SlideShare a Scribd company logo
1 of 43
Electrical Engineering Material Chapter 1 Introduction and  Basic Concept Copyright 1996-2001 © Dale Carnegie & Associates, Inc.
1.  ความสัมพันธ์ของวัสดุศาสตร์ และวัสดุวิศวกรรม  Material Science:   การศึกษา ,  ค้นคว้าความรู้ขั้นพื้นฐานเกี่ยวกับโครงสร้าง ,  สมบัติ Material Engineering:   การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับวัสดุเพื่อประโยชน์ในงานด้านวิศวกรรม Copyright 1996-2001 © Dale Carnegie & Associates, Inc.
2.  ประเภทของวัสดุวิศวกรรม 2.1  โลหะ  (Metallic) นำความร้อน และไฟฟ้าได้ดี 2.2  พลาสติค หรือ พอลิเมอร์  (Polymeric) เป็นฉนวนที่ดี ทั้งประเภทอ่อน และแข็ง 2.3  เซรามิก  (Ceramic) มีลักษณะ แข็ง และเปราะ Copyright 1996-2001 © Dale Carnegie & Associates, Inc.
2.4  วัสดุผสม  (Composite) ประกอบด้วยของผสมหลายชนิด เช่น กาวอีพ๊อกซี่ ,  ไฟเบอร์กลาส 2.5  อิเลคทรอนิกส์  (Electronic) เช่นซิลิกอน ,  ใช้เป็นทำอุปกรณ์สารกึ่งตัวนำชนิดต่างๆ Copyright 1996-2001 © Dale Carnegie & Associates, Inc.
3.  โครงสร้างอะตอม ผู้คิดค้น  :  เออร์เนส รัทเทอร์ฟอร์ด และนีลส์โบร์ นิวเคลียส ,  โปรตรอน ,  นิวตรอน ,  อิเลคตรอน
มวลอิเลคตรอน ประมาณ มวลโปรตอน /2,000  3.1  ประจุ และมวลของอนุภาค
3.1  ประจุ และมวลของอนุภาค
3.2  เลขอะตอม  (Atomic number) บอกถึงจำนวนโปรตรอน หรือจำนวนอิเลคตรอน เลขอะตอม  =  จำนวนโปรตรอน  =  จำนวนอิเลคตรอน @  อะตอมมีสภาพเป็นกลาง
3.3  เลขมวล  ( Mass Number ) เลขมวล  =  จำนวนโปรตรอน  +  จำนวนนิวตรอน จำนวนนิวตรอน  =  เลขมวล  -  เลขอะตอม ดังนั้น
ตัวย่อทางเคมี  ( อลูมิเนียม ) จำนวนโปรตรอน  =  จำนวนอิเลคตรอน  =  เลขอะตอม  = 13 จำนวนนิวตรอน  =  เลขมวล -  เลขอะตอม  = 27-13= 14
3.4  มวลอะตอม (Atomic mass, A.M.) มวลของ  6.02*10 23   อะตอมของธาตุนั้น  ( กรัม )  [ หรือเท่ากับ  1  โมล ]
มวลอะตอม  ( ต่อ ) (Atomic mass, A.M.) น้ำหนักของธาตุ  1  อะตอม  = A.M. *1.66*10 -24   ( กรัม ) เช่น  A.M.  ของอลูมิเนียม  =  26.98 อลูมิเนียม  1  อะตอม หนัก  = 26.98 *1.66*10 -24   กรัม อลูมิเนียม  1  อะตอม หนัก  = 26.98 A.M.U. หรือ อลูมิเนียมมีน้ำหนัก    = 26.98  กรัม / โมล
โมเลกุล  ( อนุภาคที่เล็กที่สุดของสารที่สามารถอยู่ได้เป็นอิสระ ) น้ำหนักของสาร  1  โมเลกุล  = M.W. *1.66*10 -24   ( กรัม ) เช่น  A.M.  ของอลูมิเนียม (Al)   =  26.98  = M.W. อลูมิเนียม  1  โมเลกุล หนัก  = 26.98 *1.66*10 -24   กรัม อลูมิเนียม  1  อะตอม หนัก  = 26.98 *1.66*10 -24   กรัม หรือ อลูมิเนียม  1  โมลมีน้ำหนัก    = 26.98  กรัม
เช่น  A.M.  ของสาร  (O 2 )   = 16 M.W.  ของสาร  (O 2 )   = 16*2=32 O 2  1  โมเลกุล หนัก  = 32 *1.66*10 -24   กรัม O 2  1  อะตอม หนัก  = 16 *1.66*10 -24   กรัม หรือ  O 2  1  โมลอะตอมมีน้ำหนัก    = 16  กรัม หรือ  O 2  1  โมลมีน้ำหนัก    = 32  กรัม
มวลอะตอมสัมพัทธ์  (Relative atomic mass, R.A.M.) มวลของอะตอมมีค่าน้อยมาก จึงใช้วิธีเปรียบเทียบกับมวลของอะตอม ที่เบาที่สุด คือ “ไฮโดรเจน” โดยกำหนดให้มีมวล  =  1
มวลอะตอมสัมพัทธ์  ( ต่อ ) (Relative atomic mass, R.A.M.)
มวลสูตรสัมพัทธ์ หรือมวลโมเลกุล ตัวอย่าง  การหามวลของโมเลกุล ของคาร์บอนไดออกไซด์  CO 2 คาร์บอน  =  1  อะตอม , R.A.M. = 12 ออกซิเจน  =  2  อะตอม , R . A . M . =  16 ดังนั้นมวลโมเลกุล  =  (1*12)+(2*16)  =  44 ดังนั้นสรุปว่า  CO 2   หนักเป็น  44  เท่าของไฮโดรเจน  1  อะตอม
มวลสูตรสัมพัทธ์ หรือมวลโมเลกุล  ( ต่อ )
3.5  ชั้นของอิเลคตรอน  ( ออบิทัล ,  Orbital) จำนวนอิเลคตรอนสูงสุดแต่ละชั้น  =  2 n 2
3.6  ระดับพลังงานของอิเลคตรอน To move an electron from the first to the second orbit requires energy to overcome the attraction of the nucleus.
ระดับพลังงานของอิเลคตรอน  ( ต่อ ) อิเลคตรอนแต่ละตัวจะมีพลังงานไม่เท่ากับ ,  ตัวที่อยู่ชั้นนอกนอกจะมีพลังงานสูงกว่า ความถี่ของโฟตอน  (v) = (E1-E2)/h
ระดับพลังงานของอิเลคตรอน  ( ต่อ ) นิลส์ บอร์ ได้สร้างโมเดลสำหรับไฮโดรเจนซึ่งมีอิเลคตรอน  1  ตัว เพื่อหาพลังงานของอิเลคตรอนที่ระดับต่างๆ คือ E:  พลังงานของโฟตอนที่ให้ออกมา E=(-13.6/n 2 ) eV E=(-13.6/n 2 ) eV*(1.9*10 -19 /eV)  จูล
3.7  โครงสร้างอะตอมของตัวนำ อะตอมทองแดง :  2-8-18-1 :   แรงดึงดูดอิเลคตรอนต่ำสุดกรณีตัวที่อยู่วงนอกสุด  (valence orbit, free electron)   ซึ่งเคลื่อนที่ไปอะตอมอื่นได้อย่างง่ายดาย  ( เป็นตัวนำที่ดี )  ดังนั้นจุดสำคัญอยู่ที่อิเลคตรอนวงนอกสุด
3.8  โครงสร้างอะตอมของสารกี่งตัวนำ Germanium:  2-8-18-4 :  4-Valence Electrons Silicon:  2-8-4 :  4-Valence Electrons ในกรณีของวัสดุฉนวน  จะมี  8 -Valence Electrons
3.9  ไอโซโทป  ( อะตอมที่มีจำนวนนิวตรอนแตกต่างกัน ) ไอโซโทปของธาตุชนิดเดียวกันจะเกิดปฏิกิริยาเคมีเหมือนกัน เนื่องจากปฏิกิริยาเคมีเกี่ยวข้องกับอิเลคตรอนเท่านั้น
4.  พันธะอะตอม และพันธะโมเลกุล  4.1  พันธะที่มีความแข็งแรง 4.1.1  พันธะไอออนิก 4.1.2  พันธะโควาเลนต์ 4.1.3  พันธะโลหะ 4.2  พันธะที่ไม่แข็งแรง 4.2.1  Permanent Dipole Bonds 4.2.2  Fluctuating Dipole Bonds
4.1.1  พันธะไอออนิก  ( พันธะที่เกิดขึ้นระหว่างธาตุโลหะ กับ อโลหะ ) อะตอมธาตุหนึ่งถ่ายเทไปให้อีกธาตุหนึ่ง ทำให้เกิดไอออนบวก และ ลบ จึงเกิดแรงดึงดูดกัน   ( แข็งแรง ) อะตอมโซเดียมต้องเสียอิเลคตรอน  1  ตัวให้กับอะตอมของคลอรีน  เพื่อเติมเต็มอิเลคตรอนชั้นนอกสุดให้กับคลอรีน
ดังนั้นอะตอมจะเสียสภาพความเป็นกลาง และเรียกว่า “ไอออน” @  โซเดียมไอออนจะเป็นบวก , Na + @  คลอรีนไอออนจะเป็นลบ , Cl - ดังนั้นจึงมีแรงดึงดูดซึ่งกันและกัน เป็นพันธะไอออนิก  ของโซเดียมคลอไรด์  ( NaCl )
พันธะไอออนิก   ของแมกนีเซียมคลอไรด์ ระหว่าง แมกนีเซียม  Mg  กับ คลอรีน  Cl แมกนีเซียมจะต้องให้อิเลคตรอนกับคลอรีน  2  อะตอม
แมกนีเซียม  1  อะตอมให้อิเลคตรอนกับคลอรีน  2  อะตอม MgCl2 :  แมกนีเซียมคลอไรด์
พันธะไอออนิกของโซเดียมคลอไรด์
พันธะไอออนิก แรงดึงดูดระหว่างอะตอม :   (F attractive  ) (F attractive  ) = {(-Z1*e)(Z2*e)}/(4* π *  o*a 2 ) Z1:  จำนวนอิเลคตรอนที่ให้ Z2:  จำนวนอิเลคตรอนที่รับ e:  ประจุ  1.60*10 -19   C a:  รัศมีระหว่างไอออน
พันธะโคเวเลนต์ ตัวอย่างสารประกอบไฮโดรคาร์บอน  ( มีเทน )  CH4 @ อะตอมคาร์บอนต้องการอิเลคตรอนอีก  4  ตัว @ อะตอมของไฮโดรเจนต้องการอิเลคตรอนอีก  1  ตัว พันธะโควาเลนต์  :  การใช้อิเลคตรอนร่วมกันระหว่างอะตอมของธาตุอโลหะ
พันธะโควาเลนต์เดี่ยว  4  พันธะ ของมีเทน
พันธะโควาเลนต์คู่  1  พันธะ ของออกซิเจน  (O 2 ) คุณสมบัติ 1.  มีจุดหลอมเหลวสูง  ( ซิลิคอนไดออกไซด์ ,  ทราย ) 2.  ไม่ละลายน้ำเนื่องจากไม่มีประจุ 3.  ไม่นำไฟฟ้าเนื่องจากไม่มีไอออน ,  อิเลคตรอนอิสระ 4.  แข็ง  ( เพชร )
พันธะโลหะ การยึดกันของอะตอมในโลหะนั้นแตกต่างไปจาก พันธะไอออนิก และโควาเลนต์ อะตอมของโลหะยึดกันด้วย “ทะเลอิเลคตรอน”
พันธะโลหะ อิเลคตรอนสามารถเคลื่อนที่ได้อย่างอิสระ (non directional)
อะตอมของโลหะให้อิเลคตรอน  1  หรือมากกว่า  อิเลคตรอนเคลื่อนที่ไปยังขั้วบวก และสามารถถ่ายเทความร้อนด้วย
4.2  พันธะที่ไม่แข็งแรง  (Weak Bonding) พลังงานของพันธะต่ำ  (4-42 kJ/mol )  แรงที่เกิดขึ้นเนื่องจากแรงดึงดูดของขั้วไฟฟ้า  (electric dipoles)   ที่เกิดขึ้นระหว่างอะตอม หรือโมเลกุล
4.2.1  Fluctuation Dipole Bond เป็นพันธะที่อ่อนมากเกิดจากแรงดึงดูดระหว่างอะตอมที่มีการกระจายของประจุอิเลคตรอนที่ไม่ท่ากัน ทำให้เกิดขั้วไฟฟ้าขึ้น เช่นอะตอมของแก๊สเฉื่อย
4.2.2  Permanent Dipole Bond เป็นพันธะที่อ่อนมากมักเกิดขึ้นระหว่างโมเลกุล โควาเลนต์ ที่มี  Permanent Dipoles ,   โดยทั่วไปโมเลกุลที่ประกอบด้วยธาตุที่มีอิเลคโทรเนกาวิตี้สูง และเป็น  asymmetric molecule  จะทำให้โมเลกุลนั้นมีขั้ว
เนื้อหาครั้งต่อไป ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
Energy Bands ,[object Object]

More Related Content

What's hot

Ec electrochem-text
Ec electrochem-textEc electrochem-text
Ec electrochem-text
nantita
 
Electrochem
ElectrochemElectrochem
Electrochem
Napajit
 
ไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมี
Phasitta Chem
 
Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond
kruannchem
 
ไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมี
Wirun
 
ไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมี
Phasitta Chem
 
สมบัติของธาตุตามหมู่และตามคาบ
สมบัติของธาตุตามหมู่และตามคาบสมบัติของธาตุตามหมู่และตามคาบ
สมบัติของธาตุตามหมู่และตามคาบ
พัน พัน
 

What's hot (18)

สมบัติตามหมู่และตามคาบของสาร
สมบัติตามหมู่และตามคาบของสารสมบัติตามหมู่และตามคาบของสาร
สมบัติตามหมู่และตามคาบของสาร
 
09เคมีไฟฟ้า
09เคมีไฟฟ้า09เคมีไฟฟ้า
09เคมีไฟฟ้า
 
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุบทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
 
Ec electrochem-text
Ec electrochem-textEc electrochem-text
Ec electrochem-text
 
Electrochem
ElectrochemElectrochem
Electrochem
 
Chap 3 atomic structure
Chap 3 atomic structureChap 3 atomic structure
Chap 3 atomic structure
 
ไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมี
 
Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond
 
ไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมี
 
Chap 5 chemical bonding
Chap 5 chemical bondingChap 5 chemical bonding
Chap 5 chemical bonding
 
Atomic model ruth & bohr
Atomic model ruth & bohrAtomic model ruth & bohr
Atomic model ruth & bohr
 
พื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอน
พื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอนพื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอน
พื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอน
 
ไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมี
 
Electrochem 1
Electrochem 1Electrochem 1
Electrochem 1
 
สมบัติของธาตุตามหมู่และตามคาบ
สมบัติของธาตุตามหมู่และตามคาบสมบัติของธาตุตามหมู่และตามคาบ
สมบัติของธาตุตามหมู่และตามคาบ
 
chemical bonding
chemical bondingchemical bonding
chemical bonding
 
ประโยชน์ของอิเล็กโทรไลซิส
ประโยชน์ของอิเล็กโทรไลซิสประโยชน์ของอิเล็กโทรไลซิส
ประโยชน์ของอิเล็กโทรไลซิส
 
Electric chem8
Electric chem8Electric chem8
Electric chem8
 

Similar to พอลิเมอร์

Ch 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมCh 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
kruannchem
 
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
numpueng
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุโครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
krupatcharee
 
การค้นพบโปรตอน
การค้นพบโปรตอนการค้นพบโปรตอน
การค้นพบโปรตอน
krupatcharee
 
ฟิสิกส์ ใบงาน10
ฟิสิกส์ ใบงาน10ฟิสิกส์ ใบงาน10
ฟิสิกส์ ใบงาน10
Nann 'mlemell
 
10.1 dynamo 2
10.1 dynamo 210.1 dynamo 2
10.1 dynamo 2
3cha_sp
 

Similar to พอลิเมอร์ (20)

Ch 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมCh 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
 
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
 
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
 
บทที่ 2 โครงสร้างของของแข็ง the structure of solid
บทที่ 2 โครงสร้างของของแข็ง the structure of solidบทที่ 2 โครงสร้างของของแข็ง the structure of solid
บทที่ 2 โครงสร้างของของแข็ง the structure of solid
 
Chap 2 stoichiometry
Chap 2 stoichiometryChap 2 stoichiometry
Chap 2 stoichiometry
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุโครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
 
Physics atom part 1
Physics atom part 1Physics atom part 1
Physics atom part 1
 
บทที่1อะตอมและตารางธาตุ
บทที่1อะตอมและตารางธาตุบทที่1อะตอมและตารางธาตุ
บทที่1อะตอมและตารางธาตุ
 
Chembond
ChembondChembond
Chembond
 
Chembond
ChembondChembond
Chembond
 
พันธะเคมี
พันธะเคมีพันธะเคมี
พันธะเคมี
 
การค้นพบโปรตอน
การค้นพบโปรตอนการค้นพบโปรตอน
การค้นพบโปรตอน
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
 
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
 
Ec electrochem-text
Ec electrochem-textEc electrochem-text
Ec electrochem-text
 
แบบเรียน เรื่อง ฟิสิกส์นิวเคลียร์
แบบเรียน เรื่อง ฟิสิกส์นิวเคลียร์แบบเรียน เรื่อง ฟิสิกส์นิวเคลียร์
แบบเรียน เรื่อง ฟิสิกส์นิวเคลียร์
 
ฟิสิกส์ ใบงาน10
ฟิสิกส์ ใบงาน10ฟิสิกส์ ใบงาน10
ฟิสิกส์ ใบงาน10
 
10.1 dynamo 2
10.1 dynamo 210.1 dynamo 2
10.1 dynamo 2
 
Atom semiconductor
Atom semiconductorAtom semiconductor
Atom semiconductor
 
Chap 2 stoichiometry
Chap 2 stoichiometryChap 2 stoichiometry
Chap 2 stoichiometry
 

More from babyoam

ประเพณีไทย
ประเพณีไทยประเพณีไทย
ประเพณีไทย
babyoam
 
พาราโบลา
พาราโบลาพาราโบลา
พาราโบลา
babyoam
 
วัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยวัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทย
babyoam
 
แร่ธาตุ
แร่ธาตุแร่ธาตุ
แร่ธาตุ
babyoam
 

More from babyoam (6)

ประเพณีไทย
ประเพณีไทยประเพณีไทย
ประเพณีไทย
 
พาราโบลา
พาราโบลาพาราโบลา
พาราโบลา
 
วัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยวัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทย
 
แร่ธาตุ
แร่ธาตุแร่ธาตุ
แร่ธาตุ
 
666
666666
666
 
55555
5555555555
55555
 

พอลิเมอร์

  • 1. Electrical Engineering Material Chapter 1 Introduction and Basic Concept Copyright 1996-2001 © Dale Carnegie & Associates, Inc.
  • 2. 1. ความสัมพันธ์ของวัสดุศาสตร์ และวัสดุวิศวกรรม Material Science: การศึกษา , ค้นคว้าความรู้ขั้นพื้นฐานเกี่ยวกับโครงสร้าง , สมบัติ Material Engineering: การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับวัสดุเพื่อประโยชน์ในงานด้านวิศวกรรม Copyright 1996-2001 © Dale Carnegie & Associates, Inc.
  • 3. 2. ประเภทของวัสดุวิศวกรรม 2.1 โลหะ (Metallic) นำความร้อน และไฟฟ้าได้ดี 2.2 พลาสติค หรือ พอลิเมอร์ (Polymeric) เป็นฉนวนที่ดี ทั้งประเภทอ่อน และแข็ง 2.3 เซรามิก (Ceramic) มีลักษณะ แข็ง และเปราะ Copyright 1996-2001 © Dale Carnegie & Associates, Inc.
  • 4. 2.4 วัสดุผสม (Composite) ประกอบด้วยของผสมหลายชนิด เช่น กาวอีพ๊อกซี่ , ไฟเบอร์กลาส 2.5 อิเลคทรอนิกส์ (Electronic) เช่นซิลิกอน , ใช้เป็นทำอุปกรณ์สารกึ่งตัวนำชนิดต่างๆ Copyright 1996-2001 © Dale Carnegie & Associates, Inc.
  • 5. 3. โครงสร้างอะตอม ผู้คิดค้น : เออร์เนส รัทเทอร์ฟอร์ด และนีลส์โบร์ นิวเคลียส , โปรตรอน , นิวตรอน , อิเลคตรอน
  • 6. มวลอิเลคตรอน ประมาณ มวลโปรตอน /2,000 3.1 ประจุ และมวลของอนุภาค
  • 7. 3.1 ประจุ และมวลของอนุภาค
  • 8. 3.2 เลขอะตอม (Atomic number) บอกถึงจำนวนโปรตรอน หรือจำนวนอิเลคตรอน เลขอะตอม = จำนวนโปรตรอน = จำนวนอิเลคตรอน @ อะตอมมีสภาพเป็นกลาง
  • 9. 3.3 เลขมวล ( Mass Number ) เลขมวล = จำนวนโปรตรอน + จำนวนนิวตรอน จำนวนนิวตรอน = เลขมวล - เลขอะตอม ดังนั้น
  • 10. ตัวย่อทางเคมี ( อลูมิเนียม ) จำนวนโปรตรอน = จำนวนอิเลคตรอน = เลขอะตอม = 13 จำนวนนิวตรอน = เลขมวล - เลขอะตอม = 27-13= 14
  • 11. 3.4 มวลอะตอม (Atomic mass, A.M.) มวลของ 6.02*10 23 อะตอมของธาตุนั้น ( กรัม ) [ หรือเท่ากับ 1 โมล ]
  • 12. มวลอะตอม ( ต่อ ) (Atomic mass, A.M.) น้ำหนักของธาตุ 1 อะตอม = A.M. *1.66*10 -24 ( กรัม ) เช่น A.M. ของอลูมิเนียม = 26.98 อลูมิเนียม 1 อะตอม หนัก = 26.98 *1.66*10 -24 กรัม อลูมิเนียม 1 อะตอม หนัก = 26.98 A.M.U. หรือ อลูมิเนียมมีน้ำหนัก = 26.98 กรัม / โมล
  • 13. โมเลกุล ( อนุภาคที่เล็กที่สุดของสารที่สามารถอยู่ได้เป็นอิสระ ) น้ำหนักของสาร 1 โมเลกุล = M.W. *1.66*10 -24 ( กรัม ) เช่น A.M. ของอลูมิเนียม (Al) = 26.98 = M.W. อลูมิเนียม 1 โมเลกุล หนัก = 26.98 *1.66*10 -24 กรัม อลูมิเนียม 1 อะตอม หนัก = 26.98 *1.66*10 -24 กรัม หรือ อลูมิเนียม 1 โมลมีน้ำหนัก = 26.98 กรัม
  • 14. เช่น A.M. ของสาร (O 2 ) = 16 M.W. ของสาร (O 2 ) = 16*2=32 O 2 1 โมเลกุล หนัก = 32 *1.66*10 -24 กรัม O 2 1 อะตอม หนัก = 16 *1.66*10 -24 กรัม หรือ O 2 1 โมลอะตอมมีน้ำหนัก = 16 กรัม หรือ O 2 1 โมลมีน้ำหนัก = 32 กรัม
  • 15. มวลอะตอมสัมพัทธ์ (Relative atomic mass, R.A.M.) มวลของอะตอมมีค่าน้อยมาก จึงใช้วิธีเปรียบเทียบกับมวลของอะตอม ที่เบาที่สุด คือ “ไฮโดรเจน” โดยกำหนดให้มีมวล = 1
  • 16. มวลอะตอมสัมพัทธ์ ( ต่อ ) (Relative atomic mass, R.A.M.)
  • 17. มวลสูตรสัมพัทธ์ หรือมวลโมเลกุล ตัวอย่าง การหามวลของโมเลกุล ของคาร์บอนไดออกไซด์ CO 2 คาร์บอน = 1 อะตอม , R.A.M. = 12 ออกซิเจน = 2 อะตอม , R . A . M . = 16 ดังนั้นมวลโมเลกุล = (1*12)+(2*16) = 44 ดังนั้นสรุปว่า CO 2 หนักเป็น 44 เท่าของไฮโดรเจน 1 อะตอม
  • 19. 3.5 ชั้นของอิเลคตรอน ( ออบิทัล , Orbital) จำนวนอิเลคตรอนสูงสุดแต่ละชั้น = 2 n 2
  • 20. 3.6 ระดับพลังงานของอิเลคตรอน To move an electron from the first to the second orbit requires energy to overcome the attraction of the nucleus.
  • 21. ระดับพลังงานของอิเลคตรอน ( ต่อ ) อิเลคตรอนแต่ละตัวจะมีพลังงานไม่เท่ากับ , ตัวที่อยู่ชั้นนอกนอกจะมีพลังงานสูงกว่า ความถี่ของโฟตอน (v) = (E1-E2)/h
  • 22. ระดับพลังงานของอิเลคตรอน ( ต่อ ) นิลส์ บอร์ ได้สร้างโมเดลสำหรับไฮโดรเจนซึ่งมีอิเลคตรอน 1 ตัว เพื่อหาพลังงานของอิเลคตรอนที่ระดับต่างๆ คือ E: พลังงานของโฟตอนที่ให้ออกมา E=(-13.6/n 2 ) eV E=(-13.6/n 2 ) eV*(1.9*10 -19 /eV) จูล
  • 23. 3.7 โครงสร้างอะตอมของตัวนำ อะตอมทองแดง : 2-8-18-1 : แรงดึงดูดอิเลคตรอนต่ำสุดกรณีตัวที่อยู่วงนอกสุด (valence orbit, free electron) ซึ่งเคลื่อนที่ไปอะตอมอื่นได้อย่างง่ายดาย ( เป็นตัวนำที่ดี ) ดังนั้นจุดสำคัญอยู่ที่อิเลคตรอนวงนอกสุด
  • 24. 3.8 โครงสร้างอะตอมของสารกี่งตัวนำ Germanium: 2-8-18-4 : 4-Valence Electrons Silicon: 2-8-4 : 4-Valence Electrons ในกรณีของวัสดุฉนวน จะมี 8 -Valence Electrons
  • 25. 3.9 ไอโซโทป ( อะตอมที่มีจำนวนนิวตรอนแตกต่างกัน ) ไอโซโทปของธาตุชนิดเดียวกันจะเกิดปฏิกิริยาเคมีเหมือนกัน เนื่องจากปฏิกิริยาเคมีเกี่ยวข้องกับอิเลคตรอนเท่านั้น
  • 26. 4. พันธะอะตอม และพันธะโมเลกุล 4.1 พันธะที่มีความแข็งแรง 4.1.1 พันธะไอออนิก 4.1.2 พันธะโควาเลนต์ 4.1.3 พันธะโลหะ 4.2 พันธะที่ไม่แข็งแรง 4.2.1 Permanent Dipole Bonds 4.2.2 Fluctuating Dipole Bonds
  • 27. 4.1.1 พันธะไอออนิก ( พันธะที่เกิดขึ้นระหว่างธาตุโลหะ กับ อโลหะ ) อะตอมธาตุหนึ่งถ่ายเทไปให้อีกธาตุหนึ่ง ทำให้เกิดไอออนบวก และ ลบ จึงเกิดแรงดึงดูดกัน ( แข็งแรง ) อะตอมโซเดียมต้องเสียอิเลคตรอน 1 ตัวให้กับอะตอมของคลอรีน เพื่อเติมเต็มอิเลคตรอนชั้นนอกสุดให้กับคลอรีน
  • 28. ดังนั้นอะตอมจะเสียสภาพความเป็นกลาง และเรียกว่า “ไอออน” @ โซเดียมไอออนจะเป็นบวก , Na + @ คลอรีนไอออนจะเป็นลบ , Cl - ดังนั้นจึงมีแรงดึงดูดซึ่งกันและกัน เป็นพันธะไอออนิก ของโซเดียมคลอไรด์ ( NaCl )
  • 29. พันธะไอออนิก ของแมกนีเซียมคลอไรด์ ระหว่าง แมกนีเซียม Mg กับ คลอรีน Cl แมกนีเซียมจะต้องให้อิเลคตรอนกับคลอรีน 2 อะตอม
  • 30. แมกนีเซียม 1 อะตอมให้อิเลคตรอนกับคลอรีน 2 อะตอม MgCl2 : แมกนีเซียมคลอไรด์
  • 32. พันธะไอออนิก แรงดึงดูดระหว่างอะตอม : (F attractive ) (F attractive ) = {(-Z1*e)(Z2*e)}/(4* π *  o*a 2 ) Z1: จำนวนอิเลคตรอนที่ให้ Z2: จำนวนอิเลคตรอนที่รับ e: ประจุ 1.60*10 -19 C a: รัศมีระหว่างไอออน
  • 33. พันธะโคเวเลนต์ ตัวอย่างสารประกอบไฮโดรคาร์บอน ( มีเทน ) CH4 @ อะตอมคาร์บอนต้องการอิเลคตรอนอีก 4 ตัว @ อะตอมของไฮโดรเจนต้องการอิเลคตรอนอีก 1 ตัว พันธะโควาเลนต์ : การใช้อิเลคตรอนร่วมกันระหว่างอะตอมของธาตุอโลหะ
  • 34. พันธะโควาเลนต์เดี่ยว 4 พันธะ ของมีเทน
  • 35. พันธะโควาเลนต์คู่ 1 พันธะ ของออกซิเจน (O 2 ) คุณสมบัติ 1. มีจุดหลอมเหลวสูง ( ซิลิคอนไดออกไซด์ , ทราย ) 2. ไม่ละลายน้ำเนื่องจากไม่มีประจุ 3. ไม่นำไฟฟ้าเนื่องจากไม่มีไอออน , อิเลคตรอนอิสระ 4. แข็ง ( เพชร )
  • 36. พันธะโลหะ การยึดกันของอะตอมในโลหะนั้นแตกต่างไปจาก พันธะไอออนิก และโควาเลนต์ อะตอมของโลหะยึดกันด้วย “ทะเลอิเลคตรอน”
  • 38. อะตอมของโลหะให้อิเลคตรอน 1 หรือมากกว่า อิเลคตรอนเคลื่อนที่ไปยังขั้วบวก และสามารถถ่ายเทความร้อนด้วย
  • 39. 4.2 พันธะที่ไม่แข็งแรง (Weak Bonding) พลังงานของพันธะต่ำ (4-42 kJ/mol ) แรงที่เกิดขึ้นเนื่องจากแรงดึงดูดของขั้วไฟฟ้า (electric dipoles) ที่เกิดขึ้นระหว่างอะตอม หรือโมเลกุล
  • 40. 4.2.1 Fluctuation Dipole Bond เป็นพันธะที่อ่อนมากเกิดจากแรงดึงดูดระหว่างอะตอมที่มีการกระจายของประจุอิเลคตรอนที่ไม่ท่ากัน ทำให้เกิดขั้วไฟฟ้าขึ้น เช่นอะตอมของแก๊สเฉื่อย
  • 41. 4.2.2 Permanent Dipole Bond เป็นพันธะที่อ่อนมากมักเกิดขึ้นระหว่างโมเลกุล โควาเลนต์ ที่มี Permanent Dipoles , โดยทั่วไปโมเลกุลที่ประกอบด้วยธาตุที่มีอิเลคโทรเนกาวิตี้สูง และเป็น asymmetric molecule จะทำให้โมเลกุลนั้นมีขั้ว
  • 42.
  • 43.