SlideShare a Scribd company logo
1 of 3
Download to read offline
หลักการสาคัญ
ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. .... ตระหนักถึง
ความสาคัญของการสร้างเสริมสุขภาพว่านโยบายและกลยุทธ์ของการสร้าง
เสริมสุขภาพนั้นเป็นองค์ประกอบสาคัญของการพัฒนาระบบสุขภาพที่นาไปสู่
สุขภาวะทั่วทั้งสังคมที่ยั่งยืนและสมบูรณ์ทั้งทางกาย จิต สังคม และปัญญา
การสร้างเสริมสุขภาพเพื่อพัฒนาระบบสุขภาพที่มีความยั่งยืนต้อง
คานึงถึงความสัมพันธ์ระหว่างสุขภาพและปัจจัยที่เกี่ยวข้อง โดยนอกจาก
จะต้องมุ่งทาให้ทุกนโยบายสาธารณะหรือโครงการพัฒนาคานึงถึงสุขภาพแล้ว
ยังต้องส่งเสริมบุคคล กลุ่มคน และชุมชนให้สามารถจัดการหรือพัฒนาสุขภาพ
ของตน กลุ่ม และชุมชน ตลอดจนจัดการกับปัจจัยกาหนดสุขภาพได้อย่าง
เหมาะสมซึ่งเป็นไปตามหลักการสร้างนาซ่อมด้วย
ทุกนโยบายห่วงใยสุขภาพ
การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาพเกิดจากกระบวนการ
ทางานแบบเสริมพลังกันของภาคส่วนต่างๆ ทั้งในและนอกภาคสุขภาพตาม
หลักการ ‘ทุกนโยบายห่วงใยสุขภาพ’ (Health in all policies: HiAP) โดยทา
ให้การกาหนดโครงการพัฒนาหรือนโยบายสาธารณะทุกด้านทั้งทางสังคม
เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม ต้องนาประเด็นที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพมาประกอบการ
ตัดสินใจเพื่อป้องกันผลกระทบที่ไม่เป็นธรรมและเป็นอันตรายต่อสุขภาพ
ยุทธศาสตร์การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาพเป็นการ
สร้างความรับผิดชอบร่วมกันของทุกหน่วยงานและภาคส่วนสังคมให้ตระหนัก
ถึงผลกระทบทางสุขภาพจากการดาเนินนโยบายสาธารณะ ขณะเดียวกันก็
สร้างเสริมกระบวนการพัฒนานโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วม
(Participatory healthy public policy process: PHPPP) ที่มีภาคประชา
สังคมเป็นกลจักรขับเคลื่อนสาคัญที่นาไปสู่ความเป็นธรรมในระบบสุขภาพ
การสร้างนาซ่อม
การสร้างเสริมสุขภาพทวีความสาคัญกับงานสาธารณสุขของประเทศ
ไทย เพราะไม่ได้เป็นเพียงระบบย่อยของสุขภาพ แต่เป็นหัวใจสาคัญของการ
พัฒนาระบบสุขภาพที่สามารถตอบสนองต่อปัญหาสุขภาพในระดับต่างๆ ตาม
หลักการ ‘สร้างนาซ่อม’ ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายป้องกัน ควบคุมโรค และ
ปัจจัยคุกคามสุขภาพด้วย ซึ่งจะลดการเจ็บป่วย พิการ และเสียชีวิต รวมถึงลด
ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพของบุคคลและงบประมาณการรักษาพยาบาลของรัฐ
การสร้างเสริมสุขภาพ
Health Promotion
ภาพอนาคตพึงประสงค์
๑. กระบวนการพัฒนานโยบายสาธารณะทุกระดับ
นาหลักการทุกนโยบายห่วงใยสุขภาพ (Health in
all policies: HiAP) มาแปลงเป็นปฏิบัติการที่มีผล
เป็นรูปธรรม โดยทุกภาคส่วนมีความเข้าใจเรื่อง
สุขภาพในมิติที่กว้างขึ้น และตระหนักถึงความ
รับผิดชอบร่วมกันของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องต่อ
ผลกระทบทางสุขภาพจากนโยบายสาธารณะ
๒. ชุมชนส่วนใหญ่ของประเทศทั้งชุมชนชนบทและ
ชุมชนเมืองมีศักยภาพเรียนรู้และจัดการสร้างเสริม
สุขภาพผ่านกระบวนการพัฒนานโยบายสาธารณะ
เพื่อสุขภาพที่มีความเหมาะสมกับบริบทของชุมชน
๓. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) มีความพร้อม
ปฏิบัติภารกิจการสร้างเสริมสุขภาพที่ครอบคลุมถึง
การพัฒนาสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ การพัฒนา
ศักยภาพและความเข้มแข็งของบุคคล ชุมชน สังคม
๔. ผู้สูงอายุ ผู้พิการ เด็ก เยาวชน สตรี ผู้ด้อยโอกาส
และกลุ่มคนที่มีความจาเพาะทางสุขภาพได้รับการ
สร้างเสริมสุขภาพโดยมีชุมชนและ อปท. เป็นฐาน
การดูแล และมีการส่งต่อการดูแลสุขภาพของชุมชน
และสถานบริการสาธารณสุขแบบไร้รอยต่อ
๕. การพัฒนาสิ่งแวดล้อมและสภาพแวดล้อมของ
ชุมชนให้เอื้อต่อการมีสุขภาพดี
๖. การส่งเสริมนวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาพที่
สามารถตอบสนองต่อการจัดการปัญหาสุขภาพใหม่
ปัจจัยเสี่ยง และปัจจัยกาหนดสุขภาพ
การสร้างสริมสุขภาพ
การสร้างเสริมสุขภาพคือการสร้างสิ่งแวดล้อมและสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพโดยมุ่งสร้างกระบวนการปฏิบัติ
เพื่อให้เกิดสุขภาพกายแข็งแรง เจริญเติบโตปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ และสามารถดารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างปกติสุข
การสร้างเสริมสุขภาพคือกระบวนการพัฒนาศักยภาพการดูแลตนเองของบุคคล ชุมชน และประชาชนกลุ่มต่างๆ ที่เท่าทันสถานการณ์
สังคมไทยและโลกที่เปลี่ยนแปลงไปซึ่งจะนาไปสู่การสร้างสรรค์นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพที่สามารถตอบสนองต่อปัญหาสุขภาพใหม่ๆ
การเสริมพลังกันของทุกภาคส่วน
การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาพต้องเกิด
จากการทางานร่วมกันแบบเสริมพลังเพื่อสร้างระบบการทางาน
ร่วมกันอย่างยั่งยืนของภาคส่วนต่างๆ ที่ไม่ใช่แค่ภาคส่วน
สุขภาพ เพื่อจะสามารถผลักดันนโยบายสาธารณะทุกด้านให้มี
ความเป็นธรรมทางสุขภาพและเป็นประโยชน์ต่อสุขภาพของ
ประชาชน ตลอดจนป้องกันผลกระทบที่เป็นอันตรายทาง
สุขภาพจากการดาเนินนโยบายสาธารณะต่างๆ
ยุทธศาสตร์การสร้างเสริมสุขภาพ
ยุทธศาสตร์การสร้างเสริมสุขภาพต้องมุ่งการบริหาร
จัดการในระดับพื้นที่
ที่ มี ชุ ม ช น เ ป็ น
ศูนย์กลาง โดยรัฐ
ส่วนกลางมีบทบาท
ทั้ง ท าง นโ ย บา ย
มาตรการ และการ
จัดสรรงบประมาณ
ในการสนับสนุนให้
ชุมชนมีศักยภาพการดาเนินงานอย่างเป็นระบบและยั่งยืน
นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ
นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพนอกจากต้อง
ตอบสนองความต้องการที่มีพลวัตเปลี่ยนแปลงไปของภาคส่วน
ต่างๆ โดยเฉพาะผู้สูงอายุ ผู้พิการ เด็ก เยาวชน สตรี
ผู้ด้อยโอกาส และกลุ่มคนที่มีความจาเพาะทางสุขภาพแล้ว ยัง
ต้องสามารถจัดการกับปัญหาสุขภาพใหม่ๆ ได้ด้วย โดยการมุ่ง
พัฒนาหรือยกระดับการจัดการกับปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ
(Health risk factor) ไปสู่การจัดการกับปัจจัยกาหนดสุขภาพ
(Health determinant) ทั้งด้านบวกและลบได้อย่างเหมาะสม
การจัดการและพัฒนาระบบสุขภาพ
การสร้างเสริมสุขภาพเป็นมากกว่ากิจกรรมส่งเสริม
สุขภาพอนามัยส่วนบุคคลและสิ่งแวดล้อม เพราะเป็น
กระบวนการที่มุ่งส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการหรือพัฒนา
สุขภาพของบุคคล ชุมชน และประชาชนกลุ่มต่างๆ เช่น ผู้
พิการ และผู้สูงอายุ ให้มีความเหมาะสมกับบริบทของชุมชน
โดยมีชุมชมและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) เป็นฐาน
การดูแลในการจัดการสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ ทั้งการมี
พื้นที่สาธารณะ การจัดสภาพแวดล้อมสาหรับผู้พิการและ
ผู้สูงอายุ รวมถึงการสร้างระบบการจัดการสุขภาวะชุมชนทั้งที่
เป็นชุมชนเกษตร ชุมชนอุตสาหกรรม และชุมชนเมือง
การจัดการและพัฒนาสุขภาพโดยตนเองยังรวมถึงการ
จัดกิจกรรมการจัดการกองทุนสุขภาพตาบล ระบบสวัสดิการ
ชุมชน และการส่งต่อการดูแลสุขภาพของชุมชนและสถาน
บริการสาธารณสุขแบบไร้รอยต่อ โดยมีนโยบายระดับประเทศ
สนับสนุนให้ชุมชนสามารถจัดการตนเองอย่างยั่งยืนได้ด้วย
การสื่อสารสุขภาพ
การสื่อสารสุขภาพต้องสร้างความเข้าใจเรื่องของ
สุขภาพในมิติที่กว้างตามนิยามของ
พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ
พ.ศ. ๒๕๕๐ และระบบสุขภาพ
แบบสร้างนาซ่อม รวมถึงต้องมีการ
สื่อสารการปฏิรูประบบบริการ
สาธารณสุขส่วนกลางกับชุมชน
อย่างต่อเนื่องเพื่อเอื้อต่อการดาเนินงานสร้างเสริมสุขภาพด้วย
การสื่อสารการสร้างเสริมสุขภาพสร้างความเป็นธรรม
ในการเข้าถึงบริการสุขภาพได้ ด้วยเพราะจะทาให้การกระจาย
ทรัพยากรทางการแพทย์ที่มีความเหลื่อมล้าไม่เป็นปัญหา
รุนแรงมากนักอันเนื่องมาจากประชาชนมีสุขภาพดีไม่เจ็บป่วย
สานักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.) ชั้น ๓ อาคารสุขภาพแห่งชาติ ๘๘/๓๙ ถ.ติวานนท์ ๑๔ หมู่ ๔ ต.ตลาดขวัญ อ.เมือง จ.นนทบรี ๑๑๐๐๐
โทรศัพท์ ๐ ๒๘๓๒ ๙๐๐๐ โทรสาร ๐ ๒๘๓๒ ๙๐๐๑-๒ www.nationalhealth.or.th
09 health promotion

More Related Content

Similar to 09 health promotion

8 การส่งเสริมสุขภาพ
8 การส่งเสริมสุขภาพ8 การส่งเสริมสุขภาพ
8 การส่งเสริมสุขภาพ
Watcharin Chongkonsatit
 
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัยระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
Chuchai Sornchumni
 
8 การส่งเสริมสุขภาพ
8 การส่งเสริมสุขภาพ8 การส่งเสริมสุขภาพ
8 การส่งเสริมสุขภาพ
Watcharin Chongkonsatit
 
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติดหลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
pluakdeang Hospital
 
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Nan Natni
 

Similar to 09 health promotion (20)

551212 moph policy
551212 moph policy551212 moph policy
551212 moph policy
 
8 การส่งเสริมสุขภาพ
8 การส่งเสริมสุขภาพ8 การส่งเสริมสุขภาพ
8 การส่งเสริมสุขภาพ
 
กลยุทธ์บริหารการเงินการคลังโรงพยาบาลEdit
กลยุทธ์บริหารการเงินการคลังโรงพยาบาลEditกลยุทธ์บริหารการเงินการคลังโรงพยาบาลEdit
กลยุทธ์บริหารการเงินการคลังโรงพยาบาลEdit
 
Final annual report nhso 2559
Final annual report nhso 2559Final annual report nhso 2559
Final annual report nhso 2559
 
จุดประกายการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ การสร้างเสริมสุขภาพรร.เอเชียแอพอร์ท28มีค 53
จุดประกายการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ การสร้างเสริมสุขภาพรร.เอเชียแอพอร์ท28มีค 53จุดประกายการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ การสร้างเสริมสุขภาพรร.เอเชียแอพอร์ท28มีค 53
จุดประกายการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ การสร้างเสริมสุขภาพรร.เอเชียแอพอร์ท28มีค 53
 
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐ
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐระบบบริการสุขภาพภาครัฐ
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐ
 
08 mental health
08 mental health08 mental health
08 mental health
 
Primary Health Care System_Padkao T
Primary Health Care System_Padkao TPrimary Health Care System_Padkao T
Primary Health Care System_Padkao T
 
หลักสูตรสุขศึกษาและพลศึกษา
หลักสูตรสุขศึกษาและพลศึกษาหลักสูตรสุขศึกษาและพลศึกษา
หลักสูตรสุขศึกษาและพลศึกษา
 
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัยระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
 
8 การส่งเสริมสุขภาพ
8 การส่งเสริมสุขภาพ8 การส่งเสริมสุขภาพ
8 การส่งเสริมสุขภาพ
 
Siiim
SiiimSiiim
Siiim
 
Siiim
SiiimSiiim
Siiim
 
NHSO annual report_2557
NHSO annual report_2557NHSO annual report_2557
NHSO annual report_2557
 
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ รายงานประจำปี 2557
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ  รายงานประจำปี 2557สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ  รายงานประจำปี 2557
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ รายงานประจำปี 2557
 
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติดหลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
 
Elderly survey doh
Elderly survey dohElderly survey doh
Elderly survey doh
 
Thailand's Health IT Future Directions (April 4, 2019)
Thailand's Health IT Future Directions (April 4, 2019)Thailand's Health IT Future Directions (April 4, 2019)
Thailand's Health IT Future Directions (April 4, 2019)
 
2015 lesson 3 healthcare organization management (4 2016)
2015 lesson 3 healthcare organization management (4 2016)2015 lesson 3 healthcare organization management (4 2016)
2015 lesson 3 healthcare organization management (4 2016)
 
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
 

More from Freelance (6)

11 the right to health
11 the right to health11 the right to health
11 the right to health
 
10 area health statute
10 area health statute10 area health statute
10 area health statute
 
05 health consumer protection
05 health consumer protection05 health consumer protection
05 health consumer protection
 
03 public deliberation
03 public deliberation03 public deliberation
03 public deliberation
 
02 citizens jury
02 citizens jury02 citizens jury
02 citizens jury
 
01 deliberative democracy
01 deliberative democracy01 deliberative democracy
01 deliberative democracy
 

09 health promotion

  • 1. หลักการสาคัญ ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. .... ตระหนักถึง ความสาคัญของการสร้างเสริมสุขภาพว่านโยบายและกลยุทธ์ของการสร้าง เสริมสุขภาพนั้นเป็นองค์ประกอบสาคัญของการพัฒนาระบบสุขภาพที่นาไปสู่ สุขภาวะทั่วทั้งสังคมที่ยั่งยืนและสมบูรณ์ทั้งทางกาย จิต สังคม และปัญญา การสร้างเสริมสุขภาพเพื่อพัฒนาระบบสุขภาพที่มีความยั่งยืนต้อง คานึงถึงความสัมพันธ์ระหว่างสุขภาพและปัจจัยที่เกี่ยวข้อง โดยนอกจาก จะต้องมุ่งทาให้ทุกนโยบายสาธารณะหรือโครงการพัฒนาคานึงถึงสุขภาพแล้ว ยังต้องส่งเสริมบุคคล กลุ่มคน และชุมชนให้สามารถจัดการหรือพัฒนาสุขภาพ ของตน กลุ่ม และชุมชน ตลอดจนจัดการกับปัจจัยกาหนดสุขภาพได้อย่าง เหมาะสมซึ่งเป็นไปตามหลักการสร้างนาซ่อมด้วย ทุกนโยบายห่วงใยสุขภาพ การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาพเกิดจากกระบวนการ ทางานแบบเสริมพลังกันของภาคส่วนต่างๆ ทั้งในและนอกภาคสุขภาพตาม หลักการ ‘ทุกนโยบายห่วงใยสุขภาพ’ (Health in all policies: HiAP) โดยทา ให้การกาหนดโครงการพัฒนาหรือนโยบายสาธารณะทุกด้านทั้งทางสังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม ต้องนาประเด็นที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพมาประกอบการ ตัดสินใจเพื่อป้องกันผลกระทบที่ไม่เป็นธรรมและเป็นอันตรายต่อสุขภาพ ยุทธศาสตร์การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาพเป็นการ สร้างความรับผิดชอบร่วมกันของทุกหน่วยงานและภาคส่วนสังคมให้ตระหนัก ถึงผลกระทบทางสุขภาพจากการดาเนินนโยบายสาธารณะ ขณะเดียวกันก็ สร้างเสริมกระบวนการพัฒนานโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วม (Participatory healthy public policy process: PHPPP) ที่มีภาคประชา สังคมเป็นกลจักรขับเคลื่อนสาคัญที่นาไปสู่ความเป็นธรรมในระบบสุขภาพ การสร้างนาซ่อม การสร้างเสริมสุขภาพทวีความสาคัญกับงานสาธารณสุขของประเทศ ไทย เพราะไม่ได้เป็นเพียงระบบย่อยของสุขภาพ แต่เป็นหัวใจสาคัญของการ พัฒนาระบบสุขภาพที่สามารถตอบสนองต่อปัญหาสุขภาพในระดับต่างๆ ตาม หลักการ ‘สร้างนาซ่อม’ ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายป้องกัน ควบคุมโรค และ ปัจจัยคุกคามสุขภาพด้วย ซึ่งจะลดการเจ็บป่วย พิการ และเสียชีวิต รวมถึงลด ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพของบุคคลและงบประมาณการรักษาพยาบาลของรัฐ การสร้างเสริมสุขภาพ Health Promotion ภาพอนาคตพึงประสงค์ ๑. กระบวนการพัฒนานโยบายสาธารณะทุกระดับ นาหลักการทุกนโยบายห่วงใยสุขภาพ (Health in all policies: HiAP) มาแปลงเป็นปฏิบัติการที่มีผล เป็นรูปธรรม โดยทุกภาคส่วนมีความเข้าใจเรื่อง สุขภาพในมิติที่กว้างขึ้น และตระหนักถึงความ รับผิดชอบร่วมกันของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องต่อ ผลกระทบทางสุขภาพจากนโยบายสาธารณะ ๒. ชุมชนส่วนใหญ่ของประเทศทั้งชุมชนชนบทและ ชุมชนเมืองมีศักยภาพเรียนรู้และจัดการสร้างเสริม สุขภาพผ่านกระบวนการพัฒนานโยบายสาธารณะ เพื่อสุขภาพที่มีความเหมาะสมกับบริบทของชุมชน ๓. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) มีความพร้อม ปฏิบัติภารกิจการสร้างเสริมสุขภาพที่ครอบคลุมถึง การพัฒนาสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ การพัฒนา ศักยภาพและความเข้มแข็งของบุคคล ชุมชน สังคม ๔. ผู้สูงอายุ ผู้พิการ เด็ก เยาวชน สตรี ผู้ด้อยโอกาส และกลุ่มคนที่มีความจาเพาะทางสุขภาพได้รับการ สร้างเสริมสุขภาพโดยมีชุมชนและ อปท. เป็นฐาน การดูแล และมีการส่งต่อการดูแลสุขภาพของชุมชน และสถานบริการสาธารณสุขแบบไร้รอยต่อ ๕. การพัฒนาสิ่งแวดล้อมและสภาพแวดล้อมของ ชุมชนให้เอื้อต่อการมีสุขภาพดี ๖. การส่งเสริมนวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาพที่ สามารถตอบสนองต่อการจัดการปัญหาสุขภาพใหม่ ปัจจัยเสี่ยง และปัจจัยกาหนดสุขภาพ
  • 2. การสร้างสริมสุขภาพ การสร้างเสริมสุขภาพคือการสร้างสิ่งแวดล้อมและสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพโดยมุ่งสร้างกระบวนการปฏิบัติ เพื่อให้เกิดสุขภาพกายแข็งแรง เจริญเติบโตปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ และสามารถดารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างปกติสุข การสร้างเสริมสุขภาพคือกระบวนการพัฒนาศักยภาพการดูแลตนเองของบุคคล ชุมชน และประชาชนกลุ่มต่างๆ ที่เท่าทันสถานการณ์ สังคมไทยและโลกที่เปลี่ยนแปลงไปซึ่งจะนาไปสู่การสร้างสรรค์นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพที่สามารถตอบสนองต่อปัญหาสุขภาพใหม่ๆ การเสริมพลังกันของทุกภาคส่วน การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาพต้องเกิด จากการทางานร่วมกันแบบเสริมพลังเพื่อสร้างระบบการทางาน ร่วมกันอย่างยั่งยืนของภาคส่วนต่างๆ ที่ไม่ใช่แค่ภาคส่วน สุขภาพ เพื่อจะสามารถผลักดันนโยบายสาธารณะทุกด้านให้มี ความเป็นธรรมทางสุขภาพและเป็นประโยชน์ต่อสุขภาพของ ประชาชน ตลอดจนป้องกันผลกระทบที่เป็นอันตรายทาง สุขภาพจากการดาเนินนโยบายสาธารณะต่างๆ ยุทธศาสตร์การสร้างเสริมสุขภาพ ยุทธศาสตร์การสร้างเสริมสุขภาพต้องมุ่งการบริหาร จัดการในระดับพื้นที่ ที่ มี ชุ ม ช น เ ป็ น ศูนย์กลาง โดยรัฐ ส่วนกลางมีบทบาท ทั้ง ท าง นโ ย บา ย มาตรการ และการ จัดสรรงบประมาณ ในการสนับสนุนให้ ชุมชนมีศักยภาพการดาเนินงานอย่างเป็นระบบและยั่งยืน นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพนอกจากต้อง ตอบสนองความต้องการที่มีพลวัตเปลี่ยนแปลงไปของภาคส่วน ต่างๆ โดยเฉพาะผู้สูงอายุ ผู้พิการ เด็ก เยาวชน สตรี ผู้ด้อยโอกาส และกลุ่มคนที่มีความจาเพาะทางสุขภาพแล้ว ยัง ต้องสามารถจัดการกับปัญหาสุขภาพใหม่ๆ ได้ด้วย โดยการมุ่ง พัฒนาหรือยกระดับการจัดการกับปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ (Health risk factor) ไปสู่การจัดการกับปัจจัยกาหนดสุขภาพ (Health determinant) ทั้งด้านบวกและลบได้อย่างเหมาะสม การจัดการและพัฒนาระบบสุขภาพ การสร้างเสริมสุขภาพเป็นมากกว่ากิจกรรมส่งเสริม สุขภาพอนามัยส่วนบุคคลและสิ่งแวดล้อม เพราะเป็น กระบวนการที่มุ่งส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการหรือพัฒนา สุขภาพของบุคคล ชุมชน และประชาชนกลุ่มต่างๆ เช่น ผู้ พิการ และผู้สูงอายุ ให้มีความเหมาะสมกับบริบทของชุมชน โดยมีชุมชมและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) เป็นฐาน การดูแลในการจัดการสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ ทั้งการมี พื้นที่สาธารณะ การจัดสภาพแวดล้อมสาหรับผู้พิการและ ผู้สูงอายุ รวมถึงการสร้างระบบการจัดการสุขภาวะชุมชนทั้งที่ เป็นชุมชนเกษตร ชุมชนอุตสาหกรรม และชุมชนเมือง การจัดการและพัฒนาสุขภาพโดยตนเองยังรวมถึงการ จัดกิจกรรมการจัดการกองทุนสุขภาพตาบล ระบบสวัสดิการ ชุมชน และการส่งต่อการดูแลสุขภาพของชุมชนและสถาน บริการสาธารณสุขแบบไร้รอยต่อ โดยมีนโยบายระดับประเทศ สนับสนุนให้ชุมชนสามารถจัดการตนเองอย่างยั่งยืนได้ด้วย การสื่อสารสุขภาพ การสื่อสารสุขภาพต้องสร้างความเข้าใจเรื่องของ สุขภาพในมิติที่กว้างตามนิยามของ พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๐ และระบบสุขภาพ แบบสร้างนาซ่อม รวมถึงต้องมีการ สื่อสารการปฏิรูประบบบริการ สาธารณสุขส่วนกลางกับชุมชน อย่างต่อเนื่องเพื่อเอื้อต่อการดาเนินงานสร้างเสริมสุขภาพด้วย การสื่อสารการสร้างเสริมสุขภาพสร้างความเป็นธรรม ในการเข้าถึงบริการสุขภาพได้ ด้วยเพราะจะทาให้การกระจาย ทรัพยากรทางการแพทย์ที่มีความเหลื่อมล้าไม่เป็นปัญหา รุนแรงมากนักอันเนื่องมาจากประชาชนมีสุขภาพดีไม่เจ็บป่วย สานักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.) ชั้น ๓ อาคารสุขภาพแห่งชาติ ๘๘/๓๙ ถ.ติวานนท์ ๑๔ หมู่ ๔ ต.ตลาดขวัญ อ.เมือง จ.นนทบรี ๑๑๐๐๐ โทรศัพท์ ๐ ๒๘๓๒ ๙๐๐๐ โทรสาร ๐ ๒๘๓๒ ๙๐๐๑-๒ www.nationalhealth.or.th