SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
บทที่ 2

                                          เอกสารที่เกี่ยวของ


         ในการจัดทําโครงงานคอมพิวเตอร การพัฒนาเว็บบล็อก (WebBlog) ดวย Wordpress
เรื่องเทคโนโลยี 3G นี้ ผูจัดทําโครงงานไดศึกษาเอกสารและจากเว็บไซตตางๆ ที่เกี่ยวของ
ดังตอไปนี้

         2.1 ความสําคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและอินเทอรเน็ต
         2.2 ขอมูลเกี่ยวกับสื่อสังคม Social Media
         2.3 เว็บบล็อก (WebBlog)

2.1 ความสําคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและอินเทอรเน็ต
          เนื้อหา สาระเกี่ยวกับเทคโนโลยี 3G คือ 3G หรือ Third Generation เปนเทคโนโลยีการ
สื่อสารในยุคที่ 3 อุปกรณการสื่อสารยุคที่ 3 นั้นจะเปนอุปกรณที่ผสมผสาน การนําเสนอขอมูล และ
เทคโนโลยีในปจจุบันเขาดวยกัน เชน PDA โทรศัพทมือถือ Walkman, กลองถายรูป และ อินเทอรเน็ต 3G
เปนเทคโนโลยีที่พัฒนาตอเนื่องจากยุคที่ 2 และ 2.5 ซึ่งเปนยุคที่มีการใหบริการระบบเสียง และ การสงขอมูล
ในขั้นตน ทั้งยังมีขอจํากัดอยูมาก การพัฒนาของ 3G ทําใหเกิดการใชบริการมัลติมีเดีย และ สงผานขอมูลใน
ระบบไรสายดวยอัตราความเร็วที่สูงขึ้น

1.Gเริ่มตั้งแต 1G ... ซึ่งเปนยุคที่ใชระบบ Analog คือใชสัญญาณวิทยุในการสงคลื่นเสียง   โดยไมรองรับการ
สงผานขอมูลใดๆทั้งสิ้นซึ่งนั่นก็หมายความวาสามารถใชงานทางดาน Voice ไดอยางเดียว คือ โทรออก-
รับสาย เทานั้นไมมีการรองรับการใชงานดาน Data ใดๆ ทั้งสิ้น .. แมแตการรับ-สง SMS ก็ยังทําไมไดในยุค
1Gแตจริงๆแลว ... ในยุคนั้น   ผูบริโภคก็ยังไมมีความตองการในการใชงานอื่นๆ นอกจากเสียง (Voice) อยู
แลวโดยปริมาณผูใชโทรศัพทมือถือยังอยูในขอบเขตที่จํากัดมาก และจะพบวาผูใชมักจะเปนนักธุรกิจที่มีรายได
สูงเสียสวนใหญ

2.Gหลังจากนั้น    ก็ไดพัฒนาตอมาเปนยุค 2G ... ซึ่งเปลี่ยนจากการสงคลื่นทางคลื่นวิทยุแบบ Analog มาเปน
การเขารหัส Digital สงทางคลื่น Microwave ซึ่งในยุคนี้เอง เปนยุคที่เริ่มทําใหเราเริ่มที่จะสามารถใชงาน
ทางดาน Data ได นอกเหนือจากการใชงาน Voice เพียงอยางเดียว
ในยุค 2G นี้ ... เราสามารถ รับ-สงขอมูลตางๆและติดตอเชื่อมโยงไดอยางมีประสิทธิภาพมากขึ้นเรื่อยๆ จนเกิด
การกําหนดเสนทางการเชื่อมกับสถานีฐาน หรือที่เรียกวา cell site และกอใหเกิดระบบ GSM (Global
System for Mobilization) ซึ่งทําใหเราสามารถถือโทรศัพทเครื่องเดียวไปใชไดเกือบทั่วโลก           หรือที่เรียกวา
Roaming
ยุค 2G นี้ ถือเปนยุคเริ่มตนแหงการเฟองฟูของโทรศัพทมือถือ... ราคาของโทรศัพทมือถือเริ่มต่ําลง (กวายุค
1G) ทําใหปริมาณผูใชโทรศัพทมือถือมีมากขึ้น   ซึ่งการสงขอมูลของยุค 2G นี้ เปนยุคที่มีการเริ่มฮิต
Download Ringtone , Wallpaper , Graphic ตางๆ                แตก็จะจํากัดอยูที่การ Downlaod Ringtone
แบบ Monotone และ ภาพ Graphic ตางๆก็เปนเพียงแคภาพขาว-ดําที่มีความละเอียดต่ําเทานั้น

3.Gตอมา   ก็ไดพัฒนามาเปนระบบ 3G หรือ Third Generation ซึ่งเปนเทคโนโลยีการสื่อสารในยุคที่ 3
จุดเดนที่สุดของ 3G นั้น เปนเรื่องของความเร็วในการเชื่อมตอและการรับ-สงขอมูล โดยเนนการเชื่อมตอแบบ
ไรสายดวยความเร็วสูง ทําใหประสิทธิภาพในการรับสงขอมูลตางๆ รวดเร็วมากขึ้น พรอมทั้งสามารถใช บริการ
Multimedia ไดอยางสมบูรณแบบ       และ มีประสิทธิภาพแบบมากยิ่งขึ้น เชน การรับ-สง File ที่มีขนาดใหญ          ,
การใชบริการ Video/Call Conference , Download เพลง , ดู TV Streaming ตางๆซึ่งถา
เปรียบเทียบเทคโนโลยี 2G กับ 3G แลว ... 3G มีชองสัญญาณความถี่ และ ความจุในการรับสงขอมูลที่
มากกวาเยอะเลย
คุณสมบัติหลักที่เดนๆ อีกอยางหนึ่งของระบบ 3G ก็คือ Always On ... คือ มีการเชื่อมตอกับระบบเครือขาย
ของ 3G ตลอดเวลาที่เราเปดโทรศัพทดวย

http://aon1011.wordpress.com

2.2 ขอมูลเกี่ยวกับสื่อสังคม Social Media
         2.2.1 ความหมายของ Social Mediaปจจุบันกระแสการใชสื่อสังคม (Social Media) และ
เครือขายสังคม (Social Networking) อยาง Facebook, Twitter, Youtube ไดรับความนิยมสูงมาก ทั้ง
ในรูปแบบการใชสวนบุคคล โครงการ จนถึงระดับองคกร มีการเผยแพรขอมูลตางๆ ของหนวยงาน
ดวยผานสื่อสังคม เครือขายสังคมอยางตอเนื่อง และจํานวนมาก บุคลากรขององคกรสมัครเปน
สมาชิกเว็บไซต facebook และนําเสนอเนือหา ขอมูลของตนเองผาน facebook ควบคูกับเว็บไซต
                                          ้
หลักที่มีอยูเดิม รวมทั้งยังมีอีกหลายหนวยงานสนใจดําเนินการเพิ่ม สาเหตุหลักก็ไมนาจะพนไปจาก
การปรับบทบาทการบริการ การประชาสัมพันธใหทันตอเทคโนโลยีและตอบรับกับแนวคิดการ
บริการ การประชาสัมพันธเชิงรุก อยางไรก็ดีอยากใหผูบริหาร บุคลากรหนวยงานที่สนใจลอง
พิจารณารายละเอียดปลีกยอยเพิ่มเติม ดังรายละเอียด
1.หนวยงานทราบหรือยังวาประเด็นสําคัญของบริการสื่อสังคม เครือขายสังคม คืออะไร มีจุดเดน
จุดดอย ขอควรระวังเรื่องใดบาง
2.หากหนวยงานไดศึกษาประเด็นนี้อาจจะชวยใหการใชสื่อสังคม เครือขายสังคม เพื่อเผยแพร
สารสนเทศเปนไปตามวัตถุประสงคและปลอดภัยดวยครับ
3.ใครเปนผูรับผิดชอบการเผยแพรสารสนเทศหนวยงาน
4.อีเมลที่ใชสมัครเปนสมาชิก ไมควรใชอีเมลสวนตัวของคนใดคนหนึ่ง รวมทั้งไมควรใช Group
Mail ทั้งนี้หนวยงานนาจะสรางอีเมลเฉพาะสําหรับการใชสมัครสมาชิกสื่อสังคม เครือขายสังคม
5.เนื้อหาที่นําเสนอ นอกจากขอมูลหนวยงานแลว ควรนําเสนอเนื้อหาอื่นๆ ตามวาระ เทศกาลสําคัญ
หมุนเวียนแนะนําอยางสม่ําเสมอ แทนที่จะใชเปนชองทางพูดคุยอยางเดียว เดี๋ยวจะเหมือนกับใช
Facebook เปน MSN ไปซะนะครับ
6.รูปภาพ จุดเดนของสื่อสังคม เครือขายสังคมอยาง Facebook คือการทําคลังภาพ ดังนั้นหากมี
กิจกรรมตางๆ ของหนวยงาน การเขาเยี่ยมชม การจัดกิจกรรมสัมมนา รวมถึงมุมสวยๆ ของ
หนวยงาน นาจะนํามาเผยแพรและใสคําอธิบายใหเหมาะสม
7.ไมควรนําภาพละเมิดลิขสิทธิ์มาเผยแพร เพราะจะกระจายไดกวางและไวมาก อาจจะสรางปญหา
ตางๆ ใหองคกรและตนเองได
8.Video ก็สามารถนําเขาและเผยแพรไดลองหยิบกลองถายภาพดิจิตอลแลวบันทึกภาพในโหมด
Video พรอมบรรยายแบบไมทางการมากนัก เพียงเทานี้ก็สามารถ Upload และนําเสนอผาน
Facebook ไดงายๆ แลวประเด็นก็คือ Video ที่นํามาเผยแพรไดบันทึกและเปนสมบัติของหนวยงาน
หรือไมอยางไร
9.การโตตอบกับเพื่อนๆ สมาชิก อยาใหสื่อสังคม เครือขายสังคม เชน Facebook เปนเพียงชองทาง
ถามอยางเดียวนะครับ ควรมีบุคลากรสื่อสาร โตตอบ รวมทั้งการสงตอคําถามไปยังผูเกี่ยวของ
10.การกําหนดสิทธิ์การเขาถึงเนื้อหาแตละสวนใหเหมาะสม อันนี้สําคัญมาก
การกลั่นกรองเนื้อหาเพื่อปองกันการละเมิดปญหาทรัพยสินทางปญญา ถาไมอยากถูกจับ หรือมี
ประเด็นฟองรองควรใหความสําคัญกับการนําเสนอภาพ ฟอนต (กราฟก) และขอความดวยนะครับ
เชน การนําขอความสําคัญจากหนังสือมาเผยแพร ซึ่งถือวาเปนการทําซ้ําการใชความสามารถ
อัตโนมัติเพื่อเผยแพรขอมูลจากแหลงอื่นๆ เชน RSS Feed, TwitterFeed อันนี้มีจุดเดนมากเชนกัน
11.การเลือกใช Facebook Apps อยางเหมาะสม และหมั่นตรวจสอบขอมูลจากหลายๆ แหลงวา
ไมใช Spy & Spam Apps ที่จะไปสรางภาระใหผูอื่นดวยนะคะ
http://www.facebook.com/profile.php?id=100002314214312
2.2.2 ประวัติความเปนมาและพัฒนาการของ Social Media

         ปจจุบันโลกอินเตอรเน็ตกําลังอยูในยุคกลางหรือยุคปลาย ๆ ของ web 2.0 กันแลว จึงทําให
                                         
มีเว็บไซตในลักษณะ Social Networking Service (SNS) ออกมามากมาย เปนบริการผานเว็บไซตที่
เปนจุดโยงระหวางบุคคลแตละคนที่มีเครือขายสังคมของตัวเองผานเน็ตเวิรคอินเทอรเน็ต รวมทั้ง
เชื่อมโยงบริการตางๆ อยางเมลเมสเซ็นเจอรเว็บบอรด บล็อก ฯลฯ เขาดวยกันตั้งแต Hi5, MySpace,
Facebook, Bebo, LinkedIn, Multiply, Ning และอื่นๆ อีกมากมาย ซึ่งทั้งหมดจะมีสวนที่คลายกันคือ
"การแอดเพื่อน" ตามหลักการ Friend-Of-A-Friend (FOAF) โดยปกติแลวสิ่งที่ SNS ใหบริการ
พื้นฐานคือ การใหผูสนใจสราง profile ลงในเว็บ บางที่อาจอนุญาตใหอัพโหลดไฟลแบบตางๆ ไม
วาจะภาพ เสียง หรือ คลิปวีดีโอ จากนั้นก็จะมีเรื่องของการ comment (เมน) มี Personal Messeage
(PM) ใหคุยสวนตัวกับเพื่อนบางคน และที่ตองทําก็คือ ไลอาน ไลเมน ไปตาม Profile ของคนอื่น
เรื่อยๆ

Social Network ยังไมมีคําไทยเปนทางการ มีการใชคําวา “เครือขายสังคม” บาง “เครือขายมิตรภาพ
บาง” “กลุมสังคมออนไลน” Social Network นี้ถือวาเปนเทคโนโลยีอีกอันนึ่ง ที่สามารถชวยใหเรา
ไดมามีปฏิสัมพันธกัน ซึ่งวัตถุประสงคที่แทจริงของคําวา Social Network นี้จริงๆ แลวก็คือ
Participation หรือ การมีสวนรวมดวยกันไดทุก ๆ คน (ซึ่งหวังวาผูที่ติดตอกันเหลานั้นจะมีแตความ
ปรารถนาดี สิ่งที่ดีๆ มอบใหแกกันและกัน) ถาพูดถึง Social Network แลว คนที่อยูในโลกออนไลน
คงจะรูจักกันเปนอยางดี และก็คงมีอีกหลายคนที่ไดเขาไปทองอยูในโลกของ Social Network
มาแลว ถึงแมวา Social Network จะไมใชสิ่งใหมในโลกออนไลน แตก็ยังเปนที่นิยมอยางมากใน
กลุมคนที่ใชอินเตอรเน็ต ทําใหเครือขายขยายวงกวางออกไปเรื่อยๆ และจะยังคงแรงตอไปอีกใน
อนาคต จากผลการสํารวจจากประเทศสหรัฐอเมริกายืนยันการใชบริการ Social Network ที่เพิ่ม
สูงขึ้นอยางตอเนื่องทุกป และมาแรงเปนอันดับตนๆ ของโลกออนไลน สวนเว็บไซตที่มีจํานวนผูเขา
ชมสูงสุดทั่วโลก ก็เห็นจะเปน My space, Facebook และ Orkut สําหรับเว็บไซต ที่มีเปอรเซ็นต
เติบโตเพิมขึ้นเปนเทาตัวก็เห็นจะเปน Facebook แตสําหรับประเทศไทยที่ฮอตฮิตมากๆ ก็คงจะหนี
          ่
ไมพน Hi5
2.2.3 ประเภทเว็บไซตที่ใหบริการ Social Media
       เนื้อหา สาระเว็บไซต ที่ใหบริการ Social Network หรือ Social Media
1.Google Group – เว็บไซตในรูปแบบ Social Networking
2.Wikipedia – เว็บไซตในรูปแบบขอมูลอางอิง
3.MySpace – เว็บไซตในรูปแบบ Social Networking
4.Facebook -เว็บไซตในรูปแบบ Social Networking
5.MouthShut – เว็บไซตในรูปแบบ Product Reviews
6.Yelp – เว็บไซตในรูปแบบ Product Reviews
7.Youmeo – เว็บที่รวม Social Network
8.Last.fm – เว็บเพลงสวนตัว Personal Music
9.YouTube – เว็บไซต Social Networking และ แชรวิดีโอ
10.Avatars United – เว็บไซตในรูปแบบ Social Networking
11.Second Life – เว็บไซตในรูปแบบโลกเสมือนจริง Virtual Reality
13.Flickr – เว็บแชรรปภาพ
                     ู


2.3 เว็บบล็อก (WebBlog)
        2.3.1 ความหมายของเว็บบล็อก (WebBlog)
                  เนื้อหา สาระ Blog คือ การบันทึกบทความของตนเอง (Personal Korunal) ลงบน
เว็บไซต โดยเนื้อหาของ blog นั้นจะครอบคลุมไดทุกเรื่อง ไมวาจะเปนเรื่องสวนตัว การมองโลก
ของเรา ความคิดเห็นของเราตอเรื่องตาง ๆ หรือเปนบทความเฉพาะดาน เชน เรื่องการเมือง เรื่อง
กลองถายรูป เรื่องกีฬา เรื่องธุรกิจBlog มาจากคําวา WeBlog บางคนอานวา We Blog บางคน
อานวา Web Log แตทั้งหมดคือ Blog ซึ่งหมายถึง การบันทึกบทความของตนเอง (อาจเปน
อักษร รูปภาพ มัลติมีเดีย) ลงบนเว็บผานเครือขายอินเตอรเน็ต เพื่อเผยแพรใหผูอื่นไดรับ
ทราบ Blog หรือ Web Blog เปนการสื่อสารสองทางระหวางผูเขียนและผูอาน โดยผูอานสามารถ
โตตอบไดโดยการ comment
2.3.2 ประเภทของเว็บบล็อก

                เนื้อหา สาระประเภทของ Blog
บล็อกที่เราเห็นอยูในปจจุบันนี้ ใชมีเพียงแคบล็อกที่เปนตัวหนังสือและรูปภาพเทานั้น หรือ มีแค
ออนไลนไดอารี่ เราแบงบล็อกออกได ดังตอไปนี้
1. แบงตามลักษณะของมีเดียที่มีในบล็อกไดแก
1.1. Linklog บล็อกแบบนี้นาจะเปนบล็อกรุนแรก ๆ เปนบล็อกที่รวมลิงคที่เจาของบล็อกสนใจ
เอาไว ถาคุณยังจําผูใหกําเนิดคําวา “บล็อก” ที่ชื่อ จอหน บาจเจอรได นั่นแหละครับ
robotwisdom.com ของเขาคือตัวอยางของ linklog นั่นเอง แมวาจะบล็อกแบบนี้จะเปนการรวมลิงค
เทานั้น แตก็ไมเรียงเหมือนเว็บไดเร็กทอรี่ เพราะเจาของบล็อกจะโพสตลิงคของเขา 1 – 2 ลิ๊งกตอ
โพสตเทานั้นครับ ใครที่อยากมีบล็อกเปนของตนเองแตยังนึกไมออกวาจะทําบล็อกแบบไหน
linklog นาจะเปนการเริ่มตนการทําบล็อกไดเปนอยางดี
1.2 Photoblog ชื่อก็บอกอยูแลวครับวา Photo บล็อกประเภทนี้เนนในโพสตภาพถายที่เจาของบล็อก
อยากนําเสนอ และมักจะไมเนนที่จะเขียนขอความมากนัก บางบล็อกเรียกไดวาภาพโดยเจาของ
บล็อกลวน ๆ เลยครับ1.3. Vlog ยอมาจาก Videoblog เปนบล็อกที่รวมวิดีโอคลิปไวในบล็อก Vlog
เปนบล็อกที่เรียกไดวาเปนบล็อกที่นิยมทํากันมากในอนาคต เพราะการเจริญเติบโตของไฮสปด
อินเตอรเน็ต หรือ อินเตอรเน็ตบอรดแบนด ที่ทําใหการถายทอดเสียง ภาพเคลื่อนไหว movie […]
2. แบงตามประเภทเนื้อหา ไดแก
2.1 บล็อกสวนตัว(Personal Blog) นําแสนอความคิดเห็นกิจวัตรประจําวันของเจาของบล็อกเปน
หลัก
2.2 บล็อกขาว(News Blog) บล็อกที่นําเสนอขาวเปนหลัก
2.3 บล็อกกลุม(Collaborative Blog) เปนบล็อกที่เขียนกันเปนกลุม เชน blognone.com
2.4 บล็อกการเมือง(Politic Blog) วาดวยเรื่องการเมืองลวน ๆ
2.5 บล็อกเพื่อสิ่งแวดลอม(Environment Blog) พูดถึงเรื่องราวของธรรมชาติและการรักษา
สิ่งแวดลอม
2.6 มีเดียบล็อก(Media Blog) เปนบล็อกที่วิเคราะหสื่อตางๆ สารคดีและสิ่งที่เกี่ยวกับสื่อ เชน
oknation.net/blog/black ของสุทธิชัย หยุน
2.7 บล็อกบันเทิง(Entertainment Blog) บล็อกที่นําเสนอเรื่องราวบันเทิงทั้งทางจอแกว และจอเงิน
เรื่องซุบซุดารา กองถาย ฯลฯ2.8 บล็อกเพือการศึกษา(Educational Blog) ในโรงเรียน หรือ
                                        ่
มหาวิทยาลัยในตางประเทศมักจะใชบล็อกเปนสื่อในการสอนหรือ แลกเปลี่ยนความคิดกัน2.9 ติว
เตอรบล็อก(Tutorial Blog) เปนบล็อกที่นําเสนอวิธีการตาง




2.3.3 เว็บไซตที่ใหบริการเว็บบล็อก

เนื้อหา สาระ
www.blogger.com
www.exteen.com
www.mapandy.com
www.buddythai.com
www.imigg.com
www.5iam.com
www.blogprathai.com
www.ndesignsblog.com
2.3.4 ประวัติของเว็บไซต Wordpress
ไปดูที่เว็บนี้คะ http://wordpress.9supawat.com/10/what-is-wordpress.html
และ




                  เว็บไซตนี้ จะแนะนําถึงวิธี การใช WordPress ตั้งแตพื้นฐานเริ่มตน ไปจนถึงการ
เพิ่มเทคนิคลูกเลนตาง ๆ แตกอนที่จะไปเรียนรูกัน เราควรมารูจักกอนวา WordPress คือ อะไร

WordPress คือ โปรแกรมสําเร็จรูปตัวหนึ่ง ที่เอาไวสําหรับสราง บล็อก หรือ เว็บไซต สามารถใช
งานไดฟรี ถูกจัดอยูในประเภท CMS (Contents Management System) ซึ่งหมายถึง โปรแกรม
                       
สําเร็จรูปที่มีไวสําหรับสรางและบริหารจัดการเนื้อหาและขอมูลบนเว็บไซต

WordPress ไดรับการพัฒนาและเขียนชุดคําสั่งมาจากภาษา PHP (เปนภาษาโปรแกรมมิ่งตัวหนึ่ง)
ทํางานบนฐานขอมูล MySQL ซึ่งเปนโปรแกรมสําหรับจัดการฐานขอมูล มีหนาที่เก็บ เรียกดู แกไข
เพิ่มและลบขอมูล การใชงานWordPress รวมกับMySQLอยูภายใตสัญญาอนุญาตใชงานแบบ
GNU General Public License

WordPress ปรากฏโฉมครั้งแรกในโลกเมื่อป พ.ศ. 2546 (2003) เปนความรวมมือกันระหวาง Matt
Mullenwegและ Mike Littlej มีเว็บไซตหลักอยูที่ http://wordpress.org และยังมีบริการ Free Hosting
(พื้นที่สําหรับเก็บทุกอยางของเว็บ/บล็อก) โดยขอใชบริการไดที่ http://wordpress.com

ปจจุบันนี้ WordPress ไดรับความนิยมเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วจนมีผูใชงานมากกวา200ลานเว็บบล็อก
ไปแลวแซงหนา CMS ตัวอื่น ๆไมวาจะเปน Drupal , Mambo และ Joomla สาเหตุเปนเพราะ ใชงาน
งายไมจําเปนตองมีความรูในเรื่องProgramin มีรูปแบบที่สวยงามอีกทั้งยังมีผูพัฒนาTheme (รูปแบบ
การแสดงผล)และPlugins(โปรแกรมเสริม)ใหเลือกใชฟรีอยางมากมายนอกจากนี้สําหรับ
นักพัฒนา WordPress ยังมี Codex เอาไวใหเราไดเปนไกดไลนเพื่อศึกษาองคประกอบสวนตางๆที่
อยูภายใน สําหรับพัฒนาตอยอด หรือ นําไปสราง Theme และ Plugins ขึ้นมาเองไดอีกดวย หนําซ้ํา
   
ยังมีรุนพิเศษ คือ WordPress MUสําหรับไวใหผูนําไปใช สามารถเปดใหบริการพื้นที่ทําเว็บบล็อก
เปนของตนเองเพื่อใหผูอื่นมาสมัครขอรวมใชบริการในการสรางเว็บบล็อกภายใตชื่อโดเมนของเขา
หรือที่เรียกวาSub-Domainจากที่ไดเกริ่นนําไปในบทความนี้คงจะทําใหรูจักและไดทราบประวัติ
ความเปนมารวมถึงความหมายกันไปบางแลววา WordPressคืออะไร ในบทความหนาเราจะไดเริ่ม
เรียนรูถึงรูปแบบและวิธีการใชงานไปจนถึงการเพิ่มลูกเลนตาง ๆ ตอไป

More Related Content

What's hot

บทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำบทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำ
Kittichai Pinlert
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Kittichai Pinlert
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Kittipong Suwannachai
 
รายงานเมย์
รายงานเมย์รายงานเมย์
รายงานเมย์
Kanjana ZuZie NuNa
 
ณัฐ โครงงานคอม บทที่ 1 5 เบียร์
ณัฐ โครงงานคอม  บทที่ 1   5 เบียร์ณัฐ โครงงานคอม  บทที่ 1   5 เบียร์
ณัฐ โครงงานคอม บทที่ 1 5 เบียร์
ยิ้ม' เเฉ่ง
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
Miw Inthuorn
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
shopper38
 
01 บทที่ 1-บทนำ 1.1
01 บทที่ 1-บทนำ 1.101 บทที่ 1-บทนำ 1.1
01 บทที่ 1-บทนำ 1.1
Thanggwa Taemin
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เนื้อหา
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เนื้อหาบทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เนื้อหา
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เนื้อหา
Visiene Lssbh
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Kittichai Pinlert
 
บทที่ 1บทนำ
บทที่ 1บทนำบทที่ 1บทนำ
บทที่ 1บทนำ
Beeiiz Gubee
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
Pop Cholthicha
 
โครงงาน แอนดรอยด์
โครงงาน แอนดรอยด์โครงงาน แอนดรอยด์
โครงงาน แอนดรอยด์
teerarat55
 

What's hot (20)

บทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำบทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำ
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
บทที่1 บทนำ ม.ต้น
บทที่1 บทนำ ม.ต้นบทที่1 บทนำ ม.ต้น
บทที่1 บทนำ ม.ต้น
 
รายงานเมย์
รายงานเมย์รายงานเมย์
รายงานเมย์
 
ณัฐ โครงงานคอม บทที่ 1 5 เบียร์
ณัฐ โครงงานคอม  บทที่ 1   5 เบียร์ณัฐ โครงงานคอม  บทที่ 1   5 เบียร์
ณัฐ โครงงานคอม บทที่ 1 5 เบียร์
 
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
 
บทที่1 ทวีชัย
บทที่1  ทวีชัยบทที่1  ทวีชัย
บทที่1 ทวีชัย
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
บทที่ 1 เสร็จ
บทที่ 1 เสร็จบทที่ 1 เสร็จ
บทที่ 1 เสร็จ
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
01 บทที่ 1-บทนำ 1.1
01 บทที่ 1-บทนำ 1.101 บทที่ 1-บทนำ 1.1
01 บทที่ 1-บทนำ 1.1
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เนื้อหา
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เนื้อหาบทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เนื้อหา
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เนื้อหา
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
ทดสอบ 2
ทดสอบ 2ทดสอบ 2
ทดสอบ 2
 
บทที่ 1บทนำ
บทที่ 1บทนำบทที่ 1บทนำ
บทที่ 1บทนำ
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
โครงงาน แอนดรอยด์
โครงงาน แอนดรอยด์โครงงาน แอนดรอยด์
โครงงาน แอนดรอยด์
 

Viewers also liked

05 บทที่ 5-สรุปผล ข้อเสนอแนะ
05 บทที่ 5-สรุปผล ข้อเสนอแนะ05 บทที่ 5-สรุปผล ข้อเสนอแนะ
05 บทที่ 5-สรุปผล ข้อเสนอแนะ
Champ Wachwittayakhang
 
03 บทที่ 3-วิธีดำเนินงานโครงงาน
03 บทที่ 3-วิธีดำเนินงานโครงงาน03 บทที่ 3-วิธีดำเนินงานโครงงาน
03 บทที่ 3-วิธีดำเนินงานโครงงาน
Champ Wachwittayakhang
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Champ Wachwittayakhang
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Champ Wachwittayakhang
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Champ Wachwittayakhang
 
05 บทที่ 5-สรุปผล ข้อเสนอแนะ
05 บทที่ 5-สรุปผล ข้อเสนอแนะ05 บทที่ 5-สรุปผล ข้อเสนอแนะ
05 บทที่ 5-สรุปผล ข้อเสนอแนะ
Champ Wachwittayakhang
 
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
Champ Wachwittayakhang
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
Jariya Jaiyot
 
108 วิธี.. เรียนเก่ง โครต...โครต
108 วิธี.. เรียนเก่ง โครต...โครต108 วิธี.. เรียนเก่ง โครต...โครต
108 วิธี.. เรียนเก่ง โครต...โครต
Areeya Onnom
 
Social Media Data
Social Media DataSocial Media Data
Social Media Data
korakate
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
พัน พัน
 

Viewers also liked (20)

05 บทที่ 5-สรุปผล ข้อเสนอแนะ
05 บทที่ 5-สรุปผล ข้อเสนอแนะ05 บทที่ 5-สรุปผล ข้อเสนอแนะ
05 บทที่ 5-สรุปผล ข้อเสนอแนะ
 
03 บทที่ 3-วิธีดำเนินงานโครงงาน
03 บทที่ 3-วิธีดำเนินงานโครงงาน03 บทที่ 3-วิธีดำเนินงานโครงงาน
03 บทที่ 3-วิธีดำเนินงานโครงงาน
 
00 ส่วนนำ1
00 ส่วนนำ100 ส่วนนำ1
00 ส่วนนำ1
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
07 ภาคผนวก
07 ภาคผนวก07 ภาคผนวก
07 ภาคผนวก
 
07 ภาคผนวก
07 ภาคผนวก07 ภาคผนวก
07 ภาคผนวก
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
06 บรรณานุกรม
06 บรรณานุกรม06 บรรณานุกรม
06 บรรณานุกรม
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
05 บทที่ 5-สรุปผล ข้อเสนอแนะ
05 บทที่ 5-สรุปผล ข้อเสนอแนะ05 บทที่ 5-สรุปผล ข้อเสนอแนะ
05 บทที่ 5-สรุปผล ข้อเสนอแนะ
 
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
 
02 คู่มือการสมัครสมาชิก
02 คู่มือการสมัครสมาชิก02 คู่มือการสมัครสมาชิก
02 คู่มือการสมัครสมาชิก
 
สไลด์ การบริหารจิตเจริญปัญญา+501+dltvsocp6+55t2soc p06 f02-1page
สไลด์  การบริหารจิตเจริญปัญญา+501+dltvsocp6+55t2soc p06 f02-1pageสไลด์  การบริหารจิตเจริญปัญญา+501+dltvsocp6+55t2soc p06 f02-1page
สไลด์ การบริหารจิตเจริญปัญญา+501+dltvsocp6+55t2soc p06 f02-1page
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
108 วิธี.. เรียนเก่ง โครต...โครต
108 วิธี.. เรียนเก่ง โครต...โครต108 วิธี.. เรียนเก่ง โครต...โครต
108 วิธี.. เรียนเก่ง โครต...โครต
 
Jitpontook
JitpontookJitpontook
Jitpontook
 
Unit 48 คนญี่ปุ่นกับกีฬา
Unit 48 คนญี่ปุ่นกับกีฬาUnit 48 คนญี่ปุ่นกับกีฬา
Unit 48 คนญี่ปุ่นกับกีฬา
 
Social Media Data
Social Media DataSocial Media Data
Social Media Data
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
 
04 คู่มือแบบทดสอบก่อนเรียนหลังเรียน
04 คู่มือแบบทดสอบก่อนเรียนหลังเรียน04 คู่มือแบบทดสอบก่อนเรียนหลังเรียน
04 คู่มือแบบทดสอบก่อนเรียนหลังเรียน
 

Similar to 02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง

02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Miw Inthuorn
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
M'suKanya MinHyuk
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Tanyarad Chansawang
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Sirintip Kongchanta
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
New Tomza
 
Social networking, direct media
Social networking, direct mediaSocial networking, direct media
Social networking, direct media
pawineeyooin
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
Apitsara Kaewkerd
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
Apitsara Kaewkerd
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
Saranya Butte
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
Saranya Butte
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
Apitsara Kaewkerd
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
Anutra Rit-in
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
M'suKanya MinHyuk
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
She's Ning
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
She's Ning
 

Similar to 02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง (20)

02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง5555555
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง555555502 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง5555555
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง5555555
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
2
22
2
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
Social networking, direct media
Social networking, direct mediaSocial networking, direct media
Social networking, direct media
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 

More from Champ Wachwittayakhang

แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานแบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
Champ Wachwittayakhang
 
บทที่4 ผมการดำเนินงาน
บทที่4 ผมการดำเนินงานบทที่4 ผมการดำเนินงาน
บทที่4 ผมการดำเนินงาน
Champ Wachwittayakhang
 
บทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงานบทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงาน
Champ Wachwittayakhang
 
บทที่2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Champ Wachwittayakhang
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานแบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
Champ Wachwittayakhang
 

More from Champ Wachwittayakhang (10)

00 ส่วนนำ1
00 ส่วนนำ100 ส่วนนำ1
00 ส่วนนำ1
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานแบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
 
ภาคผนวก
ภาคผนวกภาคผนวก
ภาคผนวก
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
บทที่5 สรุปผล
บทที่5 สรุปผลบทที่5 สรุปผล
บทที่5 สรุปผล
 
บทที่4 ผมการดำเนินงาน
บทที่4 ผมการดำเนินงานบทที่4 ผมการดำเนินงาน
บทที่4 ผมการดำเนินงาน
 
บทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงานบทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงาน
 
บทที่2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
ส่วนนำรายงาน
ส่วนนำรายงานส่วนนำรายงาน
ส่วนนำรายงาน
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานแบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
 

02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง

  • 1. บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวของ ในการจัดทําโครงงานคอมพิวเตอร การพัฒนาเว็บบล็อก (WebBlog) ดวย Wordpress เรื่องเทคโนโลยี 3G นี้ ผูจัดทําโครงงานไดศึกษาเอกสารและจากเว็บไซตตางๆ ที่เกี่ยวของ ดังตอไปนี้ 2.1 ความสําคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและอินเทอรเน็ต 2.2 ขอมูลเกี่ยวกับสื่อสังคม Social Media 2.3 เว็บบล็อก (WebBlog) 2.1 ความสําคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและอินเทอรเน็ต เนื้อหา สาระเกี่ยวกับเทคโนโลยี 3G คือ 3G หรือ Third Generation เปนเทคโนโลยีการ สื่อสารในยุคที่ 3 อุปกรณการสื่อสารยุคที่ 3 นั้นจะเปนอุปกรณที่ผสมผสาน การนําเสนอขอมูล และ เทคโนโลยีในปจจุบันเขาดวยกัน เชน PDA โทรศัพทมือถือ Walkman, กลองถายรูป และ อินเทอรเน็ต 3G เปนเทคโนโลยีที่พัฒนาตอเนื่องจากยุคที่ 2 และ 2.5 ซึ่งเปนยุคที่มีการใหบริการระบบเสียง และ การสงขอมูล ในขั้นตน ทั้งยังมีขอจํากัดอยูมาก การพัฒนาของ 3G ทําใหเกิดการใชบริการมัลติมีเดีย และ สงผานขอมูลใน ระบบไรสายดวยอัตราความเร็วที่สูงขึ้น 1.Gเริ่มตั้งแต 1G ... ซึ่งเปนยุคที่ใชระบบ Analog คือใชสัญญาณวิทยุในการสงคลื่นเสียง โดยไมรองรับการ สงผานขอมูลใดๆทั้งสิ้นซึ่งนั่นก็หมายความวาสามารถใชงานทางดาน Voice ไดอยางเดียว คือ โทรออก- รับสาย เทานั้นไมมีการรองรับการใชงานดาน Data ใดๆ ทั้งสิ้น .. แมแตการรับ-สง SMS ก็ยังทําไมไดในยุค 1Gแตจริงๆแลว ... ในยุคนั้น ผูบริโภคก็ยังไมมีความตองการในการใชงานอื่นๆ นอกจากเสียง (Voice) อยู แลวโดยปริมาณผูใชโทรศัพทมือถือยังอยูในขอบเขตที่จํากัดมาก และจะพบวาผูใชมักจะเปนนักธุรกิจที่มีรายได สูงเสียสวนใหญ 2.Gหลังจากนั้น ก็ไดพัฒนาตอมาเปนยุค 2G ... ซึ่งเปลี่ยนจากการสงคลื่นทางคลื่นวิทยุแบบ Analog มาเปน การเขารหัส Digital สงทางคลื่น Microwave ซึ่งในยุคนี้เอง เปนยุคที่เริ่มทําใหเราเริ่มที่จะสามารถใชงาน ทางดาน Data ได นอกเหนือจากการใชงาน Voice เพียงอยางเดียว
  • 2. ในยุค 2G นี้ ... เราสามารถ รับ-สงขอมูลตางๆและติดตอเชื่อมโยงไดอยางมีประสิทธิภาพมากขึ้นเรื่อยๆ จนเกิด การกําหนดเสนทางการเชื่อมกับสถานีฐาน หรือที่เรียกวา cell site และกอใหเกิดระบบ GSM (Global System for Mobilization) ซึ่งทําใหเราสามารถถือโทรศัพทเครื่องเดียวไปใชไดเกือบทั่วโลก หรือที่เรียกวา Roaming ยุค 2G นี้ ถือเปนยุคเริ่มตนแหงการเฟองฟูของโทรศัพทมือถือ... ราคาของโทรศัพทมือถือเริ่มต่ําลง (กวายุค 1G) ทําใหปริมาณผูใชโทรศัพทมือถือมีมากขึ้น ซึ่งการสงขอมูลของยุค 2G นี้ เปนยุคที่มีการเริ่มฮิต Download Ringtone , Wallpaper , Graphic ตางๆ แตก็จะจํากัดอยูที่การ Downlaod Ringtone แบบ Monotone และ ภาพ Graphic ตางๆก็เปนเพียงแคภาพขาว-ดําที่มีความละเอียดต่ําเทานั้น 3.Gตอมา ก็ไดพัฒนามาเปนระบบ 3G หรือ Third Generation ซึ่งเปนเทคโนโลยีการสื่อสารในยุคที่ 3 จุดเดนที่สุดของ 3G นั้น เปนเรื่องของความเร็วในการเชื่อมตอและการรับ-สงขอมูล โดยเนนการเชื่อมตอแบบ ไรสายดวยความเร็วสูง ทําใหประสิทธิภาพในการรับสงขอมูลตางๆ รวดเร็วมากขึ้น พรอมทั้งสามารถใช บริการ Multimedia ไดอยางสมบูรณแบบ และ มีประสิทธิภาพแบบมากยิ่งขึ้น เชน การรับ-สง File ที่มีขนาดใหญ , การใชบริการ Video/Call Conference , Download เพลง , ดู TV Streaming ตางๆซึ่งถา เปรียบเทียบเทคโนโลยี 2G กับ 3G แลว ... 3G มีชองสัญญาณความถี่ และ ความจุในการรับสงขอมูลที่ มากกวาเยอะเลย คุณสมบัติหลักที่เดนๆ อีกอยางหนึ่งของระบบ 3G ก็คือ Always On ... คือ มีการเชื่อมตอกับระบบเครือขาย ของ 3G ตลอดเวลาที่เราเปดโทรศัพทดวย http://aon1011.wordpress.com 2.2 ขอมูลเกี่ยวกับสื่อสังคม Social Media 2.2.1 ความหมายของ Social Mediaปจจุบันกระแสการใชสื่อสังคม (Social Media) และ เครือขายสังคม (Social Networking) อยาง Facebook, Twitter, Youtube ไดรับความนิยมสูงมาก ทั้ง ในรูปแบบการใชสวนบุคคล โครงการ จนถึงระดับองคกร มีการเผยแพรขอมูลตางๆ ของหนวยงาน ดวยผานสื่อสังคม เครือขายสังคมอยางตอเนื่อง และจํานวนมาก บุคลากรขององคกรสมัครเปน สมาชิกเว็บไซต facebook และนําเสนอเนือหา ขอมูลของตนเองผาน facebook ควบคูกับเว็บไซต ้ หลักที่มีอยูเดิม รวมทั้งยังมีอีกหลายหนวยงานสนใจดําเนินการเพิ่ม สาเหตุหลักก็ไมนาจะพนไปจาก การปรับบทบาทการบริการ การประชาสัมพันธใหทันตอเทคโนโลยีและตอบรับกับแนวคิดการ บริการ การประชาสัมพันธเชิงรุก อยางไรก็ดีอยากใหผูบริหาร บุคลากรหนวยงานที่สนใจลอง พิจารณารายละเอียดปลีกยอยเพิ่มเติม ดังรายละเอียด
  • 3. 1.หนวยงานทราบหรือยังวาประเด็นสําคัญของบริการสื่อสังคม เครือขายสังคม คืออะไร มีจุดเดน จุดดอย ขอควรระวังเรื่องใดบาง 2.หากหนวยงานไดศึกษาประเด็นนี้อาจจะชวยใหการใชสื่อสังคม เครือขายสังคม เพื่อเผยแพร สารสนเทศเปนไปตามวัตถุประสงคและปลอดภัยดวยครับ 3.ใครเปนผูรับผิดชอบการเผยแพรสารสนเทศหนวยงาน 4.อีเมลที่ใชสมัครเปนสมาชิก ไมควรใชอีเมลสวนตัวของคนใดคนหนึ่ง รวมทั้งไมควรใช Group Mail ทั้งนี้หนวยงานนาจะสรางอีเมลเฉพาะสําหรับการใชสมัครสมาชิกสื่อสังคม เครือขายสังคม 5.เนื้อหาที่นําเสนอ นอกจากขอมูลหนวยงานแลว ควรนําเสนอเนื้อหาอื่นๆ ตามวาระ เทศกาลสําคัญ หมุนเวียนแนะนําอยางสม่ําเสมอ แทนที่จะใชเปนชองทางพูดคุยอยางเดียว เดี๋ยวจะเหมือนกับใช Facebook เปน MSN ไปซะนะครับ 6.รูปภาพ จุดเดนของสื่อสังคม เครือขายสังคมอยาง Facebook คือการทําคลังภาพ ดังนั้นหากมี กิจกรรมตางๆ ของหนวยงาน การเขาเยี่ยมชม การจัดกิจกรรมสัมมนา รวมถึงมุมสวยๆ ของ หนวยงาน นาจะนํามาเผยแพรและใสคําอธิบายใหเหมาะสม 7.ไมควรนําภาพละเมิดลิขสิทธิ์มาเผยแพร เพราะจะกระจายไดกวางและไวมาก อาจจะสรางปญหา ตางๆ ใหองคกรและตนเองได 8.Video ก็สามารถนําเขาและเผยแพรไดลองหยิบกลองถายภาพดิจิตอลแลวบันทึกภาพในโหมด Video พรอมบรรยายแบบไมทางการมากนัก เพียงเทานี้ก็สามารถ Upload และนําเสนอผาน Facebook ไดงายๆ แลวประเด็นก็คือ Video ที่นํามาเผยแพรไดบันทึกและเปนสมบัติของหนวยงาน หรือไมอยางไร 9.การโตตอบกับเพื่อนๆ สมาชิก อยาใหสื่อสังคม เครือขายสังคม เชน Facebook เปนเพียงชองทาง ถามอยางเดียวนะครับ ควรมีบุคลากรสื่อสาร โตตอบ รวมทั้งการสงตอคําถามไปยังผูเกี่ยวของ 10.การกําหนดสิทธิ์การเขาถึงเนื้อหาแตละสวนใหเหมาะสม อันนี้สําคัญมาก การกลั่นกรองเนื้อหาเพื่อปองกันการละเมิดปญหาทรัพยสินทางปญญา ถาไมอยากถูกจับ หรือมี ประเด็นฟองรองควรใหความสําคัญกับการนําเสนอภาพ ฟอนต (กราฟก) และขอความดวยนะครับ เชน การนําขอความสําคัญจากหนังสือมาเผยแพร ซึ่งถือวาเปนการทําซ้ําการใชความสามารถ อัตโนมัติเพื่อเผยแพรขอมูลจากแหลงอื่นๆ เชน RSS Feed, TwitterFeed อันนี้มีจุดเดนมากเชนกัน 11.การเลือกใช Facebook Apps อยางเหมาะสม และหมั่นตรวจสอบขอมูลจากหลายๆ แหลงวา ไมใช Spy & Spam Apps ที่จะไปสรางภาระใหผูอื่นดวยนะคะ http://www.facebook.com/profile.php?id=100002314214312
  • 4. 2.2.2 ประวัติความเปนมาและพัฒนาการของ Social Media ปจจุบันโลกอินเตอรเน็ตกําลังอยูในยุคกลางหรือยุคปลาย ๆ ของ web 2.0 กันแลว จึงทําให  มีเว็บไซตในลักษณะ Social Networking Service (SNS) ออกมามากมาย เปนบริการผานเว็บไซตที่ เปนจุดโยงระหวางบุคคลแตละคนที่มีเครือขายสังคมของตัวเองผานเน็ตเวิรคอินเทอรเน็ต รวมทั้ง เชื่อมโยงบริการตางๆ อยางเมลเมสเซ็นเจอรเว็บบอรด บล็อก ฯลฯ เขาดวยกันตั้งแต Hi5, MySpace, Facebook, Bebo, LinkedIn, Multiply, Ning และอื่นๆ อีกมากมาย ซึ่งทั้งหมดจะมีสวนที่คลายกันคือ "การแอดเพื่อน" ตามหลักการ Friend-Of-A-Friend (FOAF) โดยปกติแลวสิ่งที่ SNS ใหบริการ พื้นฐานคือ การใหผูสนใจสราง profile ลงในเว็บ บางที่อาจอนุญาตใหอัพโหลดไฟลแบบตางๆ ไม วาจะภาพ เสียง หรือ คลิปวีดีโอ จากนั้นก็จะมีเรื่องของการ comment (เมน) มี Personal Messeage (PM) ใหคุยสวนตัวกับเพื่อนบางคน และที่ตองทําก็คือ ไลอาน ไลเมน ไปตาม Profile ของคนอื่น เรื่อยๆ Social Network ยังไมมีคําไทยเปนทางการ มีการใชคําวา “เครือขายสังคม” บาง “เครือขายมิตรภาพ บาง” “กลุมสังคมออนไลน” Social Network นี้ถือวาเปนเทคโนโลยีอีกอันนึ่ง ที่สามารถชวยใหเรา ไดมามีปฏิสัมพันธกัน ซึ่งวัตถุประสงคที่แทจริงของคําวา Social Network นี้จริงๆ แลวก็คือ Participation หรือ การมีสวนรวมดวยกันไดทุก ๆ คน (ซึ่งหวังวาผูที่ติดตอกันเหลานั้นจะมีแตความ ปรารถนาดี สิ่งที่ดีๆ มอบใหแกกันและกัน) ถาพูดถึง Social Network แลว คนที่อยูในโลกออนไลน คงจะรูจักกันเปนอยางดี และก็คงมีอีกหลายคนที่ไดเขาไปทองอยูในโลกของ Social Network มาแลว ถึงแมวา Social Network จะไมใชสิ่งใหมในโลกออนไลน แตก็ยังเปนที่นิยมอยางมากใน กลุมคนที่ใชอินเตอรเน็ต ทําใหเครือขายขยายวงกวางออกไปเรื่อยๆ และจะยังคงแรงตอไปอีกใน อนาคต จากผลการสํารวจจากประเทศสหรัฐอเมริกายืนยันการใชบริการ Social Network ที่เพิ่ม สูงขึ้นอยางตอเนื่องทุกป และมาแรงเปนอันดับตนๆ ของโลกออนไลน สวนเว็บไซตที่มีจํานวนผูเขา ชมสูงสุดทั่วโลก ก็เห็นจะเปน My space, Facebook และ Orkut สําหรับเว็บไซต ที่มีเปอรเซ็นต เติบโตเพิมขึ้นเปนเทาตัวก็เห็นจะเปน Facebook แตสําหรับประเทศไทยที่ฮอตฮิตมากๆ ก็คงจะหนี ่ ไมพน Hi5
  • 5. 2.2.3 ประเภทเว็บไซตที่ใหบริการ Social Media เนื้อหา สาระเว็บไซต ที่ใหบริการ Social Network หรือ Social Media 1.Google Group – เว็บไซตในรูปแบบ Social Networking 2.Wikipedia – เว็บไซตในรูปแบบขอมูลอางอิง 3.MySpace – เว็บไซตในรูปแบบ Social Networking 4.Facebook -เว็บไซตในรูปแบบ Social Networking 5.MouthShut – เว็บไซตในรูปแบบ Product Reviews 6.Yelp – เว็บไซตในรูปแบบ Product Reviews 7.Youmeo – เว็บที่รวม Social Network 8.Last.fm – เว็บเพลงสวนตัว Personal Music 9.YouTube – เว็บไซต Social Networking และ แชรวิดีโอ 10.Avatars United – เว็บไซตในรูปแบบ Social Networking 11.Second Life – เว็บไซตในรูปแบบโลกเสมือนจริง Virtual Reality 13.Flickr – เว็บแชรรปภาพ ู 2.3 เว็บบล็อก (WebBlog) 2.3.1 ความหมายของเว็บบล็อก (WebBlog) เนื้อหา สาระ Blog คือ การบันทึกบทความของตนเอง (Personal Korunal) ลงบน เว็บไซต โดยเนื้อหาของ blog นั้นจะครอบคลุมไดทุกเรื่อง ไมวาจะเปนเรื่องสวนตัว การมองโลก ของเรา ความคิดเห็นของเราตอเรื่องตาง ๆ หรือเปนบทความเฉพาะดาน เชน เรื่องการเมือง เรื่อง กลองถายรูป เรื่องกีฬา เรื่องธุรกิจBlog มาจากคําวา WeBlog บางคนอานวา We Blog บางคน อานวา Web Log แตทั้งหมดคือ Blog ซึ่งหมายถึง การบันทึกบทความของตนเอง (อาจเปน อักษร รูปภาพ มัลติมีเดีย) ลงบนเว็บผานเครือขายอินเตอรเน็ต เพื่อเผยแพรใหผูอื่นไดรับ ทราบ Blog หรือ Web Blog เปนการสื่อสารสองทางระหวางผูเขียนและผูอาน โดยผูอานสามารถ โตตอบไดโดยการ comment
  • 6. 2.3.2 ประเภทของเว็บบล็อก เนื้อหา สาระประเภทของ Blog บล็อกที่เราเห็นอยูในปจจุบันนี้ ใชมีเพียงแคบล็อกที่เปนตัวหนังสือและรูปภาพเทานั้น หรือ มีแค ออนไลนไดอารี่ เราแบงบล็อกออกได ดังตอไปนี้ 1. แบงตามลักษณะของมีเดียที่มีในบล็อกไดแก 1.1. Linklog บล็อกแบบนี้นาจะเปนบล็อกรุนแรก ๆ เปนบล็อกที่รวมลิงคที่เจาของบล็อกสนใจ เอาไว ถาคุณยังจําผูใหกําเนิดคําวา “บล็อก” ที่ชื่อ จอหน บาจเจอรได นั่นแหละครับ robotwisdom.com ของเขาคือตัวอยางของ linklog นั่นเอง แมวาจะบล็อกแบบนี้จะเปนการรวมลิงค เทานั้น แตก็ไมเรียงเหมือนเว็บไดเร็กทอรี่ เพราะเจาของบล็อกจะโพสตลิงคของเขา 1 – 2 ลิ๊งกตอ โพสตเทานั้นครับ ใครที่อยากมีบล็อกเปนของตนเองแตยังนึกไมออกวาจะทําบล็อกแบบไหน linklog นาจะเปนการเริ่มตนการทําบล็อกไดเปนอยางดี 1.2 Photoblog ชื่อก็บอกอยูแลวครับวา Photo บล็อกประเภทนี้เนนในโพสตภาพถายที่เจาของบล็อก อยากนําเสนอ และมักจะไมเนนที่จะเขียนขอความมากนัก บางบล็อกเรียกไดวาภาพโดยเจาของ บล็อกลวน ๆ เลยครับ1.3. Vlog ยอมาจาก Videoblog เปนบล็อกที่รวมวิดีโอคลิปไวในบล็อก Vlog เปนบล็อกที่เรียกไดวาเปนบล็อกที่นิยมทํากันมากในอนาคต เพราะการเจริญเติบโตของไฮสปด อินเตอรเน็ต หรือ อินเตอรเน็ตบอรดแบนด ที่ทําใหการถายทอดเสียง ภาพเคลื่อนไหว movie […] 2. แบงตามประเภทเนื้อหา ไดแก 2.1 บล็อกสวนตัว(Personal Blog) นําแสนอความคิดเห็นกิจวัตรประจําวันของเจาของบล็อกเปน หลัก 2.2 บล็อกขาว(News Blog) บล็อกที่นําเสนอขาวเปนหลัก 2.3 บล็อกกลุม(Collaborative Blog) เปนบล็อกที่เขียนกันเปนกลุม เชน blognone.com 2.4 บล็อกการเมือง(Politic Blog) วาดวยเรื่องการเมืองลวน ๆ 2.5 บล็อกเพื่อสิ่งแวดลอม(Environment Blog) พูดถึงเรื่องราวของธรรมชาติและการรักษา สิ่งแวดลอม 2.6 มีเดียบล็อก(Media Blog) เปนบล็อกที่วิเคราะหสื่อตางๆ สารคดีและสิ่งที่เกี่ยวกับสื่อ เชน oknation.net/blog/black ของสุทธิชัย หยุน
  • 7. 2.7 บล็อกบันเทิง(Entertainment Blog) บล็อกที่นําเสนอเรื่องราวบันเทิงทั้งทางจอแกว และจอเงิน เรื่องซุบซุดารา กองถาย ฯลฯ2.8 บล็อกเพือการศึกษา(Educational Blog) ในโรงเรียน หรือ ่ มหาวิทยาลัยในตางประเทศมักจะใชบล็อกเปนสื่อในการสอนหรือ แลกเปลี่ยนความคิดกัน2.9 ติว เตอรบล็อก(Tutorial Blog) เปนบล็อกที่นําเสนอวิธีการตาง 2.3.3 เว็บไซตที่ใหบริการเว็บบล็อก เนื้อหา สาระ www.blogger.com www.exteen.com www.mapandy.com www.buddythai.com www.imigg.com www.5iam.com www.blogprathai.com www.ndesignsblog.com
  • 8. 2.3.4 ประวัติของเว็บไซต Wordpress ไปดูที่เว็บนี้คะ http://wordpress.9supawat.com/10/what-is-wordpress.html และ เว็บไซตนี้ จะแนะนําถึงวิธี การใช WordPress ตั้งแตพื้นฐานเริ่มตน ไปจนถึงการ เพิ่มเทคนิคลูกเลนตาง ๆ แตกอนที่จะไปเรียนรูกัน เราควรมารูจักกอนวา WordPress คือ อะไร WordPress คือ โปรแกรมสําเร็จรูปตัวหนึ่ง ที่เอาไวสําหรับสราง บล็อก หรือ เว็บไซต สามารถใช งานไดฟรี ถูกจัดอยูในประเภท CMS (Contents Management System) ซึ่งหมายถึง โปรแกรม  สําเร็จรูปที่มีไวสําหรับสรางและบริหารจัดการเนื้อหาและขอมูลบนเว็บไซต WordPress ไดรับการพัฒนาและเขียนชุดคําสั่งมาจากภาษา PHP (เปนภาษาโปรแกรมมิ่งตัวหนึ่ง) ทํางานบนฐานขอมูล MySQL ซึ่งเปนโปรแกรมสําหรับจัดการฐานขอมูล มีหนาที่เก็บ เรียกดู แกไข เพิ่มและลบขอมูล การใชงานWordPress รวมกับMySQLอยูภายใตสัญญาอนุญาตใชงานแบบ GNU General Public License WordPress ปรากฏโฉมครั้งแรกในโลกเมื่อป พ.ศ. 2546 (2003) เปนความรวมมือกันระหวาง Matt Mullenwegและ Mike Littlej มีเว็บไซตหลักอยูที่ http://wordpress.org และยังมีบริการ Free Hosting (พื้นที่สําหรับเก็บทุกอยางของเว็บ/บล็อก) โดยขอใชบริการไดที่ http://wordpress.com ปจจุบันนี้ WordPress ไดรับความนิยมเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วจนมีผูใชงานมากกวา200ลานเว็บบล็อก ไปแลวแซงหนา CMS ตัวอื่น ๆไมวาจะเปน Drupal , Mambo และ Joomla สาเหตุเปนเพราะ ใชงาน งายไมจําเปนตองมีความรูในเรื่องProgramin มีรูปแบบที่สวยงามอีกทั้งยังมีผูพัฒนาTheme (รูปแบบ การแสดงผล)และPlugins(โปรแกรมเสริม)ใหเลือกใชฟรีอยางมากมายนอกจากนี้สําหรับ นักพัฒนา WordPress ยังมี Codex เอาไวใหเราไดเปนไกดไลนเพื่อศึกษาองคประกอบสวนตางๆที่ อยูภายใน สําหรับพัฒนาตอยอด หรือ นําไปสราง Theme และ Plugins ขึ้นมาเองไดอีกดวย หนําซ้ํา  ยังมีรุนพิเศษ คือ WordPress MUสําหรับไวใหผูนําไปใช สามารถเปดใหบริการพื้นที่ทําเว็บบล็อก เปนของตนเองเพื่อใหผูอื่นมาสมัครขอรวมใชบริการในการสรางเว็บบล็อกภายใตชื่อโดเมนของเขา