SlideShare a Scribd company logo
1 of 34
Download to read offline
แผ่นธรณีภาค

ภาพแสดง รูปภาพของ ดร.อัลเฟรด เวเกเนอร์
ที่มา : http://www.sema.go.th/files/Content/science/k4/0035/F01/images/Th/1_1.jpg
ในปี พ.ศ. 2458 นักอุตุนิยมวิทยาชาวเยอรมัน ชื่อ ดร.อัลเฟรด เวเกเนอร์ (Dr.Alfred Wegener) ได้ตั้งสมมติฐานว่า ผืน
แผ่นดินทั้งหมดบนโลกเดิมเป็นแผ่นดินผืนเดียวกัน เรียกว่า พันเจีย (Pangaea) ซึ่งเป็นภาษากรีก แปลว่า แผ่นดินทั้งหมด
ต่อมาเมื่อประมาณ 200 ล้านปีที่แล้ว พันเจียเริ่มแยกออกเป็นทวีปใหญ่ 2 ทวีป คือ ลอเรเซีย ทางตอนเหนือ และ กอน
วานา ทางตอนใต้โดยทวีปทางตอนใต้จะเคลื่อนที่แยกจากกันเป็น อินเดีย อเมริกาใต้ และอัฟริกา ในขณะที่ออสเตรเลียยังคง
เป็นส่วนหนึ่งของกอนวานา จนเมื่อประมาณ 65 ล้านปีที่ผ่านมา มหาสมุทรแอตแลนติก แยกตัวกว้างขึ้น ทาให้อัฟริกา
เคลื่อนที่ห่างออกไปจากอเมริกาใต้ แต่ออสเตรเลียยังคงเชื่อมอยู่กับอันตาร์กติกา และอเมริกาเหนือกับยุโรปก็ยังคง
ต่อเนื่องกัน
ต่อมามหาสมุทรแอตแลนติกขยายกว้างขึ้นอีก อเมริกาเหนือและยุโรปจึงแยกจากกัน อเมริกาเหนือโค้งเว้าเข้าเชื่อม
กับอเมริกาใต้ ออสเตรเลียก็แยกออกจากอันตาร์กติกา และอินเดียได้เคลื่อนไปชนกับเอเซียจนเกิดเป็นภูเขาหิมาลัยซึ่งทาให้
เกิดแผ่นดินและมหาสมุทรดังที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน
นักธรณีวิทยาแบ่งแผ่นธรณีภาคของโลกออกเป็น 2 ประเภท คือ แผ่นทวีป และแผ่นมหาสมุทร ซึ่งทั้ง 2 ประเภทรวมกันมี
จานวน 13 แผ่น คือ
1. แผ่นแอฟริกา
2. แผ่นอเมริกาใต้
3. แผ่นคาลิบเบีย
4. แผ่นอาระเบีย
5. แผ่นอเมริกาเหนือ
6. แผ่นอเมริกาใต้
7. แผ่นยูเรีย
8. แผ่นยูเรีย
9. แผ่นฟิลิปปินส์
10. แผ่นแปซิฟก
12. แผ่นคอคอส
13. แผ่นนาสกา
14. แผ่นแอนตาร์กติก
แผ่นธรณีภาคเหล่านี้มีการเคลื่อนที่ตลอดเวลา
การแปรสัณฐานแผ่นธรณีภาค (plate tectonic)

ภาพแสดง การแยกออกจากกันของแผ่นธรณีภาค ภาคพื้นทวีป
ที่มา : http://www.chaiyatos.com/geo_lesson2.htm
แมก มาในชั้นฐานธรณีภาคมีทั้งอุณหภูมิและความดันสูง จึงเกิดการดันตัวขึ้นมาบนชั้นธรณีภาค ทาให้แผ่นธรณีภาค
(Plate) เกิดการโก่งตัวขึน อันเนื่องจากแรงเค้น (Stress) กระทาต่อแผ่นธรณีภาค และจากสมบัติความแข็งเปาะของแร่ธาตุ
้
ต่างๆ ซึ่งเป็นองค์ประกอบของแผ่นธรณีภาคทาให้แผ่นธรณีภาคเกิดความเครียด (Strain) ทนต่อแรงดันของแมกมาได้ระยะ
หนึ่ง ในที่สุดก็จะแตกออก ทาให้อุณหภูมิและความดันของแมกมาลดลง เพราะแมกมาถ่ายโอนความร้อนออกสู่บรรยากาศ
ภายนอกได้อย่างเร็วและมากขึ้น เป็นผลให้แผ่นธรณีภาคบริเวณนันเกิดการทรุดตัวลงกลายเป็นหุบเขาทรุด
้
ภาพแสดง การแยกออกจากกันของแผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทร
ที่มา : http://www.chaiyatos.com/geo_lesson2.htm
ในระยะเวลา ต่อมามีน้าไหลมาสะสมกลายเป็นทะเลทีมีรอยแตกอยู่ใต้ทะเล ซึ่งต่อมารอยแตกนั้นก็จะเกิดเป็นรอยแยก
่
จนกลายเป็นร่องลึก (Groove) มีสันขอบ (Ridge) และทาให้แมกมาในชั้นฐานธรณีภาคสามารถแทรกดันขึ้นมาตามรอยแยก
แล้วเคลื่อน ที่ม้วนตัวออกมาจากรอยแยกจะทาให้แผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทรเคลื่อนตัวแยกออกไป ทั้งสองข้างของรอยแยก
พื้นทะเลจะขยายกว้างออกไปทั้งสองด้าน เรียกกระบวนการนี้ว่า การขยายตัวของพื้นทะเล (Sea floor spreading) ส่วน
บริเวณตรงกลางก็ปรากฏเป็นแนวเทือกเขากลางมหาสมุทร (Mid Oceanic Ridge)

ภาพแสดง การเคลื่อนที่ของแมกมาในชั้นฐานธรณีภาค
ที่มา : http://www.chaiyatos.com/geo_lesson2.htm
การเคลื่อน ที่ของแมกมาในชั้นฐานธรณีภาคอันเนื่องมาจากการถ่ายโอนความร้อน ก่อให้เกิดการเคลื่อนทีเ่ ป็นวงจร
การพาความร้อน และเนื่องจากแมกมาในชั้นฐานธรณีภาคมีลักษณะเป็นพลาสติกหยุ่น จึงทาให้แผ่นธรณีภาคด้านบน
เคลื่อนที่ออกไปจากรอยแตก และมีการเสริมเนื้อขึนมาจากด้านล่าง ดังนั้นแผ่นธรณีภาคอีกด้านหนึงจึงมุดลงไป เป็นการ
้
่
สูญเสียเนื้อโลกไป เพื่อให้เกิดการสมดุลนั่นเอง การเคลื่อนทีของแมกมาในชั้นฐานธรณีภาคทาให้สวนที่เป็นของแข็งในชั้น
่
่
ธรณีภาคเคลื่อนที่ไปด้วย เกิดเป็นการเคลื่อนทีของแผ่นธรณีภาค
่
แผ่นธรณีภาค (Plate) เกิดจากการแตกร้าวของเปลือกโลก (Crust) ตั้งแต่บริเวณผิวโลกลึกลงไปจนสิ้นสุดชั้นธรณีภาค
การเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีภาค
แผ่นธรณีภาคแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ แผ่นทวีป และแผ่นมหาสมุทร แผ่นธรณีภาคเหล่านี้มีการเคลือนที่อยู่ตลอดเวลา
่
นักวิทยาศาสตร์และนักธรณีวิทยาได้ศึกษารอบต่อของแผ่นธรณีภาคอย่างละเอียด และสามารถสรุปลักษณะการเคลื่อนที่
ของแผ่นธรณีภาคได้ดังนี้
1. ขอบแผ่นธรณีภาคแยกออกจากกัน
2. ขอบแผ่นธรณีภาคเคลื่อนเข้าหากัน
3. ขอบแผ่นธรณีภาคเคลื่อนที่ผ่านกัน

ภาพแสดง การเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีภาค
ที่มา : http://www.chaiyatos.com/geol20.jpg
1. ขอบแผ่นธรณีภาคแยกออกจากกัน

ภาพแสดง ขอบแผ่นธรณีภาคแยกออกจากกัน
ที่มา : http://www.bantan.ac.th/blog/wp-content/uploads/2009/06/00.gif
เป็นแนวขอบของแผ่นธรณีภาคที่แยก ออกจากกัน เนื่องจากการดันตัวของแมกมาในชั้นธรณีภาค ทาให้เกิดรอยแตก
ในชั้นหินแข็ง จนแมกมาสามารถถ่ายโอนความร้อนสู่ชั้นเปลือกโลกได้ อุณหภูมิและความดันของแมกมาจึงลดลงเป็นผลให้
เปลือกโลกตอนบนทรุดตัวกลายเป็น หุบเขาทรุด ปรากฏเป็นเทือกเขากลางมหาสมุทร
2. ขอบแผ่นธรณีภาคเคลื่อนเข้าหากัน

ภาพแสดง ขอบแผ่นธรณีภาคเคลือนเข้าหากัน
่
ที่มา : http://kunkrupreeda.exteen.com/images/plat1.jpg
แนวที่แผ่นธรณีภาคเคลื่อนเข้าหากันเป็นได้ 3 แบบ ดังนี้
2.1 แผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทรชนกับแผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทร แผ่นธรณีภาคแผ่นหนึ่งจะมุดลงใต้แผ่นธรณีภาคอีก
แผ่นหนึ่ง ปลายของแผ่นธรณีภาคที่มุดลง จะหลอมตัวกลายเป็นแมกมาประทุขนมา เกิดเป็นแนวภูเขาไฟกลางมหาสมุทร
ึ้
เช่นที่ ญี่ปน ฟิลิปปินส์
ุ่
ภาพแสดง การมุดกันของแผ่นธรณีภาคกับแผ่นธรณีภาค
ที่มา : http://www.bantan.ac.th/blog/?p=2490
2.2 แผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทรชนกับแผ่นธรณีภาคภาคพื้นทวีป แผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทรหนักกว่าจะมุดลงใต้ ทา
ให้เกิดรอยคดโค้งเป็นเทือกเขาบนแผ่นธรณีภาคภาคพื้นทวีป เช่นที่ อเมริกาใต้แถบตะวันตก แนวชายฝั่งโอเรกอน

ภาพแสดง แผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทรมุดตัวลงใต้แผ่นธรณีภาค
ที่มา : http://www.bantan.ac.th/blog/?p=2490
2.3 แผ่นธรณีภาคภาคพื้นทวีปชนกับแผ่นธรณีภาคภาคพื้นทวีปอีกแผ่นหนึ่ง เมื่อชนกันทาให้ส่วนหนึ่งมุดตัวลงอีก
ส่วนหนึ่งเกยอยู่ด้านบน เกิดเป็นเทือกเขาสูง เช่น เทือกเขาหิมาลัย เทือกเขาแอลป์ ภาพด้านล่าง

ภาพแสดง แผ่นธรณีภาคภาคพื้นทวีปชนกับแผ่นธรณีภาคภาคพื้นทวีปอีกแผ่นหนึ่ง เมือชนกันทาให้ส่วนหนึ่งมุดตัวลงอีก
่
ส่วนหนึ่งเกยอยู่ด้านบน
ที่มา : http://www.bantan.ac.th/blog/?p=2490
3.ขอบแผ่นธรณีภาคเคลื่อนที่ผ่านกัน

ภาพแสดง ขอบแผ่นธรณีภาคเคลือนที่ผ่านกัน
่
ที่มา : http://www.bantan.ac.th/blog/?p=2490
มักเกิดใต้มหาสมุทร ภาคพื้นทวีปก็มี เนื่องจากการเคลื่อนตัวของแมกมาในชั้นเนื้อโลกไมเท่ากัน ทาให้แผ่นธรณีภาค
เคลื่อนที่ไม่เท่ากันด้วย เกิดการเลือนผ่านและเฉือนกัน เป็นรอยเลื่อนระนาบด้านข้างขนาดใหญ่
่
ข้อมูลทางธรณีภาค
จากข้อมูลทางธรณีวิทยาและการค้นพบซากดึกดาบรรพ์ของพืชและ สัตว์ชนิดเดียวกันและอายุเดียวกันในทวีปต่างๆที่อยู่
ห่างไกลกันทาให้เชื่อ ว่าทวีปต่างๆ
ในปัจจุบันแต่เดิมเป็นแผ่นดินเดียวกัน
รอยต่อของแผ่นธรณีภาค

ภาพแสดง รอยต่อของแผ่นธรณีภาค
ที่มา : http://www.chaiyatos.com/geol05.gif
เมื่อนาภาพแต่ละทวีปมาต่อกันจะ เห็นว่ามีส่วนที่ต่อกันได้พอดีที่ขอบของแต่ละทวีปเช่นขอบตะวันออกของอเมริกา
ใต้กับขอบตะวันตกของแอฟริกาต่อมามหาสมุทร
แอตแลนติกเข้ามาแทนทีตรงรอยแยกและทวีปมีการเคลื่อนตัวแยกออกไปเรื่อย ๆจนปัจจุบัน จากหลักฐานและแนวความคิด
่
ข้างต้น ได้มีการศึกษาบริเวณใต้มหาสมุทรแอตแลนติกเพิ่มเติมดังนี้
รอยแยกของแผ่นธรณีภาค และอายุหินบนเทือกเขากลางมหาสมุทร
ภาพแสดง ภาพเทือกเขากลางมหาสมุทร
ที่มา : http://photos1.blogger.com/blogger/6864/3170/1600/seafloor.0.jpg

ภาพแสดง ภาพรอยเลือนเฉือนระนาบด้านข้างตัดขวางเทือกเขากลางมหาสมุทร
ที่มา : http://photos1.blogger.com/blogger/6864/3170/1600/17tfault.jpg
ใต้มหาสมุทรมีเทิอกเขายาวโค้งอ้อม ไปตามรูปร่างของขอบทวีปด้านหนึ่งเกืบขนานกับชายฝังสหรัฐอเมริกาและอีก
่
ด้าน หนึ่งขนานชายฝังทวีปยุโรป
และแอฟริกาเทือกเขากลางมหาสมุทรนี้มีรอยแยกตัวออกเป็นร่องลึกไปตลอดความยาว เทือกเขา และมีรอยตัดขวางบนสัน
เขานี้มากมาย รอยแตกนี้เป็นศูนย์กลางการเกิดแผ่นดินไหวและภูเขาไฟระเบิด นอกจากนั้นยังมี เทือกเขาเล็กๆกระจัด
กระจายอยู่ทั่วไป
ต่อมาเครื่องมือการสารวจใต้ มหาสมุทรมีการพัฒนาอย่างมากเช่นมีการค้นพบหินบะซอลต์ทบริเวณร่องลึกหรือ รอย
ี่
แยกบริเวณเทือกเขากลางมหาสมุทรแอตแลนติก
และยังพบอีกว่าหินบะซอลต์
ที่อยู่ไกลจากรอยแยกมีอายุมากกว่าหินบะซอลต์ที่อยูใกล้รอยแยก อธิบายได้ว่าเมื่อเกิดรอยแยกแผ่นดินจะเคลื่อนตัวออกจาก
่
กันอย่างช้าๆ ตลอดเวลา ขณะเดียวกันแมกมาจากใต้ธรณีจะดันแทรกเสริมขึ้นมาแข็งตัวเป็นหินบะซอลต์ใหม่ เรื่อยๆ ดังนัน
้
โครงสร้างและอายุหนรองรับแผ่นธรณีภาคจึงมีอายุอ่อนสุดบริเวณเทือก เขา
ิ
และอายุมากขึ้นเมื่อเข้าใกล้ขอบทวีป

ภาพแสดง ภาพการแทรกตัวขึ้นมาของแมกมากลางเทือกเขาใต้ มหาสมุทรแอตแลนติก
ที่มา : http://photos1.blogger.com/blogger/6864/3170/1600/Seafloor_spreading.jpg

หลักฐานสิ่งมีชีวิตทั้งพืชและสัตว์
มีการอ้างหลักฐานการพบซากดึกดาบรรพ์ของสิ่งมีชีวิตทั้งพืชและสัตว์และชั้น ของหินชนิดเดียวกันในสองทวีปแถบ
ที่อยู่ด้านเดียวกันหรือใกล้เคียง
เวเกเนอร์ได้เสนอแนะให้ลองพิจารณารูปร่างของทวีปต่างๆ บนแผนที่โลก เวเกเนอร์ยังได้ศึกษาซากฟอสซิลของพืชและ
สัตว์ที่มีอยู่ตามแนวชายฝั่ง (Coastline)ทั้ง ทวีปอเมริกาใต้และทวีปแอฟริกาซึ่งพบว่าบริเวณที่แนวชายฝั่งทวีปทั้งสองต่อ
ตรงกันนั้นซากฟอสซิลที่พบก็เหมือนกันทุกอย่างด้วยซึ่งหมายความว่าพืชและ สัตว์ที่กลายเป็นฟอสซิลนั้นเป็นชนิดเดียวกัน
หากทวีปทังสอง อยู่แยกกันมาอย่างในปัจจุบัน โดยมีมหาสมุทรคันระหว่างทวีปเช่นนี้ แล้วพวก พืชและสัตว์ในอดีตเหล่านี้
้
่
จะเดินทางจากทวีปหนึ่งข้ามมหาสมุทรแอตแลนติกไปสู่ อีกทวีปหนึ่งได้อย่างไร ข้อสังเกตนี้สนับสนุนสมมติฐานของเวเก
เนอร์ที่ว่า ทวีปอเมริกาใต้และทวีปแอฟริกาเดิมเป็นผืนดินเดียวกัน
ภาพแสดง ซากฟอสซิลของพืชและสัตว์ที่มีอยู่ตามแนวชายฝั่ง
ที่มา : http://www.sema.go.th/files/Content/science/k4/0035/F01/s2-2.htm
นอกจากนี้เวเกเนอร์ ยังพบหลักฐานที่สนับสนุนทฤษฎีทวีปเลื่อน เมื่อเขาได้เริ่มศึกษา สภาพอากาศในยุคโบราณก็ได้
พบหลักฐานที่น่าสนใจ คือ กา เปลี่ยนแปลงสภาพ อากาศของโลกธารน้าแข็งที่ทบถมสะสมกันบ่งชีให้เห็นว่าบางส่วนของ
ั
้
ทวีปอเมริกาใต้ แอฟริกาใต้ อินเดีย และออสเตรเลียตะวันตก เมื่อประมาณ 300 ล้านปีที่แล้วเคย ปกคลุมด้วยแผ่นน้าแข็ง ใต้
กองธารน้าแข็งเหล่านีจะเป็นชั้นหินแข็งชั้นล่าง (Bedrock) ที่ปรากฏร่องรอยครูดเป็นทาง แสดงให้เห็นว่าธารน้าแข็งเคย
้
เคลื่อนที่ พาดผ่านหินนี้มาก่อน โดยเคลื่อนตัวจา ทวีปแอฟริกาไป สู่มหาสมุทรแอตแลนติก และ จากมหาสมุทรแอตแลนติก
ไปสู่ทวีปอเมริกาใต้ รอยครูดจะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อแผ่นดิน ของสองทวีปนีติดกันเท่านั้น ถ้าแยกกันโดยมีมหาสมุทรกั้น
้
อย่างเช่นในปัจจุบน ธารน้าแข็งจะไม่สามารถทิ้งรอยครูดไว้กับชั้นหินที่อยูใต้มหาสมุทรได้เลย ในช่วงเวลา เดียวกันนี้ ซีก
ั
่
โลกด้านเหนือ (Northern Hemisphere) มีลักษณะเป็นเขตร้อน และเขียวชอุ่ม พืชพันธุ์อันอุดมสมบูรณ์ที่เกิดในหนองน้าบน
ผืน ทวีปอเมริกาตะวันออก ยุโรป และ ไซบีเรียเมื่อครังนั้น ได้กลายมาเป็นเขต เหมืองถ่านหิน ในปัจจุบันซีกโลก ด้านเหนือ
้
ซึ่งมีภูมิอากาศแบบเขตร้อนนี้ช่วยสนับสนุน ทฤษฎีของเวเกเนอร์ เนื่องจาก เมื่อพิจารณาผืนดินใหญ่ หรือแพนเจีย300ล้านปี
มาแล้วจะเห็นได้ว่าส่วนที่เป็นเขตร้อนเขียวชอุ่มนัน คือบริเวณเหนือเส้นศูนย์สูตรแม้ว่าจะมีข้อมูลสนับสนุนทฤษฎีของเวเก
้
เนอร์แต่ นักวิทยาศาสตร์ในยุคนันก็ไม่เห็นด้วยกับแนวคิดนี้และต้องใช้เวลานานถึง ครึ่งศตวรรษ ทฤษฎีของเวเกเนอร์จึง
้
ได้รับการยอมรับ
ภาพแสดง ชั้นหินแข็งชั้นล่าง
ที่มา : http://www.sema.go.th/files/Content/science/k4/0035/F01/s2-4.htm
รอยต่อธรณีภาค
เป็นรอยตะเข็บเก่าๆดังเดิมที่เกิดจากการชนกันของแผ่นเปลือก โลก2แผ่นขึ้นไปที่มความแตกต่างกันทางธรณีประวัติ
้
ี
ชนิดหินซากดึกดาบรรพ์ ลักษณะสาคัญของรอยตะเข็บนีคือ จะมีหนหรือตะกอนหินที่มาจากพื้นมหาสมุทร เท่านั้นโผล่
้
ิ
ขึ้นมาเช่นหินที่พบในOceanicfloorหินเชิร์ตน้าลึกเม็ดแร่ แมงกานีสซึ่งหินดังกล่าวไม่สามารถพบได้ง่ายในแผ่นดินทั่วไป ซึ่ง
ที่หินพวกนี้โผล่ขึ้นมาได้ก็เพราะการชนกัน ทาให้เกิดการเกย การยู่ยี่และบีบตัวของแผ่นมหาสมุทรที่อยู่ตรงกลางแบบกล้วย
ทับถูกเหยียบ นอกจากนี้ยังพบว่าใกล้รอยตะเข็บมักพบหินภูเขาไฟเดิมเป็นเทือกอีกด้วย
ในประเทศไทย รอยต่อธรณีที่ชัดเจนและยอมรับกันมากที่สุดได้แก่ รอยต่อธรณีน่าน-อุตรดิตถ์ สระแก้ว-จันทบุรีและแถบ
นราธิวาส
ประโยชน์ของรอยต่อ คือจะมีแร่ธาตุที่พบเฉพาะใน ท้องทะเลลึก สะสมตัวอยู่เช่น โครไมต์ แมงกานีส และก็ยังมีแร่ที่
เกิดจากการเฉือนเช่น ทัลก์ แอสเบตทอส
และยังเป็นสถานที่ทศึกษาลักษณะของท้องทะเลลึกได้โดยไม่ต้องดาน้าเป็นกิโลๆ
ี่

รอยต่อของแผ่นธรณี
เมื่อนาแผ่นภาพแต่ละทวีปมาต่อกัน จะเห็นว่ามีส่วนที่ต่อกันได้พอดี เช่น ขอบตะวันออกของอเมริกาใต้สามารถต่อ
กับขอบตะวันตกของทวีปแอฟริกาใต้ได้อย่าง พอดี ซึ่งเป็นเหตุผลที่สามารถตั้งเป็นสมมติฐานได้ว่า ทวีปทั้งสองอาจเป็น
แผ่นดินผืนเดียวกันมาก่อน แล้วต่อมาก็แยกออกจากกันโดยเคลื่อนไปทางทิศตะวันออกส่วนหนึ่ง และทิศตะวันตกอีกส่วน
หนึ่ง จนกลายเป็นมหาสมุทรแอตแลนติกเข้ามาแทนที่ตรงรอยแยก และแผ่นทวีป ก็มีการเคลื่อนตัวแยกไปเรื่อย ๆ จน
ปรากฏเป็นตาแหน่ง และรูปร่างของทวีปทังสองดังปัจจุบน
้
ั
ภาพแสดง แนวขอบของทวีปต่างๆในปัจจุบนทีคิดว่าเคยต่อเชื่อมเป็นผืนเดียวกัน
ั ่
ที่มา : http://www.geothai.net/2009/index.php?option=com_content&view=article&id=80:-platetectonics&catid=57:tectonics&Itemid=100007

ภูเขาไฟเกือบทั้งหมด ในโลก จะพบในบริเวณรอยต่อของแผ่นธรณีภาค โดยเฉพาะรอบๆมหาสมุทรแปซิฟิก ที่เรียกว่า
วงแหวนแห่งไฟ สาหรับประเทศไทยไม่มีภูเขาไฟที่มีพลัง เนื่องจากอยู่นอกเขตการมุดตัวของแผ่นเปลือกโลก ภูเขาไฟส่วน
ใหญ่ไม่ชัดเจน ที่มีรูปร่างชัดเจน ได้แก่ ภูเขาไฟดอยผาคอกหินฟู(ลาปาง) ภูพระอังคารและภูเขาพนมรุ้ง(บุรีรัมย์) ซึ่งจะมี
ปากปล่องเหลือให้เห็น ทั้งนีเ้ กิดขึนมานานแล้ว ถูกกระบวนการกัดกร่อนผุพังทาลายจนไม่เห็นรูปร่างของภูเขาไฟชัดเจน
้
ปล่องภูเขาไฟลาปางที่จัดได้ว่าเห็นชัดที่สุด ตั้งอยู่ในพื้นทีต่อเนื่องของอาเภอเมืองและอาเภอแม่ทะ ได้แก่ปล่อง ภูเขาไฟดอย
่
ผาคอกจาป่าแดด และปล่องภูเขาไฟดอยผาคอกหินฟู ปล่องภูเขาไฟทั้งสอง ตั้งอยู่ไม่ห่างกัน โดยอยูคนละฝังถนน สายเข้า
่
่
เหมืองถ่านหินแม่เมาะ การเข้าถึงทาได้โดยใช้เส้นทางหลวงหมายเลข 11 (ลาปาง-เด่นชัย) ออกจากตัวเมืองลาปางไป 10
กิโลเมตร ให้เลี้ยวซ้ายเข้าเหมืองถ่านหินแม่เมาะไปถึงระหว่างหลักกิโลเมตรที่ 2 และ 3 จะมีทางเลี้ยวขวาเข้าวัดเวียงสวรรค์
ให้วิ่งตามทางลาดยางเข้าไป 3.5 กิโลเมตรจะถึงวัด แต่ไม่เข้าวัดให้เลยไปจนสุดถนนซึ่งเป็นลานจอดรถด้านหลัง แล้วเดินขึน
้
บันไดซีเมนต์ไปอีกราว 100-200 เมตร ขึ้นไปทีศาลาชมวิวบนยอดเขา ซึ่งสร้างอยู่บนปากปล่องของภูเขาไฟดอยผาคอกหินฟู
่
ส่วนปล่อง
ภูเขาไฟดอยผาคอกจา ป่าแดด ให้ใช้ถนนเข้าเหมืองเช่นกัน ไปจนเลยหลักกิโลเมตรที่ 6 เล็กน้อยจะมีทางแยกซ้ายเข้าสู่
เชิงเขาดอยผาคอกจาป่าแดด แต่ทนี่ไม่มีทางขึนเขาเหมือนที่ดอยผาคอกหินฟู จึงขึนไปปากปล่องไม่ได้
ี่
้
้
ชื่อของภูเขาไฟทั้งสองได้มาจากชาวบ้านในบริเวณนั้น เป็นคาง่ายๆ ที่มีความหมายสอดคล้องกับลักษณะของปล่อง
ภูเขาไฟ คาว่า ผาคอก หมายถึงเขาที่มีผากั้นล้อมรอบ
หินฟู หมายถึงหินที่มีลักษณะเป็นรอยแตกฟู มีน้าหนักเบา ลอยน้าได้ หรือตะกรันภูเขาไฟ (Scoria) ส่วนคาว่า จาป่าแดด เป็น
ต้นไม้ชนิดหนึ่ง ทีขึ้นอยู่เป็นจานวนมากในบริเวณปล่อง ภูเขาไฟ
่
ภูเขาไฟทั้งสองลูกนี้สามารถมองเห็นได้ในระยะไกลจากเส้นทางสาย ลาปาง-เด่นชัย ประมาณหลักกิโลเมตรที่ 14 ที่
กลางสะพานข้ามทางรถไฟ โดยให้มองไปทางเหมืองแม่เมาะจะเห็นภูเขายาวต่อเนื่องกันตั้งตระหง่านขวาง หน้า ให้สังเกต
ภูเขาลูกเล็กยอดแหลม ซึ่งโดดเด่นกว่าบริเวณข้างเคียงตรงกลางเทือก จุดนี้เป็นจุดแบ่งระหว่างภูเขาไฟดอยผาคอกจาป่าแดด
ที่อยู่ทางซ้ายและภูเขาไฟ ดอยคอกผาหินฟู ที่อยู่ทางขวา มีระยะห่างกันในแนวเหนือใต้ เป็นระยะทางประมาณ 2 กิโลเมตร
ปล่องภูเขาไฟลาปางอีกบริเวณหนึ่ง อยู่ที่บริเวณอาเภอเกาะคา อยู่ห่างจากตัวเมืองลาปางไปประมาณ 32 กิโลเมตร อยู่
ในแผนที่ภูมิประเทศ มาตราส่วน 1: 50,000 ระวางอาเภอเกาะคา เส้นละติจดที่ 19ฐ 0ข 94ขข เหนือกับเส้นลองจิจดที่ 5ฐ 40
ู
ู
ข 100ขข ตะวันออก ปล่องภูเขาไฟนี้มีถนนสายลาปาง-สบปราบ (ทางหลวงหมายเลข 1) ตัดผ่านระหว่างหลักกิโลเมตรที่
586 ซึ่งเป็นจุดสูงสุดของเส้นทางสายนี้ โดยจะเห็นชั้นหินลาวา (หินบะซอลต์) ซ้อนทับกันเป็นชั้นๆ เนื่องจากปากปล่อง
ภูเขาไฟมีบริเวณกว้าง ลักษณะของพืชหรือต้นไม้คลุมดินมีลักษณะเหมือนๆ กับภูมิประเทศทั่วๆ ไปจึงไม่เป็นทีทราบว่า
่
บริเวณนั้นเป็นส่วนหนึ่งของปล่องภูเขาไฟ
อายุทางธรณีวิทยา
อายุทางธรณีวิทยา เป็นอายุทเี่ กียวกับการเกิดของโลก ทุกอย่างทีอยู่ใต้ผิวดินจะเกี่ยวข้องกับธรณีวิทยาทั้งสิ้น จึงต้องมีการ
่
่
ให้อายุ เพื่อลาดับขั้นตอน เหตุการณ์ ว่าหิน แร่ ซากดึกดาบรรพ์ที่พบใต้ผิวโลก (จากการเจาะสารวจ) หรือโผล่บนดินเกิด
ในช่วงใด เพื่อจะได้หาความสัมพันธ์ และเทียบเคียงกันได้ มีหน่วยเป็นล้านปี อายุทางธรณีวิทยานอกจากเป็นตัวเลขแล้ว ก็มี
ชื่อเรียกด้วย ซึ่งส่วนใหญ่ก็จะใช้ชื่อตามชื่อสถานที่ทางภูมิศาสตร์ที่มีการพบซากดึกดา บรรพ์

ภาพแสดง เจดียหอย จังหวัดปทุมธานี
์
ที่มา : http://www.unseentourthailand.com/pgallery/datafiles/gallery/large/gallery_20090414_17996c5.jpg

การศึกษาหาอายุทางธรณีวิทยา หาได้ 2 ลักษณะ คือ มี 2 ลักษณะ คือ
1. อายุเทียบสัมพันธ์หรืออายุเปรียบเทียบ (Relative age) คือ เป็นช่วงระยะเวลาอายุทางธรณีวิทยาโดยศึกษาจากชั้น
หิน หรือการลาดับชั้นหิน ลักษณะทางธรณีวิทยา หรือเหตุการณ์ทางธรณีวิทยาอื่นๆ โดยเมื่อนามาเปรียบเทียบสัมพันธ์ซึ่ง
กันและกัน กับดัชนีต่างๆ รายงานวิชาการอื่นๆ ที่พบในชั้นหิน เช่น หาจากซากดึกดาบรรพ์ต่างๆ ที่พบอยู่ในหิน ว่าเป็นสกุล
และชนิดใด เป็นต้น ซึ่งศาสตร์นต้องอาศัยการสั่งสมประสบการณ์และความเชี่ยวชาญสูง ซึ่งแทนทีจะบ่งบอกเป็นจานวนปี
ี้
่
แต่การบอกอายุของหินแบบนี้กลับบอกได้แต่เพียงว่า สิ่งไหนเกิดก่อนหรือหลัง อายุแก่กว่าหรืออ่อนกว่าหิน หรือซากดึกดา
บรรพ์ อีกชุดหนึ่งเท่านัน โดยอาศัยตาแหน่งการวางตัวของหินตะกอนเป็นตัวบ่งบอก( Index fossil) เป็น ส่วนใหญ่ เพราะ
้
ชั้นหินตะกอนแต่ละขั้นจะต้องใช้ระยะเวลาช่วงหนึ่งที่จะเกิดการทับถม เมื่อสามารถเรียงลาดับของหินตะกอนแต่ละชุด
ตามลาดับก็จะสามารถหาเวลาเปรียบ เทียบได้ และจะต้องใช้หลักวิชาการทางธรณีวิทยา(Stratigraphy)ประกอบด้วย
การศึกษาเวลาเปรียบเทียบโดยอาศัยหลักความจริง มี อยู่ 3 ข้อคือ
1.1 กฎการวางตัวซ้อนกันของชั้นหินตะกอน (Law of superposition) ถ้าหินตะกอนชุดหนึ่งหรือหินอัคนีผุไม่ถูก
พลิกกลับ (Overturn) โดย ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติแล้ว ส่วนบนสุดของหินชุดนี้ย่อมจะมีอายุอ่อนหรือน้อยที่สุด และ
ส่วนล่างสุดย่อมจะมีอายุแก่ที่สุดหรือมากกว่าเสมอ
1.2 กฎของความสัมพันธ์ในการตัดผ่านชั้นหิน (Law of cross-cutting relationship) กล่าวคือ หินทีตัดผ่านเข้ามาในหิน
่
ข้างเคียง ย่อมจะมีอายุน้อยกว่าหินที่ถูกตัดผ่านเข้ามา
1.3 การเปรียบเทียบสหสัมพันธ์ของหินตะกอน (Correlation of sedimentary rock) ศึกษาเปรียบเทียบหินตะกอนใน
บริเวณที่แตกต่างกันโดยสามารถเปรียบเทียบได้โดยอาศัยใช้ลักษณะทางกายภาพ เช่น
1.3.1 ใช้ลกษณะทางกายภาพโดยอาศัยชั้นหินหลักหรือคีย์เบด (Key bed) ซึ่ง เป็นชั้นหินที่กาหนดได้สะดวกง่ายดาย
ั
โดยมีลักษณะเด่นเฉพาะบางประการตัวของมันเอง เช่น ซากพืช สัตว์ เป็นต้น และชั้นหินหลักนี้ ถ้าพบที่ไหนในบริเวณที่
ต่างกันก็จะมีอายุหรือช่วงเวลาทีเ่ กิดเท่ากันหรือ ใกล้เคียงกัน สามารถบ่งบอกจดจาได้อย่างถูกต้องถึงว่าชั้นหินที่วางตัวอยู่
ข้างบนและข้าง ล่างของคียเ์ บดจะมีลักษณะแตกต่างกันออกไปในแต่ละบริเวณด้วย
1.3.2 เปรียบเทียบโดยใช้ซากดึกดาบรรพ์ (Correlation by fossil) โดย มีหลักเกณฑ์คือ ในชันหินใดๆ ถ้ามีซากดึกดา
้
บรรพ์ชนิดเดียวกัน ที่เหมือนหรือคล้ายคลึงเกิดอยู่ในตัวของมันแล้ว แม้ชั้นหินนั้นๆ จะอยู่ต่างที่กัน ย่อมมีอายุหรือช่วง
ระยะเวลาที่เกิดเดียวกันหรือใกล้เคียงกับซากดึกดาบรรพ์ ที่สามารถจะใช้เปรียบเทียบได้ดี ต้องมีช่วงเวลาที่อาศัยอยู่บนโลก
เป็นเป็นช่วงระยะเวลาสั้นๆ แต่เกิดอยู่อย่างกระจัดกระจายเป็นบริเวณกว้างขวางมากที่สุด ซึ่งฟอสซิลเหล่านี้เรียกว่า ไกด์
ฟอสซิลหรือ อินเด็กฟอสซิล หรือ ซากดึกดาบรรพ์ดัชนี (Guide or Index fossil)

2. อายุสัมบูรณ์ (Absolute age) หมาย ถึง เป็นระยะเวลาที่สามารถบ่งบอกอายุที่แน่นอนลงไป เช่น อายุซากดึกดา
บรรพ์ของหินหรือวัตถุต่างๆ ที่สามารถหาได้ ลักษณะหรือเหตุการณ์ทางธรณีวิทยา (โดยมาก การบอกอายุเป็นตัวเลขได้ วัด
เป็นปี เช่น พันปี ล้านปี) มาหาอายุ โดยทั่วไปหมายถึงการกาหนดหาอายุที่จากการวิเคราะห์และคานวณหาได้จากไอโซโทป
ของธาตุกัมมันตรังสีทปะปนประกอบอยู่ในหินหรือในซากดึกดาบรรพ์หรือวัตถุ นั้นๆ ขึ้นอยู่กับวิธีการและช่วงเวลาครึ่ง
ี่
ชีวิต(Half life period) ของธาตุนน ๆ เช่น C-14 มีครึ่งชีวิตเท่ากับ 5,730 ปี จะใช้กับหินหรือ Fossil โบราณคดี ที่มีอายุไม่เกิน
ั้
50,000 ปี ส่วน U-238 หรือ K-40 จะใช้หนที่มีอายุมาก ๆ ซึ่งมีวิธีการที่สลับซับซ้อน ใช้ทนสูง และแร่ที่มีปริมาณรังสีมี
ิ
ุ
ปริมาณน้อยมาก วิธีการนี้เรียกว่า การตรวจหาอายุจากสารกัมมันตภาพรังสี (Radiometric age dating)
การใช้ธาตุกัมมันตรังสีเพื่อหาอายุหิน หรือ ฟอสซิล นั้น ใช้หลักการสาคัญคือการเปรียบเทียบอัตราส่วนของธาตุ
กัมมันตรังสีที่เหลืออยู่ ( End product) ที่เกิดขึ้นกับไอโซโทปของธาตุกัมมันตรังสีตั้งต้น (Parent isotope) แล้วคานวณโดย
ใช้เวลาครึ่งชีวิตมาช่วยด้วยก็จะได้อายุของชั้นหิน หรือ ซากดึกดาบรรพ์ นั้น ๆ เช่น
วิธีการ Uranium 238 - Lead 206 วิธีการ Uranium 235 - Lead 207
วิธีการ Potassium 40 - Argon 206 วิธีการ Rubidium 87- Strontium 87
วิธีการ Carbon 14 - Nitrogen 14
ประโยชน์ของการหาอายุโดยใช้ธาตุกัมมันตรังสีมี 2 ประการคือ
1. ช่วยในการกาหนดอายุทแน่นอนหลังจากการใช้ Fossil และ Stratigrapy แล้ว
ี่
2. ช่วยบอกอายุหรือเรื่องราวของยุคสมัย พรีแคมเบียน (Precambrian) นี้ถูกเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องไปอย่างมาก
ร่องรอยต่าง ๆจึงสลายไปหมด
ความรู้เพิ่มเติม
จาก การศึกษาชนิดของสิ่งมีชีวิต ประกอบกับการเรียงลาดับชั้นหินที่พบซากดึกดาบรรพ์ชนิดนั้น ทาให้นักธรณีวิทยา
ที่ศึกษาเกี่ยวกับซากดึกดาบรรพ์ (นักโบราณชีววิทยา, Paleontologist) มี ความรู้เพิ่มขึ้นในเรื่องวิวัฒนาการของสัตว์หลาย
เซลล์และสัตว์ชั้นสูงซึ่ง เกิดขึ้นมาบนโลกเมื่อประมาณ 545 ล้านปีที่ผ่านมา นักธรณีวิทยาได้แบ่งอายุของโลกออกเป็นช่วงๆ
เรียกว่า “ธรณีกาล” โดยใช้เหตุการณ์และการเปลี่ยนแปลงที่สาคัญทางธรณีวิทยาและการเปลี่ยนแปลงตามธรรมชาติของ
โลกเป็นหลักในการแบ่ง ประกอบด้วยมหายุค (Era) ยุค (Period) และสมัย (Epoch) โดยแบ่งโลกออกเป็น 3 มหายุคกับอีก
11 ยุค จากยุคก็แบ่งย่อยเป็นสมัย มีเวลาเป็นปีกากับของแต่ละช่วงยุคสมัย
ทั้งนี้ได้จดให้ชีวิตเริ่มแรกที่เป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวหลังจากโลกเริ่มเย็นตัวลงเป็นทั้งมหายุค และยุค เรียกว่า “พรีแคม
ั
เบรียน” (3,500 – 545 ล้านปี) ซึ่งในยุคนี้หลายประเทศ เช่น แคนาดาและออสเตรเลีย ได้ใช้ซากดึกดาบรรพ์สโทรมาโทไลต์
เป็นตัวกาหนดยุค แต่ในประเทศไทยไม่มีรายงานการสารวจพบซากดึกดาบรรพ์ของยุคนี้ อายุจึงได้จากการลาดับชั้นหินและ
ชนิดของหินเป็นหลัก โดยจัดให้หินแปรที่เกิดจากการแปรสภาพขั้นสูง เช่น หินไนส์ ชีสต์ และแคลซิลิเกต เป็นต้น เนื่องจาก
ความร้อนและความกดดันที่เกิดขึนจากการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกและ การแปรสัณฐานของแผ่นธรณีภาคหลายครั้ง
้
เกิดขึ้นในยุคนี้ หินในยุคนีจึงยืนหยัดผ่านการเปลี่ยนแปลงมายาวนาน มีความแข็งแกร่งคงทนเช่นเดียวกับคนที่ผ่านชีวิตมา
้
อย่างยืนยาว
ภาพแสดง การเรียงลาดับยุคของไดโนเสาร์
ที่มา : http://school.obec.go.th/gtxpy1/work/supachaya/mamaboy_dailynews_2.jpg
โลกในระยะเวลาต่อมาจาก 545 – 250 ล้านปี ได้แก่ มหายุคพาลีโอโซอิกเป็นยุคสมัยของซากดึกดาบรรพ์อย่างแท้จริง
มีซากของสิ่งมีชีวิตโบราณที่เกิดขึนอย่างมากมาย มีทั้งสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว และหลายเซลล์ เริ่มมีการพัฒนารูปร่างของสัตว์ที่
้
มีเปลือกห่อหุ้ม มีโครงร่างแข็งแรงขึ้น โดยเริ่มแรกเป็นสัตว์ทะเลแล้ววิวัฒนาการขึ้นมาอาศัยอยู่บนบก เริ่มมีวิวัฒนาการของ
พืชและสัตว์หลายพันธุ์ เช่น แมลง สัตว์ครึ่งบกครึงน้า ปลา สัตว์เลื้อยคลาน ต้นไม้ยืนต้น เป็นต้น แต่ในช่วงอายุนี้ก็มีการสูญ
่
พันธุ์ของสิ่งมีชีวิตด้วยเช่นกัน
มหายุคถัดไปตังแต่ 250 – 65 ล้านปี ได้แก่ มหายุคมีโซโซอิก เป็นยุคสมัยของสัตว์ที่มีขนาดใหญ่ และพืชชั้นสูง และ
้
บางชนิดก็สูญพันธุ์ไป เช่น ช่วงเวลาที่ไดโนเสาร์ไดโนเสาร์ซึ่งเริ่มชีวิตในช่วงนี้ อาศัยอยู่บนโลก มันกินช่วงเวลาที่ดีที่สุด 3
ช่วงเวลา คือยุคไทรแอสสิก จูแรสสิก และครีเตเซียส เป็นระยะเวลา ประมาณ 140 ล้าน ปี นับเป็นช่วงเวลา ที่ยาวนานมาก
เมื่อมองไปถึงช่วงเวลาที่ มนุษยชาติ ที่เป็นบรรพบุรุษ ของคนเรา เคยอาศัยอยู่ในโลกนี้ เพียงประมาณ 100,000 ปี เท่านั้น นั่น
แสดงว่า มนุษย์ โบราณ ไม่เคยอยูอาศัย และต่อสู้กับ ไดโนเสาร์เลย แล้วไดโนเสาร์ก็สูญพันธุ์ไปจากโลกในช่วงประมาณ 65
่
ล้านปี ปลายของมหายุคนีเ้ ช่นกัน
มหายุคสุดท้าย ตั้งแต่ 65 ล้านปี – ปัจจุบัน ได้แก่ มหายุคซีโนโซอิก กาลเวลาอันยาวนานในช่วงนี้ เป็นช่วงกาเนิดและ
วิวัฒนาการของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ทั้งขนาดเล็กและขนาดใหญ่ รวมทั้งสายพันธุ์มนุษย์ ซึ่งมนุษย์ คนแรกของโลก เพิ่งเกิด
เมื่อ 5 ล้านปีที่แล้วนีเ้ อง และพืชดอกก็เจริญเต็มที่ ในช่วงนีเ้ ป็นช่วงเวลาที่บรรยากาศโลกคล้ายปัจจุบนมากที่สุด
ั
ซาก ดึกดาบรรพ์ที่เกิดขึ้นนันบ่งบอกอายุ และสภาพแวดล้อมของยุคสมัยนัน แต่ซากดึกดาบรรพ์ที่จะบ่งบอกอายุได้ดี
้
้
จะต้องเป็นซากดึกดาบรรพ์ที่เมื่อมี ชีวิต อาศัยอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม แพร่ขยายพันธุ์ได้รวดเร็วเป็นปริมาณมาก แต่
มีช่วงอายุสั้น และสูญพันธุ์เร็ว เรียกว่า ซากดึกดาบรรพ์ดัชนี (Index fossil) เช่น โคโนดอนต์ ซึ่งเป็นจุลชีวินที่บงบอกอายุใน
่
ยุคออร์โดวิเชียนในประเทศไทย แกรปโทไลต์เป็นซากดึกดาบรรพ์ในยุคไซลูเรียนและฟูซูลินด บ่งบอกอายุในยุคเพอร์เมียน
ิ
เป็นต้น
หลัก ฐานจากซากดึกดาบรรพ์ที่ได้จากการสารวจศึกษาทาให้เราทราบถึงสายการวิวัฒนาการ ของสิ่งมีชีวิตทั้งพืช
และสัตว์ มีทั้งที่สูญพันธุ์ และที่สามารถดารงพันธุ์สืบเนื่องมาจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ซึ่งอาจจะเป็นเหมือนต้นไม้แห่งชีวิต ที่
เริ่มต้นจากจุดเล็กๆ ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว แล้วแตกกิ่งก้านสาขาออกไปมากมาย เหมือนกับการกระจายพันธุ์ออกไปของ
พืชและสัตว์หลายชนิด

ภาพแสดง สิ่งมีชีวิตในแต่ละยุคของธรณีประวัติ
ที่มา : http://photos1.blogger.com/blogger/6864/3170/1600/1017_timeline.2.jpg
ซากดึกดาบรรพ์
ซากดึกดาบรรพ์ หมายถึง ซากและร่องรอยของบรรพชีวิน(Ancient life)ที่ประทับอยู่ในหิน บางแห่งเป็นรอยพิมพ์ บางแห่ง
ก็มีซากเดิมปรากฏอยู่ รอยตีนสัตว์ มูลสัตว์ ถ่านหิน ไม้กลายเป็นหิน รวมอยู่ในหมู่ซากดึกดา-บรรพ์นี้เหมือนกัน ถ้าเป็น
ไฟลัมหรือชั้นของชีวินดึกดาบรรพ์ใดที่สามารถใช้บ่งบอกอายุหินได้ เรียกว่า ซากดึกดาบรรพ์ดรรชนี(Index fossil)
การศึกษาซากดึกดาบรรพ์ เรียกว่า เพลิโอนโทโลยี ซึ่งบ่งชี้ว่า สิ่งมีชีวิตเกิดขึ้นบนโลกอย่างน้อย 3,500 ล้านปีมาแล้ว ตั้งแต่
นั้นมาก็เกิดสายพันธ์ของสัตว์และพืช ซึ่งส่วนใหญ่ได้สูญพันธ์ไปแล้ว การศึกษาซากที่ยังหลงเหลืออยู่ทาให้เราได้เห็นชีวิต
ในยุคดึกดาบรรพ์ที่อยูบนผิวโลก
่
กลุ่มชีวินดึกดาบรรพ์(Fossil Assemblage) ได้แก่
1. กลุ่มชีวน : กลุ่มของสิ่งมีชีวิตที่ประกอบด้วยสัตว์หรือพืชชนิดเดียวกันหรือใกล้เคียงกัน หรือกลุ่มของซากดึกดา
ิ
บรรพ์ทปรากฏอยู่ในลาดับชั้นหินชั้นเดียวกันในพื้นที่ใดพื้นทีหนี่ง
ี่
่
2. กลุ่มแร่ : แร่ต่าง ๆที่ประกอบกันขึ้นเป็นหินแต่ละชนิด โดยเฉพาะหินอัคนีและหินแปร
ชั้นกลุ่มชีวิน(Assemblage zone; Cenozone ) หมายถึงกลุ่มชั้นหินซึ่งประกอบด้วยซากดึกดาบรรพ์ที่มีลักษณะเด่นชัดเฉพาะ
กลุ่มนั้น ๆซึ่งแตกต่างจากส่วนชั้นหินใกล้เคียง ส่วนชั้นกลุ่มชีวินนี้ใช้ประโยชน์เป็นตัวบ่งชี้ถึงสภาพแวดล้อมในอดีตและใช้
ในการเทียบชั้นหิน
การเกิดซากดึกดาบรรพ์
ขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงจากสิ่งมีชีวิตไปเป็นซากดึกดาบรรพ์เกิดขึ้นกว่าหลายล้านปีมาแล้ว ทันทีที่สัตว์และพืชตาย
มันก็จะเริ่มแยกออกเป็นส่วน ๆหรือผุผังไป ส่วนที่แข็งอย่างเปลือกหอย กระดูกและฟันของสัตว์หรือไม้จะยังคงทนอยู่นาน
กว่าเนื้อเยื่อนุม ๆแต่มักจะกระจัดกระจายหายไปเพราะการกระทาของสัตว์ ลม หรือน้า สิ่งใดจะกลายเป็นซากดึกดาบรรพ์จะ
่
ถูกฝังลงไปใต้ดินอย่างรวดเร็วก่อนที่จะแยกออกเป็นส่วน ๆและถูกตะกอนต่าง ๆ เช่น ทราย หรือโคลนที่ถูกน้าพัดพามาทับ
ถม บางชิ้นค่อย ๆ ละลายหายไป บางชิ้นก็มีการเปลี่ยนแปลงทางเคมีหรือบิดเบี้ยวผิดรูปไปเนื่องจากอุณหภูมิและความ
กดดัน
สรุปขันตอนการเกิดซากดึกดาบรรพ์ ได้ดังนี้
้
1. สัตว์หรือพืชตายลงจมลงสู่ก้นทะเลและส่วนทีเ่ หลือจะค่อย ๆถูกฝังลงในชั้นของตะกอน
2. ตะกอนชั้นล่าง ๆได้กลายเป็นหินและส่วนทีเ่ หลืออยูจะแข็งตัวกลายเป็นซากดึกดาบรรพ์
่
3. หินถูกดันขึนไปมาและถูกกัดเซาะ
้
4. ซากดึกดาบรรพ์โผล่ขนสู่ชั้นผิวโลก
ึ้
ภาพแสดง รูปฟอสซิลไดโนเสาร์ภูกุ้มข้าว ต.โนนบุรี อ. สหัสขันธ์จ. กาฬสินธุ์
ที่มา : http://www.thainame.net/project/fossil5d5/a3.html

ซากดึกดาบรรพ์ส่วนใหญ่มาจากส่วนที่แข็ง ๆของสัตว์และพืช เช่น เปลือกหอย กระดูก ฟัน หรือไม้ ซึ่งอาจจะ
เปลี่ยนแปลงไปจากรูปเดิมหรือไม่ก็เปลี่ยนเป็นแร่ธาตุสัตว์และพืชจะถูกเก็บอยูในหนองซึ่งทับถมกันจนดาเกือบเป็นน้ามัน
่
ดิน พีต น้าแข็งและอาพัน ยางของต้นไม้โบราณ ไข่ รอยเท้าและโพรงไม้ต่างก็สามารถกลายเป็นซากดึกดาบรรพ์ได้ทงสิ้น
ั้
จากการศึกษาซากดึกดาบรรพ์ทาให้ทราบว่า สิ่งมีชีวิตได้อุบัติขึ้นบนโลกอย่างน้อย3,500ล้านปีมาแล้วเกิดมีสายพันธ์สัตว์
และ พืชซึ่งส่วนใหญ่ได้สูญพันธุ์ไปแล้วมีแต่ชิ้นส่วนเล็กจิ๋วที่ยังหลงเหลือ เป็นซากดึกดาบรรพ์ซากดึกดาบรรพ์ทเี่ ก่าแก่ที่สุด
ในโลกคือเซลล์รปร่างเหมือน บักเตรีขนาดเล็กมากมีอายุถึง 3,500 ล้านปี สัตว์ที่มีโครงสร้างยุ่งยากประกอบด้วยเซลล์หลาย
ู
เซล เช่น ไทบราซิเดียมจากออสเตรเลียและอยู่ในมหายุคพรีแคมเบรียมตอนปลาย

ภาพแสดง รูป รอยเท้าไดโนเสาร์ภูแฝก ต. ภูแล่นช้าง กิ่งอาเภอนาคู จ. กาฬสินธุ์
ที่มา : http://www.thainame.net/project/fossil5d5/a3.html
ประเภทของซากดึกดาบรรพ์
ซากดึกดาบรรพ์ของสัตว์มกจะมี 2 ส่วน หลังจากถูกฝังลงไปแล้ว ตัวสัตว์จะเน่าเปื่อย และทิ้งส่วนที่เป็นแบบพิมพ์
ั
กลวง ๆเอาไว้ ถ้ามีตะกอนตกลงไปและแข็งตัวกลายเป็นรูปหล่อ
ซากดึกดาบรรพ์ดัชนี(Index Fossil) ซากดึกดาบรรพ์ที่มีลักษณะพิเศษเฉพาะในหินบริเวณใดบริเวณหนึ่งสามารถใช้
บ่งบอกอายุของชั้นหินนั้นได้
ซากดึกดาบรรพ์เฉพาะแหล่ง( facies fossil) ซากดึกดาบรรพ์ชนิดที่พบอยูเ่ ฉพาะในชั้นหินทีกาหนด หรือเป็นชนิดที่
่
ปรับตัวให้สามารถดารงชีวิตอยู่ได้ในสภาพแวดล้อมที่จากัดในแหล่งเกิดชั้นหินนั้นแล้ว สภาพแวดล้อมดังกล่าวนี้เป็น
สภาพแวดล้อมที่ผิดแปลกไปจากสภาพปรกติโดยทั่วไป
ซากดึกดาบรรพ์แทรกปน(Introduced Fossils; infiltrated fossil) หมายถึง ซากดึกดาบรรพ์ที่มีอายุอ่อนกว่า ถูกนาพา
เข้าไปแทรกปนอยู่กบซากดึกดาบรรพ์หรือหินที่มีอายุแก่กว่า ปรากฏการณ์นี้มักเกิดขึ้นกับซากดึกดาบรรพ์เล็ก ๆซึ่งอยู่ในชั้น
ั
หินตอนบนที่ของเหลวนาพาลงไปชั้นหินตอนล่างที่มีอายุแก่กว่า ตามรอยแตก รูหรือโพรงของสัตว์และช่องว่างที่เกิดจาก
รากไม้
ซากดึกดาบรรพ์ปริศนา( Dubio fossil ) โครงสร้างซึ่งน่าจะมีต้นกาเนิดจากสิ่งมีชีวิต แต่เนื่องจากไม่สามารถแยก
รายละเอียดได้ จึงไม่แน่ว่าจะเป็นสิ่งมีชีวิตหรือไม่
ซากดึกดาบรรพ์พัดพา(Reworked fossil ) เป็นซากดึกดาบรรพ์ที่อยู่ในชั้นหินเดิม ต่อมาหินนันถูกกัดกร่อน ซากดึก
้
ดาบรรพ์จึงถูกพัดพาไปสะสมตัวอยู่ในชั้นหินที่มีอายุอ่อนกว่า
ซากประจาหน่วย ( Characteristic fossil diagonostic fossil) หมายถึงสกุลหรือชนิดของซากดึกดาบรรพ์ทนามาใช้
ี่
เป็นเครื่องอ้างถึง กาหนดหรือเป็นลักษณะเฉพาะตัวของหน่วยหิน หรือหน่วยเวลา โดยใช้ชนิดที่พบอยู่ในเฉพาะชั้นหินนั้น
หรือชนิดที่พบมีปริมาณมากมายในชั้นหินนั้นได้ คล้ายกับซากดึกดาบรรพ์ดัชนี
ภาพแสดง ซากของสัตว์ดึกดาบรรพ์
ที่มา : http://static.howstuffworks.com/gif/fossil-1.jpg

ภาพแสดง รูป รอยเท้าไดโนเสาร์ภูหลวง เขตรักษาพันธ์สัตว์ป่าภูหลวง จ. เลย
ที่มา : http://www.thainame.net/project/fossil5d5/a3.html
ซากดึกดาบรรพ์ของมนุษย์ (โฮมินิตส์) ซากดาบรรพ์ที่พบทาให้ทราบว่าลักษณะเฉพาะของมนุษย์ปรากฏขึ้นเป็นครั้ง
แรกในมนุษย์ออสตราโลพิทิคัส ซึ่งยังคงมีลักษณะเหมือนลิง
การเปลี่ยนแปลงจากซากสิ่งมีชีวิตมาเป็นซากดึกดาบรรพ์นั้น ทาได้ในหลายลักษณะ โดยที่เมื่อสิ่งมีชีวิตตายลง ส่วนต่างๆ
ของสิ่งมีชีวิตจะค่อยๆถูกเปลี่ยน ช่องว่าง โพรง หรือรู ต่างๆในโครงสร้างอาจมีแร่เข้าไปตกผลึกทาให้แข็งขึน เรียก
้
ขบวนการนี้ว่า petrified หรือ เนื้อเยื้อ ผนังเซลล์ และส่วนแข็งอื่นๆ ถูกแทนที่ด้วยแร่ โดยขบวนการ replacement เปลือก
หอยหรือสิ่งมีชีวิต ทีจมอยู่ตามชั้นตะกอน เมื่อถูกละลายไปกับน้าบาดาล จะเกิดเป็นรอยประทับอยูบนชั้นตะกอน ซึ่งเรียก
่
่
ลักษณะนี้ว่า mold หากว่าช่องว่างนี้มีแร่เข้าไปตกผลึก จะได้ซากดึกดาบรรพ์ ในลักษณะที่เรียกว่า cast สิ่งมีชีวิตขนาดเล็กที่
มีลักษณะบอบบาง เช่นพวกแมลง การเก็บรักษาให้กลายเป็นซากดึกดาบรรพ์ โดยปกติทาได้ยาก วิธีการที่เหมาะสม สาหรับ
สิ่งมีชีวิตเหล่านี้ ก็คือการเก็บไว้ในยางไม้ (amber) ซึ่งยางไม้นี้จะป้องกันสิ่งมีชีวิตเหล่านี้จากการทาลายโดยธรรมชาติ
นอกจากนี้ ซากดึกดาบรรพ์ยังอาจเป็นร่องรอย (tracks) ที่เกิดจากสิ่งมีชีวิต เช่น ร่องรอยของสิงมีชีวิต รอยคืบคลาน
่
รอยเท้า ที่อยู่ในชั้นตะกอนและกลายเป็นหินในระยะเวลาต่อมา หรืออาจเป็นช่อง รู โพรง (burrows) ในชั้นตะกอน ในเนื้อ
ไม้ หรือในหิน ที่เกิดจากสิ่งมีชีวิตและมีแร่ไปตกผลึกในช่องเหล่านี้ มูลสัตว์หรือเศษอาหารที่อยูในกระเพาะ (coprolites)
่
เป็นซากดึกดาบรรพ์ ที่มีประโยชน์ในการบอกถึงนิสัยการกินของสัตว์นั้นๆ หรืออาจเป็นก้อนหินทีสัตว์กินเข้าไป
่
(gastroliths) เพื่อช่วยในการย่อยอาหาร
ซากของสิ่งมีชีวิตหรือซากชิ้นส่วนของร่างกายสิ่งมีชีวิตสมัยดึกดาบรรพ์ทคงรูปร่างให้เห็นได้ตัวอย่างเช่น
ี่
1. กระดูกและฟันของสัตว์ที่มีกระดูกสันหลัง ซากของสิ่งมีชีวิตที่แห้งสนิทซึ่งพบในบริเวณที่ร้อนจัด หรือซาก
สิ่งมีชีวิตที่พบอยู่ตามถ้าและอุโมงค์ ซากสิ่งมีชีวิตที่ถูกเก็บรักษาไว้ใต้น้าแข็งบริเวณขั้วโลกหรือบ่อถ่านหิน ในแหล่งน้ามัน
หรือหินทราย
2. แมลง แมงมุม ชิ้นส่วนของดอกไม้ และสิ่งอื่นๆทีฝังตัวอยูในยางไม้
่
่
3. เปลือกหอยต่างๆโครงร่างแข็งที่เป็นที่อยูของประการัง ฟองน้า และสาหร่ายบางชนิดที่มีสารพวกแคลเซียม
่
ประกอบอยูด้วย ซึ่งสิ่งเหล่านี้จะฝังตัวอยู่ในหินปูน
่
4. โปรโตซัวและไดอะตอมที่มีโครงสร้างเป็นสารพวกซิลิกาหรือแคลเซียมตายและตกตะกอนทับถมอยูที่ก้น
่
มหาสมุทร แข็งตัวจับกันเป็นชันหนา
้
5. เกสรดอกไม้ และชิ้นส่วนของดอกไม้ที่ไม่เน่าเปื่อยผุพัง เนื่องจากตกลงไป จมปลักในโคลนที่มีกรดบางชนิดสะสม
อยู่
6. ซากของสิ่งมีชีวิตหรือซากชิ้นส่วนที่แข็งกลายเป็นหิน ตัวอย่างเช่น ชิ้นส่วนของกระดูกหรือเปลือกหุ้มตัวสัตว์ไม่มี
กระดูกสันหลัง เช่น แมลง กุ้ง เปลือกหอย หรือเนื้อเยื่อพืชที่มีสารพวกซิลิกาแทรกเข้าไปแทนที่ ซากเหล่านี้ฝังตัวอยู่ในหิน
ทราย ภายหลังหินทรายถูกกระแสลมพัดสึกกร่อนหรือถูกกระแสน้าชะหินทรายที่อยู่รอบข้างผุกร่อนไหลตามน้า เหลือแต่
ซากดึกดาบรรพ์ซึ่งมีเนื้อละเอียดแน่นกว่า จึงไม่ผุกร่อนและปรากฏให้เห็น
7. ร่องรอยหรือรอยพิมพ์ซากสิ่งมีชีวิตสมัยดึกดาบรรพ์ พบในหินทรายเนื้อละเอียดและในหินชนวน โดยมากมักเป็น
สิ่งมีชีวิตที่มีร่างกายอ่อนนิ่ม เช่น แมงกะพรุน บางครั้งอาจเป็นเปลือกหอยสองฝาที่ฝงตัวอยู่ในถุงทราย ภายหลังเปลือกหอย
ั
สลายไปมีสารพวกซิลิกาบรรจุอยู่เต็มในช่องว่างแทนทีเ่ ปลือกหอย ร่องรอยเช่นนี้อาจแสดงให้เห็นส่วนด้านนอกของเปลือก
หอยก็ได้
8. ร่องรอยทางเดินของสิ่งมีชีวิตที่เหยียบย่าบน โคลนตม ซึ่งสามารถคงสภาพไว้โดยมีตะกอนมาทับถมบนรอยเท้า
เหล่านั้น และเกิดการแข็งตัวขึ้นเรือยๆภายหลัง
่
9. ผลิตภัณฑ์ที่สิ่งมีชีวิตสร้างและขับออกมาสะสมไว้ เช่นแนวประการังต่อมากลายเป็นหินปูน
10. ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากกระบวนการสลายตัวของสิ่งมีชีวิต ซึ่งเกิดขึนอย่างไม่สมบูรณ์ เช่น น้ามันปิโตรเลียม ถ่านหิน
้
แกรไฟต์ เป็นต้น
ลาดับชั้นหิน
ลาดับชั้นหิน คือ การเรียงตัวทับถมกันของตะกอนที่ตกทับถม ณ ที่แห่งหนึ่งในช่วงเวลาที่แตกต่างกัน ซึ่งมักพบว่าชนิดของ
ตะกอนจะแตกต่างกันไปตามกาลเวลา ขึ้นกับสภาพแวดล้อมในอดีตช่วงนั้น เช่น ยุคแคมเบรียนจะสะสมตัวหินทราย หิน
ทรายแป้งและค่อยๆ เปลี่ยนเป็นหินดินดาน หินปูนในยุคออร์โดวิเชียน เป็นต้น
อายุของหิน ก็คือช่วงเวลาที่ตะกอนหรือลาวาตกสะสมตัวหรือกาลังแข็งตัวหรือจับตัวเช่น ดินสะสมตัวในทะเลสาบ
เมื่อประมาณ 260 ล้านปี เมื่อจับตัวเป็นหินและคงอยู่ถึงปัจจุบัน เราก็บอกว่าหินนี้มีอายุ 260 ล้านปีทผ่านมา สาหรับวิธีศึกษา
ี่
หาอายุก็ใช้ทั้งค่าอัตราส่วนการสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสี หรือซากดึกดาบรรพ์ในช่วงนั้นทีเ่ ผอิญตายพร้อมๆ กับการตก
ของตะกอน

ภาพแสดง การลาดับอายุของชั้นหินที่มีอายุมากที่สุดจะอยู่ด้านล่าง ขึ้นไปสู่อายุหนน้อยทีด้านบน
ิ
่
ที่มา : http://photos1.blogger.com/blogger/6864/3170/1600/layer1.2.gif
ประโยชน์ของการใช้ข้อมูลธรณีวิทยา ธรณีวิทยาถือว่าเป็นการศึกษาธรรมชาติ โลกที่เราเหยียบ อาศัยอยู่ ซึ่งถ้าเข้าใจ
มันทั้งหมด เราก็สามารถใช้ประโยชน์จากธรรมชาติและหลีกเลี่ยงภัยธรรมชาติได้ คุณหาทรัพยากร เชื้อเพลิงไม่ได้ ถ้าไม่รู้
ธรณีวิทยา คุณหาแหล่งที่อาศัย สถานที่ ที่มั่นคงต่อชีวิตไม่ได้ถ้าไม่รู้ธรณีวิทยา (เหมือนการไปสร้างบ้านในพื้นที่น้าท่วม
ซ้าซากก็เพราะไม่เข้าใจธรรมชาติทาง ธรณีวิทยา ) และที่สาคัญก็คอวิชานี้เป็นวิชาศึกษาโลก ซึ่งถือว่าเป็นรากฐานของ
ื
วิทยาศาสตร์ที่สาคัญของมนุษย์
อายุของหินบนเทือกเขากลางมหาสมุทร เนื่องจากหินตรงนี้เป็นหินอัคนีประเภทบะซอลต์เป็นส่วนใหญ่ ดังนั้นต้อง
หาอายุโดยใช้การสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสีเท่านั้น รู้สึกว่าตัวหลังๆ เขาใช้ AR-AR กันนะ อายุได้ตั้งแต่ 160 ล้านปีถง
ึ
ปัจจุบน
ั
ภาพแสดง การเกิดหินต่างๆ
ที่มา :
http://www.panyathai.or.th/wiki/images/%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%8E%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%
B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%AB%E0%B8%B4%E0%B8%99.JPG
หิน (Rock) หมายถึง มวลของแข็งทีประกอบขึ้นด้วยแร่ชนิดเดียวกันหรือหลายชนิดรวมตัวกันอยู่ตามธรรมชาติ แบ่ง
่
ตามลักษณะการเกิดได้ 3 ชนิดใหญ่
1. หินอัคนี (Igneous Rock)
เกิดจากหินหนืดที่อยู่ใต้เปลือก โลกแทรกดันขึ้นมาแล้วตกผลึกเป็นแร่ต่างๆ และเย็นตัวลงจับตัวแน่นเป็นหินที่ผิวโลก
แบ่งเป็น 2 ชนิดคือ




หินอัคนีแทรกซอน (Intrusive Igneous Rock) เกิดจากการเย็นตัวลงอย่างช้า ๆ ของหินหนืดใต้เปลือกโลก มีผลึก
แร่ขนาดใหญ่ (>1 มิลลิเมตร) เช่นหินแกรนิต (Granite) หินไดออไรต์ (Diorite) หินแกบโบร (Gabbro)
หินอัคนีพุ (Extruisive Igneous Rock) หรือหินภูเขาไฟ (Volcanic Rock) เกิดจากการเย็นตัวลงอย่างรวดเร็วของหิน
หนืดที่ดันตัวพุออกมานอกผิวโลกเป็น ลาวา (Lava) ผลึกแร่มีขนาดเล็กหรือไม่เกิดผลึกเลยเช่น หินบะซอลต์
(Basalt) หินแอนดีไซต์ (Andesite) หินไรโอไลต์ (Rhyolite)
ภาพแสดง หินแกรนิต แสดงลักษณะทั่วไป และผลึกแร่ในเนื้อหิน
ที่มา :
http://www.panyathai.or.th/wiki/images/%E0%B8%AB%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%
B8%A3%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%95.JPG

2. หินชั้นหรือหินตะกอน (Sedimentary Rock)
เกิดจากการทับถม และสะสมตัวของตะกอนต่างๆ ได้แก่ เศษหิน แร่ กรวด ทราย ดินที่ผุพังหรือสึกกร่อนถูกชะละลาย
มาจากหินเดิม โดยตัวการธรรมชาติ คือ ธารน้า ลม ธารน้าแข็งหรือคลื่นในทะเล พัดพาไปทับถมและแข็งตัวเป็นหินในแอ่ง
สะสมตัวหินชนิดนี้แบ่งตามลักษณะเนื้อ หินได้ 2 ชนิดใหญ่ ๆ คือ




หินชั้นเนื้อประสม (Clastic Sedimentary Rock) เป็นหินชั้นที่เนื้อเดิมของตะกอน พวกกรวด ทราย เศษหินและดิน
ยังคงสภาพอยู่ให้พิสูจน์ได้ เช่น หินทราย (Sandstone) หินดินดาน (Shale) หินกรวดมน (Conglomerate) เป็นต้น
หินเนื้อประสาน (Nonclastic Sedimentary Rock) เป็นหินทีเ่ กิดจากการตกผลึกทางเคมี หรือจากสิ่งมีชีวิต มีเนื้อ
ประสานกันแน่นไม่สามารถพิสูจน์สภาพเดิมได้ เช่น หินปูน (Limestone) หินเชิร์ต (Chert) เกลือหิน (Rock Salte)
ถ่านหิน (Coal) เป็นต้น
ภาพแสดง หินทรายแสดงชั้นเฉียงระดับ
ที่มา :
http://www.panyathai.or.th/wiki/images/%E0%B8%AB%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%8A%E0%B8%B1%E0
%B9%89%E0%B8%99.JPG

ภาพแสดง ชั้นหินทรายสลับชั้นหินดินดาน
ที่มา :
http://www.panyathai.or.th/wiki/images/%E0%B8%AB%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%8A%E0%B8%B1%E0
%B9%89%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A2.JPG
ภาพแสดง หินกรวดมน
ที่มา :
http://www.panyathai.or.th/wiki/images/%E0%B8%AB%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%
B8%A7%E0%B8%94%E0%B8%A1%E0%B8%99.JPG

ภาพแสดง ชั้นหินปูน
ที่มา :
http://www.panyathai.or.th/wiki/images/%E0%B8%8A%E0%B8%B1%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B8%AB%E0%
B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%9B%E0%B8%B9%E0%B8%99.JPG
ภาพแสดง ชั้นหินเชิร์ต
ที่มา :
http://www.panyathai.or.th/wiki/images/%E0%B8%8A%E0%B8%B1%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B8%AB%E0%
B8%B4%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%8A%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%95.JPG
3. หินแปร (Metamorphic Rock)

เกิดจากการแปรสภาพโดยการกระทาของ ความร้อน ความดันและปฏิกิริยาทางเคมี ทาให้เนื้อหิน แร่ประกอบหินและ
โครงสร้างเปลี่ยนไปจากเดิม การแปรสภาพของหินจะอยู่ในสถานะของของแข็ง ซึ่งจัดแบ่งออกเป็น 2 แบบ คือ




การแปรสภาพบริ เวณไพศาล (Regional metamorphism) เกิดเป็ นบริ เวณกว้ างโดยมีความร้ อนและความดัน
ทาให้ เกิดแร่ใหม่หรื อผลึกใหม่ เกิดขึ ้น มีการจัดเรี ยงตัวของแร่ใหม่ และแสดงริ วขนาน (Foliation) อัน
้
เนื่องมาจากแร่เดิมถูกบีบอัดจนเรี ยงตัวเป็ นแนวหรื อแถบขนานกัน เช่น หินไนส์ (Gneiss) หินชีสต์ (Schist) และ
หินชนวน (Slate) เป็ นต้ น
การแปรสภาพสัมผัส (Contact metamorphism) เกิดจากการแปรสภาพโดยความร้ อนและปฏิกิริยาทางเคมี
ของสารละลายที่ขึ ้นมากับ หินหนืดมาสัมผัสกับหินท้ องที่ ไม่มีอิทธิพลของความดันมากนัก ปฏิกิริยาทางเคมีอาจ
ทาให้ ได้ แร่ใหม่บางส่วนหรื อเกิดแร่ใหม่แทนที่แร่ในหิน เดิม หินแปรที่เกิดขึ ้นจะมีการจัดเรี ยงตัวของแร่ใหม่ ไม่
แสดงริ วขนาน (Nonfoliation) เช่น หินอ่อน (Marble) หินควอตไซต์ (Quartzite)
้
ภาพแสดง หินแปร
ที่มา :
http://www.panyathai.or.th/wiki/images/%E0%B8%AB%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%8A%E0%B8%99%E0%
B8%A7%E0%B8%99.JPG

ภาพแสดง หินไนส์ (Gneiss)
ที่มา :
http://www.panyathai.or.th/wiki/images/%E0%B8%AB%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B9%84%E0%B8%99%E0%
B8%95%E0%B9%8C.JPG
ภาพแสดง หินอ่อน (Marble)
ที่มา :
http://www.panyathai.or.th/wiki/images/%E0%B8%AB%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%
B8%AD%E0%B8%95%E0%B9%84%E0%B8%8B%E0%B8%95%E0%B9%8C.JPG

ภาพแสดง หินอ่อน (Marble)
ที่มา :
http://www.panyathai.or.th/wiki/images/%E0%B8%AB%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B9%88%E0
%B8%AD%E0%B8%99.JPG
วัฏจักรของหิน

วัฏจักรของหิน (Rock cycle) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงของหินทั้ง 3 ชนิด จากหินชนิดหนึงไปเป็นอีกชนิดหนึ่งหรืออาจ
่
เปลี่ยนกลับไปเป็นหินชนิดเดิมอีก ก็ได้ กล่าวคือ เมื่อ หินหนืด เย็นตัวลงจะตกผลึกได้เป็น หินอัคนีเมื่อหินอัคนีผ่าน
กระบวนการผุพังอยู่กับที่และการกร่อนจนกลายเป็น ตะกอนมีกระแสน้าลมธารน้าแข็งหรือคลืนในทะเลพัดพาไปสะสมตัว
่
และเกิดการแข็ง ตัวกลายเป็นหิน อันเนื่องมาจากแรงบีบอัดหรือมีสารละลายเข้าไปประสานตะกอนเกิดเป็นหินชั้น ขึ้นเมื่อ
หินชั้นได้รบความร้อนและแรงกดอัดสูงจะเกิดการแปรสภาพกลายเป็นหิน แปรและหินแปรเมื่อได้รับความร้อนสูงมากจน
ั
หลอมละลาย ก็จะกลายสภาพเป็นหินหนืด ซึ่งเมื่อเย็นตัวลงก็จะตกผลึกเป็นหินอัคนีอีกครังหนึงวนเวียนเช่นนี้ เรื่อยไป
้ ่
เป็นวัฏจักรของหิน กระบวนการเหล่านี้อาจข้ามขั้นตอนดังกล่าวได้ เช่น จากหินอัคนีไปเป็นหินแปร หรือจากหินแปรไป
เป็นหินชั้น

ภาพแสดง วัฏจักรของหิน
ที่มา :
http://www.panyathai.or.th/wiki/images/%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%8F%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%
B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%AB%E0%B8%B4%E0%B8%991.JPG

More Related Content

What's hot

โลกดาราศาสตร์ เรื่อง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโลก
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโลกโลกดาราศาสตร์ เรื่อง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโลก
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโลกMoukung'z Cazino
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงnasanunwittayakom
 
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกโลกดาราศาสตร์ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกMoukung'z Cazino
 
บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2Wichai Likitponrak
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงsmEduSlide
 
บทที่ 1 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 1 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 1 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 1 โลกและการเปลี่ยนแปลงnarongsakday
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง บท3(1)
โลกและการเปลี่ยนแปลง บท3(1)โลกและการเปลี่ยนแปลง บท3(1)
โลกและการเปลี่ยนแปลง บท3(1)PornPimon Kwang
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกTa Lattapol
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงsmEduSlide
 
วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3
วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3 วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3
วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3 น้ำ' เพชร
 
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศสรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศสิปป์แสง สุขผล
 
แผ่นดินไหว ดาราศาสตร์ (Earthquake - Astronomy class)
แผ่นดินไหว ดาราศาสตร์ (Earthquake - Astronomy class)แผ่นดินไหว ดาราศาสตร์ (Earthquake - Astronomy class)
แผ่นดินไหว ดาราศาสตร์ (Earthquake - Astronomy class)gamertense
 
โครงสร้างโลก บท1
โครงสร้างโลก บท1โครงสร้างโลก บท1
โครงสร้างโลก บท1PornPimon Kwang
 
Astronomy 02
Astronomy 02Astronomy 02
Astronomy 02Chay Kung
 
โลกเเละการเปลี่ยนเเปลง
โลกเเละการเปลี่ยนเเปลงโลกเเละการเปลี่ยนเเปลง
โลกเเละการเปลี่ยนเเปลงAnuchitKongsui
 
การเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์ธรณี
การเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์ธรณีการเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์ธรณี
การเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์ธรณีคุณครู กดชะกอน
 

What's hot (20)

Change e2009 1
Change e2009 1Change e2009 1
Change e2009 1
 
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโลก
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโลกโลกดาราศาสตร์ เรื่อง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโลก
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโลก
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกโลกดาราศาสตร์ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก
 
บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
บทที่ 1 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 1 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 1 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 1 โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง บท3(1)
โลกและการเปลี่ยนแปลง บท3(1)โลกและการเปลี่ยนแปลง บท3(1)
โลกและการเปลี่ยนแปลง บท3(1)
 
Earth1
Earth1Earth1
Earth1
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
Earth
EarthEarth
Earth
 
วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3
วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3 วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3
วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3
 
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศสรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
 
โลกของเรา
โลกของเราโลกของเรา
โลกของเรา
 
แผ่นดินไหว ดาราศาสตร์ (Earthquake - Astronomy class)
แผ่นดินไหว ดาราศาสตร์ (Earthquake - Astronomy class)แผ่นดินไหว ดาราศาสตร์ (Earthquake - Astronomy class)
แผ่นดินไหว ดาราศาสตร์ (Earthquake - Astronomy class)
 
โครงสร้างโลก บท1
โครงสร้างโลก บท1โครงสร้างโลก บท1
โครงสร้างโลก บท1
 
Astronomy 02
Astronomy 02Astronomy 02
Astronomy 02
 
โลกเเละการเปลี่ยนเเปลง
โลกเเละการเปลี่ยนเเปลงโลกเเละการเปลี่ยนเเปลง
โลกเเละการเปลี่ยนเเปลง
 
การเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์ธรณี
การเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์ธรณีการเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์ธรณี
การเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์ธรณี
 

แผ่นธรณีภาค

  • 1. แผ่นธรณีภาค ภาพแสดง รูปภาพของ ดร.อัลเฟรด เวเกเนอร์ ที่มา : http://www.sema.go.th/files/Content/science/k4/0035/F01/images/Th/1_1.jpg ในปี พ.ศ. 2458 นักอุตุนิยมวิทยาชาวเยอรมัน ชื่อ ดร.อัลเฟรด เวเกเนอร์ (Dr.Alfred Wegener) ได้ตั้งสมมติฐานว่า ผืน แผ่นดินทั้งหมดบนโลกเดิมเป็นแผ่นดินผืนเดียวกัน เรียกว่า พันเจีย (Pangaea) ซึ่งเป็นภาษากรีก แปลว่า แผ่นดินทั้งหมด ต่อมาเมื่อประมาณ 200 ล้านปีที่แล้ว พันเจียเริ่มแยกออกเป็นทวีปใหญ่ 2 ทวีป คือ ลอเรเซีย ทางตอนเหนือ และ กอน วานา ทางตอนใต้โดยทวีปทางตอนใต้จะเคลื่อนที่แยกจากกันเป็น อินเดีย อเมริกาใต้ และอัฟริกา ในขณะที่ออสเตรเลียยังคง เป็นส่วนหนึ่งของกอนวานา จนเมื่อประมาณ 65 ล้านปีที่ผ่านมา มหาสมุทรแอตแลนติก แยกตัวกว้างขึ้น ทาให้อัฟริกา เคลื่อนที่ห่างออกไปจากอเมริกาใต้ แต่ออสเตรเลียยังคงเชื่อมอยู่กับอันตาร์กติกา และอเมริกาเหนือกับยุโรปก็ยังคง ต่อเนื่องกัน ต่อมามหาสมุทรแอตแลนติกขยายกว้างขึ้นอีก อเมริกาเหนือและยุโรปจึงแยกจากกัน อเมริกาเหนือโค้งเว้าเข้าเชื่อม กับอเมริกาใต้ ออสเตรเลียก็แยกออกจากอันตาร์กติกา และอินเดียได้เคลื่อนไปชนกับเอเซียจนเกิดเป็นภูเขาหิมาลัยซึ่งทาให้ เกิดแผ่นดินและมหาสมุทรดังที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน
  • 2. นักธรณีวิทยาแบ่งแผ่นธรณีภาคของโลกออกเป็น 2 ประเภท คือ แผ่นทวีป และแผ่นมหาสมุทร ซึ่งทั้ง 2 ประเภทรวมกันมี จานวน 13 แผ่น คือ 1. แผ่นแอฟริกา 2. แผ่นอเมริกาใต้ 3. แผ่นคาลิบเบีย 4. แผ่นอาระเบีย 5. แผ่นอเมริกาเหนือ 6. แผ่นอเมริกาใต้ 7. แผ่นยูเรีย 8. แผ่นยูเรีย 9. แผ่นฟิลิปปินส์ 10. แผ่นแปซิฟก 12. แผ่นคอคอส 13. แผ่นนาสกา 14. แผ่นแอนตาร์กติก แผ่นธรณีภาคเหล่านี้มีการเคลื่อนที่ตลอดเวลา การแปรสัณฐานแผ่นธรณีภาค (plate tectonic) ภาพแสดง การแยกออกจากกันของแผ่นธรณีภาค ภาคพื้นทวีป ที่มา : http://www.chaiyatos.com/geo_lesson2.htm แมก มาในชั้นฐานธรณีภาคมีทั้งอุณหภูมิและความดันสูง จึงเกิดการดันตัวขึ้นมาบนชั้นธรณีภาค ทาให้แผ่นธรณีภาค (Plate) เกิดการโก่งตัวขึน อันเนื่องจากแรงเค้น (Stress) กระทาต่อแผ่นธรณีภาค และจากสมบัติความแข็งเปาะของแร่ธาตุ ้ ต่างๆ ซึ่งเป็นองค์ประกอบของแผ่นธรณีภาคทาให้แผ่นธรณีภาคเกิดความเครียด (Strain) ทนต่อแรงดันของแมกมาได้ระยะ หนึ่ง ในที่สุดก็จะแตกออก ทาให้อุณหภูมิและความดันของแมกมาลดลง เพราะแมกมาถ่ายโอนความร้อนออกสู่บรรยากาศ ภายนอกได้อย่างเร็วและมากขึ้น เป็นผลให้แผ่นธรณีภาคบริเวณนันเกิดการทรุดตัวลงกลายเป็นหุบเขาทรุด ้
  • 3. ภาพแสดง การแยกออกจากกันของแผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทร ที่มา : http://www.chaiyatos.com/geo_lesson2.htm ในระยะเวลา ต่อมามีน้าไหลมาสะสมกลายเป็นทะเลทีมีรอยแตกอยู่ใต้ทะเล ซึ่งต่อมารอยแตกนั้นก็จะเกิดเป็นรอยแยก ่ จนกลายเป็นร่องลึก (Groove) มีสันขอบ (Ridge) และทาให้แมกมาในชั้นฐานธรณีภาคสามารถแทรกดันขึ้นมาตามรอยแยก แล้วเคลื่อน ที่ม้วนตัวออกมาจากรอยแยกจะทาให้แผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทรเคลื่อนตัวแยกออกไป ทั้งสองข้างของรอยแยก พื้นทะเลจะขยายกว้างออกไปทั้งสองด้าน เรียกกระบวนการนี้ว่า การขยายตัวของพื้นทะเล (Sea floor spreading) ส่วน บริเวณตรงกลางก็ปรากฏเป็นแนวเทือกเขากลางมหาสมุทร (Mid Oceanic Ridge) ภาพแสดง การเคลื่อนที่ของแมกมาในชั้นฐานธรณีภาค ที่มา : http://www.chaiyatos.com/geo_lesson2.htm การเคลื่อน ที่ของแมกมาในชั้นฐานธรณีภาคอันเนื่องมาจากการถ่ายโอนความร้อน ก่อให้เกิดการเคลื่อนทีเ่ ป็นวงจร การพาความร้อน และเนื่องจากแมกมาในชั้นฐานธรณีภาคมีลักษณะเป็นพลาสติกหยุ่น จึงทาให้แผ่นธรณีภาคด้านบน เคลื่อนที่ออกไปจากรอยแตก และมีการเสริมเนื้อขึนมาจากด้านล่าง ดังนั้นแผ่นธรณีภาคอีกด้านหนึงจึงมุดลงไป เป็นการ ้ ่ สูญเสียเนื้อโลกไป เพื่อให้เกิดการสมดุลนั่นเอง การเคลื่อนทีของแมกมาในชั้นฐานธรณีภาคทาให้สวนที่เป็นของแข็งในชั้น ่ ่ ธรณีภาคเคลื่อนที่ไปด้วย เกิดเป็นการเคลื่อนทีของแผ่นธรณีภาค ่ แผ่นธรณีภาค (Plate) เกิดจากการแตกร้าวของเปลือกโลก (Crust) ตั้งแต่บริเวณผิวโลกลึกลงไปจนสิ้นสุดชั้นธรณีภาค
  • 4. การเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีภาค แผ่นธรณีภาคแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ แผ่นทวีป และแผ่นมหาสมุทร แผ่นธรณีภาคเหล่านี้มีการเคลือนที่อยู่ตลอดเวลา ่ นักวิทยาศาสตร์และนักธรณีวิทยาได้ศึกษารอบต่อของแผ่นธรณีภาคอย่างละเอียด และสามารถสรุปลักษณะการเคลื่อนที่ ของแผ่นธรณีภาคได้ดังนี้ 1. ขอบแผ่นธรณีภาคแยกออกจากกัน 2. ขอบแผ่นธรณีภาคเคลื่อนเข้าหากัน 3. ขอบแผ่นธรณีภาคเคลื่อนที่ผ่านกัน ภาพแสดง การเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีภาค ที่มา : http://www.chaiyatos.com/geol20.jpg 1. ขอบแผ่นธรณีภาคแยกออกจากกัน ภาพแสดง ขอบแผ่นธรณีภาคแยกออกจากกัน ที่มา : http://www.bantan.ac.th/blog/wp-content/uploads/2009/06/00.gif
  • 5. เป็นแนวขอบของแผ่นธรณีภาคที่แยก ออกจากกัน เนื่องจากการดันตัวของแมกมาในชั้นธรณีภาค ทาให้เกิดรอยแตก ในชั้นหินแข็ง จนแมกมาสามารถถ่ายโอนความร้อนสู่ชั้นเปลือกโลกได้ อุณหภูมิและความดันของแมกมาจึงลดลงเป็นผลให้ เปลือกโลกตอนบนทรุดตัวกลายเป็น หุบเขาทรุด ปรากฏเป็นเทือกเขากลางมหาสมุทร 2. ขอบแผ่นธรณีภาคเคลื่อนเข้าหากัน ภาพแสดง ขอบแผ่นธรณีภาคเคลือนเข้าหากัน ่ ที่มา : http://kunkrupreeda.exteen.com/images/plat1.jpg แนวที่แผ่นธรณีภาคเคลื่อนเข้าหากันเป็นได้ 3 แบบ ดังนี้ 2.1 แผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทรชนกับแผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทร แผ่นธรณีภาคแผ่นหนึ่งจะมุดลงใต้แผ่นธรณีภาคอีก แผ่นหนึ่ง ปลายของแผ่นธรณีภาคที่มุดลง จะหลอมตัวกลายเป็นแมกมาประทุขนมา เกิดเป็นแนวภูเขาไฟกลางมหาสมุทร ึ้ เช่นที่ ญี่ปน ฟิลิปปินส์ ุ่
  • 6. ภาพแสดง การมุดกันของแผ่นธรณีภาคกับแผ่นธรณีภาค ที่มา : http://www.bantan.ac.th/blog/?p=2490 2.2 แผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทรชนกับแผ่นธรณีภาคภาคพื้นทวีป แผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทรหนักกว่าจะมุดลงใต้ ทา ให้เกิดรอยคดโค้งเป็นเทือกเขาบนแผ่นธรณีภาคภาคพื้นทวีป เช่นที่ อเมริกาใต้แถบตะวันตก แนวชายฝั่งโอเรกอน ภาพแสดง แผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทรมุดตัวลงใต้แผ่นธรณีภาค ที่มา : http://www.bantan.ac.th/blog/?p=2490 2.3 แผ่นธรณีภาคภาคพื้นทวีปชนกับแผ่นธรณีภาคภาคพื้นทวีปอีกแผ่นหนึ่ง เมื่อชนกันทาให้ส่วนหนึ่งมุดตัวลงอีก ส่วนหนึ่งเกยอยู่ด้านบน เกิดเป็นเทือกเขาสูง เช่น เทือกเขาหิมาลัย เทือกเขาแอลป์ ภาพด้านล่าง ภาพแสดง แผ่นธรณีภาคภาคพื้นทวีปชนกับแผ่นธรณีภาคภาคพื้นทวีปอีกแผ่นหนึ่ง เมือชนกันทาให้ส่วนหนึ่งมุดตัวลงอีก ่ ส่วนหนึ่งเกยอยู่ด้านบน ที่มา : http://www.bantan.ac.th/blog/?p=2490
  • 7. 3.ขอบแผ่นธรณีภาคเคลื่อนที่ผ่านกัน ภาพแสดง ขอบแผ่นธรณีภาคเคลือนที่ผ่านกัน ่ ที่มา : http://www.bantan.ac.th/blog/?p=2490 มักเกิดใต้มหาสมุทร ภาคพื้นทวีปก็มี เนื่องจากการเคลื่อนตัวของแมกมาในชั้นเนื้อโลกไมเท่ากัน ทาให้แผ่นธรณีภาค เคลื่อนที่ไม่เท่ากันด้วย เกิดการเลือนผ่านและเฉือนกัน เป็นรอยเลื่อนระนาบด้านข้างขนาดใหญ่ ่
  • 8. ข้อมูลทางธรณีภาค จากข้อมูลทางธรณีวิทยาและการค้นพบซากดึกดาบรรพ์ของพืชและ สัตว์ชนิดเดียวกันและอายุเดียวกันในทวีปต่างๆที่อยู่ ห่างไกลกันทาให้เชื่อ ว่าทวีปต่างๆ ในปัจจุบันแต่เดิมเป็นแผ่นดินเดียวกัน รอยต่อของแผ่นธรณีภาค ภาพแสดง รอยต่อของแผ่นธรณีภาค ที่มา : http://www.chaiyatos.com/geol05.gif เมื่อนาภาพแต่ละทวีปมาต่อกันจะ เห็นว่ามีส่วนที่ต่อกันได้พอดีที่ขอบของแต่ละทวีปเช่นขอบตะวันออกของอเมริกา ใต้กับขอบตะวันตกของแอฟริกาต่อมามหาสมุทร แอตแลนติกเข้ามาแทนทีตรงรอยแยกและทวีปมีการเคลื่อนตัวแยกออกไปเรื่อย ๆจนปัจจุบัน จากหลักฐานและแนวความคิด ่ ข้างต้น ได้มีการศึกษาบริเวณใต้มหาสมุทรแอตแลนติกเพิ่มเติมดังนี้ รอยแยกของแผ่นธรณีภาค และอายุหินบนเทือกเขากลางมหาสมุทร
  • 9. ภาพแสดง ภาพเทือกเขากลางมหาสมุทร ที่มา : http://photos1.blogger.com/blogger/6864/3170/1600/seafloor.0.jpg ภาพแสดง ภาพรอยเลือนเฉือนระนาบด้านข้างตัดขวางเทือกเขากลางมหาสมุทร ที่มา : http://photos1.blogger.com/blogger/6864/3170/1600/17tfault.jpg ใต้มหาสมุทรมีเทิอกเขายาวโค้งอ้อม ไปตามรูปร่างของขอบทวีปด้านหนึ่งเกืบขนานกับชายฝังสหรัฐอเมริกาและอีก ่ ด้าน หนึ่งขนานชายฝังทวีปยุโรป และแอฟริกาเทือกเขากลางมหาสมุทรนี้มีรอยแยกตัวออกเป็นร่องลึกไปตลอดความยาว เทือกเขา และมีรอยตัดขวางบนสัน เขานี้มากมาย รอยแตกนี้เป็นศูนย์กลางการเกิดแผ่นดินไหวและภูเขาไฟระเบิด นอกจากนั้นยังมี เทือกเขาเล็กๆกระจัด กระจายอยู่ทั่วไป ต่อมาเครื่องมือการสารวจใต้ มหาสมุทรมีการพัฒนาอย่างมากเช่นมีการค้นพบหินบะซอลต์ทบริเวณร่องลึกหรือ รอย ี่ แยกบริเวณเทือกเขากลางมหาสมุทรแอตแลนติก และยังพบอีกว่าหินบะซอลต์ ที่อยู่ไกลจากรอยแยกมีอายุมากกว่าหินบะซอลต์ที่อยูใกล้รอยแยก อธิบายได้ว่าเมื่อเกิดรอยแยกแผ่นดินจะเคลื่อนตัวออกจาก ่ กันอย่างช้าๆ ตลอดเวลา ขณะเดียวกันแมกมาจากใต้ธรณีจะดันแทรกเสริมขึ้นมาแข็งตัวเป็นหินบะซอลต์ใหม่ เรื่อยๆ ดังนัน ้
  • 10. โครงสร้างและอายุหนรองรับแผ่นธรณีภาคจึงมีอายุอ่อนสุดบริเวณเทือก เขา ิ และอายุมากขึ้นเมื่อเข้าใกล้ขอบทวีป ภาพแสดง ภาพการแทรกตัวขึ้นมาของแมกมากลางเทือกเขาใต้ มหาสมุทรแอตแลนติก ที่มา : http://photos1.blogger.com/blogger/6864/3170/1600/Seafloor_spreading.jpg หลักฐานสิ่งมีชีวิตทั้งพืชและสัตว์ มีการอ้างหลักฐานการพบซากดึกดาบรรพ์ของสิ่งมีชีวิตทั้งพืชและสัตว์และชั้น ของหินชนิดเดียวกันในสองทวีปแถบ ที่อยู่ด้านเดียวกันหรือใกล้เคียง เวเกเนอร์ได้เสนอแนะให้ลองพิจารณารูปร่างของทวีปต่างๆ บนแผนที่โลก เวเกเนอร์ยังได้ศึกษาซากฟอสซิลของพืชและ สัตว์ที่มีอยู่ตามแนวชายฝั่ง (Coastline)ทั้ง ทวีปอเมริกาใต้และทวีปแอฟริกาซึ่งพบว่าบริเวณที่แนวชายฝั่งทวีปทั้งสองต่อ ตรงกันนั้นซากฟอสซิลที่พบก็เหมือนกันทุกอย่างด้วยซึ่งหมายความว่าพืชและ สัตว์ที่กลายเป็นฟอสซิลนั้นเป็นชนิดเดียวกัน หากทวีปทังสอง อยู่แยกกันมาอย่างในปัจจุบัน โดยมีมหาสมุทรคันระหว่างทวีปเช่นนี้ แล้วพวก พืชและสัตว์ในอดีตเหล่านี้ ้ ่ จะเดินทางจากทวีปหนึ่งข้ามมหาสมุทรแอตแลนติกไปสู่ อีกทวีปหนึ่งได้อย่างไร ข้อสังเกตนี้สนับสนุนสมมติฐานของเวเก เนอร์ที่ว่า ทวีปอเมริกาใต้และทวีปแอฟริกาเดิมเป็นผืนดินเดียวกัน
  • 11. ภาพแสดง ซากฟอสซิลของพืชและสัตว์ที่มีอยู่ตามแนวชายฝั่ง ที่มา : http://www.sema.go.th/files/Content/science/k4/0035/F01/s2-2.htm นอกจากนี้เวเกเนอร์ ยังพบหลักฐานที่สนับสนุนทฤษฎีทวีปเลื่อน เมื่อเขาได้เริ่มศึกษา สภาพอากาศในยุคโบราณก็ได้ พบหลักฐานที่น่าสนใจ คือ กา เปลี่ยนแปลงสภาพ อากาศของโลกธารน้าแข็งที่ทบถมสะสมกันบ่งชีให้เห็นว่าบางส่วนของ ั ้ ทวีปอเมริกาใต้ แอฟริกาใต้ อินเดีย และออสเตรเลียตะวันตก เมื่อประมาณ 300 ล้านปีที่แล้วเคย ปกคลุมด้วยแผ่นน้าแข็ง ใต้ กองธารน้าแข็งเหล่านีจะเป็นชั้นหินแข็งชั้นล่าง (Bedrock) ที่ปรากฏร่องรอยครูดเป็นทาง แสดงให้เห็นว่าธารน้าแข็งเคย ้ เคลื่อนที่ พาดผ่านหินนี้มาก่อน โดยเคลื่อนตัวจา ทวีปแอฟริกาไป สู่มหาสมุทรแอตแลนติก และ จากมหาสมุทรแอตแลนติก ไปสู่ทวีปอเมริกาใต้ รอยครูดจะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อแผ่นดิน ของสองทวีปนีติดกันเท่านั้น ถ้าแยกกันโดยมีมหาสมุทรกั้น ้ อย่างเช่นในปัจจุบน ธารน้าแข็งจะไม่สามารถทิ้งรอยครูดไว้กับชั้นหินที่อยูใต้มหาสมุทรได้เลย ในช่วงเวลา เดียวกันนี้ ซีก ั ่ โลกด้านเหนือ (Northern Hemisphere) มีลักษณะเป็นเขตร้อน และเขียวชอุ่ม พืชพันธุ์อันอุดมสมบูรณ์ที่เกิดในหนองน้าบน ผืน ทวีปอเมริกาตะวันออก ยุโรป และ ไซบีเรียเมื่อครังนั้น ได้กลายมาเป็นเขต เหมืองถ่านหิน ในปัจจุบันซีกโลก ด้านเหนือ ้ ซึ่งมีภูมิอากาศแบบเขตร้อนนี้ช่วยสนับสนุน ทฤษฎีของเวเกเนอร์ เนื่องจาก เมื่อพิจารณาผืนดินใหญ่ หรือแพนเจีย300ล้านปี มาแล้วจะเห็นได้ว่าส่วนที่เป็นเขตร้อนเขียวชอุ่มนัน คือบริเวณเหนือเส้นศูนย์สูตรแม้ว่าจะมีข้อมูลสนับสนุนทฤษฎีของเวเก ้ เนอร์แต่ นักวิทยาศาสตร์ในยุคนันก็ไม่เห็นด้วยกับแนวคิดนี้และต้องใช้เวลานานถึง ครึ่งศตวรรษ ทฤษฎีของเวเกเนอร์จึง ้ ได้รับการยอมรับ
  • 12. ภาพแสดง ชั้นหินแข็งชั้นล่าง ที่มา : http://www.sema.go.th/files/Content/science/k4/0035/F01/s2-4.htm รอยต่อธรณีภาค เป็นรอยตะเข็บเก่าๆดังเดิมที่เกิดจากการชนกันของแผ่นเปลือก โลก2แผ่นขึ้นไปที่มความแตกต่างกันทางธรณีประวัติ ้ ี ชนิดหินซากดึกดาบรรพ์ ลักษณะสาคัญของรอยตะเข็บนีคือ จะมีหนหรือตะกอนหินที่มาจากพื้นมหาสมุทร เท่านั้นโผล่ ้ ิ ขึ้นมาเช่นหินที่พบในOceanicfloorหินเชิร์ตน้าลึกเม็ดแร่ แมงกานีสซึ่งหินดังกล่าวไม่สามารถพบได้ง่ายในแผ่นดินทั่วไป ซึ่ง ที่หินพวกนี้โผล่ขึ้นมาได้ก็เพราะการชนกัน ทาให้เกิดการเกย การยู่ยี่และบีบตัวของแผ่นมหาสมุทรที่อยู่ตรงกลางแบบกล้วย ทับถูกเหยียบ นอกจากนี้ยังพบว่าใกล้รอยตะเข็บมักพบหินภูเขาไฟเดิมเป็นเทือกอีกด้วย ในประเทศไทย รอยต่อธรณีที่ชัดเจนและยอมรับกันมากที่สุดได้แก่ รอยต่อธรณีน่าน-อุตรดิตถ์ สระแก้ว-จันทบุรีและแถบ นราธิวาส ประโยชน์ของรอยต่อ คือจะมีแร่ธาตุที่พบเฉพาะใน ท้องทะเลลึก สะสมตัวอยู่เช่น โครไมต์ แมงกานีส และก็ยังมีแร่ที่ เกิดจากการเฉือนเช่น ทัลก์ แอสเบตทอส และยังเป็นสถานที่ทศึกษาลักษณะของท้องทะเลลึกได้โดยไม่ต้องดาน้าเป็นกิโลๆ ี่ รอยต่อของแผ่นธรณี เมื่อนาแผ่นภาพแต่ละทวีปมาต่อกัน จะเห็นว่ามีส่วนที่ต่อกันได้พอดี เช่น ขอบตะวันออกของอเมริกาใต้สามารถต่อ กับขอบตะวันตกของทวีปแอฟริกาใต้ได้อย่าง พอดี ซึ่งเป็นเหตุผลที่สามารถตั้งเป็นสมมติฐานได้ว่า ทวีปทั้งสองอาจเป็น แผ่นดินผืนเดียวกันมาก่อน แล้วต่อมาก็แยกออกจากกันโดยเคลื่อนไปทางทิศตะวันออกส่วนหนึ่ง และทิศตะวันตกอีกส่วน หนึ่ง จนกลายเป็นมหาสมุทรแอตแลนติกเข้ามาแทนที่ตรงรอยแยก และแผ่นทวีป ก็มีการเคลื่อนตัวแยกไปเรื่อย ๆ จน ปรากฏเป็นตาแหน่ง และรูปร่างของทวีปทังสองดังปัจจุบน ้ ั
  • 13. ภาพแสดง แนวขอบของทวีปต่างๆในปัจจุบนทีคิดว่าเคยต่อเชื่อมเป็นผืนเดียวกัน ั ่ ที่มา : http://www.geothai.net/2009/index.php?option=com_content&view=article&id=80:-platetectonics&catid=57:tectonics&Itemid=100007 ภูเขาไฟเกือบทั้งหมด ในโลก จะพบในบริเวณรอยต่อของแผ่นธรณีภาค โดยเฉพาะรอบๆมหาสมุทรแปซิฟิก ที่เรียกว่า วงแหวนแห่งไฟ สาหรับประเทศไทยไม่มีภูเขาไฟที่มีพลัง เนื่องจากอยู่นอกเขตการมุดตัวของแผ่นเปลือกโลก ภูเขาไฟส่วน ใหญ่ไม่ชัดเจน ที่มีรูปร่างชัดเจน ได้แก่ ภูเขาไฟดอยผาคอกหินฟู(ลาปาง) ภูพระอังคารและภูเขาพนมรุ้ง(บุรีรัมย์) ซึ่งจะมี ปากปล่องเหลือให้เห็น ทั้งนีเ้ กิดขึนมานานแล้ว ถูกกระบวนการกัดกร่อนผุพังทาลายจนไม่เห็นรูปร่างของภูเขาไฟชัดเจน ้ ปล่องภูเขาไฟลาปางที่จัดได้ว่าเห็นชัดที่สุด ตั้งอยู่ในพื้นทีต่อเนื่องของอาเภอเมืองและอาเภอแม่ทะ ได้แก่ปล่อง ภูเขาไฟดอย ่ ผาคอกจาป่าแดด และปล่องภูเขาไฟดอยผาคอกหินฟู ปล่องภูเขาไฟทั้งสอง ตั้งอยู่ไม่ห่างกัน โดยอยูคนละฝังถนน สายเข้า ่ ่ เหมืองถ่านหินแม่เมาะ การเข้าถึงทาได้โดยใช้เส้นทางหลวงหมายเลข 11 (ลาปาง-เด่นชัย) ออกจากตัวเมืองลาปางไป 10 กิโลเมตร ให้เลี้ยวซ้ายเข้าเหมืองถ่านหินแม่เมาะไปถึงระหว่างหลักกิโลเมตรที่ 2 และ 3 จะมีทางเลี้ยวขวาเข้าวัดเวียงสวรรค์ ให้วิ่งตามทางลาดยางเข้าไป 3.5 กิโลเมตรจะถึงวัด แต่ไม่เข้าวัดให้เลยไปจนสุดถนนซึ่งเป็นลานจอดรถด้านหลัง แล้วเดินขึน ้ บันไดซีเมนต์ไปอีกราว 100-200 เมตร ขึ้นไปทีศาลาชมวิวบนยอดเขา ซึ่งสร้างอยู่บนปากปล่องของภูเขาไฟดอยผาคอกหินฟู ่ ส่วนปล่อง ภูเขาไฟดอยผาคอกจา ป่าแดด ให้ใช้ถนนเข้าเหมืองเช่นกัน ไปจนเลยหลักกิโลเมตรที่ 6 เล็กน้อยจะมีทางแยกซ้ายเข้าสู่ เชิงเขาดอยผาคอกจาป่าแดด แต่ทนี่ไม่มีทางขึนเขาเหมือนที่ดอยผาคอกหินฟู จึงขึนไปปากปล่องไม่ได้ ี่ ้ ้
  • 14. ชื่อของภูเขาไฟทั้งสองได้มาจากชาวบ้านในบริเวณนั้น เป็นคาง่ายๆ ที่มีความหมายสอดคล้องกับลักษณะของปล่อง ภูเขาไฟ คาว่า ผาคอก หมายถึงเขาที่มีผากั้นล้อมรอบ หินฟู หมายถึงหินที่มีลักษณะเป็นรอยแตกฟู มีน้าหนักเบา ลอยน้าได้ หรือตะกรันภูเขาไฟ (Scoria) ส่วนคาว่า จาป่าแดด เป็น ต้นไม้ชนิดหนึ่ง ทีขึ้นอยู่เป็นจานวนมากในบริเวณปล่อง ภูเขาไฟ ่ ภูเขาไฟทั้งสองลูกนี้สามารถมองเห็นได้ในระยะไกลจากเส้นทางสาย ลาปาง-เด่นชัย ประมาณหลักกิโลเมตรที่ 14 ที่ กลางสะพานข้ามทางรถไฟ โดยให้มองไปทางเหมืองแม่เมาะจะเห็นภูเขายาวต่อเนื่องกันตั้งตระหง่านขวาง หน้า ให้สังเกต ภูเขาลูกเล็กยอดแหลม ซึ่งโดดเด่นกว่าบริเวณข้างเคียงตรงกลางเทือก จุดนี้เป็นจุดแบ่งระหว่างภูเขาไฟดอยผาคอกจาป่าแดด ที่อยู่ทางซ้ายและภูเขาไฟ ดอยคอกผาหินฟู ที่อยู่ทางขวา มีระยะห่างกันในแนวเหนือใต้ เป็นระยะทางประมาณ 2 กิโลเมตร ปล่องภูเขาไฟลาปางอีกบริเวณหนึ่ง อยู่ที่บริเวณอาเภอเกาะคา อยู่ห่างจากตัวเมืองลาปางไปประมาณ 32 กิโลเมตร อยู่ ในแผนที่ภูมิประเทศ มาตราส่วน 1: 50,000 ระวางอาเภอเกาะคา เส้นละติจดที่ 19ฐ 0ข 94ขข เหนือกับเส้นลองจิจดที่ 5ฐ 40 ู ู ข 100ขข ตะวันออก ปล่องภูเขาไฟนี้มีถนนสายลาปาง-สบปราบ (ทางหลวงหมายเลข 1) ตัดผ่านระหว่างหลักกิโลเมตรที่ 586 ซึ่งเป็นจุดสูงสุดของเส้นทางสายนี้ โดยจะเห็นชั้นหินลาวา (หินบะซอลต์) ซ้อนทับกันเป็นชั้นๆ เนื่องจากปากปล่อง ภูเขาไฟมีบริเวณกว้าง ลักษณะของพืชหรือต้นไม้คลุมดินมีลักษณะเหมือนๆ กับภูมิประเทศทั่วๆ ไปจึงไม่เป็นทีทราบว่า ่ บริเวณนั้นเป็นส่วนหนึ่งของปล่องภูเขาไฟ
  • 15. อายุทางธรณีวิทยา อายุทางธรณีวิทยา เป็นอายุทเี่ กียวกับการเกิดของโลก ทุกอย่างทีอยู่ใต้ผิวดินจะเกี่ยวข้องกับธรณีวิทยาทั้งสิ้น จึงต้องมีการ ่ ่ ให้อายุ เพื่อลาดับขั้นตอน เหตุการณ์ ว่าหิน แร่ ซากดึกดาบรรพ์ที่พบใต้ผิวโลก (จากการเจาะสารวจ) หรือโผล่บนดินเกิด ในช่วงใด เพื่อจะได้หาความสัมพันธ์ และเทียบเคียงกันได้ มีหน่วยเป็นล้านปี อายุทางธรณีวิทยานอกจากเป็นตัวเลขแล้ว ก็มี ชื่อเรียกด้วย ซึ่งส่วนใหญ่ก็จะใช้ชื่อตามชื่อสถานที่ทางภูมิศาสตร์ที่มีการพบซากดึกดา บรรพ์ ภาพแสดง เจดียหอย จังหวัดปทุมธานี ์ ที่มา : http://www.unseentourthailand.com/pgallery/datafiles/gallery/large/gallery_20090414_17996c5.jpg การศึกษาหาอายุทางธรณีวิทยา หาได้ 2 ลักษณะ คือ มี 2 ลักษณะ คือ 1. อายุเทียบสัมพันธ์หรืออายุเปรียบเทียบ (Relative age) คือ เป็นช่วงระยะเวลาอายุทางธรณีวิทยาโดยศึกษาจากชั้น หิน หรือการลาดับชั้นหิน ลักษณะทางธรณีวิทยา หรือเหตุการณ์ทางธรณีวิทยาอื่นๆ โดยเมื่อนามาเปรียบเทียบสัมพันธ์ซึ่ง กันและกัน กับดัชนีต่างๆ รายงานวิชาการอื่นๆ ที่พบในชั้นหิน เช่น หาจากซากดึกดาบรรพ์ต่างๆ ที่พบอยู่ในหิน ว่าเป็นสกุล และชนิดใด เป็นต้น ซึ่งศาสตร์นต้องอาศัยการสั่งสมประสบการณ์และความเชี่ยวชาญสูง ซึ่งแทนทีจะบ่งบอกเป็นจานวนปี ี้ ่ แต่การบอกอายุของหินแบบนี้กลับบอกได้แต่เพียงว่า สิ่งไหนเกิดก่อนหรือหลัง อายุแก่กว่าหรืออ่อนกว่าหิน หรือซากดึกดา บรรพ์ อีกชุดหนึ่งเท่านัน โดยอาศัยตาแหน่งการวางตัวของหินตะกอนเป็นตัวบ่งบอก( Index fossil) เป็น ส่วนใหญ่ เพราะ ้ ชั้นหินตะกอนแต่ละขั้นจะต้องใช้ระยะเวลาช่วงหนึ่งที่จะเกิดการทับถม เมื่อสามารถเรียงลาดับของหินตะกอนแต่ละชุด ตามลาดับก็จะสามารถหาเวลาเปรียบ เทียบได้ และจะต้องใช้หลักวิชาการทางธรณีวิทยา(Stratigraphy)ประกอบด้วย
  • 16. การศึกษาเวลาเปรียบเทียบโดยอาศัยหลักความจริง มี อยู่ 3 ข้อคือ 1.1 กฎการวางตัวซ้อนกันของชั้นหินตะกอน (Law of superposition) ถ้าหินตะกอนชุดหนึ่งหรือหินอัคนีผุไม่ถูก พลิกกลับ (Overturn) โดย ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติแล้ว ส่วนบนสุดของหินชุดนี้ย่อมจะมีอายุอ่อนหรือน้อยที่สุด และ ส่วนล่างสุดย่อมจะมีอายุแก่ที่สุดหรือมากกว่าเสมอ 1.2 กฎของความสัมพันธ์ในการตัดผ่านชั้นหิน (Law of cross-cutting relationship) กล่าวคือ หินทีตัดผ่านเข้ามาในหิน ่ ข้างเคียง ย่อมจะมีอายุน้อยกว่าหินที่ถูกตัดผ่านเข้ามา 1.3 การเปรียบเทียบสหสัมพันธ์ของหินตะกอน (Correlation of sedimentary rock) ศึกษาเปรียบเทียบหินตะกอนใน บริเวณที่แตกต่างกันโดยสามารถเปรียบเทียบได้โดยอาศัยใช้ลักษณะทางกายภาพ เช่น 1.3.1 ใช้ลกษณะทางกายภาพโดยอาศัยชั้นหินหลักหรือคีย์เบด (Key bed) ซึ่ง เป็นชั้นหินที่กาหนดได้สะดวกง่ายดาย ั โดยมีลักษณะเด่นเฉพาะบางประการตัวของมันเอง เช่น ซากพืช สัตว์ เป็นต้น และชั้นหินหลักนี้ ถ้าพบที่ไหนในบริเวณที่ ต่างกันก็จะมีอายุหรือช่วงเวลาทีเ่ กิดเท่ากันหรือ ใกล้เคียงกัน สามารถบ่งบอกจดจาได้อย่างถูกต้องถึงว่าชั้นหินที่วางตัวอยู่ ข้างบนและข้าง ล่างของคียเ์ บดจะมีลักษณะแตกต่างกันออกไปในแต่ละบริเวณด้วย 1.3.2 เปรียบเทียบโดยใช้ซากดึกดาบรรพ์ (Correlation by fossil) โดย มีหลักเกณฑ์คือ ในชันหินใดๆ ถ้ามีซากดึกดา ้ บรรพ์ชนิดเดียวกัน ที่เหมือนหรือคล้ายคลึงเกิดอยู่ในตัวของมันแล้ว แม้ชั้นหินนั้นๆ จะอยู่ต่างที่กัน ย่อมมีอายุหรือช่วง ระยะเวลาที่เกิดเดียวกันหรือใกล้เคียงกับซากดึกดาบรรพ์ ที่สามารถจะใช้เปรียบเทียบได้ดี ต้องมีช่วงเวลาที่อาศัยอยู่บนโลก เป็นเป็นช่วงระยะเวลาสั้นๆ แต่เกิดอยู่อย่างกระจัดกระจายเป็นบริเวณกว้างขวางมากที่สุด ซึ่งฟอสซิลเหล่านี้เรียกว่า ไกด์ ฟอสซิลหรือ อินเด็กฟอสซิล หรือ ซากดึกดาบรรพ์ดัชนี (Guide or Index fossil) 2. อายุสัมบูรณ์ (Absolute age) หมาย ถึง เป็นระยะเวลาที่สามารถบ่งบอกอายุที่แน่นอนลงไป เช่น อายุซากดึกดา บรรพ์ของหินหรือวัตถุต่างๆ ที่สามารถหาได้ ลักษณะหรือเหตุการณ์ทางธรณีวิทยา (โดยมาก การบอกอายุเป็นตัวเลขได้ วัด เป็นปี เช่น พันปี ล้านปี) มาหาอายุ โดยทั่วไปหมายถึงการกาหนดหาอายุที่จากการวิเคราะห์และคานวณหาได้จากไอโซโทป ของธาตุกัมมันตรังสีทปะปนประกอบอยู่ในหินหรือในซากดึกดาบรรพ์หรือวัตถุ นั้นๆ ขึ้นอยู่กับวิธีการและช่วงเวลาครึ่ง ี่ ชีวิต(Half life period) ของธาตุนน ๆ เช่น C-14 มีครึ่งชีวิตเท่ากับ 5,730 ปี จะใช้กับหินหรือ Fossil โบราณคดี ที่มีอายุไม่เกิน ั้ 50,000 ปี ส่วน U-238 หรือ K-40 จะใช้หนที่มีอายุมาก ๆ ซึ่งมีวิธีการที่สลับซับซ้อน ใช้ทนสูง และแร่ที่มีปริมาณรังสีมี ิ ุ ปริมาณน้อยมาก วิธีการนี้เรียกว่า การตรวจหาอายุจากสารกัมมันตภาพรังสี (Radiometric age dating)
  • 17. การใช้ธาตุกัมมันตรังสีเพื่อหาอายุหิน หรือ ฟอสซิล นั้น ใช้หลักการสาคัญคือการเปรียบเทียบอัตราส่วนของธาตุ กัมมันตรังสีที่เหลืออยู่ ( End product) ที่เกิดขึ้นกับไอโซโทปของธาตุกัมมันตรังสีตั้งต้น (Parent isotope) แล้วคานวณโดย ใช้เวลาครึ่งชีวิตมาช่วยด้วยก็จะได้อายุของชั้นหิน หรือ ซากดึกดาบรรพ์ นั้น ๆ เช่น วิธีการ Uranium 238 - Lead 206 วิธีการ Uranium 235 - Lead 207 วิธีการ Potassium 40 - Argon 206 วิธีการ Rubidium 87- Strontium 87 วิธีการ Carbon 14 - Nitrogen 14 ประโยชน์ของการหาอายุโดยใช้ธาตุกัมมันตรังสีมี 2 ประการคือ 1. ช่วยในการกาหนดอายุทแน่นอนหลังจากการใช้ Fossil และ Stratigrapy แล้ว ี่ 2. ช่วยบอกอายุหรือเรื่องราวของยุคสมัย พรีแคมเบียน (Precambrian) นี้ถูกเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องไปอย่างมาก ร่องรอยต่าง ๆจึงสลายไปหมด ความรู้เพิ่มเติม จาก การศึกษาชนิดของสิ่งมีชีวิต ประกอบกับการเรียงลาดับชั้นหินที่พบซากดึกดาบรรพ์ชนิดนั้น ทาให้นักธรณีวิทยา ที่ศึกษาเกี่ยวกับซากดึกดาบรรพ์ (นักโบราณชีววิทยา, Paleontologist) มี ความรู้เพิ่มขึ้นในเรื่องวิวัฒนาการของสัตว์หลาย เซลล์และสัตว์ชั้นสูงซึ่ง เกิดขึ้นมาบนโลกเมื่อประมาณ 545 ล้านปีที่ผ่านมา นักธรณีวิทยาได้แบ่งอายุของโลกออกเป็นช่วงๆ เรียกว่า “ธรณีกาล” โดยใช้เหตุการณ์และการเปลี่ยนแปลงที่สาคัญทางธรณีวิทยาและการเปลี่ยนแปลงตามธรรมชาติของ โลกเป็นหลักในการแบ่ง ประกอบด้วยมหายุค (Era) ยุค (Period) และสมัย (Epoch) โดยแบ่งโลกออกเป็น 3 มหายุคกับอีก 11 ยุค จากยุคก็แบ่งย่อยเป็นสมัย มีเวลาเป็นปีกากับของแต่ละช่วงยุคสมัย ทั้งนี้ได้จดให้ชีวิตเริ่มแรกที่เป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวหลังจากโลกเริ่มเย็นตัวลงเป็นทั้งมหายุค และยุค เรียกว่า “พรีแคม ั เบรียน” (3,500 – 545 ล้านปี) ซึ่งในยุคนี้หลายประเทศ เช่น แคนาดาและออสเตรเลีย ได้ใช้ซากดึกดาบรรพ์สโทรมาโทไลต์ เป็นตัวกาหนดยุค แต่ในประเทศไทยไม่มีรายงานการสารวจพบซากดึกดาบรรพ์ของยุคนี้ อายุจึงได้จากการลาดับชั้นหินและ ชนิดของหินเป็นหลัก โดยจัดให้หินแปรที่เกิดจากการแปรสภาพขั้นสูง เช่น หินไนส์ ชีสต์ และแคลซิลิเกต เป็นต้น เนื่องจาก ความร้อนและความกดดันที่เกิดขึนจากการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกและ การแปรสัณฐานของแผ่นธรณีภาคหลายครั้ง ้ เกิดขึ้นในยุคนี้ หินในยุคนีจึงยืนหยัดผ่านการเปลี่ยนแปลงมายาวนาน มีความแข็งแกร่งคงทนเช่นเดียวกับคนที่ผ่านชีวิตมา ้ อย่างยืนยาว
  • 18. ภาพแสดง การเรียงลาดับยุคของไดโนเสาร์ ที่มา : http://school.obec.go.th/gtxpy1/work/supachaya/mamaboy_dailynews_2.jpg โลกในระยะเวลาต่อมาจาก 545 – 250 ล้านปี ได้แก่ มหายุคพาลีโอโซอิกเป็นยุคสมัยของซากดึกดาบรรพ์อย่างแท้จริง มีซากของสิ่งมีชีวิตโบราณที่เกิดขึนอย่างมากมาย มีทั้งสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว และหลายเซลล์ เริ่มมีการพัฒนารูปร่างของสัตว์ที่ ้ มีเปลือกห่อหุ้ม มีโครงร่างแข็งแรงขึ้น โดยเริ่มแรกเป็นสัตว์ทะเลแล้ววิวัฒนาการขึ้นมาอาศัยอยู่บนบก เริ่มมีวิวัฒนาการของ พืชและสัตว์หลายพันธุ์ เช่น แมลง สัตว์ครึ่งบกครึงน้า ปลา สัตว์เลื้อยคลาน ต้นไม้ยืนต้น เป็นต้น แต่ในช่วงอายุนี้ก็มีการสูญ ่ พันธุ์ของสิ่งมีชีวิตด้วยเช่นกัน มหายุคถัดไปตังแต่ 250 – 65 ล้านปี ได้แก่ มหายุคมีโซโซอิก เป็นยุคสมัยของสัตว์ที่มีขนาดใหญ่ และพืชชั้นสูง และ ้ บางชนิดก็สูญพันธุ์ไป เช่น ช่วงเวลาที่ไดโนเสาร์ไดโนเสาร์ซึ่งเริ่มชีวิตในช่วงนี้ อาศัยอยู่บนโลก มันกินช่วงเวลาที่ดีที่สุด 3 ช่วงเวลา คือยุคไทรแอสสิก จูแรสสิก และครีเตเซียส เป็นระยะเวลา ประมาณ 140 ล้าน ปี นับเป็นช่วงเวลา ที่ยาวนานมาก เมื่อมองไปถึงช่วงเวลาที่ มนุษยชาติ ที่เป็นบรรพบุรุษ ของคนเรา เคยอาศัยอยู่ในโลกนี้ เพียงประมาณ 100,000 ปี เท่านั้น นั่น แสดงว่า มนุษย์ โบราณ ไม่เคยอยูอาศัย และต่อสู้กับ ไดโนเสาร์เลย แล้วไดโนเสาร์ก็สูญพันธุ์ไปจากโลกในช่วงประมาณ 65 ่ ล้านปี ปลายของมหายุคนีเ้ ช่นกัน มหายุคสุดท้าย ตั้งแต่ 65 ล้านปี – ปัจจุบัน ได้แก่ มหายุคซีโนโซอิก กาลเวลาอันยาวนานในช่วงนี้ เป็นช่วงกาเนิดและ วิวัฒนาการของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ทั้งขนาดเล็กและขนาดใหญ่ รวมทั้งสายพันธุ์มนุษย์ ซึ่งมนุษย์ คนแรกของโลก เพิ่งเกิด เมื่อ 5 ล้านปีที่แล้วนีเ้ อง และพืชดอกก็เจริญเต็มที่ ในช่วงนีเ้ ป็นช่วงเวลาที่บรรยากาศโลกคล้ายปัจจุบนมากที่สุด ั ซาก ดึกดาบรรพ์ที่เกิดขึ้นนันบ่งบอกอายุ และสภาพแวดล้อมของยุคสมัยนัน แต่ซากดึกดาบรรพ์ที่จะบ่งบอกอายุได้ดี ้ ้ จะต้องเป็นซากดึกดาบรรพ์ที่เมื่อมี ชีวิต อาศัยอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม แพร่ขยายพันธุ์ได้รวดเร็วเป็นปริมาณมาก แต่ มีช่วงอายุสั้น และสูญพันธุ์เร็ว เรียกว่า ซากดึกดาบรรพ์ดัชนี (Index fossil) เช่น โคโนดอนต์ ซึ่งเป็นจุลชีวินที่บงบอกอายุใน ่ ยุคออร์โดวิเชียนในประเทศไทย แกรปโทไลต์เป็นซากดึกดาบรรพ์ในยุคไซลูเรียนและฟูซูลินด บ่งบอกอายุในยุคเพอร์เมียน ิ เป็นต้น
  • 19. หลัก ฐานจากซากดึกดาบรรพ์ที่ได้จากการสารวจศึกษาทาให้เราทราบถึงสายการวิวัฒนาการ ของสิ่งมีชีวิตทั้งพืช และสัตว์ มีทั้งที่สูญพันธุ์ และที่สามารถดารงพันธุ์สืบเนื่องมาจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ซึ่งอาจจะเป็นเหมือนต้นไม้แห่งชีวิต ที่ เริ่มต้นจากจุดเล็กๆ ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว แล้วแตกกิ่งก้านสาขาออกไปมากมาย เหมือนกับการกระจายพันธุ์ออกไปของ พืชและสัตว์หลายชนิด ภาพแสดง สิ่งมีชีวิตในแต่ละยุคของธรณีประวัติ ที่มา : http://photos1.blogger.com/blogger/6864/3170/1600/1017_timeline.2.jpg
  • 20. ซากดึกดาบรรพ์ ซากดึกดาบรรพ์ หมายถึง ซากและร่องรอยของบรรพชีวิน(Ancient life)ที่ประทับอยู่ในหิน บางแห่งเป็นรอยพิมพ์ บางแห่ง ก็มีซากเดิมปรากฏอยู่ รอยตีนสัตว์ มูลสัตว์ ถ่านหิน ไม้กลายเป็นหิน รวมอยู่ในหมู่ซากดึกดา-บรรพ์นี้เหมือนกัน ถ้าเป็น ไฟลัมหรือชั้นของชีวินดึกดาบรรพ์ใดที่สามารถใช้บ่งบอกอายุหินได้ เรียกว่า ซากดึกดาบรรพ์ดรรชนี(Index fossil) การศึกษาซากดึกดาบรรพ์ เรียกว่า เพลิโอนโทโลยี ซึ่งบ่งชี้ว่า สิ่งมีชีวิตเกิดขึ้นบนโลกอย่างน้อย 3,500 ล้านปีมาแล้ว ตั้งแต่ นั้นมาก็เกิดสายพันธ์ของสัตว์และพืช ซึ่งส่วนใหญ่ได้สูญพันธ์ไปแล้ว การศึกษาซากที่ยังหลงเหลืออยู่ทาให้เราได้เห็นชีวิต ในยุคดึกดาบรรพ์ที่อยูบนผิวโลก ่ กลุ่มชีวินดึกดาบรรพ์(Fossil Assemblage) ได้แก่ 1. กลุ่มชีวน : กลุ่มของสิ่งมีชีวิตที่ประกอบด้วยสัตว์หรือพืชชนิดเดียวกันหรือใกล้เคียงกัน หรือกลุ่มของซากดึกดา ิ บรรพ์ทปรากฏอยู่ในลาดับชั้นหินชั้นเดียวกันในพื้นที่ใดพื้นทีหนี่ง ี่ ่ 2. กลุ่มแร่ : แร่ต่าง ๆที่ประกอบกันขึ้นเป็นหินแต่ละชนิด โดยเฉพาะหินอัคนีและหินแปร ชั้นกลุ่มชีวิน(Assemblage zone; Cenozone ) หมายถึงกลุ่มชั้นหินซึ่งประกอบด้วยซากดึกดาบรรพ์ที่มีลักษณะเด่นชัดเฉพาะ กลุ่มนั้น ๆซึ่งแตกต่างจากส่วนชั้นหินใกล้เคียง ส่วนชั้นกลุ่มชีวินนี้ใช้ประโยชน์เป็นตัวบ่งชี้ถึงสภาพแวดล้อมในอดีตและใช้ ในการเทียบชั้นหิน การเกิดซากดึกดาบรรพ์ ขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงจากสิ่งมีชีวิตไปเป็นซากดึกดาบรรพ์เกิดขึ้นกว่าหลายล้านปีมาแล้ว ทันทีที่สัตว์และพืชตาย มันก็จะเริ่มแยกออกเป็นส่วน ๆหรือผุผังไป ส่วนที่แข็งอย่างเปลือกหอย กระดูกและฟันของสัตว์หรือไม้จะยังคงทนอยู่นาน กว่าเนื้อเยื่อนุม ๆแต่มักจะกระจัดกระจายหายไปเพราะการกระทาของสัตว์ ลม หรือน้า สิ่งใดจะกลายเป็นซากดึกดาบรรพ์จะ ่ ถูกฝังลงไปใต้ดินอย่างรวดเร็วก่อนที่จะแยกออกเป็นส่วน ๆและถูกตะกอนต่าง ๆ เช่น ทราย หรือโคลนที่ถูกน้าพัดพามาทับ ถม บางชิ้นค่อย ๆ ละลายหายไป บางชิ้นก็มีการเปลี่ยนแปลงทางเคมีหรือบิดเบี้ยวผิดรูปไปเนื่องจากอุณหภูมิและความ กดดัน สรุปขันตอนการเกิดซากดึกดาบรรพ์ ได้ดังนี้ ้ 1. สัตว์หรือพืชตายลงจมลงสู่ก้นทะเลและส่วนทีเ่ หลือจะค่อย ๆถูกฝังลงในชั้นของตะกอน 2. ตะกอนชั้นล่าง ๆได้กลายเป็นหินและส่วนทีเ่ หลืออยูจะแข็งตัวกลายเป็นซากดึกดาบรรพ์ ่ 3. หินถูกดันขึนไปมาและถูกกัดเซาะ ้ 4. ซากดึกดาบรรพ์โผล่ขนสู่ชั้นผิวโลก ึ้
  • 21. ภาพแสดง รูปฟอสซิลไดโนเสาร์ภูกุ้มข้าว ต.โนนบุรี อ. สหัสขันธ์จ. กาฬสินธุ์ ที่มา : http://www.thainame.net/project/fossil5d5/a3.html ซากดึกดาบรรพ์ส่วนใหญ่มาจากส่วนที่แข็ง ๆของสัตว์และพืช เช่น เปลือกหอย กระดูก ฟัน หรือไม้ ซึ่งอาจจะ เปลี่ยนแปลงไปจากรูปเดิมหรือไม่ก็เปลี่ยนเป็นแร่ธาตุสัตว์และพืชจะถูกเก็บอยูในหนองซึ่งทับถมกันจนดาเกือบเป็นน้ามัน ่ ดิน พีต น้าแข็งและอาพัน ยางของต้นไม้โบราณ ไข่ รอยเท้าและโพรงไม้ต่างก็สามารถกลายเป็นซากดึกดาบรรพ์ได้ทงสิ้น ั้ จากการศึกษาซากดึกดาบรรพ์ทาให้ทราบว่า สิ่งมีชีวิตได้อุบัติขึ้นบนโลกอย่างน้อย3,500ล้านปีมาแล้วเกิดมีสายพันธ์สัตว์ และ พืชซึ่งส่วนใหญ่ได้สูญพันธุ์ไปแล้วมีแต่ชิ้นส่วนเล็กจิ๋วที่ยังหลงเหลือ เป็นซากดึกดาบรรพ์ซากดึกดาบรรพ์ทเี่ ก่าแก่ที่สุด ในโลกคือเซลล์รปร่างเหมือน บักเตรีขนาดเล็กมากมีอายุถึง 3,500 ล้านปี สัตว์ที่มีโครงสร้างยุ่งยากประกอบด้วยเซลล์หลาย ู เซล เช่น ไทบราซิเดียมจากออสเตรเลียและอยู่ในมหายุคพรีแคมเบรียมตอนปลาย ภาพแสดง รูป รอยเท้าไดโนเสาร์ภูแฝก ต. ภูแล่นช้าง กิ่งอาเภอนาคู จ. กาฬสินธุ์ ที่มา : http://www.thainame.net/project/fossil5d5/a3.html
  • 22. ประเภทของซากดึกดาบรรพ์ ซากดึกดาบรรพ์ของสัตว์มกจะมี 2 ส่วน หลังจากถูกฝังลงไปแล้ว ตัวสัตว์จะเน่าเปื่อย และทิ้งส่วนที่เป็นแบบพิมพ์ ั กลวง ๆเอาไว้ ถ้ามีตะกอนตกลงไปและแข็งตัวกลายเป็นรูปหล่อ ซากดึกดาบรรพ์ดัชนี(Index Fossil) ซากดึกดาบรรพ์ที่มีลักษณะพิเศษเฉพาะในหินบริเวณใดบริเวณหนึ่งสามารถใช้ บ่งบอกอายุของชั้นหินนั้นได้ ซากดึกดาบรรพ์เฉพาะแหล่ง( facies fossil) ซากดึกดาบรรพ์ชนิดที่พบอยูเ่ ฉพาะในชั้นหินทีกาหนด หรือเป็นชนิดที่ ่ ปรับตัวให้สามารถดารงชีวิตอยู่ได้ในสภาพแวดล้อมที่จากัดในแหล่งเกิดชั้นหินนั้นแล้ว สภาพแวดล้อมดังกล่าวนี้เป็น สภาพแวดล้อมที่ผิดแปลกไปจากสภาพปรกติโดยทั่วไป ซากดึกดาบรรพ์แทรกปน(Introduced Fossils; infiltrated fossil) หมายถึง ซากดึกดาบรรพ์ที่มีอายุอ่อนกว่า ถูกนาพา เข้าไปแทรกปนอยู่กบซากดึกดาบรรพ์หรือหินที่มีอายุแก่กว่า ปรากฏการณ์นี้มักเกิดขึ้นกับซากดึกดาบรรพ์เล็ก ๆซึ่งอยู่ในชั้น ั หินตอนบนที่ของเหลวนาพาลงไปชั้นหินตอนล่างที่มีอายุแก่กว่า ตามรอยแตก รูหรือโพรงของสัตว์และช่องว่างที่เกิดจาก รากไม้ ซากดึกดาบรรพ์ปริศนา( Dubio fossil ) โครงสร้างซึ่งน่าจะมีต้นกาเนิดจากสิ่งมีชีวิต แต่เนื่องจากไม่สามารถแยก รายละเอียดได้ จึงไม่แน่ว่าจะเป็นสิ่งมีชีวิตหรือไม่ ซากดึกดาบรรพ์พัดพา(Reworked fossil ) เป็นซากดึกดาบรรพ์ที่อยู่ในชั้นหินเดิม ต่อมาหินนันถูกกัดกร่อน ซากดึก ้ ดาบรรพ์จึงถูกพัดพาไปสะสมตัวอยู่ในชั้นหินที่มีอายุอ่อนกว่า ซากประจาหน่วย ( Characteristic fossil diagonostic fossil) หมายถึงสกุลหรือชนิดของซากดึกดาบรรพ์ทนามาใช้ ี่ เป็นเครื่องอ้างถึง กาหนดหรือเป็นลักษณะเฉพาะตัวของหน่วยหิน หรือหน่วยเวลา โดยใช้ชนิดที่พบอยู่ในเฉพาะชั้นหินนั้น หรือชนิดที่พบมีปริมาณมากมายในชั้นหินนั้นได้ คล้ายกับซากดึกดาบรรพ์ดัชนี
  • 23. ภาพแสดง ซากของสัตว์ดึกดาบรรพ์ ที่มา : http://static.howstuffworks.com/gif/fossil-1.jpg ภาพแสดง รูป รอยเท้าไดโนเสาร์ภูหลวง เขตรักษาพันธ์สัตว์ป่าภูหลวง จ. เลย ที่มา : http://www.thainame.net/project/fossil5d5/a3.html
  • 24. ซากดึกดาบรรพ์ของมนุษย์ (โฮมินิตส์) ซากดาบรรพ์ที่พบทาให้ทราบว่าลักษณะเฉพาะของมนุษย์ปรากฏขึ้นเป็นครั้ง แรกในมนุษย์ออสตราโลพิทิคัส ซึ่งยังคงมีลักษณะเหมือนลิง การเปลี่ยนแปลงจากซากสิ่งมีชีวิตมาเป็นซากดึกดาบรรพ์นั้น ทาได้ในหลายลักษณะ โดยที่เมื่อสิ่งมีชีวิตตายลง ส่วนต่างๆ ของสิ่งมีชีวิตจะค่อยๆถูกเปลี่ยน ช่องว่าง โพรง หรือรู ต่างๆในโครงสร้างอาจมีแร่เข้าไปตกผลึกทาให้แข็งขึน เรียก ้ ขบวนการนี้ว่า petrified หรือ เนื้อเยื้อ ผนังเซลล์ และส่วนแข็งอื่นๆ ถูกแทนที่ด้วยแร่ โดยขบวนการ replacement เปลือก หอยหรือสิ่งมีชีวิต ทีจมอยู่ตามชั้นตะกอน เมื่อถูกละลายไปกับน้าบาดาล จะเกิดเป็นรอยประทับอยูบนชั้นตะกอน ซึ่งเรียก ่ ่ ลักษณะนี้ว่า mold หากว่าช่องว่างนี้มีแร่เข้าไปตกผลึก จะได้ซากดึกดาบรรพ์ ในลักษณะที่เรียกว่า cast สิ่งมีชีวิตขนาดเล็กที่ มีลักษณะบอบบาง เช่นพวกแมลง การเก็บรักษาให้กลายเป็นซากดึกดาบรรพ์ โดยปกติทาได้ยาก วิธีการที่เหมาะสม สาหรับ สิ่งมีชีวิตเหล่านี้ ก็คือการเก็บไว้ในยางไม้ (amber) ซึ่งยางไม้นี้จะป้องกันสิ่งมีชีวิตเหล่านี้จากการทาลายโดยธรรมชาติ นอกจากนี้ ซากดึกดาบรรพ์ยังอาจเป็นร่องรอย (tracks) ที่เกิดจากสิ่งมีชีวิต เช่น ร่องรอยของสิงมีชีวิต รอยคืบคลาน ่ รอยเท้า ที่อยู่ในชั้นตะกอนและกลายเป็นหินในระยะเวลาต่อมา หรืออาจเป็นช่อง รู โพรง (burrows) ในชั้นตะกอน ในเนื้อ ไม้ หรือในหิน ที่เกิดจากสิ่งมีชีวิตและมีแร่ไปตกผลึกในช่องเหล่านี้ มูลสัตว์หรือเศษอาหารที่อยูในกระเพาะ (coprolites) ่ เป็นซากดึกดาบรรพ์ ที่มีประโยชน์ในการบอกถึงนิสัยการกินของสัตว์นั้นๆ หรืออาจเป็นก้อนหินทีสัตว์กินเข้าไป ่ (gastroliths) เพื่อช่วยในการย่อยอาหาร ซากของสิ่งมีชีวิตหรือซากชิ้นส่วนของร่างกายสิ่งมีชีวิตสมัยดึกดาบรรพ์ทคงรูปร่างให้เห็นได้ตัวอย่างเช่น ี่ 1. กระดูกและฟันของสัตว์ที่มีกระดูกสันหลัง ซากของสิ่งมีชีวิตที่แห้งสนิทซึ่งพบในบริเวณที่ร้อนจัด หรือซาก สิ่งมีชีวิตที่พบอยู่ตามถ้าและอุโมงค์ ซากสิ่งมีชีวิตที่ถูกเก็บรักษาไว้ใต้น้าแข็งบริเวณขั้วโลกหรือบ่อถ่านหิน ในแหล่งน้ามัน หรือหินทราย 2. แมลง แมงมุม ชิ้นส่วนของดอกไม้ และสิ่งอื่นๆทีฝังตัวอยูในยางไม้ ่ ่ 3. เปลือกหอยต่างๆโครงร่างแข็งที่เป็นที่อยูของประการัง ฟองน้า และสาหร่ายบางชนิดที่มีสารพวกแคลเซียม ่ ประกอบอยูด้วย ซึ่งสิ่งเหล่านี้จะฝังตัวอยู่ในหินปูน ่ 4. โปรโตซัวและไดอะตอมที่มีโครงสร้างเป็นสารพวกซิลิกาหรือแคลเซียมตายและตกตะกอนทับถมอยูที่ก้น ่ มหาสมุทร แข็งตัวจับกันเป็นชันหนา ้ 5. เกสรดอกไม้ และชิ้นส่วนของดอกไม้ที่ไม่เน่าเปื่อยผุพัง เนื่องจากตกลงไป จมปลักในโคลนที่มีกรดบางชนิดสะสม อยู่ 6. ซากของสิ่งมีชีวิตหรือซากชิ้นส่วนที่แข็งกลายเป็นหิน ตัวอย่างเช่น ชิ้นส่วนของกระดูกหรือเปลือกหุ้มตัวสัตว์ไม่มี กระดูกสันหลัง เช่น แมลง กุ้ง เปลือกหอย หรือเนื้อเยื่อพืชที่มีสารพวกซิลิกาแทรกเข้าไปแทนที่ ซากเหล่านี้ฝังตัวอยู่ในหิน ทราย ภายหลังหินทรายถูกกระแสลมพัดสึกกร่อนหรือถูกกระแสน้าชะหินทรายที่อยู่รอบข้างผุกร่อนไหลตามน้า เหลือแต่ ซากดึกดาบรรพ์ซึ่งมีเนื้อละเอียดแน่นกว่า จึงไม่ผุกร่อนและปรากฏให้เห็น 7. ร่องรอยหรือรอยพิมพ์ซากสิ่งมีชีวิตสมัยดึกดาบรรพ์ พบในหินทรายเนื้อละเอียดและในหินชนวน โดยมากมักเป็น สิ่งมีชีวิตที่มีร่างกายอ่อนนิ่ม เช่น แมงกะพรุน บางครั้งอาจเป็นเปลือกหอยสองฝาที่ฝงตัวอยู่ในถุงทราย ภายหลังเปลือกหอย ั สลายไปมีสารพวกซิลิกาบรรจุอยู่เต็มในช่องว่างแทนทีเ่ ปลือกหอย ร่องรอยเช่นนี้อาจแสดงให้เห็นส่วนด้านนอกของเปลือก หอยก็ได้ 8. ร่องรอยทางเดินของสิ่งมีชีวิตที่เหยียบย่าบน โคลนตม ซึ่งสามารถคงสภาพไว้โดยมีตะกอนมาทับถมบนรอยเท้า เหล่านั้น และเกิดการแข็งตัวขึ้นเรือยๆภายหลัง ่
  • 25. 9. ผลิตภัณฑ์ที่สิ่งมีชีวิตสร้างและขับออกมาสะสมไว้ เช่นแนวประการังต่อมากลายเป็นหินปูน 10. ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากกระบวนการสลายตัวของสิ่งมีชีวิต ซึ่งเกิดขึนอย่างไม่สมบูรณ์ เช่น น้ามันปิโตรเลียม ถ่านหิน ้ แกรไฟต์ เป็นต้น
  • 26. ลาดับชั้นหิน ลาดับชั้นหิน คือ การเรียงตัวทับถมกันของตะกอนที่ตกทับถม ณ ที่แห่งหนึ่งในช่วงเวลาที่แตกต่างกัน ซึ่งมักพบว่าชนิดของ ตะกอนจะแตกต่างกันไปตามกาลเวลา ขึ้นกับสภาพแวดล้อมในอดีตช่วงนั้น เช่น ยุคแคมเบรียนจะสะสมตัวหินทราย หิน ทรายแป้งและค่อยๆ เปลี่ยนเป็นหินดินดาน หินปูนในยุคออร์โดวิเชียน เป็นต้น อายุของหิน ก็คือช่วงเวลาที่ตะกอนหรือลาวาตกสะสมตัวหรือกาลังแข็งตัวหรือจับตัวเช่น ดินสะสมตัวในทะเลสาบ เมื่อประมาณ 260 ล้านปี เมื่อจับตัวเป็นหินและคงอยู่ถึงปัจจุบัน เราก็บอกว่าหินนี้มีอายุ 260 ล้านปีทผ่านมา สาหรับวิธีศึกษา ี่ หาอายุก็ใช้ทั้งค่าอัตราส่วนการสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสี หรือซากดึกดาบรรพ์ในช่วงนั้นทีเ่ ผอิญตายพร้อมๆ กับการตก ของตะกอน ภาพแสดง การลาดับอายุของชั้นหินที่มีอายุมากที่สุดจะอยู่ด้านล่าง ขึ้นไปสู่อายุหนน้อยทีด้านบน ิ ่ ที่มา : http://photos1.blogger.com/blogger/6864/3170/1600/layer1.2.gif ประโยชน์ของการใช้ข้อมูลธรณีวิทยา ธรณีวิทยาถือว่าเป็นการศึกษาธรรมชาติ โลกที่เราเหยียบ อาศัยอยู่ ซึ่งถ้าเข้าใจ มันทั้งหมด เราก็สามารถใช้ประโยชน์จากธรรมชาติและหลีกเลี่ยงภัยธรรมชาติได้ คุณหาทรัพยากร เชื้อเพลิงไม่ได้ ถ้าไม่รู้ ธรณีวิทยา คุณหาแหล่งที่อาศัย สถานที่ ที่มั่นคงต่อชีวิตไม่ได้ถ้าไม่รู้ธรณีวิทยา (เหมือนการไปสร้างบ้านในพื้นที่น้าท่วม ซ้าซากก็เพราะไม่เข้าใจธรรมชาติทาง ธรณีวิทยา ) และที่สาคัญก็คอวิชานี้เป็นวิชาศึกษาโลก ซึ่งถือว่าเป็นรากฐานของ ื วิทยาศาสตร์ที่สาคัญของมนุษย์ อายุของหินบนเทือกเขากลางมหาสมุทร เนื่องจากหินตรงนี้เป็นหินอัคนีประเภทบะซอลต์เป็นส่วนใหญ่ ดังนั้นต้อง หาอายุโดยใช้การสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสีเท่านั้น รู้สึกว่าตัวหลังๆ เขาใช้ AR-AR กันนะ อายุได้ตั้งแต่ 160 ล้านปีถง ึ ปัจจุบน ั
  • 27. ภาพแสดง การเกิดหินต่างๆ ที่มา : http://www.panyathai.or.th/wiki/images/%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%8E%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0% B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%AB%E0%B8%B4%E0%B8%99.JPG หิน (Rock) หมายถึง มวลของแข็งทีประกอบขึ้นด้วยแร่ชนิดเดียวกันหรือหลายชนิดรวมตัวกันอยู่ตามธรรมชาติ แบ่ง ่ ตามลักษณะการเกิดได้ 3 ชนิดใหญ่ 1. หินอัคนี (Igneous Rock) เกิดจากหินหนืดที่อยู่ใต้เปลือก โลกแทรกดันขึ้นมาแล้วตกผลึกเป็นแร่ต่างๆ และเย็นตัวลงจับตัวแน่นเป็นหินที่ผิวโลก แบ่งเป็น 2 ชนิดคือ   หินอัคนีแทรกซอน (Intrusive Igneous Rock) เกิดจากการเย็นตัวลงอย่างช้า ๆ ของหินหนืดใต้เปลือกโลก มีผลึก แร่ขนาดใหญ่ (>1 มิลลิเมตร) เช่นหินแกรนิต (Granite) หินไดออไรต์ (Diorite) หินแกบโบร (Gabbro) หินอัคนีพุ (Extruisive Igneous Rock) หรือหินภูเขาไฟ (Volcanic Rock) เกิดจากการเย็นตัวลงอย่างรวดเร็วของหิน หนืดที่ดันตัวพุออกมานอกผิวโลกเป็น ลาวา (Lava) ผลึกแร่มีขนาดเล็กหรือไม่เกิดผลึกเลยเช่น หินบะซอลต์ (Basalt) หินแอนดีไซต์ (Andesite) หินไรโอไลต์ (Rhyolite)
  • 28. ภาพแสดง หินแกรนิต แสดงลักษณะทั่วไป และผลึกแร่ในเนื้อหิน ที่มา : http://www.panyathai.or.th/wiki/images/%E0%B8%AB%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B9%81%E0%B8%81%E0% B8%A3%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%95.JPG 2. หินชั้นหรือหินตะกอน (Sedimentary Rock) เกิดจากการทับถม และสะสมตัวของตะกอนต่างๆ ได้แก่ เศษหิน แร่ กรวด ทราย ดินที่ผุพังหรือสึกกร่อนถูกชะละลาย มาจากหินเดิม โดยตัวการธรรมชาติ คือ ธารน้า ลม ธารน้าแข็งหรือคลื่นในทะเล พัดพาไปทับถมและแข็งตัวเป็นหินในแอ่ง สะสมตัวหินชนิดนี้แบ่งตามลักษณะเนื้อ หินได้ 2 ชนิดใหญ่ ๆ คือ   หินชั้นเนื้อประสม (Clastic Sedimentary Rock) เป็นหินชั้นที่เนื้อเดิมของตะกอน พวกกรวด ทราย เศษหินและดิน ยังคงสภาพอยู่ให้พิสูจน์ได้ เช่น หินทราย (Sandstone) หินดินดาน (Shale) หินกรวดมน (Conglomerate) เป็นต้น หินเนื้อประสาน (Nonclastic Sedimentary Rock) เป็นหินทีเ่ กิดจากการตกผลึกทางเคมี หรือจากสิ่งมีชีวิต มีเนื้อ ประสานกันแน่นไม่สามารถพิสูจน์สภาพเดิมได้ เช่น หินปูน (Limestone) หินเชิร์ต (Chert) เกลือหิน (Rock Salte) ถ่านหิน (Coal) เป็นต้น
  • 29. ภาพแสดง หินทรายแสดงชั้นเฉียงระดับ ที่มา : http://www.panyathai.or.th/wiki/images/%E0%B8%AB%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%8A%E0%B8%B1%E0 %B9%89%E0%B8%99.JPG ภาพแสดง ชั้นหินทรายสลับชั้นหินดินดาน ที่มา : http://www.panyathai.or.th/wiki/images/%E0%B8%AB%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%8A%E0%B8%B1%E0 %B9%89%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A2.JPG
  • 30. ภาพแสดง หินกรวดมน ที่มา : http://www.panyathai.or.th/wiki/images/%E0%B8%AB%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0% B8%A7%E0%B8%94%E0%B8%A1%E0%B8%99.JPG ภาพแสดง ชั้นหินปูน ที่มา : http://www.panyathai.or.th/wiki/images/%E0%B8%8A%E0%B8%B1%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B8%AB%E0% B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%9B%E0%B8%B9%E0%B8%99.JPG
  • 31. ภาพแสดง ชั้นหินเชิร์ต ที่มา : http://www.panyathai.or.th/wiki/images/%E0%B8%8A%E0%B8%B1%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B8%AB%E0% B8%B4%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%8A%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%95.JPG 3. หินแปร (Metamorphic Rock) เกิดจากการแปรสภาพโดยการกระทาของ ความร้อน ความดันและปฏิกิริยาทางเคมี ทาให้เนื้อหิน แร่ประกอบหินและ โครงสร้างเปลี่ยนไปจากเดิม การแปรสภาพของหินจะอยู่ในสถานะของของแข็ง ซึ่งจัดแบ่งออกเป็น 2 แบบ คือ   การแปรสภาพบริ เวณไพศาล (Regional metamorphism) เกิดเป็ นบริ เวณกว้ างโดยมีความร้ อนและความดัน ทาให้ เกิดแร่ใหม่หรื อผลึกใหม่ เกิดขึ ้น มีการจัดเรี ยงตัวของแร่ใหม่ และแสดงริ วขนาน (Foliation) อัน ้ เนื่องมาจากแร่เดิมถูกบีบอัดจนเรี ยงตัวเป็ นแนวหรื อแถบขนานกัน เช่น หินไนส์ (Gneiss) หินชีสต์ (Schist) และ หินชนวน (Slate) เป็ นต้ น การแปรสภาพสัมผัส (Contact metamorphism) เกิดจากการแปรสภาพโดยความร้ อนและปฏิกิริยาทางเคมี ของสารละลายที่ขึ ้นมากับ หินหนืดมาสัมผัสกับหินท้ องที่ ไม่มีอิทธิพลของความดันมากนัก ปฏิกิริยาทางเคมีอาจ ทาให้ ได้ แร่ใหม่บางส่วนหรื อเกิดแร่ใหม่แทนที่แร่ในหิน เดิม หินแปรที่เกิดขึ ้นจะมีการจัดเรี ยงตัวของแร่ใหม่ ไม่ แสดงริ วขนาน (Nonfoliation) เช่น หินอ่อน (Marble) หินควอตไซต์ (Quartzite) ้
  • 32. ภาพแสดง หินแปร ที่มา : http://www.panyathai.or.th/wiki/images/%E0%B8%AB%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%8A%E0%B8%99%E0% B8%A7%E0%B8%99.JPG ภาพแสดง หินไนส์ (Gneiss) ที่มา : http://www.panyathai.or.th/wiki/images/%E0%B8%AB%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B9%84%E0%B8%99%E0% B8%95%E0%B9%8C.JPG
  • 33. ภาพแสดง หินอ่อน (Marble) ที่มา : http://www.panyathai.or.th/wiki/images/%E0%B8%AB%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0% B8%AD%E0%B8%95%E0%B9%84%E0%B8%8B%E0%B8%95%E0%B9%8C.JPG ภาพแสดง หินอ่อน (Marble) ที่มา : http://www.panyathai.or.th/wiki/images/%E0%B8%AB%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B9%88%E0 %B8%AD%E0%B8%99.JPG
  • 34. วัฏจักรของหิน วัฏจักรของหิน (Rock cycle) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงของหินทั้ง 3 ชนิด จากหินชนิดหนึงไปเป็นอีกชนิดหนึ่งหรืออาจ ่ เปลี่ยนกลับไปเป็นหินชนิดเดิมอีก ก็ได้ กล่าวคือ เมื่อ หินหนืด เย็นตัวลงจะตกผลึกได้เป็น หินอัคนีเมื่อหินอัคนีผ่าน กระบวนการผุพังอยู่กับที่และการกร่อนจนกลายเป็น ตะกอนมีกระแสน้าลมธารน้าแข็งหรือคลืนในทะเลพัดพาไปสะสมตัว ่ และเกิดการแข็ง ตัวกลายเป็นหิน อันเนื่องมาจากแรงบีบอัดหรือมีสารละลายเข้าไปประสานตะกอนเกิดเป็นหินชั้น ขึ้นเมื่อ หินชั้นได้รบความร้อนและแรงกดอัดสูงจะเกิดการแปรสภาพกลายเป็นหิน แปรและหินแปรเมื่อได้รับความร้อนสูงมากจน ั หลอมละลาย ก็จะกลายสภาพเป็นหินหนืด ซึ่งเมื่อเย็นตัวลงก็จะตกผลึกเป็นหินอัคนีอีกครังหนึงวนเวียนเช่นนี้ เรื่อยไป ้ ่ เป็นวัฏจักรของหิน กระบวนการเหล่านี้อาจข้ามขั้นตอนดังกล่าวได้ เช่น จากหินอัคนีไปเป็นหินแปร หรือจากหินแปรไป เป็นหินชั้น ภาพแสดง วัฏจักรของหิน ที่มา : http://www.panyathai.or.th/wiki/images/%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%8F%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0% B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%AB%E0%B8%B4%E0%B8%991.JPG