SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 9
Descargar para leer sin conexión
ใบความรู้ 
หน่วยที่ 1 เรื่องการใช้เครื่องมือกราฟิก 
วิชา คอมพิวเตอร์กราฟิก ง20205 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 
ความหมายของกราฟิก 
กราฟิก (Graphic) มาจากภาษากรีก ซึ่งหมายถึง การวาดเขียน (Graphikos) และการเขียน 
(Graphein) ต่อมามีผู้ให้ความหมายของคำว่า “กราฟิก” ไว้หลายประการซึ่งสรุปได้ดังนี้ 
กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้สื่อความหมายด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ 
แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายข้อมูลได้ถูกต้องตรงตามที่ผู้สื่อสารต้องการ 
ความหมายของคอมพิวเตอร์กราฟิก 
คอมพิวเตอร์กราฟิก หมายถึง การสร้าง การตกแต่งแก้ไข หรือการจัดการเกี่ยวกับรูปภาพ 
โดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในการจัดการ ยกตัวอย่างเช่น การทำ Image Retouching 
ภาพคนแก่ให้มีวัยที่เด็กขึ้น การสร้างภาพตามจินตนาการและการใช้ภาพกราฟิกในการนำเสนอข้อมูลต่าง ๆ 
เพื่อให้สามารถสื่อความหมายได้ตรงตามที่ผู้สื่อสารต้องการและน่าสนใจยิ่งขึ้นด้วยกราฟ แผนภูมิ แผนภาพ 
เป็นต้น 
ประโยชน์ของ Photoshop 
1. งานตกแต่งภาพถ่าย เป็นการตกแต่งภาพถ่ายเก่า ๆ ให้คมชัดเหมือนใหม่ 
หรือทำการแก้ไขรูปถ่ายที่มืดไป สว่างไป มีเงาดำให้ภาพมีสีสรรสดใสสมจริง 
นอกจากนั้นยังสร้างภาพล้อเลียน เช่น เอาใบหน้าของคนหนึ่งไปวางไว้บนตัวคนอีกคนหนึ่ง 
นำภาพบุคคลไปวางบนฉากหลังอื่น เป็นต้น 
2. งานสิ่งพิมพ์ ไม่ว่าจะเป็นหนังสือ นิตยสาร โฆษณา เรียกได้ว่าเกือบทุกงานที่ต้องใช้รูป 
สามารถใช้ Photoshop รังสรรค์ภาพให้เป็นไปตามไอเดียที่เราวางไว้ได้ 
3. งานเว็บไซด์บนอินเตอร์เน็ต ใช้สร้างภาพเพื่อตกแต่งเว็บไซด์ไม่ว่าจะเป็นแบ็คกราวน์ ปุ่มตอบโต้ 
แถบหัวเรื่อง ตลอดจนภาพประกอบต่าง ๆ นอกจากนั้นยังสมารถออกแบบหน้าเว็บไซด์ด้วย Photoshop ได้ 
4. งานออกแบบทางกราฟิก ใช้ Photoshop ช่วยในการสร้างภาพ 3 มิติ 
การออกแบบปกหนังสือและผลิตภัณฑ์ การออกแบบการ์ดอวยพร เป็นต้น 
5. สร้างภาพวาด เหมือนจิตกรสร้างภาพจากผืนผ้าใบเปล่า ๆ จนเป็นงานศิลปะขึ้นมา 
ส่วนประกอบต่างๆของโปรแกรม Adobe Photoshop CS4
หมายเลข 1 เมนูคำสั่ง(Menu Bar) 
เป็นชุดคำสั่งสำหรับทำงานทุกรูปแบบในการจัดการกับไฟล์ เช่น เปิด/ปิดหรือบันทึกไฟล์ 
ไปจนถึงคำสั่งในการตกแต่งภาพ เมนูส่วนนี้ถือว่าเป็นเมนูตายตัวเกือบทุกๆ โปรแกรมก็ว่าได้ เพราะว่าทุกๆ 
อย่างของการทำงานในโปรแกรม จะต้องมีเมนูนี้ เพื่อไว้เก็บคำสั่งการทำงานต่างๆ ให้กับโปรแกรม 
และเพื่อเพิ่มความสะดวกสบายต่อผู้ใช้งานอีกด้วย ในโปรแกรม Adobe Photoshop CS4 นี้ได้มีเมนู 
เพิ่มขึ้นมาใหม่หรือเรียกง่ายๆ ว่าเป็นเมนูเสริมขึ้นมาอีก เพื่อให้ง่ายต่อการใช้งาน ยกตัวอย่างเช่น เมนู 
ขยายเข้า/ออก, ปรับหน้าต่างโปรแกรมให้เต็มจอหรือ Full Screen หรือ 
การจัดวางตำแหน่งของเอกสารหรือตำแหน่งงานที่เราจะทำนั้นเอง เป็นต้น ซึ่งจะมีส่วนประกอบของเมนู 
ดังนี้ 
File - มีไว้สำหรับเปิด-ปิด และ บันทึก (Save) ไฟล์ รวมถึงการ Import, Export การสั่งการพิมพ์ เป็นต้น 
Edit – เป็นคำสั่งสำหรับการปรับแต่ง แก้ไข ดัดแปลง ตัดต่อ รวมถึงการปรับตั้งค่าต่างๆ (Preferences) 
Image – คำสั่งนี้ใช้สำหรับปรับค่าต่างๆของภาพทั้งภาพ 
Layer – เป็นคำสั่งในการสร้างเลเยอร์ การปรับแต่งแต่ละ เลเยอร์ รวมถึงการรวมเลเยอร์เข้าด้วยกัน 
Select – เป็นคำสั่งหรือจัดการกับพื้นที่ที่ต้องการทำงาน ส่วนใหญ่แล้วจะใช้ร่วมกับเครื่องมือใน Tool box 
Filter – เป็นคำสั่งที่ใช้ในการปรับเปลี่ยนโดยอัตโนมัต มีฟิลเตอร์หลากหลายชนิดให้เลือกใช้
Analysis – เป็นการกำหนดค่าของเครื่องมือที่ใช้ในการวัดขนาด 
3D – เป็นคำสั่งที่ใช้ในการสร้างภาพให้เป็นสามมิติ 
View – เป็นคำสั่งที่ใช้ในการปรับเปลี่ยนมุมมอง การย่อหรือขยายขนาดของพื้นที่งาน 
รวมถึงเครื่องมือที่ใช้ในการวัดและเส้น Grid ด้วย 
Window – คำสั่งนี้มีใว้เพื่อจัดการเกี่ยวกับพื้นที่บนหน้าจอ และการสั่งการแสดงหรือซ่อน หน้าต่าง Palette 
และกำหนดค่า Tool preset 
Help – เป็นคำสั่งช่วยเหลือเกี่ยวกับการใช้งานต่างๆ 
หมายเลข 2 ออปชันบาร์(Options Bar) 
เป็น ส่วนที่ใช้กำหนดคุณสมบัติของเครื่องมือที่เลือกทำงานอยู่เช่น 
การกำหนดขนาดของหัวพู่กันในเครื่องมือสำหรับวาดภาพ ซึ่งตัวเลือกนี้จะแสดงได้ก็ตัวเมื่อ 
ได้มีการเลือกใช้เครื่องมือใน Tool box(จะกล่าวในข้อต่อไป) 
เพื่อเป็นการกำหนดตัวเลือกเพิ่มเติมให้แก่เครื่องมือนั้นๆ 
หมายเลข 3 กล่องเครื่องมือ(Toolbox) 
คือ กล่องที่โปรแกรมใช้เก็บเครื่องมือสำหรับตกแต่งภาพเอาไว้ 
โดยเครื่องมือในกล่องนี้จะถูกแยกออกเป็นหมวดหมู่ตามลักษณะการทำงาน เช่น ดินสอ พู่กัน หรืองยางลบ 
เป็นต้น ซึ่งกล่องเครื่องมือนี้เป็นสิ่งที่จำเป็น ขาดไม่ได้ และถูกใช้งานบ่อยที่สุด โดยทั่วไปแล้ว 
กล่องเครื่องมือนี้จะมีส่วนคล้ายกับรุ่นก่อนหน้านี้พอสมควร และในกรณีที่เกิดการบดบังพื้นที่งาน 
ลูกศรคู่ด้านซ้ายมือของแถบสีดำนี้มีไว้เพื่อเปลี่ยนการแสดงปุ่มเครื่องมือ จากแถวคู่ให้เป็นแถวเรียงเดี่ยว 
เพื่อเพิ่มพื้นที่หน้าต่างให้กว้างขึ้น การเลือกใช้เครื่องมือชนิดต่างๆก็ทำด้วยการคลิกที่ปุ่มนั้นๆ 
ส่วนลูกศรสีดำเล็กๆตรงมุมขวาด้านล่างของปุ่มเครื่องมือจะมีเครื่องมือต่าง ชนิดซ่อนอยู่ 
การเรียกใช้ก็คลิกเมาส์ที่ลูกศรค้างไว้แล้วเลื่อนเม้าไปเลือกเครื่องมือที่ ต้องการแล้วปล่อยเมาส์ 
เครื่องมือบางชนิดต้องใช้ควบคู่ไปกับคีบอร์ดด้วยถึงจะใช้งานได้ เช่น Clone stamp tool ต้องใช้คู่กับ Alt 
หมายเลข 4 พื้นที่การทำงานและกระดาษวาดภาพ(Canvas) 
ใน ตอนเริ่มต้นจะเป็นพื้นที่ว่างๆ ต้องใช้คำสั่งเปิดภาพขึ้นมาก่อน หลังจากเปิดภาพขึ้นมาแล้ว 
บริเวรนี้จะกลายเป็นพื้นที่สำหรับตกแต่งภาพภาพที่เลือกเปิดจะมาปรากฏ 
บนกระดานวาดภาพและสามารถย้ายตำแหน่งไปมาหรือขยายภาพให้ใหญ่ขึ้นภายในพื้นที่ ทำงานได้ 
หมายเลข 5 ชุดพาเลท(Palettes) 
คือ กลุ่มของหน้าต่างที่ช่วยควบคุมรายละเอียดปลีกย่อยในขั้นตอนการทำงาน เช่น พาเลท History 
ที่ช่วยบันทึกขั้นตอนการตกแต่งภาพเอาไว้สำหรับกลับมาแก้ไข หรือพาเลท Navigator 
สำหรับควบคุมการซูมภาพ ตรงส่วนนี้เราสามารถที่จะเพิ่ม/ลบ พาเลทได้ที่ เมนูบาร์ ในชื่อ Windows 
แล้วให้ติ๊กเลือกตามความต้องการว่า จะให้แสดงพาเลทใดบ้าง เช่น พาเลทของฟอนต์หรือแบบอักษร 
พาเลทภาพสามมิต พาเลทแอคชันและอื่นๆ เป็นต้น การเปิด Palette ใหม่ก็ด้วยการคลิกคำสั่ง Window ที่ 
Menu bar แล้วเลือกเปิด Pallet ที่ต้องการ Palette ใหม่จะไม่รวมกลุ่มกับของที่เปิดไว้ก่อนหน้านี้แล้ว
ถ้าอยากจัดเก็บให้เข้ากลุ่มก็ทำได้ด้วยการ คลิกที่ Tab ของหัวข้อ 
แล้วลากไปวางใว้ในกลุ่มที่มีอยู่ก่อนแล้วจึงค่อบปล่อนเมาส์ การปิด Palette ใด Palette หนึ่ง ก็ให้คลิกที่ Tab 
ของหัวข้อ แล้วลาก Palette นั้นออกมา แล้วคลิกที่ กากบาท x ที่อยู่มุมบนขวาเพื่อทำการปิด 
ลูกศรคู่สีเทาบนแถบสีดำบนสุดของ Palette มีใว้เพื่อย่อให้ Palette มีขนาดเล็กลง เพื่อเพิ่มพื้นที่ในการทำงาน 
ส่วนลูกศรสีดำหันหัวลงด้านล่างและมีขีดสี่เส้นอยู่ด้านขวามีไว้เพื่อเปิด เลือกคำสั่งการใช้งานต่างๆ ที่เป็น 
คำสั่งในส่วนของ Layer 
แถบสถานะ 
แสดงคุณสมบัติของถาพ ขนาดภาพ เปอร์เซ็นต์ก ารแสดงภาพของชิ้นงาน 
และอธิบายการทำงานของเครื่องมือที่เลือก 
Toolbox(ทูลบ๊อกส์) 
ทูลบ๊อกส์หรือกล่องเครื่องมือ ประอบด้วยเครื่องมือต่างๆที่จำเป็นต่อการใช้งานและมีจำนวนมาก 
จึงมีการรวบรวมเครื่องมือไว้ให้อยู่ในกลุ่มเดียวกัน 
ซึ่งจะมีรูปสามเหลี่ยมอยู่ที่มุมขวาล่างบนรูปเครื่องมือเพื่อบอกให้รู้ว่าใน 
เครื่องมือนั้นมีเครื่องมืออื่นซ่อนอยู่อีก เราจะใช้งานเครื่องมือนั้นได้ 
โดยการคลิเมาท์ค้างที่ปุ่มเครื่องมือเครื่องมือที่ซ่อนไว้จะแสดงออกมา
กลุ่มเครื่องมือย่อย
Panel (พาเนล)
พาเนล คือ กรอบหน้าต่างย่อยๆที่มีคำสั่งและเครื่องมือในการจัดการ ตรวจสอบและปรับแต่งภาพ 
เครื่องมือเหล่านี้จะถูกจัดแบ่งไว้เป็นหมวดหมู่ เช่น พาเนล Color ใช้กำหนดสี , พาเนล Layers 
ใช้สำหรับจัดการเลเยอร์ เป็นต้น บางพาเนลที่มักใช้ร่วมกันจะถูกจัดไว้ในกลุ่มเดียวกัน เช่น พาเนล Color 
พาเนล Swatches และ StyLes 
การเปิดใช้งาน Panel ให้คลิกที่คำสั่ง Windos>ชื่อพาเนล 
การยุบ/ขยายพาเนล 
เพื่อเพิ่มพื้นที่การทำงานเราสามารถยุบพาเนลที่ยึดกับแผงพาเนลและคอลัมน์ ให้แสดงในรูปไอคอนได้ 
ซึ่งเมื่อต้องการใช้งานพาเนลใดก็ให้เปิดขึ้นมาเฉพาะพาเนลนั้น
1.ยุบ/ขยายแผงพาเนลให้เป็นไอคอน ทำได้โดยให้คลิกที่แถบสีเทาเข้มด้านบนแผงพาเนล 
จากนั้นทุกพาเนลจะถูกยุบเป็นไอคอน 
2.ปรับความกว้างของพาเนล

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6
รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6
รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6Khon Kaen University
 
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพ
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพหน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพ
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพYui Janjira Ketsakorn
 
คู่มือ Photoshop cs3
คู่มือ Photoshop cs3คู่มือ Photoshop cs3
คู่มือ Photoshop cs3charuwarin
 
Photoshop
PhotoshopPhotoshop
PhotoshopBua Rom
 
Tool box เครื่องมือใน photoshop cs5
Tool box เครื่องมือใน photoshop cs5Tool box เครื่องมือใน photoshop cs5
Tool box เครื่องมือใน photoshop cs5Rattapadol Gunhakoon
 
องประกอบของโปรแกรม Photoshop
องประกอบของโปรแกรม Photoshopองประกอบของโปรแกรม Photoshop
องประกอบของโปรแกรม Photoshopอ้าย ปุ้ย
 
การเขียนแบบด้วยcad
การเขียนแบบด้วยcadการเขียนแบบด้วยcad
การเขียนแบบด้วยcadguest0ca794
 
การใช้งาน Adobe photoshop cs5
การใช้งาน Adobe photoshop cs5การใช้งาน Adobe photoshop cs5
การใช้งาน Adobe photoshop cs5Rattapadol Gunhakoon
 
คู่มือการใช้งานโปรแกรม Photoshop cs
คู่มือการใช้งานโปรแกรม Photoshop csคู่มือการใช้งานโปรแกรม Photoshop cs
คู่มือการใช้งานโปรแกรม Photoshop cssamnaknit
 

La actualidad más candente (17)

รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6
รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6
รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6
 
Graphic
GraphicGraphic
Graphic
 
Photoshop cs3
Photoshop cs3Photoshop cs3
Photoshop cs3
 
สอบก่อนเรียน
สอบก่อนเรียนสอบก่อนเรียน
สอบก่อนเรียน
 
ลงมือวาดภาพ
ลงมือวาดภาพลงมือวาดภาพ
ลงมือวาดภาพ
 
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพ
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพหน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพ
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพ
 
การออกแบบทำไวนิล
การออกแบบทำไวนิลการออกแบบทำไวนิล
การออกแบบทำไวนิล
 
คู่มือ Photoshop cs3
คู่มือ Photoshop cs3คู่มือ Photoshop cs3
คู่มือ Photoshop cs3
 
Slide sketchup
Slide sketchupSlide sketchup
Slide sketchup
 
Adobe Indesign
Adobe IndesignAdobe Indesign
Adobe Indesign
 
Photoshop
PhotoshopPhotoshop
Photoshop
 
Tool box เครื่องมือใน photoshop cs5
Tool box เครื่องมือใน photoshop cs5Tool box เครื่องมือใน photoshop cs5
Tool box เครื่องมือใน photoshop cs5
 
องประกอบของโปรแกรม Photoshop
องประกอบของโปรแกรม Photoshopองประกอบของโปรแกรม Photoshop
องประกอบของโปรแกรม Photoshop
 
การเขียนแบบด้วยcad
การเขียนแบบด้วยcadการเขียนแบบด้วยcad
การเขียนแบบด้วยcad
 
การใช้งาน Adobe photoshop cs5
การใช้งาน Adobe photoshop cs5การใช้งาน Adobe photoshop cs5
การใช้งาน Adobe photoshop cs5
 
คู่มือการใช้งานโปรแกรม Photoshop cs
คู่มือการใช้งานโปรแกรม Photoshop csคู่มือการใช้งานโปรแกรม Photoshop cs
คู่มือการใช้งานโปรแกรม Photoshop cs
 
Auto cad all
Auto cad allAuto cad all
Auto cad all
 

Similar a ใบความรู้หน่วยที่ 1

ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิกใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิกวาสนา ใจสุยะ
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe photoshop cs
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe photoshop csความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe photoshop cs
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe photoshop csไกรลาศ จิบจันทร์
 
ใบความรู้ หน่วยที่ 1 com graphic
ใบความรู้ หน่วยที่ 1 com graphicใบความรู้ หน่วยที่ 1 com graphic
ใบความรู้ หน่วยที่ 1 com graphicjumjim2012
 
creating_computer3.pptx
creating_computer3.pptxcreating_computer3.pptx
creating_computer3.pptxssuserfddc3e
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5aom08
 
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกschool
 
ใบความรู้ที่ 1ความหมายของซอฟต์แวร์
ใบความรู้ที่ 1ความหมายของซอฟต์แวร์ใบความรู้ที่ 1ความหมายของซอฟต์แวร์
ใบความรู้ที่ 1ความหมายของซอฟต์แวร์วาสนา ใจสุยะ
 
โปรแกรม Photoshop ครั้งที่_1
โปรแกรม Photoshop ครั้งที่_1โปรแกรม Photoshop ครั้งที่_1
โปรแกรม Photoshop ครั้งที่_1teaw-sirinapa
 
คอมพิวเตอร์กราฟิก
คอมพิวเตอร์กราฟิกคอมพิวเตอร์กราฟิก
คอมพิวเตอร์กราฟิกอ้าย ปุ้ย
 
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกคีตะบลู รักคำภีร์
 
โครงงานประเภท5
โครงงานประเภท5โครงงานประเภท5
โครงงานประเภท5Yong Panupun
 
Computer&creation of art
Computer&creation of artComputer&creation of art
Computer&creation of artbeverza
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5natnardtaya
 
ความหมายและความเป็นมาของคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความหมายและความเป็นมาของคอมพิวเตอร์กราฟิกความหมายและความเป็นมาของคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความหมายและความเป็นมาของคอมพิวเตอร์กราฟิกสุภรพิชญ์ ชัยชนะ
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานMoomy Momay
 

Similar a ใบความรู้หน่วยที่ 1 (20)

ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิกใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe photoshop cs
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe photoshop csความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe photoshop cs
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe photoshop cs
 
ใบความรู้ หน่วยที่ 1 com graphic
ใบความรู้ หน่วยที่ 1 com graphicใบความรู้ หน่วยที่ 1 com graphic
ใบความรู้ หน่วยที่ 1 com graphic
 
1.1
1.11.1
1.1
 
creating_computer3.pptx
creating_computer3.pptxcreating_computer3.pptx
creating_computer3.pptx
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
 
ใบความรู้ที่ 1ความหมายของซอฟต์แวร์
ใบความรู้ที่ 1ความหมายของซอฟต์แวร์ใบความรู้ที่ 1ความหมายของซอฟต์แวร์
ใบความรู้ที่ 1ความหมายของซอฟต์แวร์
 
โปรแกรม Photoshop ครั้งที่_1
โปรแกรม Photoshop ครั้งที่_1โปรแกรม Photoshop ครั้งที่_1
โปรแกรม Photoshop ครั้งที่_1
 
คอมพิวเตอร์กราฟิก
คอมพิวเตอร์กราฟิกคอมพิวเตอร์กราฟิก
คอมพิวเตอร์กราฟิก
 
Photoshop cs2
Photoshop cs2Photoshop cs2
Photoshop cs2
 
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
 
โครงงานประเภท5
โครงงานประเภท5โครงงานประเภท5
โครงงานประเภท5
 
Computer&creation of art
Computer&creation of artComputer&creation of art
Computer&creation of art
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 
5.5
5.55.5
5.5
 
Map windowgismanual
Map windowgismanualMap windowgismanual
Map windowgismanual
 
ความหมายและความเป็นมาของคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความหมายและความเป็นมาของคอมพิวเตอร์กราฟิกความหมายและความเป็นมาของคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความหมายและความเป็นมาของคอมพิวเตอร์กราฟิก
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 
4
44
4
 

Más de Bee Saruta

หน่วยที่ 5.
หน่วยที่ 5.หน่วยที่ 5.
หน่วยที่ 5.Bee Saruta
 
ใบความรู้หย่วยที่5การตกแต่งสีพื้น
ใบความรู้หย่วยที่5การตกแต่งสีพื้นใบความรู้หย่วยที่5การตกแต่งสีพื้น
ใบความรู้หย่วยที่5การตกแต่งสีพื้นBee Saruta
 
หน่วยที่ 4.2
หน่วยที่ 4.2หน่วยที่ 4.2
หน่วยที่ 4.2Bee Saruta
 
ใบความรู้หน่วยที่4 selectionlayer
ใบความรู้หน่วยที่4 selectionlayerใบความรู้หน่วยที่4 selectionlayer
ใบความรู้หน่วยที่4 selectionlayerBee Saruta
 
หน่วยที่ 3 1
หน่วยที่ 3 1หน่วยที่ 3 1
หน่วยที่ 3 1Bee Saruta
 
ใบความรู้ หน่วยที่3สมบูรณ์
ใบความรู้ หน่วยที่3สมบูรณ์ใบความรู้ หน่วยที่3สมบูรณ์
ใบความรู้ หน่วยที่3สมบูรณ์Bee Saruta
 
หน่วยที่ 2 การใช้งานโปรแกรมกราฟิก
หน่วยที่ 2 การใช้งานโปรแกรมกราฟิกหน่วยที่ 2 การใช้งานโปรแกรมกราฟิก
หน่วยที่ 2 การใช้งานโปรแกรมกราฟิกBee Saruta
 
ใบความรู้ 2
ใบความรู้  2ใบความรู้  2
ใบความรู้ 2Bee Saruta
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2Bee Saruta
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2Bee Saruta
 
ใบงานที่1
ใบงานที่1ใบงานที่1
ใบงานที่1Bee Saruta
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกBee Saruta
 
ใบความรู้หน่วยที่ 2
ใบความรู้หน่วยที่  2ใบความรู้หน่วยที่  2
ใบความรู้หน่วยที่ 2Bee Saruta
 

Más de Bee Saruta (14)

หน่วยที่ 5.
หน่วยที่ 5.หน่วยที่ 5.
หน่วยที่ 5.
 
ใบความรู้หย่วยที่5การตกแต่งสีพื้น
ใบความรู้หย่วยที่5การตกแต่งสีพื้นใบความรู้หย่วยที่5การตกแต่งสีพื้น
ใบความรู้หย่วยที่5การตกแต่งสีพื้น
 
หน่วยที่ 4.2
หน่วยที่ 4.2หน่วยที่ 4.2
หน่วยที่ 4.2
 
ใบความรู้หน่วยที่4 selectionlayer
ใบความรู้หน่วยที่4 selectionlayerใบความรู้หน่วยที่4 selectionlayer
ใบความรู้หน่วยที่4 selectionlayer
 
หน่วยที่ 3 1
หน่วยที่ 3 1หน่วยที่ 3 1
หน่วยที่ 3 1
 
ใบความรู้ หน่วยที่3สมบูรณ์
ใบความรู้ หน่วยที่3สมบูรณ์ใบความรู้ หน่วยที่3สมบูรณ์
ใบความรู้ หน่วยที่3สมบูรณ์
 
Unit2 2
Unit2 2Unit2 2
Unit2 2
 
หน่วยที่ 2 การใช้งานโปรแกรมกราฟิก
หน่วยที่ 2 การใช้งานโปรแกรมกราฟิกหน่วยที่ 2 การใช้งานโปรแกรมกราฟิก
หน่วยที่ 2 การใช้งานโปรแกรมกราฟิก
 
ใบความรู้ 2
ใบความรู้  2ใบความรู้  2
ใบความรู้ 2
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2
 
ใบงานที่1
ใบงานที่1ใบงานที่1
ใบงานที่1
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
 
ใบความรู้หน่วยที่ 2
ใบความรู้หน่วยที่  2ใบความรู้หน่วยที่  2
ใบความรู้หน่วยที่ 2
 

ใบความรู้หน่วยที่ 1

  • 1. ใบความรู้ หน่วยที่ 1 เรื่องการใช้เครื่องมือกราฟิก วิชา คอมพิวเตอร์กราฟิก ง20205 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ความหมายของกราฟิก กราฟิก (Graphic) มาจากภาษากรีก ซึ่งหมายถึง การวาดเขียน (Graphikos) และการเขียน (Graphein) ต่อมามีผู้ให้ความหมายของคำว่า “กราฟิก” ไว้หลายประการซึ่งสรุปได้ดังนี้ กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้สื่อความหมายด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายข้อมูลได้ถูกต้องตรงตามที่ผู้สื่อสารต้องการ ความหมายของคอมพิวเตอร์กราฟิก คอมพิวเตอร์กราฟิก หมายถึง การสร้าง การตกแต่งแก้ไข หรือการจัดการเกี่ยวกับรูปภาพ โดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในการจัดการ ยกตัวอย่างเช่น การทำ Image Retouching ภาพคนแก่ให้มีวัยที่เด็กขึ้น การสร้างภาพตามจินตนาการและการใช้ภาพกราฟิกในการนำเสนอข้อมูลต่าง ๆ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายได้ตรงตามที่ผู้สื่อสารต้องการและน่าสนใจยิ่งขึ้นด้วยกราฟ แผนภูมิ แผนภาพ เป็นต้น ประโยชน์ของ Photoshop 1. งานตกแต่งภาพถ่าย เป็นการตกแต่งภาพถ่ายเก่า ๆ ให้คมชัดเหมือนใหม่ หรือทำการแก้ไขรูปถ่ายที่มืดไป สว่างไป มีเงาดำให้ภาพมีสีสรรสดใสสมจริง นอกจากนั้นยังสร้างภาพล้อเลียน เช่น เอาใบหน้าของคนหนึ่งไปวางไว้บนตัวคนอีกคนหนึ่ง นำภาพบุคคลไปวางบนฉากหลังอื่น เป็นต้น 2. งานสิ่งพิมพ์ ไม่ว่าจะเป็นหนังสือ นิตยสาร โฆษณา เรียกได้ว่าเกือบทุกงานที่ต้องใช้รูป สามารถใช้ Photoshop รังสรรค์ภาพให้เป็นไปตามไอเดียที่เราวางไว้ได้ 3. งานเว็บไซด์บนอินเตอร์เน็ต ใช้สร้างภาพเพื่อตกแต่งเว็บไซด์ไม่ว่าจะเป็นแบ็คกราวน์ ปุ่มตอบโต้ แถบหัวเรื่อง ตลอดจนภาพประกอบต่าง ๆ นอกจากนั้นยังสมารถออกแบบหน้าเว็บไซด์ด้วย Photoshop ได้ 4. งานออกแบบทางกราฟิก ใช้ Photoshop ช่วยในการสร้างภาพ 3 มิติ การออกแบบปกหนังสือและผลิตภัณฑ์ การออกแบบการ์ดอวยพร เป็นต้น 5. สร้างภาพวาด เหมือนจิตกรสร้างภาพจากผืนผ้าใบเปล่า ๆ จนเป็นงานศิลปะขึ้นมา ส่วนประกอบต่างๆของโปรแกรม Adobe Photoshop CS4
  • 2. หมายเลข 1 เมนูคำสั่ง(Menu Bar) เป็นชุดคำสั่งสำหรับทำงานทุกรูปแบบในการจัดการกับไฟล์ เช่น เปิด/ปิดหรือบันทึกไฟล์ ไปจนถึงคำสั่งในการตกแต่งภาพ เมนูส่วนนี้ถือว่าเป็นเมนูตายตัวเกือบทุกๆ โปรแกรมก็ว่าได้ เพราะว่าทุกๆ อย่างของการทำงานในโปรแกรม จะต้องมีเมนูนี้ เพื่อไว้เก็บคำสั่งการทำงานต่างๆ ให้กับโปรแกรม และเพื่อเพิ่มความสะดวกสบายต่อผู้ใช้งานอีกด้วย ในโปรแกรม Adobe Photoshop CS4 นี้ได้มีเมนู เพิ่มขึ้นมาใหม่หรือเรียกง่ายๆ ว่าเป็นเมนูเสริมขึ้นมาอีก เพื่อให้ง่ายต่อการใช้งาน ยกตัวอย่างเช่น เมนู ขยายเข้า/ออก, ปรับหน้าต่างโปรแกรมให้เต็มจอหรือ Full Screen หรือ การจัดวางตำแหน่งของเอกสารหรือตำแหน่งงานที่เราจะทำนั้นเอง เป็นต้น ซึ่งจะมีส่วนประกอบของเมนู ดังนี้ File - มีไว้สำหรับเปิด-ปิด และ บันทึก (Save) ไฟล์ รวมถึงการ Import, Export การสั่งการพิมพ์ เป็นต้น Edit – เป็นคำสั่งสำหรับการปรับแต่ง แก้ไข ดัดแปลง ตัดต่อ รวมถึงการปรับตั้งค่าต่างๆ (Preferences) Image – คำสั่งนี้ใช้สำหรับปรับค่าต่างๆของภาพทั้งภาพ Layer – เป็นคำสั่งในการสร้างเลเยอร์ การปรับแต่งแต่ละ เลเยอร์ รวมถึงการรวมเลเยอร์เข้าด้วยกัน Select – เป็นคำสั่งหรือจัดการกับพื้นที่ที่ต้องการทำงาน ส่วนใหญ่แล้วจะใช้ร่วมกับเครื่องมือใน Tool box Filter – เป็นคำสั่งที่ใช้ในการปรับเปลี่ยนโดยอัตโนมัต มีฟิลเตอร์หลากหลายชนิดให้เลือกใช้
  • 3. Analysis – เป็นการกำหนดค่าของเครื่องมือที่ใช้ในการวัดขนาด 3D – เป็นคำสั่งที่ใช้ในการสร้างภาพให้เป็นสามมิติ View – เป็นคำสั่งที่ใช้ในการปรับเปลี่ยนมุมมอง การย่อหรือขยายขนาดของพื้นที่งาน รวมถึงเครื่องมือที่ใช้ในการวัดและเส้น Grid ด้วย Window – คำสั่งนี้มีใว้เพื่อจัดการเกี่ยวกับพื้นที่บนหน้าจอ และการสั่งการแสดงหรือซ่อน หน้าต่าง Palette และกำหนดค่า Tool preset Help – เป็นคำสั่งช่วยเหลือเกี่ยวกับการใช้งานต่างๆ หมายเลข 2 ออปชันบาร์(Options Bar) เป็น ส่วนที่ใช้กำหนดคุณสมบัติของเครื่องมือที่เลือกทำงานอยู่เช่น การกำหนดขนาดของหัวพู่กันในเครื่องมือสำหรับวาดภาพ ซึ่งตัวเลือกนี้จะแสดงได้ก็ตัวเมื่อ ได้มีการเลือกใช้เครื่องมือใน Tool box(จะกล่าวในข้อต่อไป) เพื่อเป็นการกำหนดตัวเลือกเพิ่มเติมให้แก่เครื่องมือนั้นๆ หมายเลข 3 กล่องเครื่องมือ(Toolbox) คือ กล่องที่โปรแกรมใช้เก็บเครื่องมือสำหรับตกแต่งภาพเอาไว้ โดยเครื่องมือในกล่องนี้จะถูกแยกออกเป็นหมวดหมู่ตามลักษณะการทำงาน เช่น ดินสอ พู่กัน หรืองยางลบ เป็นต้น ซึ่งกล่องเครื่องมือนี้เป็นสิ่งที่จำเป็น ขาดไม่ได้ และถูกใช้งานบ่อยที่สุด โดยทั่วไปแล้ว กล่องเครื่องมือนี้จะมีส่วนคล้ายกับรุ่นก่อนหน้านี้พอสมควร และในกรณีที่เกิดการบดบังพื้นที่งาน ลูกศรคู่ด้านซ้ายมือของแถบสีดำนี้มีไว้เพื่อเปลี่ยนการแสดงปุ่มเครื่องมือ จากแถวคู่ให้เป็นแถวเรียงเดี่ยว เพื่อเพิ่มพื้นที่หน้าต่างให้กว้างขึ้น การเลือกใช้เครื่องมือชนิดต่างๆก็ทำด้วยการคลิกที่ปุ่มนั้นๆ ส่วนลูกศรสีดำเล็กๆตรงมุมขวาด้านล่างของปุ่มเครื่องมือจะมีเครื่องมือต่าง ชนิดซ่อนอยู่ การเรียกใช้ก็คลิกเมาส์ที่ลูกศรค้างไว้แล้วเลื่อนเม้าไปเลือกเครื่องมือที่ ต้องการแล้วปล่อยเมาส์ เครื่องมือบางชนิดต้องใช้ควบคู่ไปกับคีบอร์ดด้วยถึงจะใช้งานได้ เช่น Clone stamp tool ต้องใช้คู่กับ Alt หมายเลข 4 พื้นที่การทำงานและกระดาษวาดภาพ(Canvas) ใน ตอนเริ่มต้นจะเป็นพื้นที่ว่างๆ ต้องใช้คำสั่งเปิดภาพขึ้นมาก่อน หลังจากเปิดภาพขึ้นมาแล้ว บริเวรนี้จะกลายเป็นพื้นที่สำหรับตกแต่งภาพภาพที่เลือกเปิดจะมาปรากฏ บนกระดานวาดภาพและสามารถย้ายตำแหน่งไปมาหรือขยายภาพให้ใหญ่ขึ้นภายในพื้นที่ ทำงานได้ หมายเลข 5 ชุดพาเลท(Palettes) คือ กลุ่มของหน้าต่างที่ช่วยควบคุมรายละเอียดปลีกย่อยในขั้นตอนการทำงาน เช่น พาเลท History ที่ช่วยบันทึกขั้นตอนการตกแต่งภาพเอาไว้สำหรับกลับมาแก้ไข หรือพาเลท Navigator สำหรับควบคุมการซูมภาพ ตรงส่วนนี้เราสามารถที่จะเพิ่ม/ลบ พาเลทได้ที่ เมนูบาร์ ในชื่อ Windows แล้วให้ติ๊กเลือกตามความต้องการว่า จะให้แสดงพาเลทใดบ้าง เช่น พาเลทของฟอนต์หรือแบบอักษร พาเลทภาพสามมิต พาเลทแอคชันและอื่นๆ เป็นต้น การเปิด Palette ใหม่ก็ด้วยการคลิกคำสั่ง Window ที่ Menu bar แล้วเลือกเปิด Pallet ที่ต้องการ Palette ใหม่จะไม่รวมกลุ่มกับของที่เปิดไว้ก่อนหน้านี้แล้ว
  • 4. ถ้าอยากจัดเก็บให้เข้ากลุ่มก็ทำได้ด้วยการ คลิกที่ Tab ของหัวข้อ แล้วลากไปวางใว้ในกลุ่มที่มีอยู่ก่อนแล้วจึงค่อบปล่อนเมาส์ การปิด Palette ใด Palette หนึ่ง ก็ให้คลิกที่ Tab ของหัวข้อ แล้วลาก Palette นั้นออกมา แล้วคลิกที่ กากบาท x ที่อยู่มุมบนขวาเพื่อทำการปิด ลูกศรคู่สีเทาบนแถบสีดำบนสุดของ Palette มีใว้เพื่อย่อให้ Palette มีขนาดเล็กลง เพื่อเพิ่มพื้นที่ในการทำงาน ส่วนลูกศรสีดำหันหัวลงด้านล่างและมีขีดสี่เส้นอยู่ด้านขวามีไว้เพื่อเปิด เลือกคำสั่งการใช้งานต่างๆ ที่เป็น คำสั่งในส่วนของ Layer แถบสถานะ แสดงคุณสมบัติของถาพ ขนาดภาพ เปอร์เซ็นต์ก ารแสดงภาพของชิ้นงาน และอธิบายการทำงานของเครื่องมือที่เลือก Toolbox(ทูลบ๊อกส์) ทูลบ๊อกส์หรือกล่องเครื่องมือ ประอบด้วยเครื่องมือต่างๆที่จำเป็นต่อการใช้งานและมีจำนวนมาก จึงมีการรวบรวมเครื่องมือไว้ให้อยู่ในกลุ่มเดียวกัน ซึ่งจะมีรูปสามเหลี่ยมอยู่ที่มุมขวาล่างบนรูปเครื่องมือเพื่อบอกให้รู้ว่าใน เครื่องมือนั้นมีเครื่องมืออื่นซ่อนอยู่อีก เราจะใช้งานเครื่องมือนั้นได้ โดยการคลิเมาท์ค้างที่ปุ่มเครื่องมือเครื่องมือที่ซ่อนไว้จะแสดงออกมา
  • 6.
  • 8. พาเนล คือ กรอบหน้าต่างย่อยๆที่มีคำสั่งและเครื่องมือในการจัดการ ตรวจสอบและปรับแต่งภาพ เครื่องมือเหล่านี้จะถูกจัดแบ่งไว้เป็นหมวดหมู่ เช่น พาเนล Color ใช้กำหนดสี , พาเนล Layers ใช้สำหรับจัดการเลเยอร์ เป็นต้น บางพาเนลที่มักใช้ร่วมกันจะถูกจัดไว้ในกลุ่มเดียวกัน เช่น พาเนล Color พาเนล Swatches และ StyLes การเปิดใช้งาน Panel ให้คลิกที่คำสั่ง Windos>ชื่อพาเนล การยุบ/ขยายพาเนล เพื่อเพิ่มพื้นที่การทำงานเราสามารถยุบพาเนลที่ยึดกับแผงพาเนลและคอลัมน์ ให้แสดงในรูปไอคอนได้ ซึ่งเมื่อต้องการใช้งานพาเนลใดก็ให้เปิดขึ้นมาเฉพาะพาเนลนั้น