SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 51
Descargar para leer sin conexión
แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
และการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
ดร.สมยศ โอ่งเคลือบ
ภาควิชาการท่องเที่ยว คณะมนุษยศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
1
องค์ประกอบของการท่องเที่ยว
ทรัพยากร
การท่องเที่ยว
นักท่องเที่ยว
ภาครัฐ
ภาคเอกชน
ชุมชน
ท้องถิ่น
2
องค์ประกอบของผลิตภัณฑ์ทางการท่องเที่ยว
สิ่งดึงดูดใจ
• ธรรมชาติ
• มนุษย์สร้าง
• วัฒนธรรม
สิ่งอานวยความ
สะดวกและบริการ
• ที่พัก
• ร้านอาหาร
• ร้านขายของที่ระลึก
• ความบันเทิง
• ฯลฯ
การเข้าถึง
• ถนนหนทาง
• สาธารณูปโภค
• ระบบขนส่ง
• กฎหมาย กฎระเบียบ
• ฯลฯ
3
องค์ประกอบของสินค้าทางการท่องเที่ยว
• สิ่งดึงดูดใจAttraction
• สิ่งอานวยความสะดวกAmenity
• ความสามารถในการเข้าถึงAccessibility
• กิจกรรมActivity
• ที่พักAccommodation
3 As
5 As
4
ประเภทของทรัพยากรการท่องเที่ยว
ตามลักษณะคุณค่า และความสนใจของนักท่องเที่ยว
1. ทรัพยากรการท่องเที่ยวประเภทธรรมชาติ
ทิวทัศน์ (Scenery)
สัตว์ป่าและพรรณไม้(Wildlife and flora)
สภาพภูมิอากาศ (Climate)
ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ (Natural Phenomenon)
ฯลฯ
5
2. ทรัพยากรการท่องเที่ยวที่มนุษย์สร้างขึ้น
โบราณสถาน โบราณวัตถุ
ศาสนสถานหรือปูชนียสถาน
ศาสนวัตถุหรือปูชนียวัตถุ
แหล่งประวัติศาสตร์
สถาปัตยกรรม สิ่งก่อสร้างในปัจจุบัน
ฯลฯ
ประเภทของทรัพยากรการท่องเที่ยว
ตามลักษณะคุณค่า และความสนใจของนักท่องเที่ยว
6
3. ทรัพยากรการท่องเที่ยวด้านวัฒนธรรม
วัฒนธรรม
ประเพณี
วิถีชีวิต
ฯลฯ
ประเภทของทรัพยากรการท่องเที่ยว
ตามลักษณะคุณค่า และความสนใจของนักท่องเที่ยว
7
การเติบโตอย่างรวดเร็วของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
2493 20 ล้านคน
2543 696 ล้านคน
2545 715 ล้านคน
2550 898 ล้านคน
8
50 ปี
เพิ่มขึ้น
34.8 เท่า
2 ปี เพิ่มขึ้น
19 ล้านคน
5 ปี เพิ่มขึ้น
183 ล้านคน
การเติบโตของปริมาณนักท่องเที่ยวทั่วโลก
9
ที่มา: WTO (2008)
การท่องเที่ยวส่งผลอย่างไรบ้าง?
ด้านบวก?
ด้านลบ?
10
ผลกระทบของการท่องเที่ยว
เศรษฐกิจ
สังคม
สิ่งแวดล้อม
11
12
ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ
ผลดี
• สร้างรายได้
• สร้างงาน
ผลเสีย
• ภาวะเงินเฟ้ อ
• ค่าครองชีพสูงขึ้น
• ภาวะพึ่งพาการท่องเที่ยว
13
The multiplier effect
14
ผลกระทบด้านสังคมและวัฒนธรรม
ผลดี
• สร้างงาน
• สร้างความเจริญ
• เกิดการฟื้นฟูศิลปะ หัตถกรรม ภูมิปัญญา
• เกิดการฟื้นฟูวัฒนธรรม ประเพณี
• สถาปัตยกรรมได้รับการดูแลรักษาและ
ฟื้นฟู
• สถานที่สวยงามได้รับการปกป้ อง ดูแล
รักษา
ผลเสีย
• ความวุ่นวาย แออัด
• เกิดการละทิ้งอาชีพเดิม
• เกิดการพึ่งพาการท่องเที่ยวมากเกินไป
• ต้องปรับวิถีชีวิตให้เข้ากับนักท่องเที่ยว
• เกิดการเลียนแบบนักท่องเที่ยว
• เกิดการรับเอาวัฒนธรรมต่างชาติ
• อาชญากรรม
15
Demonstration effect
16
Acculturation theory
‘MacDonaldization’
‘Coca-colaization’
17
ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม
ผลดี
• ธรรมชาติที่สวยงามได้รับการปกป้ อง
• เกิดการปกป้ อง ดูแลรักษา ทั้ง
ธรรมชาติ และสิ่งก่อสร้าง ที่ดึงดูด
นักท่องเที่ยว
• รายได้จากการท่องเที่ยวสามารถ
นาไปใช้ในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม
ผลเสีย
• ขยะ
• ความวุ่นวาย แออัด รถติด เสียงดัง
• มลภาวะทางอากาศ เสียง และอื่นๆ
• เกิดทัศนอุจาด
• เหล่านี้ย่อมส่งผลต่อสิ่งมีชีวิตอื่นๆ ด้วย
18
ผลกระทบจะมากหรือน้อย ขึ้นอยู่กับอะไร?
• ปริมาณนักท่องเที่ยว
• ประเภทของนักท่องเที่ยว
• ประเภทของกิจกรรมการท่องเที่ยว
• ระบบโครงสร้างพื้นฐานที่มี ระบบกาจัดขยะ ระบบกาจัดน้าเสีย
• อื่นๆ ..
ทาไมต้องเที่ยวอย่างยั่งยืน?
การท่องเที่ยวต้องอาศัยทรัพยากร
ที่ผ่านมามีการใช้ทรัพยากรอย่างไม่รู้คุณค่า
แหล่งท่องเที่ยวเสื่อมโทรม
ภาวะโลกร้อนทาให้ทั่วโลกตระหนักถึงความยั่งยืน
19
การประชุมสุดยอดเรื่องสิ่งแวดล้อม Earth Summit 1992
เป็ นจุดผลักดันให้มีการพัฒนาอย่างยั่งยืน
จากกระแสการพัฒนาการท่องเที่ยว 3 ประการ กล่าวคือ
ความต้องการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม
นักท่องเที่ยว
สนใจการ
ท่องเที่ยวเพื่อ
การเรียนรู้
ความต้องการในการพัฒนาคน
และให้ความสาคัญกับการมีส่วน
ร่วมของชุมชนท้องถิ่น
20
การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
ความหมายอย่างง่าย
หมายถึง รูปแบบการท่องเที่ยวที่สามารถดารงคุณค่า
หรือประโยชน์ของพื้นที่ได้ยาวนานไม่มีที่สิ้นสุด (Butler,
1993)
21
หลักการท่องเที่
“เป็นลักษณะของการท่องเที่ยวที่นาไปสู่
การจัดการทรัพยากรที่ตอบสนองต่อความต้องการทางด้าน
เศรษฐกิจ สังคม และสุนทรียะ
ในขณะเดียวกันก็คงไว้ซึ่งวัฒนธรรม ระบบนิเวศ
และระบบต่าง ๆ ที่เอื้อต่อชีวิต"
การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
ความหมายโดยองค์การท่องเที่ยวโลก (WTO)
22
หลักการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
สมดุล
23
การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
(Sustainable Tourism Development)
หมายถึง การพัฒนาการท่องเที่ยวที่ตอบสนองความต้องการของ
นักท่องเที่ยว และมีการบริหารจัดการ
โดยการปกป้ องรักษาระบบนิเวศ และอัตลักษณ์ท้องถิ่น
(UNWTO, 1994)
24
หลักการจัดการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
โดย The Global Sustainable Tourism Criteria
1. วางแผนการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ
2. ดาเนินการโดยยึดถือผลประโยชน์สูงสุดทางเศรษฐกิจและ
สังคมแก่ชุมชนท้องถิ่น
3. ส่งเสริมและสนับสนุนมรดกทางวัฒนธรรมให้คงอยู่ตลอดไป
4. ลดผลกระทบทางลบที่มีต่อสิ่งแวดล้อมและ
ทรัพยากรธรรมชาติ”
25
หลักการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (Shirley Eber, 1993)
1. การอนุรักษ์และใช้ทรัพยากรอย่างพอดี ทั้งที่เป็นทรัพยากรธรรมชาติสังคม และวัฒนธรรม เป็นสิ่ง
สาคัญ และเป็นแนวทางการทาธุรกิจในระยะยาว (Using Resource Sustainably)
2. การลดการบริโภคที่มากเกินจาเป็น และการลดของเสีย จะเลี่ยงการทาลายสิ่งแวดล้อมในระยะยาว
และเพิ่มคุณภาพของการท่องเที่ยว (Reducing Over - consumption and Waste)
3. การรักษาและส่งเสริมความหลากหลายของธรรมชาติ สังคม และวัฒนธรรม ที่มีความสาคัญต่อการ
ท่องเที่ยวในระยะยาว และช่วยขยายฐานของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว (Maintaining Diversity)
4. การประสานการพัฒนาการท่องเที่ยวเข้ากับกรอบแผนการพัฒนาชาติ การพัฒนาท้องถิ่น และการ
ประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม จะช่วยขยายศักยภาพการท่องเที่ยวในระยะยาว (Integrating Tourism
into Planning)
26
5. การท่องเที่ยวที่รองรับกิจกรรมทางเศรษฐกิจของท้องถิ่น โดยพิจารณาด้านราคาและคุณค่า
ของสิ่งแวดล้อมไว้ไม่เพียงแต่ทาให้เกิดการประหยัด แต่ยังป้ องกันสิ่งแวดล้อมไม่ให้ถูกทาลาย
อีกด้วย (Supporting Local Economics)
6. การมีส่วนร่วมอย่างเต็มที่ของท้องถิ่นที่เกี่ยวข้อง ไม่เพียงแต่สร้างผลตอบแทนแก่ประชากร
และสิ่งแวดล้อมโดยรวมแต่ยังช่วยยกระดับคุณภาพการจัดการการท่องเที่ยวอีกด้วย
(Involving Local Communities)
7. การปรึกษาหารือกันอย่างสม่าเสมอ ระหว่างผู้ประกอบการ ประชาชนท้องถิ่น องค์กรและ
สถาบันที่เกี่ยวข้อง มีความจาเป็นในการที่จะร่วมงานไปในทิศทางเดียวกัน รวมทั้งร่วม
แก้ปัญหา และลดข้อขัดแย้งในผลประโยชน์ที่แตกต่างกัน (Consulting Stakeholders and
the Public)
หลักการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (Shirley Eber, 1993)
27
8. การฝึกอบรมบุคลกร โดยสอดแทรกแนวคิดและวิธีปฏิบัติในการพัฒนาแบบยั่งยืนต่อบุคลากร
ท้องถิ่นทุกระดับ จะช่วยยกระดับการบริการการท่องเที่ยว (Training Staff)
9. การตลาดที่จัดเตรียมข้อมูลอย่างพร้อมมูล จะทาให้นักท่องเที่ยวเข้าใจและเคารพใน
สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติสังคมและวัฒนธรรมของแหล่งท่องเที่ยว และจะช่วยยกระดับความ
พอใจของนักท่องเที่ยวด้วย (Marketing Tourism Responsibly)
10. การวิจัยและการติดตามตรวจสอบอย่างมีประสิทธิภาพ จาเป็นต่อการช่วยแก้ปัญหา และเพิ่ม
ผลประโยชน์ต่อแหล่งท่องเที่ยว นักท่องเที่ยว และนักลงทุน (Undertaking Research)
หลักการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (Shirley Eber, 1993)
28
ทาอย่างไรให้เกิดความยั่งยืน?
29
เลือกกิจกรรมการท่องเที่ยวที่ไม่สร้างผลเสีย
มีการเรียนรู้ และช่วยสร้างจิตสานึก
การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
การท่องเที่ยวเชิงเกษตร
การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
หรือกิจกรรมการท่องเที่ยวใดๆ ที่ไม่ส่งผลกระทบด้านลบ
ฯลฯ
30
เที่ยวพร้อมกับบำเพ็ญประโยชน์
31
32
33
ให้บริการด้านการท่องเที่ยว
อย่างรับผิดชอบ
34
• ให้ความรู้และปลูกจิตสานึกด้านการอนุรักษ์
• ที่พักที่เป็ นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและกลมกลืนกับวัฒนธรรมท้องถิ่น
• สนับสนุนอาหารท้องถิ่น
• ใช้ยานพาหนะที่ปลอดมลพิษ
• ส่งเสริมการละเล่น การแสดงพื้นบ้าน
• ฯลฯ
บริการด้านการท่องเที่ยว
35
• ออกแบบกลมกลืนกับสภาพแวดล้อม และวัฒนธรรมท้องถิ่น
• ใช้วัสดุที่หาได้จากท้องถิ่น
• ใช้แรงงานในท้องถิ่น
• ใช้อาหารท้องถิ่น หรือใช้วัตถุดิบที่ผลิตได้เองในท้องถิ่น
• มีการบาบัดของเสียก่อนทิ้ง
• Reduce Reuse Recycle
ที่พักเชิงนิเวศ (Ecolodge)
36
ที่พักที่มีลักษณะบริการเชิงนิเวศ (Eco-lodge) อาจพิจารณาได้จาก
• ก่อสร้างโดยคานึงถึงความเป็ นท้องถิ่น และความกลมกลืนกับสภาพแวดล้อม
– การสะท้อนสภาพดั้งเดิมของพื้นที่ (ลักษณะสถาปัตยกรรม ภูมิสถาปัตยกรรม ภูมิ
สถาปัตยกรรม การตกแต่งภายใน และองค์ประกอบต่าง ๆ ของสถานบริการ)
– กลมกลืนกับสภาพแวดล้อม (ด้านรูปแบบ ขนาด การจัดวางองค์ประกอบในพื้นที่)
– การเลือกทาเลที่ตั้งของสถานบริการรอยู่ในทาเลที่เหมาะสมไม่ทาลายธรรมชาติ
• มีการจัดการด้านรักษาสิ่งแวดล้อม
– การใช้พลังงาน การใช้น้า
– การบาบัดน้าเสีย การจัดการขยะมูลฝอย
• กิจกรรมและการบริการ
– มีกิจกรรมให้การศึกษาสิ่งแวดล้อมแก่ผู้มาพัก
– มีการสื่อความหมายสิ่งแวดล้อมต่อผู้มาพัก
– การบริการมีความสะอาดเป็นที่พอใจ ถูกสุขลักษณะ รวดเร็ว
• การลงทุน
– พิจารณาการร่วมทุนกับท้องถิ่น และผลตอบแทนที่เอื้อต่อท้องถิ่น มีการใช้แรงงานท้องถิ่น
บริการนาเที่ยวและมัคคุเทศก์ พิจารณาจาก
• กิจกรรมและการบริการ
– มีกิจกรรมให้การศึกษาสิ่งแวดล้อมที่กาหนดไว้ในโปรแกรมการท่องเที่ยว
– มีมัคคุเทศก์เฉพาะที่สามารถให้ข้อมูลรายละเอียดต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้อง
– ให้บริการให้แก่นักท่องเที่ยว โดยเป็นการบริการที่ไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
มีการควบคุมพฤติกรรมทางลบของนักท่องเที่ยวด้วย
• การดาเนินงานของบริษัท
– มีการเตรียมพร้อมทุกด้าน ทั้งด้านข้อมูล เครื่องมืออุปกรณ์ เครื่องใช้
– มีการจัดการ/รักษาสิ่งแวดล้อม/ป้ องกันผลกระทบ และแนะนากระตุ้นนักท่องเที่ยว
อย่างสม่าเสมอหรือไม่
– เคารพกฎเกณฑ์ของแหล่งท่องเที่ยว
– - มีการตดิตามประเมินผลการนาเที่ยว ติดตามนักท่องเที่ยว ให้ข้อมูลข่าวสารแก่
นักท่องเที่ยวอย่างสม่าเสมอ
• การจัดการ
– การจัดมัคคุเทศก์์ที่มีความรู้ รวมทั้งมัคคุเทศก์ท้องถิ่นที่ได้รับการอบรม
– การจัดการให้ประชาชนท้องถิ่นมีส่วนร่วม
– มีการให้ผลประโยชน์คืนสู่ท้องถิ่น
พัฒนาสิ่งอานวยความสะดวก
อย่างรับผิดชอบ
39
40
การวิเคราะห์ผู้ใช้ประโยชน์
• ภูมิหลัง หรือลักษณะทางสังคมประชากร
• รูปแบบกิจกรรมนันทนาการ หรือกิจกรรมการใช้ประโยชน์
ที่เกิดขึ้นจริง และที่ต้องการ
• ความคิดเห็นต่อพื้นที่และการพัฒนาพื้นที่
• ความต้องการสิ่งอานวยความสะดวกและบริการต่างๆ
นักท่องเที่ยว
เจ้าหน้าที่
ท้องถิ่น
ผู้ประกอบการ
สังเกต
แบบสอบถาม
สัมภาษณ์
41
การวิเคราะห์บริเวณ (Site Analysis)
• ปัจจัยด้านธรรมชาติ
• ปัจจัยด้านสุนทรียภาพ
• ปัจจัยด้านวัฒนธรรมและการใช้ที่ดินเดิม
ภูมิประเทศ
ธรณีวิทยา
แหล่งน้า/ การระบายน้า
พืชพรรณธรรมชาติ
สัตว์ป่ า
ภูมิอากาศ
ภัยธรรมชาติ
ลักษณะธรรมชาติ
มุมมอง/ วิว
ประวัติศาสตร์และสิ่งที่มีคุณค่าทางวัฒนธรรม
การใช้ที่ดินเดิม
42
แนวทางการออกแบบและดาเนินการที่เป็ นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
(Standards and guidelines for Environmentally
sensitive design and operation)
• การดาเนินการและบริการต่างๆ แก่นักท่องเที่ยวนั้น จะต้องลดผลกระทบด้านลบให้
เหลือน้อยที่สุด
• สร้างบรรยากาศให้นักท่องเที่ยวรู้สึกว่าอยู่ในสถานที่ที่พิเศษ
• แสดงให้เห็นถึงการออกแบบและการดาเนินการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เพื่อให้ความรู้
และแสดงถึงการนาเอานวัตกรรมต่างๆ มาใช้แก้ปัญหาและทาให้เกิดความยั่งยืนได้อย่าง
ลงตัว
Tendele, Royal Natal National Park,
Kwa-Zulu Natal, South Africa
‘as much as necessary
as little as possible’
43
• มีการจัดสรรรายได้ส่วนหนึ่งเข้าสาธารณประโยชน์ของชุมชน
• มีมาตรการป้ องกันผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม สังคมและวัฒนธรรม
• มีการจัดการพื้นที่; การวางผัง การแบ่งพื้นที่ใช้สอย
• มีการจัดการนักท่องเที่ยว; เช่น มีมาตรการจากัดจานวน จากัดช่วงเวลา การ
กาหนดคุณสมบัติของผู้ที่จะเข้าชม การมีกฎระเบียบสาหรับนักท่องเที่ยว
การบริหารจัดการ
44
• การวางผังบริเวณ
• การจัดแบ่งเขตพื้นที่ใช้สอย หรือโซนนิ่ง (Zoning)
• การพัฒนาโดยคานึงถึงประวัติศาสตร์การใช้ที่ดินเดิม
• การพัฒนาพื้นที่โดยคานึงถึงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรม
45
ตัวอย่างการจัดการพื้นที่
• การจากัดจานวน หรือจานวนคนต่อกลุ่ม
• การกาหนดให้จองล่วงหน้า
• การปิดบางพื้นที่ที่เป็นเขตหวงห้าม
• การจากัดระยะเวลาในการพานัก
• การมีตารางกาหนดการในการเยี่ยมชม
• การมีสื่อชี้แจงให้นักท่องเที่ยวทราบการปฏิบัติตน
• การสื่อความหมาย เพื่อให้ความรู้และปลูกจิตสานึก
• การกาหนดราคาต่างๆ กัน เช่น ราคาสาหรับคนไทย-คนต่างชาติ, ราคา
สาหรับนักเรียน, ราคาสาหรับเยาวชน ฯลฯ
46
ตัวอย่างการจัดการนักท่องเที่ยว
รัฐบาลก็มีนโยบายอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยว
ด้วยแนวคิด 7 Greens
47
7 Greens
48
• Green Hearts: การสร้างความรู้สึกให้นักท่องเที่ยวและชุมชนมีหัวใจที่รักและใส่ใจสิ่งแวดล้อม
• Green Activities: กิจกรรมการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับพื้นที่ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และความ
เหมาะสมของจานวนนักท่องเที่ยว
• Green Communities: แหล่งท่องเที่ยวชุมชน ที่ให้ความสาคัญกับการจัดการท่องเที่ยวที่ใส่ใจต่อ
สิ่งแวดล้อมและวิถีชีวิตดั้งเดิมของชุมชน
• Green Logistics: รูปแบบการให้บริการด้านการขนส่ง ที่ลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและเน้นการ
เสนอขายกิจกรรมการท่องเที่ยวที่ใช้ยานพาหนะที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
• Green Services: รูปแบบการให้บริการของธุรกิจท่องเที่ยวต่างๆ ที่มีมาตรฐานและคุณภาพที่ดี
ภายใต้การคานึงถึงสิ่งแวดล้อม
• Green Attractions: แหล่งท่องเที่ยวที่มีรูปแบบการบริหารจัดการที่ดี ที่ตระหนักถึงคุณค่าของ
สิ่งแวดล้อม
• Green Plus: กิจกรรมการท่องเที่ยวที่ตอบแทนสู่สังคม ด้วยความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม โดยการ
ลด ละ เลิก พฤติกรรมที่ก่อให้เกิดมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม
แนวคิด 7 Greens (ททท., 2554)
49
50
ความยั่งยืนเกิดขึ้นได้
ถ้าทุกคนร่วมมือกัน
51

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

บุคลิกภาพ จรรยาบรรณและจริยธรรมทางวิชาชีพผู้นําเที่ยว
บุคลิกภาพ จรรยาบรรณและจริยธรรมทางวิชาชีพผู้นําเที่ยวบุคลิกภาพ จรรยาบรรณและจริยธรรมทางวิชาชีพผู้นําเที่ยว
บุคลิกภาพ จรรยาบรรณและจริยธรรมทางวิชาชีพผู้นําเที่ยวSomyot Ongkhluap
 
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยวMint NutniCha
 
ธุรกิจโรงแรม
ธุรกิจโรงแรมธุรกิจโรงแรม
ธุรกิจโรงแรมBenjamas Kamma
 
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ท่องเที่ยว9
ท่องเที่ยว9ท่องเที่ยว9
ท่องเที่ยว9Nurat Puankhamma
 
Chapter1_Intro to Travel Agent and Tour Operator Management
Chapter1_Intro to Travel Agent and Tour Operator ManagementChapter1_Intro to Travel Agent and Tour Operator Management
Chapter1_Intro to Travel Agent and Tour Operator ManagementHT241 [Bangkok University]
 
Sustainable tourism sheet 2558
Sustainable tourism sheet 2558Sustainable tourism sheet 2558
Sustainable tourism sheet 2558Somyot Ongkhluap
 
2.ตลาดท่องเที่ยว
2.ตลาดท่องเที่ยว2.ตลาดท่องเที่ยว
2.ตลาดท่องเที่ยวchickyshare
 
1 บุุคคลิกภาพของบุคคลากรท่องเที่ยว
1 บุุคคลิกภาพของบุคคลากรท่องเที่ยว1 บุุคคลิกภาพของบุคคลากรท่องเที่ยว
1 บุุคคลิกภาพของบุคคลากรท่องเที่ยวMint NutniCha
 
7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยว
7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยว7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยว
7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยวMint NutniCha
 
ธุรกิจที่พักแรม
ธุรกิจที่พักแรมธุรกิจที่พักแรม
ธุรกิจที่พักแรมWichien Juthamongkol
 
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพโดยชุมชน
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพโดยชุมชน การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพโดยชุมชน
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพโดยชุมชน Manisa Piuchan
 
5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยวMint NutniCha
 
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว 8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว Mint NutniCha
 
กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทย
กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทยกฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทย
กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทยNurat Puankhamma
 
6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ
6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ
6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการMint NutniCha
 
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวสารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวwaraporny
 

La actualidad más candente (20)

บุคลิกภาพ จรรยาบรรณและจริยธรรมทางวิชาชีพผู้นําเที่ยว
บุคลิกภาพ จรรยาบรรณและจริยธรรมทางวิชาชีพผู้นําเที่ยวบุคลิกภาพ จรรยาบรรณและจริยธรรมทางวิชาชีพผู้นําเที่ยว
บุคลิกภาพ จรรยาบรรณและจริยธรรมทางวิชาชีพผู้นําเที่ยว
 
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว
 
T guide2
T  guide2T  guide2
T guide2
 
ธุรกิจโรงแรม
ธุรกิจโรงแรมธุรกิจโรงแรม
ธุรกิจโรงแรม
 
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
 
ท่องเที่ยว9
ท่องเที่ยว9ท่องเที่ยว9
ท่องเที่ยว9
 
Chapter1_Intro to Travel Agent and Tour Operator Management
Chapter1_Intro to Travel Agent and Tour Operator ManagementChapter1_Intro to Travel Agent and Tour Operator Management
Chapter1_Intro to Travel Agent and Tour Operator Management
 
Sustainable tourism sheet 2558
Sustainable tourism sheet 2558Sustainable tourism sheet 2558
Sustainable tourism sheet 2558
 
2.ตลาดท่องเที่ยว
2.ตลาดท่องเที่ยว2.ตลาดท่องเที่ยว
2.ตลาดท่องเที่ยว
 
1 บุุคคลิกภาพของบุคคลากรท่องเที่ยว
1 บุุคคลิกภาพของบุคคลากรท่องเที่ยว1 บุุคคลิกภาพของบุคคลากรท่องเที่ยว
1 บุุคคลิกภาพของบุคคลากรท่องเที่ยว
 
7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยว
7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยว7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยว
7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยว
 
3.นทท.
3.นทท.3.นทท.
3.นทท.
 
ธุรกิจที่พักแรม
ธุรกิจที่พักแรมธุรกิจที่พักแรม
ธุรกิจที่พักแรม
 
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพโดยชุมชน
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพโดยชุมชน การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพโดยชุมชน
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพโดยชุมชน
 
5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
 
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว 8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว
 
T guide 7
T    guide 7T    guide 7
T guide 7
 
กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทย
กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทยกฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทย
กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทย
 
6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ
6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ
6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ
 
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวสารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
 

Destacado

6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชนMint NutniCha
 
ความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ Homestay
ความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ Homestayความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ Homestay
ความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ HomestayKorawan Sangkakorn
 
ยกระดับคุณภาพอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทย
ยกระดับคุณภาพอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทยยกระดับคุณภาพอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทย
ยกระดับคุณภาพอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทยKorawan Sangkakorn
 
ทำอย่างไร ให้รู้ใจนักท่องเที่ยว
ทำอย่างไร ให้รู้ใจนักท่องเที่ยวทำอย่างไร ให้รู้ใจนักท่องเที่ยว
ทำอย่างไร ให้รู้ใจนักท่องเที่ยวKorawan Sangkakorn
 
การพัฒนาธุรกิจท่องเที่ยว ให้ตอบสนองนักท่องเที่ยว
การพัฒนาธุรกิจท่องเที่ยว ให้ตอบสนองนักท่องเที่ยวการพัฒนาธุรกิจท่องเที่ยว ให้ตอบสนองนักท่องเที่ยว
การพัฒนาธุรกิจท่องเที่ยว ให้ตอบสนองนักท่องเที่ยวKorawan Sangkakorn
 
การพัฒนาการท่องเที่ยวยุคใหม่
การพัฒนาการท่องเที่ยวยุคใหม่การพัฒนาการท่องเที่ยวยุคใหม่
การพัฒนาการท่องเที่ยวยุคใหม่Korawan Sangkakorn
 
แบบทดสอบทัศนคติด้านความปลอดภัย
แบบทดสอบทัศนคติด้านความปลอดภัยแบบทดสอบทัศนคติด้านความปลอดภัย
แบบทดสอบทัศนคติด้านความปลอดภัยAdisorn Tanprasert
 

Destacado (7)

6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
 
ความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ Homestay
ความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ Homestayความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ Homestay
ความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ Homestay
 
ยกระดับคุณภาพอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทย
ยกระดับคุณภาพอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทยยกระดับคุณภาพอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทย
ยกระดับคุณภาพอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทย
 
ทำอย่างไร ให้รู้ใจนักท่องเที่ยว
ทำอย่างไร ให้รู้ใจนักท่องเที่ยวทำอย่างไร ให้รู้ใจนักท่องเที่ยว
ทำอย่างไร ให้รู้ใจนักท่องเที่ยว
 
การพัฒนาธุรกิจท่องเที่ยว ให้ตอบสนองนักท่องเที่ยว
การพัฒนาธุรกิจท่องเที่ยว ให้ตอบสนองนักท่องเที่ยวการพัฒนาธุรกิจท่องเที่ยว ให้ตอบสนองนักท่องเที่ยว
การพัฒนาธุรกิจท่องเที่ยว ให้ตอบสนองนักท่องเที่ยว
 
การพัฒนาการท่องเที่ยวยุคใหม่
การพัฒนาการท่องเที่ยวยุคใหม่การพัฒนาการท่องเที่ยวยุคใหม่
การพัฒนาการท่องเที่ยวยุคใหม่
 
แบบทดสอบทัศนคติด้านความปลอดภัย
แบบทดสอบทัศนคติด้านความปลอดภัยแบบทดสอบทัศนคติด้านความปลอดภัย
แบบทดสอบทัศนคติด้านความปลอดภัย
 

Similar a 7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว

บทที่ ๓ ระบบการท่องเที่ยวและองค์ประกอบของอุตสาหกรรมการ
บทที่ ๓ ระบบการท่องเที่ยวและองค์ประกอบของอุตสาหกรรมการบทที่ ๓ ระบบการท่องเที่ยวและองค์ประกอบของอุตสาหกรรมการ
บทที่ ๓ ระบบการท่องเที่ยวและองค์ประกอบของอุตสาหกรรมการpraphol
 
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...สถาบันราชบุรีศึกษา
 
ทิศทางการตลาดท่องเที่ยวภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ทิศทางการตลาดท่องเที่ยวภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือทิศทางการตลาดท่องเที่ยวภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ทิศทางการตลาดท่องเที่ยวภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือnattatira
 
การท่องเที่ยวเชิง อนุรักษ์ 223
การท่องเที่ยวเชิง อนุรักษ์  223การท่องเที่ยวเชิง อนุรักษ์  223
การท่องเที่ยวเชิง อนุรักษ์ 223ธนพร แซ่เอี้ยว
 
เศรษฐกิจ
เศรษฐกิจเศรษฐกิจ
เศรษฐกิจMint Thailand
 
Sustainable tourism planning part x xi xii apr 2015
Sustainable tourism planning part x xi xii  apr 2015Sustainable tourism planning part x xi xii  apr 2015
Sustainable tourism planning part x xi xii apr 2015Silpakorn University
 
Travel 04 07-56
Travel 04 07-56Travel 04 07-56
Travel 04 07-56surdi_su
 
โครงการศิลปะการพูดและการนาำเสนอในอาชีพมัคคุเทศก์ (สำหรับประชาสัมพันธ์)
โครงการศิลปะการพูดและการนาำเสนอในอาชีพมัคคุเทศก์ (สำหรับประชาสัมพันธ์)โครงการศิลปะการพูดและการนาำเสนอในอาชีพมัคคุเทศก์ (สำหรับประชาสัมพันธ์)
โครงการศิลปะการพูดและการนาำเสนอในอาชีพมัคคุเทศก์ (สำหรับประชาสัมพันธ์)pyopyo
 
บทบาทของ อปท. กับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
บทบาทของ อปท. กับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนบทบาทของ อปท. กับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
บทบาทของ อปท. กับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนsiep
 
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยวการท่องเที่ยว
การท่องเที่ยวArtitayamontree
 
eTAT journal 2/2554
eTAT journal 2/2554eTAT journal 2/2554
eTAT journal 2/2554Zabitan
 
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ Faii Kp
 
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ Faii Kp
 
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ Faii Kp
 
กฎหมายกับการท่องเที่ยวในพื้นที่อนุรักษ์
กฎหมายกับการท่องเที่ยวในพื้นที่อนุรักษ์กฎหมายกับการท่องเที่ยวในพื้นที่อนุรักษ์
กฎหมายกับการท่องเที่ยวในพื้นที่อนุรักษ์Chacrit Sitdhiwej
 

Similar a 7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว (20)

บทที่ ๓ ระบบการท่องเที่ยวและองค์ประกอบของอุตสาหกรรมการ
บทที่ ๓ ระบบการท่องเที่ยวและองค์ประกอบของอุตสาหกรรมการบทที่ ๓ ระบบการท่องเที่ยวและองค์ประกอบของอุตสาหกรรมการ
บทที่ ๓ ระบบการท่องเที่ยวและองค์ประกอบของอุตสาหกรรมการ
 
ท่องเที่ยวโดยชุมชน คือ ....
ท่องเที่ยวโดยชุมชน คือ ....ท่องเที่ยวโดยชุมชน คือ ....
ท่องเที่ยวโดยชุมชน คือ ....
 
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...
 
CBT in Chiang Mai & Lamphoon
CBT in Chiang Mai & LamphoonCBT in Chiang Mai & Lamphoon
CBT in Chiang Mai & Lamphoon
 
The return of samui
The return of samuiThe return of samui
The return of samui
 
Kpn MonJam
Kpn MonJamKpn MonJam
Kpn MonJam
 
ทิศทางการตลาดท่องเที่ยวภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ทิศทางการตลาดท่องเที่ยวภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือทิศทางการตลาดท่องเที่ยวภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ทิศทางการตลาดท่องเที่ยวภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
 
การท่องเที่ยวเชิง อนุรักษ์ 223
การท่องเที่ยวเชิง อนุรักษ์  223การท่องเที่ยวเชิง อนุรักษ์  223
การท่องเที่ยวเชิง อนุรักษ์ 223
 
เศรษฐกิจ
เศรษฐกิจเศรษฐกิจ
เศรษฐกิจ
 
Sustainable tourism planning part x xi xii apr 2015
Sustainable tourism planning part x xi xii  apr 2015Sustainable tourism planning part x xi xii  apr 2015
Sustainable tourism planning part x xi xii apr 2015
 
Travel 04 07-56
Travel 04 07-56Travel 04 07-56
Travel 04 07-56
 
โครงการศิลปะการพูดและการนาำเสนอในอาชีพมัคคุเทศก์ (สำหรับประชาสัมพันธ์)
โครงการศิลปะการพูดและการนาำเสนอในอาชีพมัคคุเทศก์ (สำหรับประชาสัมพันธ์)โครงการศิลปะการพูดและการนาำเสนอในอาชีพมัคคุเทศก์ (สำหรับประชาสัมพันธ์)
โครงการศิลปะการพูดและการนาำเสนอในอาชีพมัคคุเทศก์ (สำหรับประชาสัมพันธ์)
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทบาทของ อปท. กับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
บทบาทของ อปท. กับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนบทบาทของ อปท. กับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
บทบาทของ อปท. กับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
 
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยวการท่องเที่ยว
การท่องเที่ยว
 
eTAT journal 2/2554
eTAT journal 2/2554eTAT journal 2/2554
eTAT journal 2/2554
 
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
 
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
 
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
ชุมชนท่องเที่ยวกับการรองรับการท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ
 
กฎหมายกับการท่องเที่ยวในพื้นที่อนุรักษ์
กฎหมายกับการท่องเที่ยวในพื้นที่อนุรักษ์กฎหมายกับการท่องเที่ยวในพื้นที่อนุรักษ์
กฎหมายกับการท่องเที่ยวในพื้นที่อนุรักษ์
 

Más de Mint NutniCha

8 1 บทบาทและหน้าที่ของมัคคุเทศก์อาสา
8 1 บทบาทและหน้าที่ของมัคคุเทศก์อาสา8 1 บทบาทและหน้าที่ของมัคคุเทศก์อาสา
8 1 บทบาทและหน้าที่ของมัคคุเทศก์อาสาMint NutniCha
 
8 4 แหล่งท่องเที่ยวสำคัญในท้องถิ่น
8 4 แหล่งท่องเที่ยวสำคัญในท้องถิ่น8 4 แหล่งท่องเที่ยวสำคัญในท้องถิ่น
8 4 แหล่งท่องเที่ยวสำคัญในท้องถิ่นMint NutniCha
 
Conference programme
Conference programme Conference programme
Conference programme Mint NutniCha
 
8 3 สังคมและวัฒนธรรมไทย
8 3  สังคมและวัฒนธรรมไทย8 3  สังคมและวัฒนธรรมไทย
8 3 สังคมและวัฒนธรรมไทยMint NutniCha
 
6 6 กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
6 6 กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์6 6 กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
6 6 กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์Mint NutniCha
 
7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยว
7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยว7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยว
7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยวMint NutniCha
 
7 7 การกำหนดตำแหน่งและการสร้างตราสินค้า
7 7 การกำหนดตำแหน่งและการสร้างตราสินค้า7 7 การกำหนดตำแหน่งและการสร้างตราสินค้า
7 7 การกำหนดตำแหน่งและการสร้างตราสินค้าMint NutniCha
 
7 8 การตลาดสำหรับการท่องเที่ยว
7 8 การตลาดสำหรับการท่องเที่ยว7 8 การตลาดสำหรับการท่องเที่ยว
7 8 การตลาดสำหรับการท่องเที่ยวMint NutniCha
 
7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน
7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน
7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุนMint NutniCha
 
6 1 แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรและการจัดการ
6 1 แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรและการจัดการ6 1 แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรและการจัดการ
6 1 แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรและการจัดการMint NutniCha
 
6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์Mint NutniCha
 
8 5 ภาษาอังกฤษเบื้องต้น สำหรับมัคคุเทศก์อาสา
8 5 ภาษาอังกฤษเบื้องต้น สำหรับมัคคุเทศก์อาสา8 5 ภาษาอังกฤษเบื้องต้น สำหรับมัคคุเทศก์อาสา
8 5 ภาษาอังกฤษเบื้องต้น สำหรับมัคคุเทศก์อาสาMint NutniCha
 
4 การตลาดธุรกิจท่องเที่ยว
4 การตลาดธุรกิจท่องเที่ยว4 การตลาดธุรกิจท่องเที่ยว
4 การตลาดธุรกิจท่องเที่ยวMint NutniCha
 
6 บุคลิกภาพบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
6 บุคลิกภาพบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว6 บุคลิกภาพบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
6 บุคลิกภาพบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยวMint NutniCha
 
2 กุญแจสู่ความสำเร็จของธุรกิจท่องเที่ยว
2 กุญแจสู่ความสำเร็จของธุรกิจท่องเที่ยว2 กุญแจสู่ความสำเร็จของธุรกิจท่องเที่ยว
2 กุญแจสู่ความสำเร็จของธุรกิจท่องเที่ยวMint NutniCha
 
3 ศักยภาพธุรกิจท่องเที่ยวในการเข้าสู่ aec
3 ศักยภาพธุรกิจท่องเที่ยวในการเข้าสู่ aec3 ศักยภาพธุรกิจท่องเที่ยวในการเข้าสู่ aec
3 ศักยภาพธุรกิจท่องเที่ยวในการเข้าสู่ aecMint NutniCha
 
4 ทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษ 2
4 ทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษ 24 ทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษ 2
4 ทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษ 2Mint NutniCha
 
4 ทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษ 1
4 ทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษ 14 ทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษ 1
4 ทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษ 1Mint NutniCha
 
3 บุคลิกภาพของบุคลากรท่องเที่ยว
3 บุคลิกภาพของบุคลากรท่องเที่ยว3 บุคลิกภาพของบุคลากรท่องเที่ยว
3 บุคลิกภาพของบุคลากรท่องเที่ยวMint NutniCha
 

Más de Mint NutniCha (20)

Draft programme
Draft programmeDraft programme
Draft programme
 
8 1 บทบาทและหน้าที่ของมัคคุเทศก์อาสา
8 1 บทบาทและหน้าที่ของมัคคุเทศก์อาสา8 1 บทบาทและหน้าที่ของมัคคุเทศก์อาสา
8 1 บทบาทและหน้าที่ของมัคคุเทศก์อาสา
 
8 4 แหล่งท่องเที่ยวสำคัญในท้องถิ่น
8 4 แหล่งท่องเที่ยวสำคัญในท้องถิ่น8 4 แหล่งท่องเที่ยวสำคัญในท้องถิ่น
8 4 แหล่งท่องเที่ยวสำคัญในท้องถิ่น
 
Conference programme
Conference programme Conference programme
Conference programme
 
8 3 สังคมและวัฒนธรรมไทย
8 3  สังคมและวัฒนธรรมไทย8 3  สังคมและวัฒนธรรมไทย
8 3 สังคมและวัฒนธรรมไทย
 
6 6 กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
6 6 กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์6 6 กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
6 6 กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
 
7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยว
7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยว7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยว
7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยว
 
7 7 การกำหนดตำแหน่งและการสร้างตราสินค้า
7 7 การกำหนดตำแหน่งและการสร้างตราสินค้า7 7 การกำหนดตำแหน่งและการสร้างตราสินค้า
7 7 การกำหนดตำแหน่งและการสร้างตราสินค้า
 
7 8 การตลาดสำหรับการท่องเที่ยว
7 8 การตลาดสำหรับการท่องเที่ยว7 8 การตลาดสำหรับการท่องเที่ยว
7 8 การตลาดสำหรับการท่องเที่ยว
 
7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน
7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน
7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน
 
6 1 แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรและการจัดการ
6 1 แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรและการจัดการ6 1 แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรและการจัดการ
6 1 แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรและการจัดการ
 
6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
 
8 5 ภาษาอังกฤษเบื้องต้น สำหรับมัคคุเทศก์อาสา
8 5 ภาษาอังกฤษเบื้องต้น สำหรับมัคคุเทศก์อาสา8 5 ภาษาอังกฤษเบื้องต้น สำหรับมัคคุเทศก์อาสา
8 5 ภาษาอังกฤษเบื้องต้น สำหรับมัคคุเทศก์อาสา
 
4 การตลาดธุรกิจท่องเที่ยว
4 การตลาดธุรกิจท่องเที่ยว4 การตลาดธุรกิจท่องเที่ยว
4 การตลาดธุรกิจท่องเที่ยว
 
6 บุคลิกภาพบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
6 บุคลิกภาพบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว6 บุคลิกภาพบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
6 บุคลิกภาพบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
 
2 กุญแจสู่ความสำเร็จของธุรกิจท่องเที่ยว
2 กุญแจสู่ความสำเร็จของธุรกิจท่องเที่ยว2 กุญแจสู่ความสำเร็จของธุรกิจท่องเที่ยว
2 กุญแจสู่ความสำเร็จของธุรกิจท่องเที่ยว
 
3 ศักยภาพธุรกิจท่องเที่ยวในการเข้าสู่ aec
3 ศักยภาพธุรกิจท่องเที่ยวในการเข้าสู่ aec3 ศักยภาพธุรกิจท่องเที่ยวในการเข้าสู่ aec
3 ศักยภาพธุรกิจท่องเที่ยวในการเข้าสู่ aec
 
4 ทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษ 2
4 ทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษ 24 ทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษ 2
4 ทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษ 2
 
4 ทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษ 1
4 ทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษ 14 ทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษ 1
4 ทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษ 1
 
3 บุคลิกภาพของบุคลากรท่องเที่ยว
3 บุคลิกภาพของบุคลากรท่องเที่ยว3 บุคลิกภาพของบุคลากรท่องเที่ยว
3 บุคลิกภาพของบุคลากรท่องเที่ยว
 

7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว