SlideShare a Scribd company logo
1 of 69
รายได้ครัวเรือน/ต่อหัว กลุ่ม เป็นกลาง
รายได้ครัวเรือน (Household Income) เงินหรือสิ่งของ ที่ครัวเรือนได้มาจากการทำงานหรือ ผลิตเอง หรือจากทรัพย์สิน หรือได้รับการช่วยเหลือจากผู้อื่น
ข้อมูลแสดงสถิติรายได้ครัวเรือน/ต่อหัวของประเทศไทย ในมิติต่างๆ  ประจำปี 2552
ภาคเหนือ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคกลาง
ภาคใต้
127,220 บาท
การกระจายรายได้ การกระจายรายได้ (Income Distribution) คือ การที่รายได้รวมของประเทศถูกจัดสรรไปยังประชาชนกลุ่มต่างๆ ในประเทศ  โดยทั่วไปแต่ละประเทศมีการกระจายรายได้ไม่เท่าเทียมกันทั้งนี้ ขึ้นความสามารถแตกต่างกัน มีโอกาสไม่เท่ากัน นอกจากนี้ยังมีปัจจัยภายนอกอื่นๆ ที่มีผลต่อการกระจายรายได้ เช่น ภาวะเงินเฟ้อ การว่างงาน และการใช้นโยบายการคลังในการเก็บภาษีและใช้จ่ายเงินของรัฐบาล ซึ่งรัฐบาลเป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการลดช่องว่างของรายได้ในสังคมโดยใช้นโยบายการคลัง เป็นต้น
เส้นความยากจน เส้นความยากจน (Poverty line) เป็นเครื่องมือสำหรับใช้วัดภาวะความยากจน โดยคำนวณจากต้นทุนหรือค่าใช้จ่ายของปัจเจกบุคคลในการได้มาซึ่งอาหารและสินค้าบริการที่จำเป็นพื้นฐานในการดำรงชีวิต ถ้าบุคคลใด  มีรายได้ต่ำกว่าเส้นความยากจน  ก็พิจารณาได้ว่าบุคคลนั้นเป็นคนจน
เส้นความยากจน จำแนกตามภาคและเขตพื้นที่  ปี 2550 - 2552 ที่มา : ข้อมูลจากการสำรวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน  สำนักงานสถิติแห่งชาติ
ความเหลื่อมล้ำในชีวิตความเป็นอยู่เมื่อพิจารณาจากรายจ่ายเพื่อการอุปโภคบริโภค ปี 2549-2552 ที่มา : ข้อมูลจากการสำรวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน  สำนักงานสถิติแห่งชาติ
	ส่งผลให้ความเหลื่อมล้ำในสภาพชีวิตความเป็นอยู่ของครัวเรือนที่รวยที่สุดกับครัวเรือนที่จนที่สุดลดลงเหลือเพียง 6.97 เท่า ในปี 2552  ความเหลื่อมล้ำในชีวิตความเป็นอยู่นี้นำไปสู่ปัญหาสังคมต่าง ๆ อีกมากมายที่ควรได้รับการแก้ไขอย่างเร่งด่วน
ถ้ารายได้ครัวเรือนมีแนวโน้มลดลง อาจแสดงให้เห็นว่า
ถ้ารายได้ครัวเรือนมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น อาจจะแสดงให้เห็นว่า
รายได้เฉลี่ยต่อหัว / ครัวเรือนกับนโยบายการคลัง 		ตัวเลขของรายได้เฉลี่ยต่อหัว และรายได้เฉลี่ยต่อครัวเรือนที่แสดงให้เห็นถึงระดับความเป็นอยู่ของประชาชน  รัฐบาลจึงมีหน้าที่สำคัญทางด้านเศรษฐกิจอยู่หลายประการ หนึ่งในนั้นก็คือ การกระจายรายได้และความมั่นคงของสังคม (distribution function)
สำหรับนโยบายการคลัง ทางด้านรายได้ มาตรการที่สำคัญที่รัฐบาลเลือกใช้ ได้แก่ ภาษี โดยรัฐเรียกเก็บภาษีอากรจากประชาชน โดยยึด
			จากการที่ภาครัฐมีการเก็บภาษีเป็นเครื่องมือหนึ่งทางการคลังแล้วนั้น ตามหลักการย่อมช่วยให้การกระจายรายได้ของกลุ่มคนในสังคมมีความเป็นธรรม และเท่าเทียมกันมากขึ้น แต่ในความเป็นจริงแล้วนั้น สังคมในประเทศยังมีช่องว่างของการกระจายรายได้ที่เห็นได้ชัดเจน คือ กลุ่มคนรวยเป็นคนกลุ่มน้อยของสังคมแต่มีจำนวนรายได้เฉลี่ยต่อหัว และเฉลี่ยต่อครัวเรือนที่สูงมากกว่า กลุ่มคนจนที่ถือเป็นประชากรส่วนมากในประเทศ  ที่มีรายได้เฉลี่ยต่อหัว และเฉลี่ยต่อครัวเรือนน้อยกว่ามาก
ภาษีส่วนใหญ่ของภาครัฐที่สามารถจัดเก็บได้มากที่สุดนั้นมาจากภาษีทางอ้อม เช่น ภาษีมูลค่าเพิ่ม (ValueAddedTax) ที่เป็นภาษีที่จัดเก็บจากประชาชนทุกคนในสังคม ผ่านการซื้อขายสินค้าและบริการ ไม่ว่าจะเป็นคนรวยหรือคนจนก็ต้องจ่าย ภาษีเงินได้นิติบุคคลธรรมดา (Personal Income Tax) ที่เรียกเก็บในอัตราภาษีก้าวหน้า (progressive tax rate) ที่เป็นภาษีที่เรียกเก็บจากฐานรายได้ ที่เป็นรูปแบบการเก็บภาษีที่ดี ที่จะทำให้เกิดความเสมอภาคและความเป็นธรรมในสังคม รวมถึงการกระจายรายได้อย่างทั่วถึง เนื่องจากบุคคลใดมีมากย่อมจากมาก เพื่อนำเงินส่วนนั้นมาผลิตสินค้า และบริการเพื่อสังคมให้กับบุคคลอื่น
		-  จากตัวเลขในความเป็นจริงนั้น ภาษีเงินได้นิติบุคคลธรรมดานั้นเก็บได้ในจำนวนที่น้อยกว่าภาษีมูลค่าเพิ่มเสียด้วยซ้ำไป ซึ่งแสดงให้เห็นว่าช่องว่างระหว่างกลุ่มคนจนและคนรวยยังมีอยู่ การกระจายรายได้ไม่ได้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่ควรจะเป็น อาจเนื่องจากการผลักภาระภาษีมาให้กับผู้บริโภคผ่านภาษีมูลค่าเพิ่ม หรือมีกลุ่มคนจนมากกว่ากลุ่มคนรวยอยู่ในสังคม
ผลการจัดเก็บรายได้รัฐบาลเบื้องต้น ปีงบประมาณ 2554  (ตุลาคม 2553 –พฤษภาคม 2554) หน่วย : ล้านบาท [1]ตัวเลขเบื้องต้น ณ วันที่ 6 มิถุนายน 2554 ที่มา: กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมธนารักษ์ กรมบัญชีกลาง และสำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ  โดย: ส่วนนโยบายการคลังและงบประมาณ สำนักงานนโยบายการคลัง สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง
ข้อดีของนโยบายการคลัง การเก็บภาษีอากร เป็นเครื่องมือทางการคลังที่สำคัญ ที่ช่วยลดช่องว่างระหว่างคนรวยกับคนจน ทำให้เกิดการกระจายรายได้มากขึ้นในทางทฤษฏี         ข้อเสียของนโยบายการคลัง 	การจัดเก็บภาษีทางตรง (Indirect Tax) มีน้อย ทำให้กลุ่มประชาชนที่มีรายได้น้อย ยังต้องจ่ายภาษีจำนวนมาก  ส่วนกลุ่มประชาชนที่มีรายได้มาก เสียภาษีน้อยกว่าที่ควรจะเป็น ข้อเสนอแนะ  1. ปรับปรุง และให้ความสำคัญกับเครื่องมือทางการคลังให้มากขึ้น แต่ในปัจจุบันภาครัฐไม่มีความเข้มแข็ง จริงจังในการดำเนินการ ทำให้เครื่องมือทางการคลังนี้ลดประสิทธิภาพลงมา 2. เพิ่มมาตรการจัดเก็บภาษีทรัพย์สิน ภาษีมรดก และภาษีสิ่งแวดล้อม เป็นการถ่ายโอนรายได้จากกลุ่มคนรวยมาสู่กลุ่มคนจน เพื่อช่วยลดช่องว่าง และความเหลื่อมล้ำในสังคมและภาษีสิ่งแวดล้อม เรียกเก็บ จากผู้ประกอบการที่มีกำไรจากการผลิตในภาคอุตสาหกรรมเป็นจำนวนมาก แต่ในการผลิตนั้นย่อมส่งผลกระทบต่อสภาพแวดล้อม และผลักดันให้เกิดการจัดเก็บภาษีทรัพย์สิน ภาษีมรดก และภาษีสิ่งแวดล้อมขึ้นได้ ย่อมเป็นผลดีต่อสังคม ความเหลื่อมล้ำในสังคมย่อมน้อยลงด้วย
รายได้เฉลี่ยต่อหัว / ครัวเรือนกับนโยบายการเงิน       รายได้เฉลี่ยต่อหัว/ครัวเรือนจะมีอัตราเพิ่มขึ้นทุกปี  แต่รายได้ที่เพิ่มขึ้นมานั้นส่วนใหญ่มาคนรวยซึ่งมีอยู่ประมาณ 20% ยิ่งรวยมากขึ้น   มีสัดส่วนของรายได้สูงขึ้น คนที่จนกว่าซึ่งมีอยู่ประมาณ  80% ยิ่งมีสัดส่วนรายได้ลดลง ส่วนหนึ่งมาจากการที่คนจนหรือผู้มีรายได้น้อยการขาดโอกาสในการเข้าถึงทรัพยากร แหล่งทุน นโยบายการเงิน หมายถึง นโยบายที่เกี่ยวข้องกับการใช้มาตรการต่าง ๆ ในการกำหนด และ ควบคุมปริมาณเงินและสินเชื่อ ให้มีความเหมาะสมกับความต้องการและความจำเป็นของ ระบบเศรษฐกิจ
สินเชื่อ  	สินเชื่อมีบทบาทที่สำคัญต่อเศรษฐกิจในด้านต่างๆ บทบาททำให้เกิดการกระจายทรัพยากรในเศรษฐกิจใหม่ทั้งทางด้านการบริโภคหรือการลงทุน และยังมีส่วนสำคัญในการกำหนดระดับรายได้ในเศรษฐกิจ ด้วยการนำเอาเงินออมของเศรษฐกิจกลับเข้าสู่การหมุนเวียนของเศรษฐกิจ           สินเชื่อช่วยทำให้การลงทุนเกิดผลประโยชน์ที่เพิ่มขึ้น โดยส่งเสริมให้ผู้ที่มีความสามารถในการลงทุนแต่มีทุนรอนไม่เพียงพอ สามารถดำเนินการลงทุนได้อีก ทั้งยังส่งเสริมให้ประหยัดทรัพยากรในเศรษฐกิจได้ จากการทำให้เกิดการผลิตขนาดใหญ่เกิดขึ้นได้ในเศรษฐกิจ
           ยกตัวอย่างการให้สินเชื่อในภาคเกษตรกรรม ซึ่งเป็นคนส่วนใหญ่ของประเทศ โดยการสินเชื่อภาคเกษตรถือเป็นปัจจัยการผลิตที่มีความสำคัญต่อเกษตรกร  นอกเหนือจากปัจจัยที่ดิน แรงงาน และการผลิตทางกายภาพอื่น เป็นปัจจัยที่ก่อให้เกิดการลงทุน  เกิดทางเลือกที่ดีในการผลิต 
แต่อย่างไรก็ดี ที่ผ่านมาระดับของหนี้ครัวเรือนไทยปรับสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง หากปล่อยให้สูงไปกว่านี้ภาคครัวเรือนอาจมีปัญหาได้  ขณะเดียวกันบางคนกลับมองว่า หนี้ครัวเรือนที่สูงขึ้นเพราะครัวเรือน มีความสามารถในการเข้าถึงบริการทางการเงินได้ดีขึ้นกว่าในอดีต เป็นโอกาสที่จะสร้างทั้งความเสี่ยงและโอกาสทางเงินพร้อมๆ กัน
ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย  ด้านนโยบายการเงิน การพิจารณาอัตราดอกเบี้ยนโยบายควรคำนึงถึงความเสี่ยงที่ภาวะอัตราดอกเบี้ย ต่ำต่อเนื่องเป็นเวลานานจะนำไปสู่ปัญหาการสะสมหนี้เกินควรของภาคครัวเรือน  ด้านนโยบายกำกับดูแลสถาบันการเงิน ควรเพิ่มประสิทธิภาพของกรอบการกำกับดูแลสถาบันการเงิน โดยให้มีการตรวจสอบแบบบูรณาการเพื่อให้สถาบันการเงินที่ดำเนินธุรกิจให้ บริการสินเชื่อส่วนบุคคลอยู่ภายใต้มาตรฐานการตรวจสอบและกำกับที่รอบคอบ และรัดกุมเท่าเทียมกัน
ขอบคุณค่ะ

More Related Content

Viewers also liked

บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการบทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นAkkradet Keawyoo
 
การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003
การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003
การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003Thidarat Termphon
 
ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002
ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002
ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002Thidarat Termphon
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)Nattakorn Sunkdon
 
ทักษะการเรียนรู้ ม.ปลาย ทร31001
ทักษะการเรียนรู้ ม.ปลาย ทร31001ทักษะการเรียนรู้ ม.ปลาย ทร31001
ทักษะการเรียนรู้ ม.ปลาย ทร31001Thidarat Termphon
 

Viewers also liked (6)

บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการบทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
 
การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003
การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003
การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003
 
ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002
ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002
ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
 
ทักษะการเรียนรู้ ม.ปลาย ทร31001
ทักษะการเรียนรู้ ม.ปลาย ทร31001ทักษะการเรียนรู้ ม.ปลาย ทร31001
ทักษะการเรียนรู้ ม.ปลาย ทร31001
 

Similar to รายได้ครัวเรือน

พจนานุกรมข้อมูล - ครอบครัว ความยากจนและการดำรงชีวิต
พจนานุกรมข้อมูล - ครอบครัว ความยากจนและการดำรงชีวิตพจนานุกรมข้อมูล - ครอบครัว ความยากจนและการดำรงชีวิต
พจนานุกรมข้อมูล - ครอบครัว ความยากจนและการดำรงชีวิตBe SK
 
Aec ประเทศเราจะได้รับประโยชน์อะไร
Aec ประเทศเราจะได้รับประโยชน์อะไรAec ประเทศเราจะได้รับประโยชน์อะไร
Aec ประเทศเราจะได้รับประโยชน์อะไรUtai Sukviwatsirikul
 
การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2พัน พัน
 
บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)
บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)
บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)Link Standalone
 

Similar to รายได้ครัวเรือน (8)

Ec961
Ec961Ec961
Ec961
 
พจนานุกรมข้อมูล - ครอบครัว ความยากจนและการดำรงชีวิต
พจนานุกรมข้อมูล - ครอบครัว ความยากจนและการดำรงชีวิตพจนานุกรมข้อมูล - ครอบครัว ความยากจนและการดำรงชีวิต
พจนานุกรมข้อมูล - ครอบครัว ความยากจนและการดำรงชีวิต
 
Aec ประเทศเราจะได้รับประโยชน์อะไร
Aec ประเทศเราจะได้รับประโยชน์อะไรAec ประเทศเราจะได้รับประโยชน์อะไร
Aec ประเทศเราจะได้รับประโยชน์อะไร
 
Rta income dist-5 jul
Rta income dist-5 julRta income dist-5 jul
Rta income dist-5 jul
 
Ch5
Ch5Ch5
Ch5
 
การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2
 
บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)
บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)
บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)
 
Economy ppt-05
Economy ppt-05Economy ppt-05
Economy ppt-05
 

รายได้ครัวเรือน