Se ha denunciado esta presentación.
Se está descargando tu SlideShare. ×

การบริการในธุรกิจการบิน

Anuncio
Anuncio
Anuncio
Anuncio
Anuncio
Anuncio
Anuncio
Anuncio
Anuncio
Anuncio
Anuncio
Anuncio

Eche un vistazo a continuación

1 de 31 Anuncio

Más Contenido Relacionado

Presentaciones para usted (20)

Más de Mint NutniCha (20)

Anuncio

Más reciente (20)

การบริการในธุรกิจการบิน

  1. 1. โครงการฝึกอบรมหลักสูตรพัฒนาศักยภาพบุคลากร สาหรับธุรกิจการบิน วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2557 การบริการในธุรกิจการบิน โดย : คุณธาตรี มณีวรรณ ฝ่ ายขายและการตลาด ดูแลตัวแทนจาหน่ายและการ ขาย การบินไทย
  2. 2.  ในการบริการของธุรกิจการบินในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมามีการเติบโต อย่างก้าวกระโดดไปมาก ในระยะเริ่มมีสายการบินค่อนข้างน้อย ซึ่งจะ เป็นในลักษณะที่เรียกว่า Premium Airline  แต่ปัจจุบันมีสายการบินใหม่เกิดขึ้นมากมายหรือสายการบินต้นทุนต่า ที่เรียกกันว่า Low Cost Airline เช่น นกแอร์ แอร์เอเชีย เป็นต้น  เกิดการแข่งขันระหว่างสายการบินค่อนข้างสูง การบริการของสายการ บินก็จะแตกต่างกันเนื่องจากราคาของบัตรโดยสารจะต่างกับ Premium Airline ค่อนข้างมาก แนวโน้มธุรกิจสายการบิน
  3. 3.  การบินไทยเริ่มเติบโตมากขึ้นในปี พ.ศ. 2503 ซึ่งในปี พ.ศ. 2502 บริษัทแม่ของการ บินไทยหรือ บริษัทเดินอากาศไทย แต่ปัจจุบันไม่มีแล้ว  ในระยะแรกจะเป็นการใช้บริษัทเดินอากาศไทยก่อนซึ่งให้บริการเที่ยวบินภายในประเทศ เมื่อถึงปี พ.ศ. 2503 ก็ได้ตั้งการบินไทยขึ้นมา ร่วมกัน สแกนดิเนเวียนแอร์ไลน์ โดย ให้บริการขนส่งทางอากาศระหว่างประเทศ ในปี พ.ศ. 2532 มีการรวมบริษัทการบิน ไทย และบริษัทเดินอากาศไทยเข้ด้วยกัน กลายเป็นชื่อบริษัทการบินไทยตั้งแต่ปีนั้น เป็นต้นมา ที่มาของการเติบโตของการบินไทยและสายการบินอื่นๆ
  4. 4.  ต่อมาได้มีการจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์เมื่อปี พ.ศ. 2534 เป็น รัฐวิสาหกิจที่มีเงินทุนมาจากกระทรวงการคลังโดยมีรัฐบาลเป็นผู้ถือหุ้นให ่  ในปัจจุบันกระทรวงการคลังถือหุ้นการบินไทยอยู่ที่ 51% ที่เหลือจะเป็นบริษัท ร่วมหุ้นต่างๆ และส่งเข้าจาหน่ายในตลาดหลักทรัพย์ร่วมด้วย ที่มาของการเติบโตของการบินไทยและสายการบินอื่นๆ (ต่อ)
  5. 5.  ปัจจุบันการบินไทยจะใช้ท่าอากาศยานที่ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิที่กรุงเทพมหานคร เป็นแกนหลัก และดอนเมืองร่วมด้วย ซึ่งที่ดอนเมืองก็จะให้บริการใช้เป็นฐานบินแก่ แอร์ เอเชีย นกแอร์ และไลออนแอร์ แต่สายการบินอื่นจะใช้ที่สุวรรณภูมิ ที่มาของการเติบโตของการบินไทยและสายการบินอื่นๆ (ต่อ)
  6. 6. ในส่วนของการบินไทยนอกเหนือจากการขนส่งผู้โดยสารและสินค้า ก็จะมีการ ให้บริการอื่นๆร่วมด้วย ทั้งเครื่องดื่มและอาหาร การซ่อมบารุงเครื่องบิน การ อานวยการบิน การจาหน่ายสินค้าปลอดภาษี (tax free) ในร้านค้าขายการ บินไทย หรือ King Power ในช่วงก่อนจะเป็นเพียงร้านขายของ duty free ทั่วไป
  7. 7.  ปัจจุบันการบินไทยยกเลิกไปและจาหน่ายบนเครื่องบินแทนที่  รวมทั้งการบริการขายแพคเกจทัวร์ซึ่งมีความนิยมมาในช่วงก่อนหน้านี้หรือที่ เรียกกันว่า Royal Orchid Holiday  เป็นแพคเกจไว้ขายรวมตั๋วเครื่องบินที่รวมรถรับส่ง ที่พักพร้อมอาหารเช้าให้ และ จาหน่ายให้กับผู้โดยสาร  มีจุดเด่นในเรื่องของการขายที่ไม่จาเป็นต้องขายให้กับผู้โดยสารที่เป็นหมู่คณะที่ จะซื้อผ่าน Agency แต่สามารถขายให้กับผู้โดยสารที่เดินทางเองคนเดียว หรือเป็นคู่ ที่มาของการเติบโตของการบินไทยและสายการบินอื่นๆ (ต่อ)
  8. 8.  ในด้านของการฝึกอบรมบุคลากรของการบินไทยเองจะมีหน่วยงานที่ จัดการอบรม ไม่ว่าจะเป็นพนักงานตาแหน่งไหน ซึ่งจะมีส่วนของเครื่อง ฝึกบินหรือ Simulator จะเป็นการจาลองบรรยากาศบน เครื่องบินจริงจะตั้งอยู่ที่สานักงานให ่แถววิภาวดีรังสิต และยัง ให้บริการกับสายการบินอื่นที่ต้องการจะฝึกพนักงานของตนโดยจะเช่า ชั่วโมงบินในการฝึก ที่มาของการเติบโตของการบินไทยและสายการบินอื่นๆ (ต่อ)
  9. 9.  ส่วนของการจัดหาแรงงาน ในช่วงก่อนการบินไทยจะรับสมัครงานโดยตรง  แต่ปัจจุบันจะมีบริษัทร่วมทุนแยกออกมา ชื่อว่า บริษัท วิงสแปน เซอร์วิสเซส จากัด ในกรณีที่มีผู้ต้องการสมัครงานกับการบินไทยหรือสายการบินอื่นๆจะต้อง สมัครงานผ่านบริษัทนี้  โดยส่งบุคลากรจากสายการบินที่มีความรู้ประสบการณ์มาคัดเลือกโดยตรง ซึ่ง จะเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงในเรื่องของการว่าจ้างงาน  ผู้สมัครจึงต้องคานึงสวัสดิการต่างๆที่มีให้แก่พนักงาน ที่มาของการเติบโตของการบินไทยและสายการบินอื่นๆ (ต่อ)
  10. 10.  การบินไทยเองจะมีสวัสดิการให้แก่พนักงานในทุกเรื่อง เช่น การรักษาพยาบาล บัตรโดยสาร ประกันชีวิต กองทุนสารองเลี้ยงชีพ เป็นต้น โดยมีค่าใช้จ่าย สวัสดิการค่อนข้างสูง  หากเป็นบริษัทวิงสแปนที่เป็นบริษัทลูกจะไม่สามารถได้รับสวัสดิการเหล่านี้อย่าง เต็มที่เหมือนกับการได้รับสวัสดิการของการบินไทยโดยตรง  โดยส่วนให ่จะเป็นลูกเรือ กัปตัน และนักบินเท่านั้นที่จะรับสมัครโดยตรงกับ ทางการบินไทย แต่บุคลากรตาแหน่งอื่นจะผ่านบริษัทวิงสแปนทาให้สวัสดิการจึง แตกต่างกัน ที่มาของการเติบโตของการบินไทยและสายการบินอื่นๆ (ต่อ)
  11. 11.  การบริการอีกรูปแบบหนึ่งที่การบินไทยมีไว้ได้แก่บริการเชื้อเพลิงของเครื่องบิน ซึ่งจะร่วมทุนกับการปิโตรเลียมซึ่งจะมีคลังน้ามันอยู่บริเวณข้างสนามบินเชียงใหม่ เพื่อไว้รองรับเครื่องบินที่ต้องการเติมเชื้อเพลิงต่างๆ  อีกหนึ่งบริการของการบินไทยได้แก่การจาหน่ายและสารองที่นั่งที่เป็นระบบให ่ ที่สุดที่เรียกว่า Amadeusโดยทั่วไปจะมีระบบย่อยๆกว่า 10 ระบบ แต่ระบบ ให ่ที่ทั่วโลกใช้จะมีอยู่ 3 ระบบ คือ Amadeus, Abacus และ Galileo เพื่อสาหรับการใช้สารองที่นั่ง ที่มาของการเติบโตของการบินไทยและสายการบินอื่นๆ (ต่อ)
  12. 12. การบริการอาหารและเครื่องดื่มในระหว่างการเดินทางขึ้น เครื่องบิน การบินไทยจะมีการผลิตอาหารให้สาหรับบริการ ผู้โดยสาร รวมถึงผลิตส่งให้กับสายการบินที่ร่วมบินด้วย ที่มาของการเติบโตของการบินไทยและสายการบินอื่นๆ (ต่อ)
  13. 13.  ในส่วนของรายได้หลักที่สายการบินจะได้รับ 95% จะมาจากรายได้จาก การขนส่งผู้โดยสารและสินค้า ส่วนที่เหลืออีก 5% จะเป็นในเรื่องของ บริษัทที่ร่วมทุนต่างๆ รายได้หลักของสารการบิน
  14. 14.  สายการบินแต่ละแห่งจะมีวิสัยทัศน์หรือที่เรียกง่ายๆว่า สโลแกน ที่จะแตกต่างกัน ไป จะเห็นได้จากสายการบินต้นทุนต่าเช่น  ไทยแอร์เอเชียที่ใช้สโลแกนว่า “ ใครๆก็บินได้” อันจะหมายถึงราคาที่ถูกจน สามารถขึ้นเครื่องบินได้โดยใช้ค่าใช้จ่ายที่ต่าที่จะเกี่ยวข้องกับภาษีสินค้าต่างๆร่วม ด้วย  การบินไทยเองก็ใช้ว่า “First Choice Carrier”  ซึ่งทุกสายการบินจะมีความหมายที่สื่อถึงวิสัยทัศน์ของสายการบินนั้นๆ เมื่อถึง เวลาที่ลูกค้าซื้อสินค้าต่างๆ จะได้ตัวสินค้านั้นๆมา วิสัยทัศน์ของสายการบินต่างๆ
  15. 15.  ในทุกๆสายการบินสินค้าหมายถึงการบริการ  ทุกสายการบินก็จะเน้นในลักษณะของการสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้าเป็นหลัก  มีแผนกสาหรับดูแลลูกค้าในกรณีที่เกิดปั หาขัดข้องต่างๆ หรือมีการ complain มาจากลูกค้าทั้งในเรื่องของการสารองที่นั่ง การให้บริการต้อนรับ การ บริการบนเครื่องบิน เที่ยวบินยกเลิก เที่ยวบินล่าช้า หรือกรณีอื่นต่างๆ เหล่านี้ จะมี ฝ่ายที่คอยให้บริการเติมเต็มความต้องการของผู้โดยสารแต่ละท่านเพื่อให้เกิดความ ประทับใจ  เนื่องจากหากการบริการดังกล่าวไม่ประทับใจก็จะส่งผลต่อการกลับมาซื้อสินค้าหรือ บริการของสายการบินในครั้งต่อไปได้ ดังนั้นบุคลากรในธุรกิจการบินจะต้องมี service mind เพื่อให้เกิดความประทับใจแก่ลูกค้า วิสัยทัศน์ของสายการบินต่างๆ (ต่อ)
  16. 16.  คณะกรรมการบริษัท (Board) จะเป็นในส่วนของรัฐวิสาหกิจต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น การท่า การรถไฟ การปิโตรเลียม ขสมก. เหล่านี้เป็นต้น จะเป็นผู้กากับดูแล นโยบายของแต่ละบริษัทโดยส่วนให ่จะมาจากทางฝ่ายของพรรคการเมืองที่เป็น รัฐบาลใน ณ ขณะนั้น  ฝ่ายบริหาร สายการบินจะเป็นผู้ดูแลควบคุมเอง แม้กระทั่งการรถไฟก็จะมีฝ่าย สาหรับควบคุมการทางานบริษัทเช่นเดียวกัน โครงสร้างของสายการบิน
  17. 17. 1) ฝ่ายการพาณิชย์จะประกอบด้วย ฝ่ายขาย ฝ่ายสารองที่นั่ง ฝ่ายสายกลยุทธ์ที่จะแบ่งเป็น ช่วง Low season (เมษายน-กันยายน)ซึ่งจะมีปัจจัยเกี่ยวกับสภาพอากาศเข้ามา เกี่ยวข้องด้วยและ ช่วง High season เส้นทางการบินก็จะต้องคานึงถึงปัจจัยเหล่านี้ใน การกาหนดเที่ยวบินต่างๆให้เข้ากับสถานการณ์ด้วย 2)ฝ่ายการเงินและบั ชี 3)ฝ่ายทรัพยากรบุคคลหรือฝ่ายบุคคล 4)ฝ่ายการผลิตภัณฑ์และการบริการลูกค้า 5)ฝ่ายปฏิบัติการ ได้แก่ สายปฏิบัติการ และ สายช่าง โดยจะเป็นส่วนของกัปตัน ลูกเรือต่างๆ -ธุรกิจการบิน (Business Unit) จะมีหน้าที่หลักคือการ ขนส่งผู้โดยสาร ซึ่งการบินไทยจะมีอยู่ 5 สายงานหลัก คือ
  18. 18. 1) ฝ่ายการพาณิชย์ ได้แก่ cargo 2)ฝ่ายครัวการบิน ได้แก่ การทาอาหารและเครื่องดื่มส่งให้กับสาย การบินต่างๆ 3) ฝ่ายธุรกิจบริการภาคพื้น 4) ฝ่าย สายการบินไทยสไมล์ที่ปัจจุบันได้จดทะเบียนและอาจจะ แยกตัวออกมาเป็นบริษัทแล้วในอนาคตโดยใช้งบลงทุนไปประมาณ 1,800 ล้านบาท ธุรกิจสนับสนุนการบิน จะมีอยู่ 4 หน่วยธุรกิจด้วยกัน ได้แก่
  19. 19.  ในเรื่องของพนักงานจะมีการว่าจ้างประจาและเป็นผู้ให้บริการจากภายนอก (Outsource)  การบินไทยเองจะมีสานักงานขายอยู่ทั่วโลก จะมีคนท้องถิ่นที่เป็นพนักงานอยู่ ณ ประเทศนั้น ซึ่งก็จะมีการส่งพนักงานประจาในแต่ละเมืองที่มีศูนย์บินและ สานกงานขายอยู่เช่นเดียวกัน  ตาแหน่งผู้จัดการที่ไปควบคุมดูแลงานต่างๆ เช่น ผู้จัดการสานักงาน ผู้จัดการฝ่ายบั ชี ผู้จัดการบริการสนามบินอยู่ที่สนามบินต่างๆ เป็นต้น ลักษณะของบุคลากรในการบินไทย
  20. 20.  เกี่ยวข้องกับทักษะและการชานา เฉพาะทาง เช่น นักบินก็จะต้องเรียนรู้การ ทางานของตน หรือแม้กระทั่งฝ่ายช่าง รวมไปถึงฝ่ายขายด้วย จะต้องผ่านการ อบรมในเรื่องของการเรียนรู้การปฏิบัติงาน  ทุกสายการบินจะใช้หน่วยงานสาหรับประสานงานหรือ IATA ย่อมาจาก International Air Transport Associationในการร่วม สร้างสายการบินหนึ่งๆหรือควบคุมธุรกิจการบินทั้งหลายทั่วโลก บทบาทหน้าที่ของพนักงาน
  21. 21.  เป็นการขนส่ง การซ่อมบารุงเครื่องมือหลัก ส่งมอบบริการ หากมี การนาเครื่องออกจะมีทั้งฝ่ายช่างและฝ่ายต่างๆเข้ามาตรวจสอบอยู่ เสมอเพื่อรักษามาตรฐานตามสากล  ในสายการบินต้นทุนต่าจะใช้เครื่องบินใหม่ เลยจึงจะประหยัดค่าใช้จ่ายในเรื่องการซ่อม บารุงที่มีค่าใช้จ่ายค่อนข้างมาก แต่ก็ขึ้นอยู่ กับนโยบายของแต่ละสายการบินด้วย การส่งมอบผลิตภัณฑ์
  22. 22.  แต่ละสายการบินจะมีเครื่องบินคอยให้บริการอยู่ ก็จะแบ่งเป็นหลายระดับ ตั้งแต่ ระดับเล็กจนถึงขนาดให ่ที่สุดได้แก่ แอร์บัส A380 ในการบินไทยมีอยู่ 3 ลา สายการบินอิมิเรตมีอยู่ถึง 60 ลา ซึ่งสามารถบรรจุผู้โดยสารได้ประมาณ 500-600 คน การเดินทางด้วยเครื่องบิน
  23. 23. มีทั้งข้อดีและข้อเสียที่ฝ่ายขายจะต้องทาหน้าที่ในการขายให้มี ผู้โดยสารเต็มลา ในการใช้เครื่องบินออกบินจะต้องคานึงถึงจานวนผู้โดยสารด้วย การบินไทยจะมีรูปแบบของเครื่องบินอยู่หลากหลาย เมื่อถึง ระยะเวลาในการซ่อมบารุงพนักงานจะต้องมีความรู้เกี่ยวกับ เครื่องบินเป็นอย่างดี จึงมีการส่งบุคลากรเข้าโครงการอบรม ต่างๆ ซึ่งก็จะมีการใช้งบประมาณค่อนข้างมากขึ้นไปอีก การเดินทางด้วยเครื่องบิน (ต่อ)
  24. 24.  ในส่วนของสายการบินต้นทุนต่าจะมีรูปแบบเครื่องบินแบบเดียวการ จ้างบุคลากรก็จะใช้ค่าใช้จ่ายน้อยลง  แต่ในสายการบินต้นทุนต่าจะประหยัดงบประมาณในส่วนนี้คือเป็นการ เปลี่ยนเครื่องบินทุกๆ 5 ปี อาจจะขายเครื่องบินลาเก่าไปให้กับสาย การบินต้นทุนต่าแบบเดียวกัน หรืออาจจะเปิดให้เช่า  สาหรับบริษัทที่ผลิตเครื่องบินสาขาให ่ของโลกได้แก่ โบอิ้ง (โบอิ้ง777) และแอร์บัสซึ่งผลิต A380 และ 747 เป็นต้น การเดินทางด้วยเครื่องบิน (ต่อ)
  25. 25.  ในเครื่องบิน 1 ลาก็จะมีชั้นที่นั่งแบ่งเป็นระดับแตกต่างกันออกไปตาม คุณภาพการบริการและราคา จึงจะต้องมีการคิดคานวณจริงๆว่าในกรณีที่ ผู้โดยสารมีจานวนมาก จะต้องใช้คลื่นขนาดไหนในการบิน  สาหรับเครื่อง A380 ของการบินไทยจะใช้สาหรับบินตรงไปยัง ฮ่องกง โตเกียว แฟรงค์เฟิท ซึ่งจะเป็นเมืองให ่ที่มีผู้โดยสารจานวนมาก การเดินทางด้วยเครื่องบิน (ต่อ)
  26. 26. สาหรับเครื่องบินลาให ่จะเห็นได้ว่าจะมีเครื่องยนต์อยู่ 2 ตัว แต่หากเป็น แบบเช่าเหมาลาจะมีเพียง 1 ตัวเท่านั้น  เรื่องของการใช้พลังงานเชื้อเพลิงก็จะแตกต่างกัน สาหรับการบินไทยเองก็ใช้ เครื่องบินลาให ่ A340  ในการบินจากสุวรรณภูมิไปนิวยอร์คที่ใช้เวลาถึง 18 ชั่วโมง ซึ่งใช้เชื้อเพลิงน้ามัน ไปถึง 4 เตาให ่และจะมีค่าใช้จ่ายอื่นๆอีกมากมายที่ตามมา อันจะนาไปคิด เกี่ยวกับต้นทุนและกาไรที่สายการบินจะได้รับในแง่ของการตลาดต่างๆ การ แข่งขันระหว่างสายการบินก็จะสูง ทาให้ส่วนแบ่งการตลาดถูกแย่งกันในระหว่าง ธุรกิจการบิน  ผู้บริโภคจะเป็นฝ่ายได้เปรียบเพราะสามารถเลือกสายการบินได้อย่างหลากหลาย จึงมีการออกบริษัทไทยสมายล์เพื่อดึงส่วนแบ่งทางการตลาดกลับมาในส่วนของ เที่ยวบินภายในประเทศ การเดินทางด้วยเครื่องบิน (ต่อ)
  27. 27.  ปัจจุบันเส้นทางที่ทารายได้หลักให้กับการบินไทยได้แก่เส้นทางการบินไป สแกนดิเนเวียน  ซึ่งผู้โดยสารส่วนให ่จะนิยมขึ้นเครื่องไปกับการบินไทย โดยจะมีผู้โดยสารขึ้น ถึง 70-80% ในเที่ยวบินแต่ละเที่ยว ในช่วง high season อาจจะมีถึง 90% ขึ้นไปจนถึงเต็มลา การเดินทางด้วยเครื่องบิน (ต่อ)
  28. 28.  ในการให้บริการ air cargo ของการบินไทยหรือ การขนส่งสินค้าผ่าน เครื่องโบอิ้ง747 ,400 ซึ่งในการให้บริการทั่วไปด้านบนเครื่องจะเป็นที่นั่งของผู้โดยสาร  ด้านล่างเครื่องจะเป็นที่ใส่สัมภาระต่างๆทั้งของผู้โดยสารและสินค้าอื่นๆ  แต่หากเป็นโบอิ้ง747 ,400 จะไม่มีในส่วนของที่นั่งผู้โดยสาร  ทั้งลาจะเป็นที่สาหรับใส่ cargo ทั้งหมดจะมีลักษณะเป็นตู้คอนเทนเนอร์ซึ่งจะถูกโหลดไปที่ ใต้ท้องเครื่องไปด้วย สามารถขนสินค้าได้ประมาณ 4 ตัน  หากเป็น เครื่องโบอิ้ง737,400 หรือแม้แต่A320 จะไม่สามารถที่จะขน cargo ได้ เนื่องจากจะมีส่วนที่ใส่สัมภาระได้เพียงท้ายของเครื่องบินเท่านั้นไม่สามารถใส่ตู้คอนเทนเนอร์ ขนาดให ่ได้ การเดินทางด้วยเครื่องบิน (ต่อ)
  29. 29.  สาหรับเครื่องบิน A380 จะเห็นได้ว่าเป็นเครื่องบินขนาดให ่  ในปีที่ผ่านมาก็มีการนาตัวเครื่องบินมาจัดแสดงโชว์ที่จังหวัดเชียงใหม่เพื่อให้ประชาชนได้ชม ซึ่งจะมี 2 ชั้น เป็นที่นั่งทั้งหมด ด้านหน้าเครื่องบินสุด ชั้นบนของเครื่องบินจะแบ่งที่นั่งเป็นชั้น first class รองลงเป็น business class และ economy class ตามลาดับ  ส่วนชั้นล่างจะเป็นชั้น economy class ทั้งหมด ในกรณีของการขึ้นลงเครื่องบิน A380 สามารถขึ้นลงได้ที่เชียงใหม่ แต่จะต้องเป็นเครื่องเปล่าที่ไม่มีการบรรทุกสิ่งของหรือ ผู้โดยสารใดๆ  เนื่องจากมีข้อจากัดในเรื่องของการรองรับของทางวิ่ง ซึ่งมีความยาวประมาณ 3.8 กิโลเมตร ตัวเครื่อง A380 จะต้องใช้ระยะทาง 4 กิโลเมตรขึ้นไป จึงไม่รองรับเครื่องบินขนาดให ่ ซึ่ง ในช่วงก่อนมีแนวคิดในการสร้างทางบินในเชียงใหม่ที่ยาวขึ้นแต่ด้วยความไม่ปลอดภัยและเรื่อง ของงบประมาณต่างๆจึงไม่สามารถสร้างได้ แต่ตัวเครื่องบินโบอิ้ง747 เองนั้นสามารถขึ้นลง เชียงใหม่ได้หากมองใน seat map การเดินทางด้วยเครื่องบิน (ต่อ)
  30. 30.  ส่วนในเครื่องบินโบอิ้ง 747 ก็จะมี 2 ชั้น  ในชั้นบนจะมีพื้นที่ความจุเพียงเล็กน้อย สามารถรองรับผู้โดยสารค่อนข้าง จากัดที่นั่งซึ่งจะเป็นที่นั่งชั้น business class ด้านชั้นล่างระดับชั้น ของที่นั่งก็จะแบ่งเหมือนทั่วไป คือ first class business class และ economy class ตามลาดับจากหน้าสุดไปหลังสุด  บางสายการบินอาจจะแบ่งที่นั่งเป็นเพียง 2 ชั้น คือ business และ economy เท่านั้น การเดินทางด้วยเครื่องบิน (ต่อ)
  31. 31.  ในระยะแรกจะมีเครื่องบินคองคอร์ดเช่นเดียวกันที่จะขึ้นบินด้วยชั้นที่นั่งเพียง ชั้นเดียว คือ first class อย่างเดียว จะมีที่นั่ง 1 แถวเพียง 4 ที่นั่ง เท่านั้น ความกว้างของเครื่องบินจะไม่กว้างเนื่องจากเป็นเครื่องบินที่บินใน ความเร็วเหนือเสียง  โดยปกติเครื่องบินทั่วไปจะบินจากนิวยอร์คไปยุโรปนั้นจะใช้เวลาในการบิน ประมาณ 6 ชั่วโมงเท่านั้นเทียบจากเครื่องบินปกติจะต่างกัน 4 ชั่วโมง ซึ่งจะ ใช้เวลาถึง 10 ชั่วโมงเป็นปกติ  แต่ปัจจุบันยกเลิกการให้บริการไปแล้ว เนื่องจากราคาตั๋วเครื่องบินที่ ค่อนข้างแพง ในเชียงใหม่เองก็เคยมีเครื่องบินคองคอร์ดมาบินลง เช่นเดียวกันจะเป็นลักษณะเช่าเหมาลาที่มีค่าใช้จ่ายสูงมาก การเดินทางด้วยเครื่องบิน (ต่อ)

×