คลอรีนร้อยละเท่าใดโดยมวล
1. 22.5                                          2. 25.8                                      3. 53.3
4. 77.5

39. เมื่อผสมสาร 2 ชนิดเข้าด้วยกันในขวดใบที่ 1 แล้วผ่านแก๊สที่เกิดขึ้นลงในสารละลาย Ca
(OH)2 ซึ่งอยู่
      ในขวดใบที่ 2 จะทำาให้สารละลายขุ่น เมื่อนำาสารละลายผสมในขวดใบที่ 1 ไประเหยจน
แห้ง จะได้ของ
       แข็งสีขาว สารผสมในข้อใดเป็นไปได้
            ก.
            HNO3 (aq) + CuCO3 (s)                                                                         ข..
CH3COOH(aq) + NaHCO3(a)
       ค.HCl (aq) + Na2 CO3 (aq)                                                                          ง.
NH2 CONH2 (aq) + H2O(l)มียูรีเอสอยูด้วย
                                    ่
      1. ก และ ข เท่านั้น 2. ข และ ค เท่านั้น                                  3.   ก   ,   ข และ ค เท่านั้น     4.
ก, ข , ค และ ง
40.กำาหนดสูตรเคมีตอไปนี้ CaF2 . 3Ca3(PO4)2 ; Sb2S3 . 3H2O; Na2ZrSiO5
                  ่
ถ้าเลขออกซิเดชันของ
      Si = 4 พิจารณาเลขออกซิเดชันในข้อต่อไปนี้
       ก. เลขออกซิเดชันของ P สูงกว่า +3 และของ Sb ตำ่ากว่า +5
      ข. เลขออกซิเดชันของ Sb สูงกว่า +2 และของ Zr ตำ่ากว่า +1
      ค. เลขออกซิเดชันของ Zr   สูงกว่า +1 และของ P เท่ากับ +5
      ง. เลขออกซิเดชันของ Zr    เท่ากับ 0      และของ Sb สูงกว่า +3
      ข้อใดผิด
        1.     ก และ ข                    2.   ก และ ค             3.   ข และ ง                   4.   ค
และ ง


41.   นักเรียนผู้หนึ่งละลายคลอไรด์ของธาตุ        M    ปริมาณ   0.05 mol     ในนำ้ากลั่น แล้วปรับป
ปริมาตรให้เป็น
        500 cm3             จากนั้นนำาสารละลายที่ได้ปริมาตร   12.5 cm3    ไปทำาปฏิกิริยาพอดีกับ
สารละลายซิลเวอร์ไน-
           (AgNO3)
        เตรด                    เข้มข้น   0.10 mol dm3         ได้ตะกอนซิลเวอร์คลอไรด์ สารประกอบ
คลอไรด์ขอองธาตุ M
      มีสตรเป็นอย่างไร
         ู
   1.MCl                     2. MCl2                               3. MCl3
4. MCl4
Ις
ς กำาหนดค่าศักย์ไฟฟ้ามาตรฐาน
      ปฏิกิริยาครึ่งเซลล์                                       Eo (V)
    A2 + 2H+ + 2e- →      H 2 A2                                                       +0.68
    3+
   B + e   -
                →       B2+

     +0.80
  C2 + 2e- →        2C-
+1.07
  D4 + e-       →         D3+                                                           +1.45

 ปฏิกิริยาใดต่อไปนี้เป็นปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นได้เอง


      ก.     2B3+ + H2 A2                                      2B2+ + A2 + 2H+

      ข.     A2 + 2H+ + 2C-                                     H 2 A 2 + C2

      ค.     D4+ +          B2+                                 D3+ +       B3+

      ง.     2B3+ 2C-                                           2B2+ +       C2
1.     ก และ ข                       2.   ข และ ค                      3.   ค และ ง
4.     ก และ ค



43. พิจารณาปฏิกิริยา Cr (OH)3 + ClO-                      CrO2-4 + Cl- +
H2O (สมการยังไม่ดล) จะต้อง
                   ุ
     ใช้ NaOCl กีกรัมเพื่อทำาปฏิกิริยาพอดีกับ Cr (OH)3 1 mol
                      ่
     1. 74.5                  2. 77.2                  3. 111.8
4.223.5


44.     พิจารณาสูตรโครงสร้างของผงซักฟอก             2    ชนิดต่อไปนี้




            ข้อความใดผิด
       1.   ผงซักฟอกมีประสิทธิภาพซักล้างในนำ้ากระด้างดีกว่าสบู่ เพราะหมู่                            ช่วยลด
            ความกระด้างของนำ้า
       2.   ระบบเอนไซม์ขอองจุลินทรีย์สามารถย่อยสลายผงซักฟอกชนิด ข ได้อย่างดี จึงไม่กอให้เกิด
                                                                                    ่
            ปัญหาต่อสภาวะแวดล้อม
       3.   ระบบเอนไซม์ของจุลินทรีย์ไม่สามารถย่อยสลายผงซักฟอกชนิด ก ได้ จึงก่อให้เกิดปัญหาต่อ
            สภาวะแวดล้อมอย่างมาก
       4.   สารฟอตเฟตในผงซักฟอกทีอยู่ในนำ้าทิ้ง เมือปะปนในแม่นำ้าลำาคลองทำาให้สาหร่ายและวัชพืชเจริญ
                                     ่              ่
            งอกงามและแพร่พันธุ์อย่างรวดเร็ว จึงก่อให้เกิดปัญหาต่อสิ่งแวดล้อม


45.     กำาหนดให้
                X2+ (aq ) + 2e-  X(S)
                                →                           EO=+0.30 V
                Y3+(aq)+3e-  Y(S)
                            →                               EO=+0.90

                 ถ้านำาครึ่งเซลล์X|Y        (aq)มาต่อกับครึ่งเซลล์Y|Y3+ (aq)
                                       3+
                                                                                     ที่ภาวะมาตรฐานข้อใดถูก
ต้อง
                              แคโทด              แอโนด           ตัวออกซิไดส์           ตัวรีดิวซ์

              ςΙ 1.         Ξ Y                    X                    X2+                  Y
              ςΙΙ 2.        ΞΙ Y                   X                    Y3+                  X
              ςΙΙΙ3.        ΞΙΙX                   Y                    Y3+                  X
              ΙΞ 4.            X                   Y                    X2+                  Y

46. ปัจจัยในข้อใดที่ทำาให้โปรตีนแปลงสภาพ
ก. การให้ความร้อน        ข. ตัวทำาละลายอินทรีย์        ค.     ไอออนของโลหะหนัก ง. การใช้กรด
      และเบส
      ข้อใดถูกต้อง
      1.  ก และ ข เท่านั้น         2.     ค และ ง เท่านั้น         3.    ก เท่านั้น        4.     ก   ,   ข   ,   ค
      และ ง



47.        กำาหนดพอลิเมอร์ มีสูตรดังนี้




                  ข้อใดถูก

                                   พอลิเเมอร์                     ชนิด                ปฏิกิริยาการเกิด

                     1.                   ก              โฮโมพอลิเมอร์                    การควบแน่น
                                          ข              โฮโมพอลิเมอร์                    การควบแน่น
                     2.                   ค               โคพอลิมอร์                        การเติม
                     3.                   ง               โคพอลิเมอร์                       การควบ
                     4.

48.   ข้อใดเป็นการเลือกปฏิบติได้เหมาะสมทีสุด
                           ั             ่
      1.   เก็บขวดนำ้าพลาสติกไม่ใช่แล้วไว้ใส่นำ้ามันเบนซิน
      2.   ใช้ถ้วยชามที่ผลิตจากพอลิเอทิลีนอุ่นอาหารในเตาไมโครเวฟ
      3.   ใช้ภาชนะที่เคลือบด้วยพอลิเตตระฟลูออโรเอทิลีนในการทอดปลา
      4.   เก็บรวบรวมถ้วยชามประเภทเมลานีนที่ชำารุดไว้เพื่อการนำากลับไปใช้ใหม่


49.การถลุงแร่ในข้อใดที่มีหลักการในการถลุงเหมือนกัน
   ก. สังกะสี          ข. แคดเมียม            ค. ดีบก
                                                    ุ                           ง.    พลวง
   1. ก และ ข           2. ข และ ค             3. ก ,               ข และ ง          4.   ก   ,   ค และ ง


50.ข้อใดต่อไปนี้ ไม่ถกต้อง
                     ู
      1.มลพิษทางนำ้าที่เป็นสารจำาพวกฟอตเฟตได้มาจากการใช้ปุ๋ยเคมี ยากำาจัดวัชพืช และผงซักฟอก
   ΞΙΙΙ2.สาร CFC และ DDT เป็นสารมลพิษที่มฮาโลเจน เป็นองค์ประกอบแต่สารไดออกซินเป็น
                                                 ี
           สารมลพิษที่ไม่มีฮาโลเจน
      ΞΙς3.   แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ปริมาณมากเกิดจากการเผาไหม้เชื้อเพลิงเป็นสาเหตุหลักของการเกิด
           ปรากฏ
               การณ์เรือนกระจก
        4.โอโซนเป็นแก๊สที่เป็นพิษเมื่ออยู่ในบรรยากาศระดับตำ่าแต่มีประโยชน์ในการป้องกันรังสี
อัลตราไวโอเลต
        เมืออยู่ในบรรยากาศระดับสูง
           ่
ตอนที่     2          ข้อ   1–8    เป็นข้อสอบอัตนัย
 1. X       และ Y เป็นธาตุ        2     ชนิด หนึ่งโมเลกุลของ    X    มี   4    อะตอม และมีมวลโมเลกุล        124
       หนึ่งโมเลกุลของ
       Y       มี   2   อะตอม และมีมวลโมเลกุล      32 XY43- 1.505 × 1023                     ไอออนคิดเป็นนำ้าหนักกี่
       กรัม


  2.     ในการสังเคราะห์แสงขอสาหร่ายสีเขียวพบว่าใช้                  CO2 6 × 10-3 mol / hour                   ถ้าการ
สังเคราะห์แสงให้
           ผลิตภัณฑ์เป็นแป้ง           ( C6 H10 O5 )     เท่านั้น จะต้องใช้เวลากี่ชั่วโมงในการสังเคราะห์แสง
เพื่อให้ได้แป้ง
               หนัก     1.62    กรัม


3.   สารประกอบชนิดหนึ่งประกอบด้วย C , H                        และ   O    มี   C   ร้อยละ   39.13     และ   O   ร้อยละ
52.17 สาร
       ประกอบนี้มีสตรเอมิรคัลและสูตรโมเลกุลเหมือนกัน เมือนำาสารประกออบนี้หนัก
                   ู      ิ                             ่                                         6.90 g
ละลายใน
           เอทานอลจำานวนหนึ่งหาจุดเดือดของสารละลายได้                80.90oC        ถ้าจุดเดือดของเอทานอลเท่ากับ
78.50 C    o

      และค่า            Kb   ของเอทานอลเท่ากับ     1.22oC mol-1kg-1                จงหานำ้าหนักเป็นกรัมของเอานอล
ในสารละลาย


4.สารอินทรียชนิดหนึ่งมีธาตุ N เป็นองค์ประกอบ เมือสลายสารอินทรีย์นี้ 1.5 g แล้วผ่านแก๊ส
            ์                                   ่
NH3 ทีได้ลงในสารละลาย HCl เข้มข้น 0.10 mol dm-3 ปริมาตร 50 cm3 นำาสารละลาที่
       ่
ได้มาไทเทรตด้วยสารละลายมาตรฐาน NaOH เข้มข้น 0.1 mol dm
                                                                      -3
                                                                         ปรากฏว่าใช้ไป 30
cm จงหาร้อยละโดยมวลของไนโตรเจนในสารละลาย
    3



5.ถ้าต้องการเตรียมสารละลาย CuSO4 เข้มข้น 0.1 mol dm-3 ปริมาตร 500 cm3 จาก
CuSO4 . 5H2O ซึ่งมีความบริสุทธิ์ร้อยละ 99.8 จะต้องใช้ CuSO4 . 5H2O หนักกีกรัม
                                                                         ่


6.นำ้ามันชนิดหนึ่งประกอบด้วยกรดไขมันร้อยละ 21.4 โดยมวล                         โดยเป็นกรดไขมัน   3   ชนิดคือ   A,B
และ C ซึ่งมีอตราส่วนจำานวนโมลเป็น 2 : 1 : 1 ตามลำาดับ
              ั


                      กรด             สูตรทั่วไป       มวลโมเลกุล
                        A          C15 H29                254
                        B          COOH                   280
                        C      C17 H31 COOH               282
                                   C17 H33
                                   COOH
ถ้าพันธะคู่     1   พันธะ ทำาปฏิกิริยากับ   2     1   โมเลกุล นำ้ามัน   100 g     จะทำา
ปฏิกิริยาพอดีกับ      2   กีกรัม
                            ่


7.   นำาแร่พลวงเงินที่มี    Sb2S3 34%             หนัก   200   กรัม มาเผาให้ร้อนจัด        (   อย่างแรง   )     จน
กำามะถันในแร่พลวง
      เงินเปลี่ยนเป็น      SO2 จนหมด         จงคำานวณหาปริมาตรของ        SO2 ที่เกิดขึ้นเป็นลูกบาศก์เดซิเมตร          ที่
STP


8.   นักเรียนคนหนึ่งทำาการทดลองหาร้อยละโดยมวลของแป้งในยาลดกรด ซึ่งมีส่วนผสมของ                            MgCO3
      และแป้งดังนี้
      1.     ชังยาลดกรด
               ่                 1.00 g      บดให้ละเอียดละลายในนำ้ากลั่น      20 cm3
Ξς เติมสารละลาย HCI เข้มข้น 1.00 mol dm                        -3
                                                                     ปริมาตร   20 cm3          ลงในสารละลายในข้อ
   1 นำาไปอุ่น
     3. กรอง ล้างภาชนะด้วยนำ้ากลั่นปริมาณเล็กน้อย                   แล้วเทชะบนกระดาษกรอง        2- 3          ครั้ง
     4. ทำาสิ่งทีกรองได้ให้มีปริมาตร 100 cm 3
                   ่                                                 ในขวดวัดปดริมาตร
     5. ปิเปตสารละลายในข้อ 4 มา 10cm 3                              ไทเทรตด้วยสารละลาย         NaOH       เข้มข้น
0.20 mol dm-3 ที่
           จุดยุติใช้สารละลาย NaOH 5.0 cm
                                               3

            จงคำานวณหาร้อยละโดยมวลของแป้งในยาลดกรด
ตอนที่   1
  1.    เฉลยข้อ     3
                   แนวคิด        ถูก เพราะปัจจัยที่มีผลต่อ ความดันไอของของเหลว คือ
                            1.   แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของของเหลวความดันไอของของเหลวเป็นสัด
                                 ส่วนกลับแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของของเหลว
                            2.   อุณหภูมิ ความดันไอของของเหลว เป็นสัดส่วนตรงกับอุณหภูมิ
        2     เฉลยข้อ   2
               แนวคิด ให้สาร     A, B    และ   C   ต่างใช้จำานวน   1 mol     ละลายนำ้าที่ปริมาตร    100
cm3

 สารในนำ้า         ความร้อนของการ                                   เหตุผล
                        ละลาย
      A              ดูดพลังงาน                พลังงานไฮเดรชัน น้อยกว่าพลังงานแลตทิช            =
                     ดูดพลังงาน
      B              ดูดพลังงาน                              750-745 = 5
      C                                         พลังงานไฮเดรชัน มากกว่าพลังงานแลตทิช            =
                                                            590-550 = 40
                                            พลังงานไฮเดรชัน น้อยกว่าพลังงานแลตทิช           700 -
                                                      690 = 10
                การเปรียบเทียบอุณหภูมิของแต่ละสารละลาย B > A > C
          3. เฉลยข้อ 2

                                                                                                M
            แนวคิด สมมติให้ความหนาแน่นของตัวทำาละลาย          X = x g/cm3            สูตร   d
                                                                                                V
M = dV
                     X 100 cm3
                  ตัวทำาละลาย                      มีมวล   = 100 X g.           และตัวทำาละลาย      X 50
cm3
       มีมวล   = 50X g.
0.2
                สารละลาย Y ใน X มีความเข้มข้น =  (100X )                                 =
                                                         Kg
                                                 1000 
2
  mol / kg
X
                                      สูตร                  ∆Tf = K f × m
                                                                                   2
                                      แทนค่า   (5.5 – (-4.3) ) =             K f ×  
                                                                                   X
               สารละลาย    Z     ใน    X
                                                             m1 × 1000
                          สูตร                              ∆Tf =      Kf ×
                                                             m 2 × M.W 1
                                                                        8.4 × 1000
                          แทนค่า (5.5 – (-4.3 ) )           = K f × ( 50X× M.W
                                                                          )        1
                                              2             8.4 × 1000
                         แต่             Kf ×     = K f × ( 50X× M.W
                                                              )
                                              X                        1
                                                                            1000
                                                         Z = 8.4 × 50M.W จะได้
                                                                                 1
M. W 1 = 84
                     หาสูตรเอมพิริคล
                                   ั
                                                             85.71 14.29
                                      C:H             =           :                โดยมวล
                                                              12     1

                                                                             7.14 14.29
                                                    C:H           =              :      โดยโมล
                                                                             7.14 7.14

                                                    C:H       =               1.00 :           2.00       โดยโมล
                                               สูตรเอมพิรคัลของ Z
                                                         ิ                 คือ C1 H2
                                        ให้สตรโมเลกุล ( CH2 )n
                                            ู
                                                       มวลโมเลกุลของ    Z = 84
                                                                       (12+2 ) = 84
                                                                            ∴n = 6
                                                       สูตรโมเลกุล   ( CH2 )6      จะได้   C6 H12
4.   เฉลยข้อ    4
     แนวคิด                    จากข้อมูลการทดลอง สรุปได้ว่า
                         1.    ทีจุด Y สารตัวอย่าง
                                 ่                        (A+B)           แยกได้   1   แถบ ซึ่งเคลื่อนที่ได้ระยะ
                               ทางเท่ากับ
                                       สาร     A    บริสทธิ์ จากจุด
                                                        ุ             X    ดังนั้น สาร     B   อาจเป็นสารไม่มีสี
จึงควรตรวจสมบัตต่อ
               ิ
                                       ไปนี้ด้วยการผ่านแสงอัลตราไวโอเลต
                                               2.     สาร   A   และสาร      B   เคลื่อนที่ไปบนตัวดูดซับได้ใกล้
เคียงกันมาก จึงเห็นเป็น
                                       แถบเดียว จึงควรทำาการทดลองซำ้าโดยเปลี่ยนตัวทำาละลาย
5. เฉลย    ไม่มีคำาตอบ
แนวคิด            เขียนสมการแสดงปฏิกริยาพร้อมดุล
                                        ิ
                              แร่ตัวอย่าง   1.12 g                KI ( aq ) 1 mol . dm-3
10 cm3
                                        ↓                                 ↓
                               2Fe (aq)
                                     3+
                                                                         2I –(aq)
→ 2Fe 2 + (aq) + I 2 (aq)
                                     ↓                                    ↓
↓
                                                                        1 × 10 
                                        X g                                    mol
                                                                        1000 
44.8 cm3
                                    ↓
↓
                                 X
                                  mol
                                  56 
    44.8     
             mol
 22.4 × 1000 
                                         จากขัอมูลที่โจทย์ให้มากำาหนดทั้งจำานวนโมลของสารตั้งต้น KI
และจำานวนโมลของ
                                  ผลิตภัณฑ์ I 2 ในการคำานวณจะต้องยึดเอาจำานวนโมลของผลิตภัณฑ์
I 2 เป็นหลัก
                                  กล่าวคือ KI จำาถูกใช้ทำาปฏิกิริยาหมดหรือไม่กตาม I 2 ต้องเกิดขึ้น
                                                                              ็
กับจำานวน   44.8
                                 cm3 STP          อย่างแน่นอน จึงใช้สารนี้เป็นหลักในการคำานวณ ดังนี้
                                                             3+
                                                          โมล
                                                            Fe     2
                                  จากสมการ                       =
                                                           โมลI2   I


                                                              X
                                                               mol
                                                               56           2
                                                                            =
                                                              44.8          I
                                                                      mol
                                                          22.4 × 1000 

       2 × 44.8 × 56
∴X =                 = 0.224g
       22.4 × 1000
                                                                                         3+
                                                แร่ตัวอย่าง   1.12 g   มีเหล็กในรูป Fe        = 0.224g
                                                แร่ตัวอย่าง   100 g    มีเหล็กในรูป
         0.224 × 100
Fe 3 + =             = 20g
            1.12
                                                                                  แร่ตัวอย่างมีเหล็ก
= 20% โดยมวล
6.เฉลยข้อ 4
        แนวคิด       สมการของปฏิกิริยา ดังนี้
A + 3B                                               4C
                           ผลได้ของสาร    c   ที่คำานวณได้จากสมการของปฏิกิริยาเป็นผลได้ตามทษฏีของ
           สาร   C=X mol
                                                                            ผลได้จริง
                                         ร้อยละของผลได้            =                             x 100
                                                                        ผลได้ตามทษ ฏี
                                        6
                                 75 =      x100
                                       X
                                         6 × 100
                                 ∴X =                              = 8 mol
                                            75
                                       โมลA                        1                    โมลA   1
                              จากสมการ          =                          แทนค่า            =            จะได้สาร
                                       โมลC                        4                      8    4
A = 2mol
                                                         โมลB                1                    โมลB   4
                                                                       =              แทนค่า           =
                                                         โมลC                4                      8    3
จะได้สาร   B = 6mol

            7. เฉลยข้อ 2
                                                                   2.3
                 แนวคิด            ข้อ   1    ผิด       NO2   มี       = 0.05mol เป็นสารประกอบโคเวเลน
                                                                   46
ต์


                                                                       NO2 1 mol =             มีจำานวน   =
     6.02 × 10 23 โมเลกุล
                                                                       NO2          0.05 mol =      มีจำานวน
                   23
         6.02 × 10 × 0.05
     =
                  1

     = 0.301 × 10 23 โมเลกุล
                                                                                            
                                                                                          1.18
                                             ข้อ    2    ถูก N (CH 3 ) 3 มี           =  59  = 0.02mol เป็น
                                                                                            
     สารประกอบโคเวเลน
                                                                       N (CH 3 ) 3 1 mol มีจำานวน
     = 6.02 × 10 23 โมเลกุล
                                                                       N(CH 3 )         1 mol      มีจำานวน
                   23
         6.02 × 10 × 0.02
     =
                  1

     = 1.204 × 10 23 โมเลกุล
                                                                                    5.85
                                              ข้อ   3      ผิด     NaCl มี               = 0.1mol เป็น
                                                                                    58.5
     สารประกอบไอออนิก
NaCl มีจำานวน = 6.02 × 10 23
     โมเลกุล
                                                                     NaCl 0.1 mol มีจำานวน
         6.02 × 10 23 × 0.1
     =
                 1

     = 6.02 × 10 22 โมเลกุล
                                         ข้อ   4   ผิด       H 2SO 4 เป็นสารประกอบโคเวเลนต์ไม่ใช่
     สารประกอบไอออนิก
8.   เฉลยข้อ    2
     แนวคิด                   โลหะ   A   ถูกยิงด้วยอนุภาคแอลฟาเกิดอิเล็กตรอนกระเด็นออกไปเกิด        A3+
     ไอออน
                                ร้อยละ   0.10      ดังสมการ
                                                                          A → A 3 + (g) + 3e −



                                               โลหะ   A 100 mol A             ทีถกอนุภาคแอลฟาเกิด
                                                                                ่ ู
     อิเล็กตรอนกระเด็นออกไป
                                                                                                     =
     0.1 mol
                                               โลหะ      A      2 mol A            ทีถกอนุภาคแอลฟาเกิด
                                                                                     ่ ู
     อิเล็กตรอนกระเด็นออกไป
                                                                                                     =
      0.1 × 2
              = 2 × 10 − 3 mol
       100
                                               จากสมการโลหะ       A 1 mol        เกิด   A3+   และ
     อิเล็กตรอนทีกระเด็นออกไป
                 ่
                                                                                                     =
      3 × 6.02 × 10 23 อนุภาค
                                                                     A    2 × 10 −3 mol เกิด A
                                                                                               3+
                                                              โลหะ                                และ
     อิเล็กตรอนทีกระเด็นออกไป
                 ่
                                                                                                     =
      3 × 6.02 × 10 23 × 2 × 10 −3
                                   อนุภาค
                   1



     =      3.6 × 10 21 อนุภาค




9.   เฉลยข้อ    1
แนวคิด       ธาตุ         พลังงานไอออไนเซชัน IE 1 − IE 9 (MJ / mol ดังนี้
                                             1.73.46.18.411.015.9
                                               .217                                    92.1106.4
                                    X                           
                                                              n =2
                                                                                               
                                                                                                
                                                                                                  n =1
                                                                พลังงานเฉลี่ย                         พลังงานเฉลี่ย
                                                    1 . 7 + 3 . 4 + 6 . 1 + 8 . 4 + 11 . 0 + 15 . 2 + 17 . 9
                                              =                                                                               =
                                                                                 7
         92.1 + 106.4
               2
                                                          63 . 7
                                              =                    = 9.1 MJ
                                                           7
         = 99.25 MJ

                    Y             0.5                     n = 3                                             พลังงานเฉลี่ย
                  = 0.5 MJ
                          4.6. 6.9 9.6 13.4 16.6 20.1 25.5 28.9                                                    n =2
                  พลังงานเฉลี่ย = 15.7 MJ
                          141.4 159.1                     n =1                                             พลังงานเฉลี่ย
                  = 150.25 MJ

                   ข้อ   1    ผิด       เพราะอิเล็กตรอนใน      n=1         ของ    X   ต้องคายพลังงาน           99.25
         MJ / mol เพื่อไปอยู่
                                             ใน      n=2
                   2 ถูก เพราะผลต่างของพลังงานของ n = 1
                   ข้อ                                                                 กับ     n=2         ใน    Y=
         (150.25 – 15.7 =
                     134.55 MJ
                                                     มีค่ามากกว่า ผลต่างของพลังงานของ              n=1           กับ      n=
2   ใน    X = ( 99.25 – 9.1 ) =
                       90.15 MJ
                   ข้อ 3 ถูก  เพราะจากการจัดกลุ่มอิเล็กตรอนในระดับพลังงานต่าง                              ๆ พบว่าธาตุ            X
มีระดับพลัง
                                                   งาน   2    ระดับ     n = 1 มี 2            อิเล็กตรอน   n = 2               ซึ่ง
เป็นเวเลนต์อิเล็กตรอน มี            7
                                                  อิเล็กตรอน แสดงว่าธาตุ      X    อยู่หมู่   7    แต่ 53 Ι มีเลขอะตอม
= 53        มีจำานวนโปร –
                                                  ตรอน    =    จำานวนอิเล็กตรอน       = 53         มีการจัดอิเล็กตรอนใน
ระดับพลังงานต่าง ๆ ดังนี้
                                                  2 , 8 ,18 , 18 , 7           มีเวเลนต์อิเล็กตรอน         7   อยู่หมู่   7   เช่น
เดียวกับ ธาตุ
                             ข้อ   4   ถูก เพราะ   X   มีเวเลนต์ตรอน     =7       เป็นธาตุอโลหะ เกิดไอออนลบคือ                    X
-

                                                              Y       มีเวเลนต์ตรอน   =1          เป็นธาตุโลหะ เกิด
ไอออนบวกคือ       Y   +
สารประกอบของ         Y(     โลหะ   )   กับ   X (   อโลหะ   )       เป็นสารประกก
อบไอออนิก มีสูตร           YX
10 .         เฉลยข้อ      4
        แนวคิด    ธาตุนี้มีจำานวนโปรตรอน                 (P ) =      จำานวนอิเล็กตรอน   (e- )= 7 การจัด
อิเล็กตรอนในระดับพลัง
                                         งานต่าง ๆ เป็น       2,5 n = 1         มีจำานวนอิเล็กตรอน      n = 2         มี
จำานวน    5      อิเล็กตรอน จากแผน
                                        ภาพไม่มีข้อใดถูก จึงเลือกข้อ        4




11.      เฉลยข้อ       1
          แนวคิด             จากข้อมูล
                                          Ι    ธาตุ      Χ   มีค่า   ΙΕ 2   และ ΙΕ 3 ต่างกันมาก ๆ แสดงว่า
อิเล็กตรอนทั้ง     2      อยูต่าง
                             ่
                                          ระดับพลังงานกัน ดังนั้นเวเลนต์อิเล็กตรอนของ Χ             =2         เกิดไอออน
ที่มีประจุ    +2
                                             AI
                                         ΙΙ 13 ,มีการจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงาน 2, 8 , 3 หมู่ 3                       อยู่
หมู่เดียวกับ     Y และ Y
                                          อยู่หมู่   3
                                        ΙΙΙ ไอโซโทปหนึ่งของ Z ไม่มีนิวตรอน            คือ ธาตุไนโตรเจนเป็นอโลหะ
             ซันไฟรด์ของ     X                               ซันไฟรด์ของ    Y                                    ซันไฟรด์
ของ    Z
             X               S                                       Y           S
Z                 S
                                                                      2               3
2

         +2                     -2                                               3                      2
1                     2

             1                      2


12.       เฉลยข้อ      4
         แนวคิด            ธาตุอโลหะหมู่เดียวกัน ธาตุ อโลหะอิสระทีอยู่บนกว่าในตารางธาตุสามารถทำาปฏิกิริยา
                                                                  ่
กับ
                                        ไอออนลบของอโลหะตัวล่างกว่าในหมู่เดียวกันได้
                                         จากข้อมูลนำามาวิเคราะห์ได้ดังนี้
Ι                 ΚΧ      ไม่ทำาปฏิกิริยากับ      Υ2 :              2X− + Υ2

X2 + 2Y−
                                แสดงว่า              Υ2     รับอิเล็กตรอนของ         Χ − ไม่ได้         นั่นคือธาตุ   Χ       อยู่บนธาตุ
Υ อยูล่าง
     ่
                                ΙΙ               ΚΖ         ทำาปฏิกิริยากับ     Υ2            :        2Ζ − + Υ2
Ζ 2 + 2Υ −
                            แสดงว่า              Υ2        รับอิเล็กตรอนของ         Ζ − ได้       นั่นคือธาตุ   Υ อยู่บน ธาตุ Ζ            อยู่
ล่าง
                                จาก      Ι    และ          ΙΙ     สรุป ธาตุในหมู่เดียวกัน เรียงจากเลขอะตอมน้อยไปมาก                          (
หรือบนลงล่าง       )
                                ดังนี้       (       บน   ) Χ,     Υ , Ζ             (    ล่าง    )
                                                     X 2Y2Z2
                             มาก             →                  น้อย ความสามารถในการรับอิเล็กตรอน และความแรงใน
การรับออกซิ
                                ไดส์
                                             X-Y− Z−
                             ยาก          → ง่าย                    ความสามารถในการให้อิเล็กตรอน และความแรงในการ
รีดิวซ์
                                 ข้อ 1 ผิด                เพราะ   Z-    เป็นตัวรีดิวซ์ทดีกว่า
                                                                                       ี่             X-   และ   Y-
                                 ข้อ 2 ผิด                เพราะผสม     KY      กับ    X2 เกิดปฏิกริยาเคมี
                                                                                                 ิ               เนื่องจาก      X2 รับ
อิเล็กตรอนของ       Y   –
                             ได้
                                 ข้อ     3       ผิด      เพราะเวเลนซ์อิเล็กตรอนของ           X-        หลุดอยากกว่าเวเลนซ์
อิเล็กตรอนของ      Y   –
                            และของ           Z   -

                                 ข้อ     4   ถูก          เพราะผสม     KZ      กับ   X2    เกิดปฏิกิริยาดังนี้    2KZ + X2
2KX + Z2               เนื่อง
                                จาก      X2      รับอิเล็กตรอนจาก      Z-     ได้
13.เฉลยข้อ 3
                 238 สลายอนุภาคต่าง ๆ ทั้งหมด 14 ขั้นตอนเป็นรังสี α 8 ขั้นตอน และรังสี β
       แนวคิด     92U
                                                   4
                6 ขั้นตอน แต่รังสี α เขียนเป็นสูตร 2H 8 ขั้นตอน จะพบว่าเลขมวลลด 4 x 8
       = 32
                                                                                                       β                  0
                       และเลขอะตอมลดลง                      2 x 8 = 16                   และรังสี          สูตรเป็น −1e          6    ขั้น
       ตอน เลขมวลไม่                         เปลี่ยนแปลง          เลขอะตอมเปลียน
                                                                              ่            = -1 x 6 = -6                        ดังนั้น
       ผลิตภัณฑ์มีเลขมวล เป็น                238 – 32 = 206
                                                                                          206
    เลขอะตอม       92 – 16 ( -6 )= 82                             จากตัวเลือกคือ         382 Pb
.14.      เฉลยข้อ      4
          แนวคิด
ตัวเลือกที่    4    ถูกเรียงจำานวนอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวของอตอมกลางต่อไปนี้
                               CIF        3   > NCI3 >             CIO4
15.     เฉลยข้อ    2
       แนวคิด       ข้อ   1     ผิด เพราะสารประกอบที่เกิดจากธาตุหมู่        I กับ VI    อัตราส่วนโดยมวลอะตอม
          2 : 1           เป็นสารประกอบไอออนิก จุดเดือดสูงละลายนำ้า แสดงสมบัติเป็นเบส เช่น                    Na2O
                                    ข้อ   2   ถูก เพราะสารประกอบที่เกิดจากธาตุหมู่     V   และ       VI   อัตราส่วน
โดยอะตอม
          2 : 3               เป็นสารประกอบโคเวเลนซ์ จุดเดือดตำ่าละลายนำ้าแสดงสมบัติเป็นกรดได้ เช่น
N2O3
                                    ข้อ   3   ผิด เพราะสารประกอบที่เกิดจากธาตุหมู่     II และหมู่ V II
อัตราส่วนโดยมวล
         อะตอม    1 : 2             เป็นสารประกอบไอออนิก       (   ยกเว้น   BeCI   2   เป็นสารประกอบโคเวเลนซ์
)   จุดเดือดสูง
                                ข้อ       4   ผิด เพราะสารประกอบที่เกิดจากหมู่   II และ V II อัตราส่วยโดย
มวลอะตอม
                         1 : 2            เป็นสารประกอบไอออนิก จุดเดือดสูงไม่ละลายนำ้า     CaC2
16.      เฉลยข้อ        1
          แนวคิด
                                สภาพมีขั้วของพันธะโคเวเลนต์ เปลี่ยนตามผลต่างของ
                                EN สภาพมีขั้วของพันธะโคเวเลนต์ เรียงจากมากไปน้อย            ดังนี้
                  พันธะ         H - CI              >      H - Br           >      Si - S             >       Si
- H
              ∆EN∆ ( 3.16 - 2.20 )                                 ( 2.96 - 1.90 ) ( 2.58 -
1.90 )         ( 2.2 - 1.90 )
                          = 0.96                                             = 0.76                                =
0.68                = 0.3
 17.      เฉลยข้อ 1
                                                                7
           แนวคิด             ข้อ   1 CH3 - CH3 +                O2        2CO2 + 3H2O
                                                                2
                                                                7
           ∑Ε            = 6DC-H               +     1DC-C     + DO O = ( 6 x 415 ) +
                                                                    =
                  ดูด
                                                                2
( 1 x 340 )
                                                                                                          +
 7×500
      
      = 4580 kJ.
2    
= 4DC=O + 6D
            ∑Ε       คาย                        H-O       =      ( 4 x 740 ) + ( 6 x
460 ) = 5720 kJ.
                                   = 5720 - 4580 = 1140 kJ .
                                    คายพลังงาน
      ข้อ 2 CH2 = CH2 + 3O2                  2CO2 +2H2O
     ∑ Ε ดูด = 4DC-H + 1DC-C + 3DO+O = ( 4 x415 ) +
( 610 ) + ( 3 x 500 )= 3770 kJ.
      ∑ Ε คาย = 4DC=O + 4DO-H = ( 4 x 740 ) + ( 4 x 470
) = 4800 kJ.
                        คายพลังงาน = 4800 –3770 = 1030 kJ.
                               5
      ข้อ   3 CH ≡ CH +         O2                    2CO2 + H2O
                               2
                        5
   ∑ Ε = 2DC-H + D C≡C+ D O O= ( 2 x 415 ) + ( 840 )
                           =
             ดูด
                        2
    5
+ ( × 500 =2920 kJ.
        )
    2
    ∑ Ε = 4DC=O + 2DH-O = ( 4 x740 ) + ( 2 x 460 ) =
               คาย

3880 kJ.
                                   คายพลังงาน = 3880 –2920 = 960 kJ.
   ข้อ 4     CH3 - CH3 - OH + 3O2                              2CO2 + 3H2O
     ∑ Ε ดูด = 5DC – H + 1DC-C + 1DC – O + 1DO – H +3DO =O
      =
     OO                                           = ( 5 x 415 ) + ( 1 x 340 ) + (
1 x 350 ) + ( 1 x 460 ) + ( 3 x 500 )
                                                        = 4725 kJ.
      ∑ Ε คาย = 4DC=O + 6D H-O = ( 4 x 740 ) + ( 6 x 460 ) =
5720 kJ .
         ปฏิกิริยาที่คายพลังงานมากที่สุด คือ ปฏิกิริยาข้อที่ 1


18.     เฉลยข้อ       1
       แนวคิด    เพราะ BeCI2       (g)   และ   CO2    ต่างมีรูปร่างโมเลกุลเหมือนกันคือ เป็นเส้นตรง
และต่างก็เป็น
       โมเลกุลไม่มีขั้วเหมือนกัน




19.    เฉลยข้อ       4
        แนวคิด
ธาตุ                      เลขอะตอม                       การจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงาน
                             O                               7                                  2 ,5
                             P                               11                              2,8,1
                             Q                               17                              2,8,7
                             R                               20                              2,8,8,2
            ข้อ   1    ผิด เพราะ           O          Q                  เป็น   OQ3


              e-          คู่ร่วมพันธะ       3               1
             2
                                         +           3−                  P3O
      ข้อ         ผิด เพราะ              P           O           เป็น



                                   ประจุ         1                 3
                                         −               +
       ข้อ        3   ผิด เพราะ          Q               P


                                   ประจุ         1                      1
        ข้อ       4   ถูก เพราะ            2+             3−      เป็น      R 3 O2
                                             R            O


                                    ประจุ            2                   3


20.   เฉลย ไม่มีคำาตอบถูก

      แนวคิด               C5H10             เป็นสูตรโมเลกุลของแอลคีน หรือไซโคลแอลคีน
                          2 ไอโซเมอร์โซ่ตรง
               CH2 = CH - CH2 - CH2 – CH3                CH3 –
CH = CH - CH2 – CH3
                โซ่กิ่ง 3 ไอโซเมอร์
              CH2 = C - CH2 – CH3       CH2 = CH - CH - CH3
CH3 - CH = C - CH3
                                             CH3                                                         CH3

CH3



      แบบวง           5     ไอโซเมอร์
21.             เฉลยข้อ   1
                แนวคิด        สาร   A   เป็นสารที่เสถียรมีโครงสร้าง ดังนี้
                                         ธาตุ   X,Y   และ   Z   แทนด้วยธาตุ    N,P,Cl     ตามลำาดับ




22.เฉลยข้อ 1
          แนวคิด          ข้อ ก,ค และ ง ทุกสารมีหมู่คาร์บอนีล มีสูตร




           23.      เฉลยข้อ ไม่มีคำาตอบที่ถก
                                           ู
                  แนวคิด     ข้อสอบข้อนี้โจทย์กำาหนดข้อมูลมาให้ไม่พอที่จะไปคำานวณหาจำานวนโมลของ
         แก๊ส   O2
                                        และปริมาตรของแก๊ส       CO2   เป็น   dm3STP     ได้
                                                   ถ้าจะคำานวณต้องกำาหนดจำานวนโมลของ          C 2H6,C 2H4
และ      C2H2        ของแก๊สแต่ละ
                                                   ชนิดที่ผสมกันมาให้ เช่น กำาหนด     C2 H6,C 2H4     และ   C
2   H2    อย่างละ     1 mol
                                                      ทำาปฏิกิริยาเผาไหม้อย่างสมบูรณ์ดังสมการ
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

ใบงาน 14.1 14.3
ใบงาน 14.1 14.3ใบงาน 14.1 14.3
ใบงาน 14.1 14.3oraneehussem
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์Arocha Chaichana
 
เคมี
เคมีเคมี
เคมีcrazygno
 
สสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลงสสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลงพัน พัน
 
ฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้นฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้นY'Yuyee Raksaya
 
สารละลาย
สารละลายสารละลาย
สารละลายJariya Jaiyot
 
Lab การไทเทรต
Lab การไทเทรตLab การไทเทรต
Lab การไทเทรตJariya Jaiyot
 
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์Kapom K.S.
 
ข้อสอบเคมี มข. 54
ข้อสอบเคมี มข. 54 ข้อสอบเคมี มข. 54
ข้อสอบเคมี มข. 54 Manatsawin Kongthong
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมdnavaroj
 
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfssuser2feafc1
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxพนภาค ผิวเกลี้ยง
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะKodchaporn Siriket
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศkrupornpana55
 
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์Phattarawan Wai
 
ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)Manchai
 
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาManchai
 

La actualidad más candente (20)

ใบงาน 14.1 14.3
ใบงาน 14.1 14.3ใบงาน 14.1 14.3
ใบงาน 14.1 14.3
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์
 
เคมี
เคมีเคมี
เคมี
 
สสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลงสสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลง
 
ฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้นฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้น
 
สารละลาย
สารละลายสารละลาย
สารละลาย
 
Lab การไทเทรต
Lab การไทเทรตLab การไทเทรต
Lab การไทเทรต
 
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
 
ข้อสอบเคมี มข. 54
ข้อสอบเคมี มข. 54 ข้อสอบเคมี มข. 54
ข้อสอบเคมี มข. 54
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
 
การเตรียมสารละลาย
การเตรียมสารละลายการเตรียมสารละลาย
การเตรียมสารละลาย
 
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
 
ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)
 
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
 
Entrance Rate
Entrance RateEntrance Rate
Entrance Rate
 
2
22
2
 

Similar a โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย

โจทย์อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
โจทย์อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีโจทย์อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
โจทย์อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีatichat44164
 
โควต้ามช เคมี ปี41
โควต้ามช เคมี ปี41โควต้ามช เคมี ปี41
โควต้ามช เคมี ปี41Angkana Potha
 
Chem
ChemChem
Chemaom08
 
Quemarch48 130814115357-phpapp02
Quemarch48 130814115357-phpapp02Quemarch48 130814115357-phpapp02
Quemarch48 130814115357-phpapp02SasipraphaTamoon
 
กสพท. เคมี 2562
กสพท. เคมี 2562กสพท. เคมี 2562
กสพท. เคมี 25629GATPAT1
 
1.เก็งข้อสอบ a net วิชาเคมี ชุดที่ 1
1.เก็งข้อสอบ a net วิชาเคมี ชุดที่ 11.เก็งข้อสอบ a net วิชาเคมี ชุดที่ 1
1.เก็งข้อสอบ a net วิชาเคมี ชุดที่ 1darkfoce
 
กสพท. เคมี 2560
กสพท. เคมี 2560กสพท. เคมี 2560
กสพท. เคมี 25609GATPAT1
 
ข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมีข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมีPorna Saow
 
ข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมีข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมีPorna Saow
 
ข้อสอบ a net เคมี 2550
ข้อสอบ a net เคมี 2550ข้อสอบ a net เคมี 2550
ข้อสอบ a net เคมี 2550Review Wlp
 
ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์Pipat Chooto
 
แนวข้อสอบโควตา
แนวข้อสอบโควตาแนวข้อสอบโควตา
แนวข้อสอบโควตาnam_supanida
 

Similar a โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย (20)

โจทย์อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
โจทย์อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีโจทย์อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
โจทย์อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
โควต้ามช เคมี ปี41
โควต้ามช เคมี ปี41โควต้ามช เคมี ปี41
โควต้ามช เคมี ปี41
 
Chem
ChemChem
Chem
 
Quemarch48 130814115357-phpapp02
Quemarch48 130814115357-phpapp02Quemarch48 130814115357-phpapp02
Quemarch48 130814115357-phpapp02
 
กสพท. เคมี 2562
กสพท. เคมี 2562กสพท. เคมี 2562
กสพท. เคมี 2562
 
1.เก็งข้อสอบ a net วิชาเคมี ชุดที่ 1
1.เก็งข้อสอบ a net วิชาเคมี ชุดที่ 11.เก็งข้อสอบ a net วิชาเคมี ชุดที่ 1
1.เก็งข้อสอบ a net วิชาเคมี ชุดที่ 1
 
กสพท. เคมี 2560
กสพท. เคมี 2560กสพท. เคมี 2560
กสพท. เคมี 2560
 
Metal
MetalMetal
Metal
 
ข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมีข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมี
 
ข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมีข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมี
 
Rate012
Rate012Rate012
Rate012
 
ข้อสอบ a net เคมี 2550
ข้อสอบ a net เคมี 2550ข้อสอบ a net เคมี 2550
ข้อสอบ a net เคมี 2550
 
Que oct 47
Que oct 47Que oct 47
Que oct 47
 
ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์
 
Sk7 ch
Sk7 chSk7 ch
Sk7 ch
 
Sk7 ch
Sk7 chSk7 ch
Sk7 ch
 
9 วิชาสามัญ เคมี 59
9 วิชาสามัญ เคมี 599 วิชาสามัญ เคมี 59
9 วิชาสามัญ เคมี 59
 
แนวข้อสอบโควตา
แนวข้อสอบโควตาแนวข้อสอบโควตา
แนวข้อสอบโควตา
 
Chemical
ChemicalChemical
Chemical
 
1 atomic weight
1 atomic weight1 atomic weight
1 atomic weight
 

โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย

  • 1. เฉลยข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัยระบบใหม่ ครั้งที่ 2/2543 ตุลาคม 2543 มวลอะตอมที่กำาหนดให้
  • 2. H=1 C=12 N=14 O=16 Na=23 Mg=24 P=31 S = 32 Ca=40 Cl=35.5 Cr=52 Fe=56 Cu=63.5 Sb=122 I=127 ตอนที่ 1 ข้อ 1 / 50 1. ปัจจัยใดต่อไปนี้มีผลต่อความดันไอของของเหลว 1. แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของของเหลว 2. ปริมาณของของเหลวซึ่งมีสมดุลของของเหลวและไอ 3. อุณหภูมิของของเหลว 1. ก เท่านั้น 2. ก และ ข เท่านั้น 3. ก และ ค เท่านั้น 4. ก, ข และ ค 2. ข้อมูลแสดงค่าพลังงานที่เกี่ยวข้องกับการละลายของสาร A , B และ C เป็นดังนี้ สาร พลังงานไฮเดรชัน ( kJ / พลังงานแลตทิซ ( kJ / mol ) mol ) A 745 750 B 590 550 C 690 700 ถ้าใช้สาร A , B และ C จำานวนโมลเท่ากันละลายในนำ้าที่มีปริมาตร 100Ccm3 การ เปรียบเทียบ อุณหภูมิของแต่ละสารละลาย ข้อใดถูก 1. A > B > C 2. B > A > C 3. B > C > A 4. C > A > B 3. นักเรียนผู้หนึ่งทำาการททดลองเกี่ยวกับสมบัติของสารละลายพบว่าตัวทำาละลาย X มีจุดเยือกแข็งที่ 5. 5 o C นำาสารประกอบ X 0 . 2 โมล มาละลายในตัวทำาละลาย X 100 cm 3 พบว่าจุดเยือกแข็ง เปลี่ยนเป็น -4.3 o C ถ้านำาสารประกกอบ Z 8.4 g. มาละลายในตัวทำาละลาย X 50 cm3 จุดเยือกแข็งขอองสาร ละลายเป็น –4.3 o C เช่นเดียวกันถ้าสารประกอบ Z ประกอบด้วยธาตุคาร์บอนร้อยละ 85.71 ธาตุ ไฮโดรเจนร้อยละ 14.29 โดยโมล สูตรโมเลกุลของสารประกอบนี้จะเป็นดังข้อใด
  • 3. 1. C6H6 2. C6 H12 3. C 9H8 4. C9 H14 4. ถ้าการแยกสารด้วยวิธีโครมาโทกราฟโดยใช้กระดาษกรองเป็นตัวดูดซับได้ผลดังนี้ จุด X = สาร A บริสทธิ์ ุ จุด y= สารตัวอย่างประกอบ ด้วยสาร A และสาร B ข้อสรุปใดน่าจะเป็นไปได้ ก. สาร A และสาร B มีค่า Rf เท่ากัน จึงแยกสาร A และ B ออกจากกันไม่ได้ด้วยวิธี การนี้ 2.สาร B อาจเป็นสารไม่มีสี จึงควรตรวจสมบัติตอไปโดยผ่านแสงอัลตราไวโอเลต ่ 3.สาร A และสาร B เคลือนที่ไปบนตัวดูดซับได้ใกล้เคียงกัน จึงควรทำาการทดลองซำ้าโดย ่ เปลี่ยน ตัวทำาละลาย 1. ก เท่านั้น 2. ข เท่านั้น 3. ก และ ข 4. ข และ ค 5. แร่ตัวอย่างหนัก 1.12 g. นำามาวิเคราะห์หาปริมาณ Fe ( ΙΙΙ ) โดยทำาปฏิกิรยากับ ิ สารละลาย KΙ ความเข้มข้น 1 mol / dm-3 ปริมาตร 10 cm3 เกิดแก็ส Ι 2 44.8 cm3 ที่ STP ปฏิกิริยาเกิดขึ้นดัง สมการ Fe ( ΙΙΙ ) + 2 Ι( aq ) → FeΙΙΙ ) + Ι 2 ( g ) ( แร่ตัวอย่างนี้มีเหล็กในรูป Fe ( ΙΙΙ ) อยู่ร้อยละเท่าใดโดยมวล 1. 10 2. 25 3. 50 4. 100 6.ปฏิกิริยาระหว่างสารประกอบ สมมติ A และ B เป็นดังสมการ A + 3B → 4C จากการทดลองเพื่อการทดสอบประสิทธิภาพของปฏิกิริยานี้ พบว่าร้อยละของผลได้ มีค่า 75 % ถ้าต้องการเตรียมสารประกอบ C 6 โมล จะต้องใช้ A และ B A B 1. 1 3 2. 1.1 3.3
  • 4. 3. 1.5 4.5 4. 2 6 7. ข้อใดถูก สูตรเคมี นำ้าหนักสาร จำานวนโมเลกุล ชนิดของสารประกอบ 1. NO2 2.3 0.05 x โคเวเลนต์ โคเวเลนต์ 2. N ( CH3)3 1.18 1023 ไอออนิก 3. NaCl 5.85 1.2 ไอออนิก 4. H2SO4 4.9 x 10 22 2 x 1022 0.10 x 1023 8. โลหะ A 2 mol ถูกยิงด้วยอนุภาค จนอิเล็กตรอนกระเด็นออกไปเกิดเป็น A3+ ไอออน ร้อยละ 0.10 อิเล็กตรอน ทีกระเดนออกไปมีจำานวนเท่าใด ่ 1 . 1.8 X 1021 2. 3.6 X 10 21 3. 1.2 X 1024 4. 3.6X 1024 9. พิจารณาตารางข้อมูลต่อไปนี้ ΙE พลังงานไอออไนเซชัน ( MJ / moI-1 ) ธาตุ ΙE 1 ΙE 2 ΙE 3 ΙE 4 ΙE 5 ΙE 6 ΙE 7 ΙE 8 Ι E 9 Ι E 10 Ι E 11 X 1.7 3.4 6.1 8.4 11. 15. 17. 92. 106 0 2 9 1 .4 Y 0.5 4.6 6.9 9.6 13. 16. 20. 25. 28. 141 159 4 6 1 5 9 .4 .1 ข้อสรุปใดผิด 1. อิเล็กตรอนในระดับพลังงาน n= 1 ของ X ต้องคายพลังงาน 90.15 MJ / mol เพื่อจะไปอยูที่ระดับ ่ พลังงาน n =2 2. ผลต่างของระดับภพลังงาน n=2 และ n = 1 ใน Y จะมากกว่าใน X 3. ธาตุ X เป็นธาตุหมู่เดียวกับ 53 Ι 4. สาประกอบระหว่าง Y กับ X เป็นสารประกอบไอออนิก 10.พิจารณาแผนภาพต่อไปนี้ รูปใดแสดงการจัดเรียงอิเล็กตรอนในสภาวะพื้นของอะตอมไม่ถกต้อง ู
  • 5. 1. 1 และ 2 เท่านั้น 2. และ 3 เท่านั้น 3. 1 และ 3 เท่านั้น 4. 1 , 2 และ 11. X , Y และ Z ดังนี้ กำาหนดข้อมูลของธาตุ Ι ธาตุ X มี ΙΕ 1 < ΙΕ 2 << ΙΕ 3 ΙΙ ธาตุ Y มี เป็นธาตุหมู่เดียวกับ 13AI ΙΙΙ ไอโซโทปหนึ่งของธาตุ Z ไม่มีนิวตรอน สูตรของสารประกอบซัลไฟด์ของ X และ Y , Z ควรเป็นข้อใด 1. X S Y2S3 Z2S 2. XS Y2S3 ZS 3. XS Y3S2 ZS 4. XS Y3S2 Z2S 12. ธาตุสมมติ X2 . 17 Y และ 35Z มีสตรโมเลกุลเป็น ู x2 Y2 และ Z 2 ตามลำาดับ เกิด สารประกอบไอออนิก กับโพแทสเซียม เมือพิจารณาผลการทดลองต่อไปนี้ ่ Ι เมื่อนำาสารละลาย KX มาทำาปฏิกิริยากับ Y2 พบว่าไม่เกิดการเปลี่ยนแปลง ΙΙ เมือนำาสารละสาย KZ มาทำาปฏิกิริยากับ Y2 พบว่าจะได้ Z2 เกิดขึ้น ่ ข้อสรุปใดถูกต้อง 1. X เป็นตัวรีดิวซ์ที่ดกว่า Y และ Z ี 2. เมื่อผสมสารละสาย KY กับ X2 จะไม่มการเปลี่ยนแปลงใดเกิดขึ้น ี 3. เวเลนซ์ อิเล็กตรอนของ X หลุดได้ง่ายกว่าเวเลนซ์อิเล็กตรอนของ Y- - และของ Z- 4. เมื่อผสมสารละลาย KZ กับ X-2 จะเกิด Z 2 และ KX ขึ้น 13. ในการละสายตัวของ 238 U92 ประกอบด้วยขั้นตอนต่าง ๆ 14 ขั้นตอน แต่ละขั้นตอนให้ อนุภาคต่าง ตามลำาดับดังนี้ .β βαα α α α β α β β β และ ผลผลิตในขั้น ตอนที่ 14 คือ ข้อใด 210 206 1. 222 Rn 86 2. 84 Po 3. 82 Pb 206 4. 76 Os 14.การเปรียบเทียบจำานวนอิเล็กตรอนคู่โดดเดียวของอะตอมกลางต่อไปนี้ ่ ข้อใดถูก 1. NH3>NO 3>ClO 4 - - 2. NCl3>NO3- >ClF3 3. ClO4->ClO-3>NO-3 4. ClF3>NCl3>ClO-3 15.สารประกอบทีเกิดจากการรวมตัวของธาตุหมู่ต่าง ๆ ต่อไปนี้ ข้อใดมีรายละเอียดถูกต้อง (เลขอะตอม ของธาตุทั้งหมดตำ่ากว่า 50 )
  • 6. หมู่ของธาตุ ที่เป็นองค์ อัตราส่วนอะตอม จุดเดือด การละลายนำ้า/สมบัติ ประกอบ 1. I กับ VI 1:2 สูง ละลาย/เบส ตำ่า 2. V กับ VI 2:3 ตำ่า ละลาย/กรด 3. II กับ VII 1:2 สูง ละลาย/กลาง 4. II กับ IV 1:1 ไม่ละลาย 16.กำาหนค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตี (E.N) ของอะตอมบางชนิด อะตอม E.N Si 1.90 H 2.20 S 2.58 Br 2.96 Cl 3.16 สภาพมีขั้วของพันธะโควาเลนต์ต่อไปนี้ ข้อใดเรียงลำาดับจากมากไปน้อยได้ถกต้อง ู 1. H-Cl, H-Br, Si-S, Si-H 2. H-Cl, Si-S, Si-H, H-Br 3. H-Cl, H-Br, Si-H, Si-S 4. Si-H, Si-S, H-Br, H-Cl 17.กำาหนดพลังงานพันธะเฉลี่ย พันธะ พลังงา พันธะ พลังงาน รพันธะ(kJ/mol) พันธะ(kJ/mol) C-H 415 O=O 500 C-C 340 O-O 140 C=C 610 C-O 350 C≡C 840 O-H 460 C=O 740 ปฎิกิริยาในข้อใดคายพลังงานมากที่สุด 7 1. CH3-CH3+ O 2 → 2CO2+3H2O 2 2. CH2=CH2+3O2 → 2CO2+2 H2O
  • 7. 5 3. CH ≡ CH+ O 2 → 2CO2+ H2O 2 4. CH3-CH-CH+3O2 → 2CO2+3H2O 18.ไอออนหรือโมเลกุลใดมีรูปร่างโมเลกุลเหมือนกัน และมีสภาพมีขั้วของโมเลกุลชนิดเดียวกัน 1. BeCl2(g) CO2 2. PCl5 ClF5 3. CCl4 XeF4 4. BCl3 PCl3 19.ถ้า O,P,Q และ R เป็นธาตี่มีเลขอะตอม 7,11,17 และ 20 ตามลำาดับ สูตรของสารประกอบ ข้อใดเป็นไปได้ 1. OQ 2. PO 3. Q2P3 4. R3O2 20.C5H10 เป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่มีหลายไอโซเมอร์ ไอโซเมอร์เหล่านี้มีสตรโครงสร้างเป็นแบบ ู วงโซ่ตรง และโซ่กิ่ง ข้อใดเป็นจำานวนไอโซเมอร์ทถูกต้องทั้ง ี่ 3 แบบ แบบวง โซ่ตรง โซ่กิ่ง 1. 2 3 2 2. 3 2 3 3. 3 3 2 4. 4 2 3 21. สาร A ประกอบด้วยธาตุ 3 ชนิดคือ X.Y และ Z สาร A เป็นสารที่เสถียรและมีโครงสร้างดังนี้ ธาตุ X,Y,Z ควรเป็นธาตุดังข้อใด X Y Z 1. N P Cl 2. O S Cl 3. P C F 4. N C H 22. สารประกอบในข้อใดที่ทกสารมีหมู่คาร์บอนีลอยู่ในโมเลกุล ุ ก. CH3COCH2COOCH3,CH3CH2CH2CHO , CH3CH2COCH2CH3
  • 8. ข. CH3COCH2COOCH3, CH3OCH3, CH3CH2OCH2CH2OH ค. ง. 23.แก๊สผสมประกอบด้วย C2H6 , C 2 H4 และ C 2 H2 เมื่อเผาไหม้อย่างสมบูรณ์จะต้องใช้แก๊ส O2 อย่างน้อยกี่ โมลและเกิด CO2 กี่ dm ที่ STP 3 ใช้ O2(mol) เกิด CO2(dm3) 1. 6 67.2 2. 9 134.4 3. 89.6 12 224.0 4. 15 ตัวเร่งปฏิกิริยา 24.โพรพานาไมด์ + H 2O สาร A + สาร B ความร้อน สาร B เปลียนสีกระดาษลิตมัสจากสีแดงเป็นสีนำ้าเงิน ่ พิจารณาข้อความต่อไปนี้ 1. สาร B คือเอมีน 2. หมู่ฟังก์ชันของสาร A คือ -OH 3. สาร A ทำาปฏิกิริยากับโลหะโซเดียมเกิดแก๊สไฮโดรเจน 4. สาร A ทำาปฏิกิริยากับกรดเอทาโนอิกโดยมีกรดซัลฟิวริกเป็นตัวเร่งปฏิกิริยาได้โพรพิลเอทาโน เอต 25.สาร A,B และ C เป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอน เมื่อนำาสาร A ทำาปฏิกิริยากับสารละลาย โพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนต และนำาสาร B และ C ทำาปฏิกิริยากับสารละลายโบรมีนในที่สว่างจะ เกิดปฏิกิริยา ดังสมการ A + KMnO4 + H 2O → C 3H 6O2 B + Br2 → C 3H 6Br C + Br2 → C3H5Br + HBr ข้อต่อไปนี้ข้อใดถูกต้อง 1. สาร A มีสตรโมเลกุล ู C 3H4 ข. สาร B และ C เป็นไอโซเมอร์กัน ค. สาร C ฟอกสีสารละลายโพเเทสเซียมเปอร์แมงกาเนต
  • 9. ง. สาร A 1 mol เกิดปฏิกริยาการเผาไหม้อย่างสมบูรณ์ได้แก๊ส ิ คาร์บอนไดออกไซด์และนำ้าอย่างละ 3 โมล 1. ก และ ข เท่านั้น 2. ค และ ง เท่านั้น 3. ก, ค และ ง 4. ก ,ข และ ค 26.สาร X สามารถสลายตัวได้ดังสมการ 3X → 5Y + 6 Z เมื่อวัดความเข้มข้นของสารละลาย x ในขณะที่เกิดปฏิกิริยาสลายตัวพบว่าได้ข้อมูลดังตาราง ต่อไปนี้ เวลา (วินาที) (X) (mol / dm3) 0.00 1.00 5.00 0.850 10.00 0.750 15.00 0.700 20.00 0.670 ถ้าอัตราการเกิดปฏิกิริยาในช่วงเวลา 15 ถึง 20 วินาที มีค่าคงที่ และมีค่าเท่ากับอัตราการ เกิดปฏิกิริยาเฉลี่ย ในช่วงนี้ ความเข้มข้นของสาร X mol / dm3 ในหน่วย ทีเวลา ่ 17 วินาที มีค่าเท่าใด 1. 0.670 2. 0.688 3. 0.690 4. 0.700 27.เปรียบเทียบสารอินทรีย์แต่ละคู่ตอไปนี้ ่ สารใดละลายนำ้าได้ดีว่ากัน ก. กรดเอทาโนอิกกับบิวทานอล ข. กรดบิวทาโนอิกกับกรดโพรพาโนอิก ค. บิวทานอลกับเพนทานอล ง. โพรพาโนนกับโพรพานาล ก ข ค ง 1. กรดเอทาโนอิก กรดโพรพาโนอิก บิวทานอล โพรพาโนน กรดโพรพาโรอิก เพนทานอล โพรพาโนน 2. กรดเอทาโนอิก กรดบิวทาโนอิก บิวทานอล โพรพานาล 3. บิวทานอล กรดบิวทาโนอิก เพนทานอล โพรพานาล 4. บิวทานอล
  • 10. 28.พิจารณารูปต่อไปนี้ การเปรียบเทียบพลังงานก่อกัมมันต์ และการบอกชนิดของปฏิกิรยา ิ I และปฏิกิริยา II ในข้อใดถูก ต้อง พลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยา ปฎิกิริยาดูดความร้อน ปฎิกิริยาคายความร้อน 1. I = II I II 2. I > II I II 3. I < II II I 4. I II I = II 29. ปฏิกิริยาต่อไปนี้เกิดในสถานะแก๊ส และอัตราการเกิดปฏิกิริยาขึ้นกับความเข้มข้นของทั้งสาร A, และสาร B A + B→ C ก.- สาร A 1 mol ทำาปฏิกิริยากับสาร B 1 mol ในภาชนะขนาด 1 dm 3 ระบบ ข. – สาร A 2 mol ทำาปฏิกิริยากับสาร B 2 mol ในภาชนะขนาด 2 dm 3 ระบบ ระบบ ค. – สาร A 0.2 mol ทำาปฏิกิริยากับสาร B 0.2 mol ในภาชนะขนาด 0.1 dm3 จากข้อมูลข้างต้น จงหาว่า Ι Ι. ระบบใดได้สาร C มากที่สุดภายในเวลาที่กำาหนด ΙΙ. ระบบใดมีอตราการเกิดปฏิกิริยาสูงที่สูง ั Ι ΙΙ 1. ก ข ข ค 2. ค ข 3. ค ค 4.
  • 11. 30. ทีอุณหภูมิ 30OC ่ ปฏิกิริยา CO(g) + Cl2(g) COCl2(g) + 108 KJ มีความสัมพันธ์ ระหว่างความเข้มข้นระหว่างเวลาเป็นดังกราฟต่อไปนี้ หลังจากระบบเข้าสู่สมดุลที่ 30OC แล้วถ้าเพิ่มอุณหภูมิเป็น 50OC กราฟของปฏิกิรยาควรดำาเนินต่อไป ิ อย่างไร 31.แก๊ส X และ Y ทำาปฏิกิริยาได้แก๊ส Z ดังสมการ . X(g) + 3Y (g) 2Z(g) ถ้าให้ X และ Y อย่างละ 0.1 mol ทำาปฏิกิริยากันในกระบอกสูบขนาด 500 cm 3 จนเข้าสู่สภาวะสมดุล ข้อใดถูกต้อง 1. เมือขยายปริมาตรของกระบอกสูบจะได้ Z น้อยลง ่ ΙΙ 2.ค่าคงทีสมดุลของปฏิกิริยานี้แปรผันโดยตรงกับความเข้มข้นของ Z และแปรผกผันกับ X และ Y ่ 3. ที่ภาวะสมดุลจะมีแต่แก๊ส X และ Y ในกระบอกสูบ ΙΙΙ 4. ถ้าเพิ่มปริมาณสารตั้งต้น Y เป็น 0.3 mol ทีสภาวะสมดุลใหม่ X และ Y จะทำา ่ ปฏิกิริยากันหมดพอดี
  • 12. 32. ปฏิกิริยาข้อใดไม่ใช่ปฏิกิริยากรด - เบส 1. 2. 3. 2CH3COOH + 2Na → 2CH3COONa + H2 4. CH3COOH + NH3 → CH3COONH4 33. พิจารณาปฏิกิริยาสมมติตอไปนี้ ่ A + B 2C จากการทดลองได้ข้อมูลความเข้มข้นเริ่มต้นและความเข้มข้นที่สภาวะสมดุลของสารต่างๆใน ปฏิกิริยานี้ การทดลองที่ ความเข้มข้นเริ่มต้น mol / dm3 ความเข้มข้นที่สภาวะสมดุล mol / dm 3 [ A] [ B] [ C] [ A] [ B] [ C] 1. 0.04 0.04 0 0.02 M N 2. 0.03 0.02 0 X y z ถ้าการทดลองที่ 1 และ 2 ที่ทำาอุณหภูมิ 30 o C ค่า Z จะเป็นเท่าใด 1. 0.010 2. 0.012 3. 0.020 4. 0.024 34. นำ้าส้มสายชูตัวอย่างมีกรดอะซีตกอยู่รอยละ ิ ้ 4.8/ โดยมวล ปริมาตร ในการไทเทรตนำ้าส้ม สายชูกับสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์พบว่านำ้าส้มสายชู 10 cm 3 ทำาปฏิกิริยาพอดีกับสารละลาย NaOH 20 cm3 จงหาความเข้มข้นของสารละลาย NaOH ในหน่วยร้อยละโดยมวล / ปริมาตร 1. 1.0 2. 1.6 3. 2.0 4. 2.4 35. สารละลายกรด HA ความเข้มข้น 1 × 10-3 mol / dm3 ปริมาตร 10 cm3 ร้อยละ การแตกตัวของกรด เท่ากับ 10 สารละลายนี้มี pH เท่าใด และมีค่า Ka โดยประมาณเท่าใด pH K a (ประมาณ) 1. 3 1 × 10-3 2. 4 1.0 × 10-5 3. 5 1.0 × 10-4 4. 6 1.0 × 10-5
  • 13. 36. จากข้อมูลอินดิเคเตอร์และช่วง pH ของการเปลี่ยนสี ดังตาราง อินดิเค ช่วง pH สีที่เปลี่ยน เตอร์ ก 3.2- 4.4 แดง – เหลือง ข แดง – เหลือง ค 4.2- 6.3 เหลือง – นำ้าเงิน ง 6.0– 7.6 เหลือง – แดง 6.8 – 8.4 ข้อใดแสดงอินดิเคเตอร์ที่เหมาะสมสำาหรับการบอกจุดยุติของการไทเทรต 1. ไทเทรต NH4OH ด้วย HCI ใช้อินดิเคเตอร์ ค 2. ไทเทรต HNO3 ด้วย NaOH ใช้อินดิเคเตอร์ ง 3. ไทเทรต CH3COOH ด้วย NaOH ใช้อินดิเคเตอร์ ก 4. ไทเทรต NH4O H ด้วย HCN ใช้อินดิเคเตอร์ ข 37. สาร A และ B คูใดเมื่อผสมกันได้สารละลายบัฟเฟอร์ ่ A สาร B สาร 1. CaCO3 หนัก 40 g HNO3 0.1 mol 2. NH4OH 1 mol / HCl 0.1 mol dm3 100 cm3 NH4Cl 0.2 mol 3. CH3COOH 0.1 mol NaOH 1 mol / 4. H3PO4 1 mol / dm3 50 cm3 dm3 50 cm3 38. สาร A ประกอบด้วยฟอสฟอรัสและคลอรีน นำาสาร A 13.75 กรัม ไปทำาปฏิกิริยา กับนำ้าจน ปฏิกิริยาสิ้นสุด ได้กรดฟอสฟอริก 9.8 กรัม และกรดไฮโดรครอริก 10.95 กรัม สาร A ประกอบด้วย คลอรีนร้อยละเท่าใดโดยมวล 1. 22.5 2. 25.8 3. 53.3 4. 77.5 39. เมื่อผสมสาร 2 ชนิดเข้าด้วยกันในขวดใบที่ 1 แล้วผ่านแก๊สที่เกิดขึ้นลงในสารละลาย Ca (OH)2 ซึ่งอยู่ ในขวดใบที่ 2 จะทำาให้สารละลายขุ่น เมื่อนำาสารละลายผสมในขวดใบที่ 1 ไประเหยจน แห้ง จะได้ของ แข็งสีขาว สารผสมในข้อใดเป็นไปได้ ก. HNO3 (aq) + CuCO3 (s) ข.. CH3COOH(aq) + NaHCO3(a) ค.HCl (aq) + Na2 CO3 (aq) ง. NH2 CONH2 (aq) + H2O(l)มียูรีเอสอยูด้วย ่ 1. ก และ ข เท่านั้น 2. ข และ ค เท่านั้น 3. ก , ข และ ค เท่านั้น 4. ก, ข , ค และ ง
  • 14. 40.กำาหนดสูตรเคมีตอไปนี้ CaF2 . 3Ca3(PO4)2 ; Sb2S3 . 3H2O; Na2ZrSiO5 ่ ถ้าเลขออกซิเดชันของ Si = 4 พิจารณาเลขออกซิเดชันในข้อต่อไปนี้ ก. เลขออกซิเดชันของ P สูงกว่า +3 และของ Sb ตำ่ากว่า +5 ข. เลขออกซิเดชันของ Sb สูงกว่า +2 และของ Zr ตำ่ากว่า +1 ค. เลขออกซิเดชันของ Zr สูงกว่า +1 และของ P เท่ากับ +5 ง. เลขออกซิเดชันของ Zr เท่ากับ 0 และของ Sb สูงกว่า +3 ข้อใดผิด 1. ก และ ข 2. ก และ ค 3. ข และ ง 4. ค และ ง 41. นักเรียนผู้หนึ่งละลายคลอไรด์ของธาตุ M ปริมาณ 0.05 mol ในนำ้ากลั่น แล้วปรับป ปริมาตรให้เป็น 500 cm3 จากนั้นนำาสารละลายที่ได้ปริมาตร 12.5 cm3 ไปทำาปฏิกิริยาพอดีกับ สารละลายซิลเวอร์ไน- (AgNO3) เตรด เข้มข้น 0.10 mol dm3 ได้ตะกอนซิลเวอร์คลอไรด์ สารประกอบ คลอไรด์ขอองธาตุ M มีสตรเป็นอย่างไร ู 1.MCl 2. MCl2 3. MCl3 4. MCl4 Ις ς กำาหนดค่าศักย์ไฟฟ้ามาตรฐาน ปฏิกิริยาครึ่งเซลล์ Eo (V) A2 + 2H+ + 2e- → H 2 A2 +0.68 3+ B + e - → B2+ +0.80 C2 + 2e- → 2C- +1.07 D4 + e- → D3+ +1.45 ปฏิกิริยาใดต่อไปนี้เป็นปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นได้เอง ก. 2B3+ + H2 A2 2B2+ + A2 + 2H+ ข. A2 + 2H+ + 2C- H 2 A 2 + C2 ค. D4+ + B2+ D3+ + B3+ ง. 2B3+ 2C- 2B2+ + C2
  • 15. 1. ก และ ข 2. ข และ ค 3. ค และ ง 4. ก และ ค 43. พิจารณาปฏิกิริยา Cr (OH)3 + ClO- CrO2-4 + Cl- + H2O (สมการยังไม่ดล) จะต้อง ุ ใช้ NaOCl กีกรัมเพื่อทำาปฏิกิริยาพอดีกับ Cr (OH)3 1 mol ่ 1. 74.5 2. 77.2 3. 111.8 4.223.5 44. พิจารณาสูตรโครงสร้างของผงซักฟอก 2 ชนิดต่อไปนี้ ข้อความใดผิด 1. ผงซักฟอกมีประสิทธิภาพซักล้างในนำ้ากระด้างดีกว่าสบู่ เพราะหมู่ ช่วยลด ความกระด้างของนำ้า 2. ระบบเอนไซม์ขอองจุลินทรีย์สามารถย่อยสลายผงซักฟอกชนิด ข ได้อย่างดี จึงไม่กอให้เกิด ่ ปัญหาต่อสภาวะแวดล้อม 3. ระบบเอนไซม์ของจุลินทรีย์ไม่สามารถย่อยสลายผงซักฟอกชนิด ก ได้ จึงก่อให้เกิดปัญหาต่อ สภาวะแวดล้อมอย่างมาก 4. สารฟอตเฟตในผงซักฟอกทีอยู่ในนำ้าทิ้ง เมือปะปนในแม่นำ้าลำาคลองทำาให้สาหร่ายและวัชพืชเจริญ ่ ่ งอกงามและแพร่พันธุ์อย่างรวดเร็ว จึงก่อให้เกิดปัญหาต่อสิ่งแวดล้อม 45. กำาหนดให้ X2+ (aq ) + 2e-  X(S) → EO=+0.30 V Y3+(aq)+3e-  Y(S) → EO=+0.90 ถ้านำาครึ่งเซลล์X|Y (aq)มาต่อกับครึ่งเซลล์Y|Y3+ (aq) 3+ ที่ภาวะมาตรฐานข้อใดถูก ต้อง แคโทด แอโนด ตัวออกซิไดส์ ตัวรีดิวซ์ ςΙ 1. Ξ Y X X2+ Y ςΙΙ 2. ΞΙ Y X Y3+ X ςΙΙΙ3. ΞΙΙX Y Y3+ X ΙΞ 4. X Y X2+ Y 46. ปัจจัยในข้อใดที่ทำาให้โปรตีนแปลงสภาพ
  • 16. ก. การให้ความร้อน ข. ตัวทำาละลายอินทรีย์ ค. ไอออนของโลหะหนัก ง. การใช้กรด และเบส ข้อใดถูกต้อง 1. ก และ ข เท่านั้น 2. ค และ ง เท่านั้น 3. ก เท่านั้น 4. ก , ข , ค และ ง 47. กำาหนดพอลิเมอร์ มีสูตรดังนี้ ข้อใดถูก พอลิเเมอร์ ชนิด ปฏิกิริยาการเกิด 1. ก โฮโมพอลิเมอร์ การควบแน่น ข โฮโมพอลิเมอร์ การควบแน่น 2. ค โคพอลิมอร์ การเติม 3. ง โคพอลิเมอร์ การควบ 4. 48. ข้อใดเป็นการเลือกปฏิบติได้เหมาะสมทีสุด ั ่ 1. เก็บขวดนำ้าพลาสติกไม่ใช่แล้วไว้ใส่นำ้ามันเบนซิน 2. ใช้ถ้วยชามที่ผลิตจากพอลิเอทิลีนอุ่นอาหารในเตาไมโครเวฟ 3. ใช้ภาชนะที่เคลือบด้วยพอลิเตตระฟลูออโรเอทิลีนในการทอดปลา 4. เก็บรวบรวมถ้วยชามประเภทเมลานีนที่ชำารุดไว้เพื่อการนำากลับไปใช้ใหม่ 49.การถลุงแร่ในข้อใดที่มีหลักการในการถลุงเหมือนกัน ก. สังกะสี ข. แคดเมียม ค. ดีบก ุ ง. พลวง 1. ก และ ข 2. ข และ ค 3. ก , ข และ ง 4. ก , ค และ ง 50.ข้อใดต่อไปนี้ ไม่ถกต้อง ู 1.มลพิษทางนำ้าที่เป็นสารจำาพวกฟอตเฟตได้มาจากการใช้ปุ๋ยเคมี ยากำาจัดวัชพืช และผงซักฟอก ΞΙΙΙ2.สาร CFC และ DDT เป็นสารมลพิษที่มฮาโลเจน เป็นองค์ประกอบแต่สารไดออกซินเป็น ี สารมลพิษที่ไม่มีฮาโลเจน ΞΙς3. แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ปริมาณมากเกิดจากการเผาไหม้เชื้อเพลิงเป็นสาเหตุหลักของการเกิด ปรากฏ การณ์เรือนกระจก 4.โอโซนเป็นแก๊สที่เป็นพิษเมื่ออยู่ในบรรยากาศระดับตำ่าแต่มีประโยชน์ในการป้องกันรังสี อัลตราไวโอเลต เมืออยู่ในบรรยากาศระดับสูง ่
  • 17. ตอนที่ 2 ข้อ 1–8 เป็นข้อสอบอัตนัย 1. X และ Y เป็นธาตุ 2 ชนิด หนึ่งโมเลกุลของ X มี 4 อะตอม และมีมวลโมเลกุล 124 หนึ่งโมเลกุลของ Y มี 2 อะตอม และมีมวลโมเลกุล 32 XY43- 1.505 × 1023 ไอออนคิดเป็นนำ้าหนักกี่ กรัม 2. ในการสังเคราะห์แสงขอสาหร่ายสีเขียวพบว่าใช้ CO2 6 × 10-3 mol / hour ถ้าการ สังเคราะห์แสงให้ ผลิตภัณฑ์เป็นแป้ง ( C6 H10 O5 ) เท่านั้น จะต้องใช้เวลากี่ชั่วโมงในการสังเคราะห์แสง เพื่อให้ได้แป้ง หนัก 1.62 กรัม 3. สารประกอบชนิดหนึ่งประกอบด้วย C , H และ O มี C ร้อยละ 39.13 และ O ร้อยละ 52.17 สาร ประกอบนี้มีสตรเอมิรคัลและสูตรโมเลกุลเหมือนกัน เมือนำาสารประกออบนี้หนัก ู ิ ่ 6.90 g ละลายใน เอทานอลจำานวนหนึ่งหาจุดเดือดของสารละลายได้ 80.90oC ถ้าจุดเดือดของเอทานอลเท่ากับ 78.50 C o และค่า Kb ของเอทานอลเท่ากับ 1.22oC mol-1kg-1 จงหานำ้าหนักเป็นกรัมของเอานอล ในสารละลาย 4.สารอินทรียชนิดหนึ่งมีธาตุ N เป็นองค์ประกอบ เมือสลายสารอินทรีย์นี้ 1.5 g แล้วผ่านแก๊ส ์ ่ NH3 ทีได้ลงในสารละลาย HCl เข้มข้น 0.10 mol dm-3 ปริมาตร 50 cm3 นำาสารละลาที่ ่ ได้มาไทเทรตด้วยสารละลายมาตรฐาน NaOH เข้มข้น 0.1 mol dm -3 ปรากฏว่าใช้ไป 30 cm จงหาร้อยละโดยมวลของไนโตรเจนในสารละลาย 3 5.ถ้าต้องการเตรียมสารละลาย CuSO4 เข้มข้น 0.1 mol dm-3 ปริมาตร 500 cm3 จาก CuSO4 . 5H2O ซึ่งมีความบริสุทธิ์ร้อยละ 99.8 จะต้องใช้ CuSO4 . 5H2O หนักกีกรัม ่ 6.นำ้ามันชนิดหนึ่งประกอบด้วยกรดไขมันร้อยละ 21.4 โดยมวล โดยเป็นกรดไขมัน 3 ชนิดคือ A,B และ C ซึ่งมีอตราส่วนจำานวนโมลเป็น 2 : 1 : 1 ตามลำาดับ ั กรด สูตรทั่วไป มวลโมเลกุล A C15 H29 254 B COOH 280 C C17 H31 COOH 282 C17 H33 COOH
  • 18. ถ้าพันธะคู่ 1 พันธะ ทำาปฏิกิริยากับ 2 1 โมเลกุล นำ้ามัน 100 g จะทำา ปฏิกิริยาพอดีกับ 2 กีกรัม ่ 7. นำาแร่พลวงเงินที่มี Sb2S3 34% หนัก 200 กรัม มาเผาให้ร้อนจัด ( อย่างแรง ) จน กำามะถันในแร่พลวง เงินเปลี่ยนเป็น SO2 จนหมด จงคำานวณหาปริมาตรของ SO2 ที่เกิดขึ้นเป็นลูกบาศก์เดซิเมตร ที่ STP 8. นักเรียนคนหนึ่งทำาการทดลองหาร้อยละโดยมวลของแป้งในยาลดกรด ซึ่งมีส่วนผสมของ MgCO3 และแป้งดังนี้ 1. ชังยาลดกรด ่ 1.00 g บดให้ละเอียดละลายในนำ้ากลั่น 20 cm3 Ξς เติมสารละลาย HCI เข้มข้น 1.00 mol dm -3 ปริมาตร 20 cm3 ลงในสารละลายในข้อ 1 นำาไปอุ่น 3. กรอง ล้างภาชนะด้วยนำ้ากลั่นปริมาณเล็กน้อย แล้วเทชะบนกระดาษกรอง 2- 3 ครั้ง 4. ทำาสิ่งทีกรองได้ให้มีปริมาตร 100 cm 3 ่ ในขวดวัดปดริมาตร 5. ปิเปตสารละลายในข้อ 4 มา 10cm 3 ไทเทรตด้วยสารละลาย NaOH เข้มข้น 0.20 mol dm-3 ที่ จุดยุติใช้สารละลาย NaOH 5.0 cm 3 จงคำานวณหาร้อยละโดยมวลของแป้งในยาลดกรด
  • 19. ตอนที่ 1 1. เฉลยข้อ 3 แนวคิด ถูก เพราะปัจจัยที่มีผลต่อ ความดันไอของของเหลว คือ 1. แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของของเหลวความดันไอของของเหลวเป็นสัด ส่วนกลับแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของของเหลว 2. อุณหภูมิ ความดันไอของของเหลว เป็นสัดส่วนตรงกับอุณหภูมิ 2 เฉลยข้อ 2 แนวคิด ให้สาร A, B และ C ต่างใช้จำานวน 1 mol ละลายนำ้าที่ปริมาตร 100 cm3 สารในนำ้า ความร้อนของการ เหตุผล ละลาย A ดูดพลังงาน พลังงานไฮเดรชัน น้อยกว่าพลังงานแลตทิช = ดูดพลังงาน B ดูดพลังงาน 750-745 = 5 C พลังงานไฮเดรชัน มากกว่าพลังงานแลตทิช = 590-550 = 40 พลังงานไฮเดรชัน น้อยกว่าพลังงานแลตทิช 700 - 690 = 10 การเปรียบเทียบอุณหภูมิของแต่ละสารละลาย B > A > C 3. เฉลยข้อ 2 M แนวคิด สมมติให้ความหนาแน่นของตัวทำาละลาย X = x g/cm3 สูตร d V M = dV X 100 cm3 ตัวทำาละลาย มีมวล = 100 X g. และตัวทำาละลาย X 50 cm3 มีมวล = 50X g.
  • 20. 0.2 สารละลาย Y ใน X มีความเข้มข้น =  (100X )  =  Kg  1000  2 mol / kg X สูตร ∆Tf = K f × m 2 แทนค่า (5.5 – (-4.3) ) = K f ×  X สารละลาย Z ใน X m1 × 1000 สูตร ∆Tf = Kf × m 2 × M.W 1 8.4 × 1000 แทนค่า (5.5 – (-4.3 ) ) = K f × ( 50X× M.W ) 1 2 8.4 × 1000 แต่ Kf × = K f × ( 50X× M.W ) X 1 1000 Z = 8.4 × 50M.W จะได้ 1 M. W 1 = 84 หาสูตรเอมพิริคล ั 85.71 14.29 C:H = : โดยมวล 12 1 7.14 14.29 C:H = : โดยโมล 7.14 7.14 C:H = 1.00 : 2.00 โดยโมล สูตรเอมพิรคัลของ Z ิ คือ C1 H2 ให้สตรโมเลกุล ( CH2 )n ู มวลโมเลกุลของ Z = 84 (12+2 ) = 84 ∴n = 6 สูตรโมเลกุล ( CH2 )6 จะได้ C6 H12 4. เฉลยข้อ 4 แนวคิด จากข้อมูลการทดลอง สรุปได้ว่า 1. ทีจุด Y สารตัวอย่าง ่ (A+B) แยกได้ 1 แถบ ซึ่งเคลื่อนที่ได้ระยะ ทางเท่ากับ สาร A บริสทธิ์ จากจุด ุ X ดังนั้น สาร B อาจเป็นสารไม่มีสี จึงควรตรวจสมบัตต่อ ิ ไปนี้ด้วยการผ่านแสงอัลตราไวโอเลต 2. สาร A และสาร B เคลื่อนที่ไปบนตัวดูดซับได้ใกล้ เคียงกันมาก จึงเห็นเป็น แถบเดียว จึงควรทำาการทดลองซำ้าโดยเปลี่ยนตัวทำาละลาย 5. เฉลย ไม่มีคำาตอบ
  • 21. แนวคิด เขียนสมการแสดงปฏิกริยาพร้อมดุล ิ แร่ตัวอย่าง 1.12 g KI ( aq ) 1 mol . dm-3 10 cm3 ↓ ↓ 2Fe (aq) 3+ 2I –(aq) → 2Fe 2 + (aq) + I 2 (aq) ↓ ↓ ↓  1 × 10  X g  mol  1000  44.8 cm3 ↓ ↓ X  mol  56   44.8   mol  22.4 × 1000  จากขัอมูลที่โจทย์ให้มากำาหนดทั้งจำานวนโมลของสารตั้งต้น KI และจำานวนโมลของ ผลิตภัณฑ์ I 2 ในการคำานวณจะต้องยึดเอาจำานวนโมลของผลิตภัณฑ์ I 2 เป็นหลัก กล่าวคือ KI จำาถูกใช้ทำาปฏิกิริยาหมดหรือไม่กตาม I 2 ต้องเกิดขึ้น ็ กับจำานวน 44.8 cm3 STP อย่างแน่นอน จึงใช้สารนี้เป็นหลักในการคำานวณ ดังนี้ 3+ โมล Fe 2 จากสมการ = โมลI2 I X  mol  56  2 =  44.8  I  mol  22.4 × 1000  2 × 44.8 × 56 ∴X = = 0.224g 22.4 × 1000 3+ แร่ตัวอย่าง 1.12 g มีเหล็กในรูป Fe = 0.224g แร่ตัวอย่าง 100 g มีเหล็กในรูป 0.224 × 100 Fe 3 + = = 20g 1.12 แร่ตัวอย่างมีเหล็ก = 20% โดยมวล 6.เฉลยข้อ 4 แนวคิด สมการของปฏิกิริยา ดังนี้
  • 22. A + 3B 4C ผลได้ของสาร c ที่คำานวณได้จากสมการของปฏิกิริยาเป็นผลได้ตามทษฏีของ สาร C=X mol ผลได้จริง ร้อยละของผลได้ = x 100 ผลได้ตามทษ ฏี 6 75 = x100 X 6 × 100 ∴X = = 8 mol 75 โมลA 1 โมลA 1 จากสมการ = แทนค่า = จะได้สาร โมลC 4 8 4 A = 2mol โมลB 1 โมลB 4 = แทนค่า = โมลC 4 8 3 จะได้สาร B = 6mol 7. เฉลยข้อ 2 2.3 แนวคิด ข้อ 1 ผิด NO2 มี = 0.05mol เป็นสารประกอบโคเวเลน 46 ต์ NO2 1 mol = มีจำานวน = 6.02 × 10 23 โมเลกุล NO2 0.05 mol = มีจำานวน 23 6.02 × 10 × 0.05 = 1 = 0.301 × 10 23 โมเลกุล   1.18 ข้อ 2 ถูก N (CH 3 ) 3 มี =  59  = 0.02mol เป็น   สารประกอบโคเวเลน N (CH 3 ) 3 1 mol มีจำานวน = 6.02 × 10 23 โมเลกุล N(CH 3 ) 1 mol มีจำานวน 23 6.02 × 10 × 0.02 = 1 = 1.204 × 10 23 โมเลกุล 5.85 ข้อ 3 ผิด NaCl มี = 0.1mol เป็น 58.5 สารประกอบไอออนิก
  • 23. NaCl มีจำานวน = 6.02 × 10 23 โมเลกุล NaCl 0.1 mol มีจำานวน 6.02 × 10 23 × 0.1 = 1 = 6.02 × 10 22 โมเลกุล ข้อ 4 ผิด H 2SO 4 เป็นสารประกอบโคเวเลนต์ไม่ใช่ สารประกอบไอออนิก 8. เฉลยข้อ 2 แนวคิด โลหะ A ถูกยิงด้วยอนุภาคแอลฟาเกิดอิเล็กตรอนกระเด็นออกไปเกิด A3+ ไอออน ร้อยละ 0.10 ดังสมการ A → A 3 + (g) + 3e − โลหะ A 100 mol A ทีถกอนุภาคแอลฟาเกิด ่ ู อิเล็กตรอนกระเด็นออกไป = 0.1 mol โลหะ A 2 mol A ทีถกอนุภาคแอลฟาเกิด ่ ู อิเล็กตรอนกระเด็นออกไป = 0.1 × 2 = 2 × 10 − 3 mol 100 จากสมการโลหะ A 1 mol เกิด A3+ และ อิเล็กตรอนทีกระเด็นออกไป ่ = 3 × 6.02 × 10 23 อนุภาค A 2 × 10 −3 mol เกิด A 3+ โลหะ และ อิเล็กตรอนทีกระเด็นออกไป ่ = 3 × 6.02 × 10 23 × 2 × 10 −3 อนุภาค 1 = 3.6 × 10 21 อนุภาค 9. เฉลยข้อ 1
  • 24. แนวคิด ธาตุ พลังงานไอออไนเซชัน IE 1 − IE 9 (MJ / mol ดังนี้ 1.73.46.18.411.015.9   .217 92.1106.4 X   n =2     n =1 พลังงานเฉลี่ย พลังงานเฉลี่ย 1 . 7 + 3 . 4 + 6 . 1 + 8 . 4 + 11 . 0 + 15 . 2 + 17 . 9 = = 7 92.1 + 106.4 2 63 . 7 = = 9.1 MJ 7 = 99.25 MJ Y 0.5 n = 3 พลังงานเฉลี่ย = 0.5 MJ 4.6. 6.9 9.6 13.4 16.6 20.1 25.5 28.9 n =2 พลังงานเฉลี่ย = 15.7 MJ 141.4 159.1 n =1 พลังงานเฉลี่ย = 150.25 MJ ข้อ 1 ผิด เพราะอิเล็กตรอนใน n=1 ของ X ต้องคายพลังงาน 99.25 MJ / mol เพื่อไปอยู่ ใน n=2 2 ถูก เพราะผลต่างของพลังงานของ n = 1 ข้อ กับ n=2 ใน Y= (150.25 – 15.7 = 134.55 MJ มีค่ามากกว่า ผลต่างของพลังงานของ n=1 กับ n= 2 ใน X = ( 99.25 – 9.1 ) = 90.15 MJ ข้อ 3 ถูก เพราะจากการจัดกลุ่มอิเล็กตรอนในระดับพลังงานต่าง ๆ พบว่าธาตุ X มีระดับพลัง งาน 2 ระดับ n = 1 มี 2 อิเล็กตรอน n = 2 ซึ่ง เป็นเวเลนต์อิเล็กตรอน มี 7 อิเล็กตรอน แสดงว่าธาตุ X อยู่หมู่ 7 แต่ 53 Ι มีเลขอะตอม = 53 มีจำานวนโปร – ตรอน = จำานวนอิเล็กตรอน = 53 มีการจัดอิเล็กตรอนใน ระดับพลังงานต่าง ๆ ดังนี้ 2 , 8 ,18 , 18 , 7 มีเวเลนต์อิเล็กตรอน 7 อยู่หมู่ 7 เช่น เดียวกับ ธาตุ ข้อ 4 ถูก เพราะ X มีเวเลนต์ตรอน =7 เป็นธาตุอโลหะ เกิดไอออนลบคือ X - Y มีเวเลนต์ตรอน =1 เป็นธาตุโลหะ เกิด ไอออนบวกคือ Y +
  • 25. สารประกอบของ Y( โลหะ ) กับ X ( อโลหะ ) เป็นสารประกก อบไอออนิก มีสูตร YX 10 . เฉลยข้อ 4 แนวคิด ธาตุนี้มีจำานวนโปรตรอน (P ) = จำานวนอิเล็กตรอน (e- )= 7 การจัด อิเล็กตรอนในระดับพลัง งานต่าง ๆ เป็น 2,5 n = 1 มีจำานวนอิเล็กตรอน n = 2 มี จำานวน 5 อิเล็กตรอน จากแผน ภาพไม่มีข้อใดถูก จึงเลือกข้อ 4 11. เฉลยข้อ 1 แนวคิด จากข้อมูล Ι ธาตุ Χ มีค่า ΙΕ 2 และ ΙΕ 3 ต่างกันมาก ๆ แสดงว่า อิเล็กตรอนทั้ง 2 อยูต่าง ่ ระดับพลังงานกัน ดังนั้นเวเลนต์อิเล็กตรอนของ Χ =2 เกิดไอออน ที่มีประจุ +2 AI ΙΙ 13 ,มีการจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงาน 2, 8 , 3 หมู่ 3 อยู่ หมู่เดียวกับ Y และ Y อยู่หมู่ 3 ΙΙΙ ไอโซโทปหนึ่งของ Z ไม่มีนิวตรอน คือ ธาตุไนโตรเจนเป็นอโลหะ ซันไฟรด์ของ X ซันไฟรด์ของ Y ซันไฟรด์ ของ Z X S Y S Z S 2 3 2 +2 -2 3 2 1 2 1 2 12. เฉลยข้อ 4 แนวคิด ธาตุอโลหะหมู่เดียวกัน ธาตุ อโลหะอิสระทีอยู่บนกว่าในตารางธาตุสามารถทำาปฏิกิริยา ่ กับ ไอออนลบของอโลหะตัวล่างกว่าในหมู่เดียวกันได้ จากข้อมูลนำามาวิเคราะห์ได้ดังนี้
  • 26. Ι ΚΧ ไม่ทำาปฏิกิริยากับ Υ2 : 2X− + Υ2 X2 + 2Y− แสดงว่า Υ2 รับอิเล็กตรอนของ Χ − ไม่ได้ นั่นคือธาตุ Χ อยู่บนธาตุ Υ อยูล่าง ่ ΙΙ ΚΖ ทำาปฏิกิริยากับ Υ2 : 2Ζ − + Υ2 Ζ 2 + 2Υ − แสดงว่า Υ2 รับอิเล็กตรอนของ Ζ − ได้ นั่นคือธาตุ Υ อยู่บน ธาตุ Ζ อยู่ ล่าง จาก Ι และ ΙΙ สรุป ธาตุในหมู่เดียวกัน เรียงจากเลขอะตอมน้อยไปมาก ( หรือบนลงล่าง ) ดังนี้ ( บน ) Χ, Υ , Ζ ( ล่าง ) X 2Y2Z2 มาก → น้อย ความสามารถในการรับอิเล็กตรอน และความแรงใน การรับออกซิ ไดส์ X-Y− Z− ยาก  → ง่าย ความสามารถในการให้อิเล็กตรอน และความแรงในการ รีดิวซ์ ข้อ 1 ผิด เพราะ Z- เป็นตัวรีดิวซ์ทดีกว่า ี่ X- และ Y- ข้อ 2 ผิด เพราะผสม KY กับ X2 เกิดปฏิกริยาเคมี ิ เนื่องจาก X2 รับ อิเล็กตรอนของ Y – ได้ ข้อ 3 ผิด เพราะเวเลนซ์อิเล็กตรอนของ X- หลุดอยากกว่าเวเลนซ์ อิเล็กตรอนของ Y – และของ Z - ข้อ 4 ถูก เพราะผสม KZ กับ X2 เกิดปฏิกิริยาดังนี้ 2KZ + X2 2KX + Z2 เนื่อง จาก X2 รับอิเล็กตรอนจาก Z- ได้ 13.เฉลยข้อ 3 238 สลายอนุภาคต่าง ๆ ทั้งหมด 14 ขั้นตอนเป็นรังสี α 8 ขั้นตอน และรังสี β แนวคิด 92U 4 6 ขั้นตอน แต่รังสี α เขียนเป็นสูตร 2H 8 ขั้นตอน จะพบว่าเลขมวลลด 4 x 8 = 32 β 0 และเลขอะตอมลดลง 2 x 8 = 16 และรังสี สูตรเป็น −1e 6 ขั้น ตอน เลขมวลไม่ เปลี่ยนแปลง เลขอะตอมเปลียน ่ = -1 x 6 = -6 ดังนั้น ผลิตภัณฑ์มีเลขมวล เป็น 238 – 32 = 206 206 เลขอะตอม 92 – 16 ( -6 )= 82 จากตัวเลือกคือ 382 Pb .14. เฉลยข้อ 4 แนวคิด
  • 27. ตัวเลือกที่ 4 ถูกเรียงจำานวนอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวของอตอมกลางต่อไปนี้ CIF 3 > NCI3 > CIO4 15. เฉลยข้อ 2 แนวคิด ข้อ 1 ผิด เพราะสารประกอบที่เกิดจากธาตุหมู่ I กับ VI อัตราส่วนโดยมวลอะตอม 2 : 1 เป็นสารประกอบไอออนิก จุดเดือดสูงละลายนำ้า แสดงสมบัติเป็นเบส เช่น Na2O ข้อ 2 ถูก เพราะสารประกอบที่เกิดจากธาตุหมู่ V และ VI อัตราส่วน โดยอะตอม 2 : 3 เป็นสารประกอบโคเวเลนซ์ จุดเดือดตำ่าละลายนำ้าแสดงสมบัติเป็นกรดได้ เช่น N2O3 ข้อ 3 ผิด เพราะสารประกอบที่เกิดจากธาตุหมู่ II และหมู่ V II อัตราส่วนโดยมวล อะตอม 1 : 2 เป็นสารประกอบไอออนิก ( ยกเว้น BeCI 2 เป็นสารประกอบโคเวเลนซ์ ) จุดเดือดสูง ข้อ 4 ผิด เพราะสารประกอบที่เกิดจากหมู่ II และ V II อัตราส่วยโดย มวลอะตอม 1 : 2 เป็นสารประกอบไอออนิก จุดเดือดสูงไม่ละลายนำ้า CaC2 16. เฉลยข้อ 1 แนวคิด สภาพมีขั้วของพันธะโคเวเลนต์ เปลี่ยนตามผลต่างของ EN สภาพมีขั้วของพันธะโคเวเลนต์ เรียงจากมากไปน้อย ดังนี้ พันธะ H - CI > H - Br > Si - S > Si - H ∆EN∆ ( 3.16 - 2.20 ) ( 2.96 - 1.90 ) ( 2.58 - 1.90 ) ( 2.2 - 1.90 ) = 0.96 = 0.76 = 0.68 = 0.3 17. เฉลยข้อ 1 7 แนวคิด ข้อ 1 CH3 - CH3 + O2 2CO2 + 3H2O 2 7 ∑Ε = 6DC-H + 1DC-C + DO O = ( 6 x 415 ) + = ดูด 2 ( 1 x 340 ) +  7×500    = 4580 kJ. 2 
  • 28. = 4DC=O + 6D ∑Ε คาย H-O = ( 4 x 740 ) + ( 6 x 460 ) = 5720 kJ. = 5720 - 4580 = 1140 kJ . คายพลังงาน ข้อ 2 CH2 = CH2 + 3O2 2CO2 +2H2O ∑ Ε ดูด = 4DC-H + 1DC-C + 3DO+O = ( 4 x415 ) + ( 610 ) + ( 3 x 500 )= 3770 kJ. ∑ Ε คาย = 4DC=O + 4DO-H = ( 4 x 740 ) + ( 4 x 470 ) = 4800 kJ. คายพลังงาน = 4800 –3770 = 1030 kJ. 5 ข้อ 3 CH ≡ CH + O2 2CO2 + H2O 2 5 ∑ Ε = 2DC-H + D C≡C+ D O O= ( 2 x 415 ) + ( 840 ) = ดูด 2 5 + ( × 500 =2920 kJ. ) 2 ∑ Ε = 4DC=O + 2DH-O = ( 4 x740 ) + ( 2 x 460 ) = คาย 3880 kJ. คายพลังงาน = 3880 –2920 = 960 kJ. ข้อ 4 CH3 - CH3 - OH + 3O2 2CO2 + 3H2O ∑ Ε ดูด = 5DC – H + 1DC-C + 1DC – O + 1DO – H +3DO =O = OO = ( 5 x 415 ) + ( 1 x 340 ) + ( 1 x 350 ) + ( 1 x 460 ) + ( 3 x 500 ) = 4725 kJ. ∑ Ε คาย = 4DC=O + 6D H-O = ( 4 x 740 ) + ( 6 x 460 ) = 5720 kJ . ปฏิกิริยาที่คายพลังงานมากที่สุด คือ ปฏิกิริยาข้อที่ 1 18. เฉลยข้อ 1 แนวคิด เพราะ BeCI2 (g) และ CO2 ต่างมีรูปร่างโมเลกุลเหมือนกันคือ เป็นเส้นตรง และต่างก็เป็น โมเลกุลไม่มีขั้วเหมือนกัน 19. เฉลยข้อ 4 แนวคิด
  • 29. ธาตุ เลขอะตอม การจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงาน O 7 2 ,5 P 11 2,8,1 Q 17 2,8,7 R 20 2,8,8,2 ข้อ 1 ผิด เพราะ O Q เป็น OQ3 e- คู่ร่วมพันธะ 3 1 2 + 3− P3O ข้อ ผิด เพราะ P O เป็น ประจุ 1 3 − + ข้อ 3 ผิด เพราะ Q P ประจุ 1 1 ข้อ 4 ถูก เพราะ 2+ 3− เป็น R 3 O2 R O ประจุ 2 3 20. เฉลย ไม่มีคำาตอบถูก แนวคิด C5H10 เป็นสูตรโมเลกุลของแอลคีน หรือไซโคลแอลคีน 2 ไอโซเมอร์โซ่ตรง CH2 = CH - CH2 - CH2 – CH3 CH3 – CH = CH - CH2 – CH3 โซ่กิ่ง 3 ไอโซเมอร์ CH2 = C - CH2 – CH3 CH2 = CH - CH - CH3 CH3 - CH = C - CH3 CH3 CH3 CH3 แบบวง 5 ไอโซเมอร์
  • 30. 21. เฉลยข้อ 1 แนวคิด สาร A เป็นสารที่เสถียรมีโครงสร้าง ดังนี้ ธาตุ X,Y และ Z แทนด้วยธาตุ N,P,Cl ตามลำาดับ 22.เฉลยข้อ 1 แนวคิด ข้อ ก,ค และ ง ทุกสารมีหมู่คาร์บอนีล มีสูตร 23. เฉลยข้อ ไม่มีคำาตอบที่ถก ู แนวคิด ข้อสอบข้อนี้โจทย์กำาหนดข้อมูลมาให้ไม่พอที่จะไปคำานวณหาจำานวนโมลของ แก๊ส O2 และปริมาตรของแก๊ส CO2 เป็น dm3STP ได้ ถ้าจะคำานวณต้องกำาหนดจำานวนโมลของ C 2H6,C 2H4 และ C2H2 ของแก๊สแต่ละ ชนิดที่ผสมกันมาให้ เช่น กำาหนด C2 H6,C 2H4 และ C 2 H2 อย่างละ 1 mol ทำาปฏิกิริยาเผาไหม้อย่างสมบูรณ์ดังสมการ