SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม
รหัส 2103 - 2112
หน่วยที่ 7 ระบบส่งกาลังทางกล 2 คาบ
ใบความรู้
เรื่อง 7 งาน กาลังงาน ประสิทธิภาพ
ของเครื่องกลและเครื่องผ่อนแรงชนิดต่าง ๆ
 ผู้สอน
 ผู้เรียน
เครื่องผ่อนแรง
คนเราเข้าใจและใช้เครื่องผ่อนแรงกันมาตั้งแต่สมัยโบราณ ไม่ว่าจะเป็นการสร้างพีระมิด การขนส่งไม้ตาม
แม่น้าลาคลอง การใช้สัตว์ทางานแทน เช่น การทานา การนวดข้าว การผ่อนแรงนั้นไม่ใช่ช่วยให้ลดแรงกระทา
น้อยลงเท่านั้น เครื่องผ่อนแรง ยังหมายถึง การอานวยความสะดวกสบาย ด้วยการเคลื่อนย้ายสิ่งของ เช่น การยกน้า
ยกภาชนะไปที่ไกล ๆ อาจใช้วิธีหาม การใช้สัตว์ลากแทน ใช้วัวเทียมเกวียนต่างๆ ในปัจจุบันการผ่อนแรงจะมี
เครื่องมือ หรือ เครื่องจักรทางานแทนมากขึ้น เช่น การเดิน อาจใช้รถยนต์ รถจักรยาน รถจักรยานยนต์หรือเรือ
เป็นเครื่องมือช่วยในการเดินและถึงที่หมายเร็วขึ้น การเคลื่อนย้ายสิ่งของอาจจะใช้แม่แรงไฮดรอลิก หรือ รถยก
ทางาน แทนตัวเราก็ได้ ฉะนั้นเครื่องผ่อนแรงรอบตัวเรากาลังมีพัฒนาให้ดียิ่งขึ้น สะดวกสบายและประหยัดทั้งเวลา
แรงงาน และพยายามใช้บุคคลให้น้อยลง
การใช้เครื่องผ่อนแรง เพื่อช่วยอานวยความสะดวกต่อการทางาน จะพยายามหาพลังงานต่าง ๆ มาช่วย
ทางานแทน เช่น พลังงานของลม พลังงานจากกระแสน้า พลังงานจากความร้อน เป็นต้น ต่อมาเมื่อมีการสร้าง
ระบบไฟฟ้ าขึ้นมา พลังงานไฟฟ้ าจะเป็นพลังงานที่ใช้ทดแทน จะแบ่งออกเป็น 3 หมวดใหญ่ ๆ คือ พลังงานจาก
ไฟฟ้า พลังงานจากความร้อนและพลังงานกล
1. งาน ( Work )
งาน คือ ผลของการออกแรงกระทาต่อวัตถุ แล้ววัตถุเคลื่อนที่ได้ระยะทางตามแนวแรง ดังนั้น ค่าของงาน
หาได้จาก ผลคูณของแรงกับระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ในแนวของแรง
นั่นคือ งาน = แรง  ระยะทางตามแนวแรง
N.m ( นิวตัน.เมตร)
กาหนดให้ W = งานที่ทาได้ มีหน่วยเป็นนิวตัน . เมตร (N.m) หรือ จูล
F = แรงที่ทาให้วัตถุเคลื่อนที่ได้ มีหน่วยเป็นนิวตัน (N) (J)
S = ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ในแนวแรง มีหน่วยเป็นเมตร (m)
1 Nm = 1 J (จูล)
1 J = 1 WS ( วัตต์ – วินาที )
W = F  S
วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม
รหัส 2103 - 2112
หน่วยที่ 7 ระบบส่งกาลังทางกล 2 คาบ
ใบความรู้
เรื่อง 7 งาน กาลังงาน ประสิทธิภาพ
ของเครื่องกลและเครื่องผ่อนแรงชนิดต่าง ๆ
 ผู้สอน
 ผู้เรียน
หมายเหตุ งานจะไม่เกิดขึ้นเมื่อ
- แรงเท่ากับศูนย์ ( F = 0 )
- ระยะทางเท่ากับศูนย์ ( S = 0 )
- แรงตั้งฉากกับระยะทาง ( F S )
ตัวอย่างที่ 7.1 รถเครนคันหนึ่ง ยกน้าหนัก 10 kN ยกขึ้นสูง 2.5 m จงหางาน
วิธีทา จากสูตร W = F S
โจทย์กาหนด แรงที่กระทาให้วัตถุเคลื่อนที่ ( F ) = 10 kN
( 1 kN = 1000 N ) = 10  1000 N
= 10000 N
ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ ( S ) = 2.5 m
แทนค่า W = 10000 2.5 = 25000 N.m
 งานที่รถเครนยกน้าหนัก = 25000 N.m ตอบ
2. กาลังงาน ( Power )
กาลังงาน เรียกสั้น ๆ ว่า กาลัง คือผลของการทางานต่อระยะเวลาที่ใช้ในการทางาน
นั่นคือ กาลัง =
เวลา
งาน
N.m/sP =
t
W
วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม
รหัส 2103 - 2112
หน่วยที่ 7 ระบบส่งกาลังทางกล 2 คาบ
ใบความรู้
เรื่อง 7 งาน กาลังงาน ประสิทธิภาพ
ของเครื่องกลและเครื่องผ่อนแรงชนิดต่าง ๆ
 ผู้สอน
 ผู้เรียน
กาหนดให้ W = งาน ( นิวตัน . เมตร = N.m )
t = เวลา ( วินาที = s )
P = กาลังงาน (นิวตัน . เมตร / วินาที = N.m /s )
แต่ W = FS
 N.m /s
แต่ ความเร็ว =
เวลา
ระยะทาง
v =
t
s
 P = v.F N.m /s
เมื่อ P = กาลัง มีหน่วยเป็นวัตต์ (W) หรือ จูล/วินาที ( s/J )
W = งานที่ทาได้มีหน่วยเป็น นิวตัน.เมตร(N.m) หรือ จูล (J)
F = แรงที่กระทา มีหน่วยเป็น นิวตัน (N)
s = ระยะทางที่เคลื่อนที่ได้ มีหน่วยเป็น เมตร (m)
v = ความเร็วของวัตถุ มีหน่วยเป็น เมตร/วินาที (m/s)
t = เวลาที่ใช้ในการทางาน มีหน่วยเป็นวินาที (s)
P =
t
SF
วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม
รหัส 2103 - 2112
หน่วยที่ 7 ระบบส่งกาลังทางกล 2 คาบ
ใบความรู้
เรื่อง 7 งาน กาลังงาน ประสิทธิภาพ
ของเครื่องกลและเครื่องผ่อนแรงชนิดต่าง ๆ
 ผู้สอน
 ผู้เรียน
หน่วยของกาลังงาน
1 N.m /s (นิวตัน . เมตร / วินาที) = 1 s/J (จูล/วินาที )
และ 1 s/J = 1 N.m /s = 1 W (วัตต์)
สาหรับระบบหน่วยอังกฤษ หน่วยของกาลัง จะเป็น ฟุต.ปอนด์/วินาที ( ft . lb /s ) หรือ กาลังม้า (Horse
Power ; hp)
โดยมี 1 hp = 550 ft . lb /s
= 55060 = 33000 ft . lb /min
เมื่อทาการเปรียบเทียบระหว่างหน่วยกาลังม้า และวัตต์ จะได้ว่า
1 กาลังม้า = 746 วัตต์ = 746
วินาที
.มนิวตัน
หรือ 1 hp = 746 W
ตัวอย่างที่ 7.2 จงหากาลังของปั้นจั่นตัวหนึ่งยกน้าหนัก 9.8 kN เคลื่อนที่ขึ้นด้วยความเร็วคงที่ โดยขึ้นสูงจาก
พื้น 2.5 m ใช้เวลา 15 s (วินาที )
วิธีทา จากสูตร P =
t
SF
F = 9.8 1000 = 9800 N (1 kN = 1000 N)
s = 2.5 m
t = 15 s (วินาที)
แทนค่า P =
15
5.29800
P = 1633.33 N.m /s
 กาลังของปั้นจั่น = 1633.33 N.m /s ตอบ
วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม
รหัส 2103 - 2112
หน่วยที่ 7 ระบบส่งกาลังทางกล 2 คาบ
ใบความรู้
เรื่อง 7 งาน กาลังงาน ประสิทธิภาพ
ของเครื่องกลและเครื่องผ่อนแรงชนิดต่าง ๆ
 ผู้สอน
 ผู้เรียน
3. ประสิทธิภาพของเครื่องกล (Efficiency of Machine ; η )
ประสิทธิภาพของเครื่องกล คือ อัตราส่วนระหว่างงานที่เครื่องกลทาออกมา (Work Output) กับงานที่ให้เข้าไป
แก่เครื่องกล ได้ตามสมการ
ประสิทธิภาพของเครื่องกล =
่่องกลให้กับเครืงานที่ป้อน
่่องกลทาได้งานที่เครื
η (อีต้า) =
i
o
P
P
โดยที่ η = ประสิทธิภาพของเครื่องกล
Po = งานที่เครื่องกลทาได้
Pi = งานที่ป้ อนให้กับเครื่องกล
งานที่เครื่องกลทาได้ จะน้อยกว่า งานที่ป้ อนให้กับเครื่องกลเสมอ ดังนั้น ประสิทธิภาพเครื่องกล (η ) จะต้อง
น้อยกว่า 1 เสมอ
( η 1 ) ประสิทธิภาพของเครื่องกลไม่มีหน่วย ซึ่งกาหนดในรูปของเปอร์เซ็นต์ได้ด้วย เช่น
η = 0.9 อาจบอกเป็นเปอร์เซ็นต์ คือ 90%
ตัวอย่างที่ 7.3 มอเตอร์ตัวหนึ่งใช้งาน 4 kW แต่ส่งกาลังเข้าเครื่อง 5 kW จงหาประสิทธิภาพของมอเตอร์ตัวนี้
วิธีทา จากสูตร η =
i
o
P
P
แทนค่า η =
5
4
= 0.8
 ประสิทธิภาพของมอเตอร์ = 0.8  100 = 80% ตอบ
วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม
รหัส 2103 - 2112
หน่วยที่ 7 ระบบส่งกาลังทางกล 2 คาบ
ใบความรู้
เรื่อง 7 งาน กาลังงาน ประสิทธิภาพ
ของเครื่องกลและเครื่องผ่อนแรงชนิดต่าง ๆ
 ผู้สอน
 ผู้เรียน
4. เครื่องผ่อนแรงชนิดต่าง ๆ
4.1 พื้นเอียงหรือพื้นลาด ( Inclined Plane) จัดได้ว่าเป็นเครื่องกลผ่อนแรงชนิดหนึ่ง ถึงแม้ว่าจะเป็นการเพิ่ม
ระยะทางให้มากขึ้นก็ตาม ถ้าไม่คิดความฝืดแล้ว งานที่ป้ อนให้กับเครื่องกล เท่ากับ งานที่เครื่องกลทาได้
งานบนพื้นเอียง = งานในแนวดิ่ง
แรงระยะทาง = น้าหนัก  ความสูง
F  L = W  h
เมื่อ F = แรง
L = ระยะทางลาด
W = น้าหนัก
h = ความสูง
ตัวอย่างที่ 7.4 พื้นลาดยาว 5 เมตร เข็นของหนัก 120 นิวตัน ขึ้นบนรถสูง 2 เมตร จงหาแรงที่ใช้เข็นของนี้
วิธีทา จากสูตร F  L = W  h
F = ? นิวตัน
L = 5 เมตร
W = 120 นิวตัน
h = 2 เมตร
แทนค่า F 5 = 1202
F =
5
2120
F = 48 นิวตัน
 แรงที่ใช้เข็นของ = 48 นิวตัน ตอบ
=
=
=
=
=
=
=
=
=
=
=
=
=
=
วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม
รหัส 2103 - 2112
หน่วยที่ 7 ระบบส่งกาลังทางกล 2 คาบ
ใบความรู้
เรื่อง 7 งาน กาลังงาน ประสิทธิภาพ
ของเครื่องกลและเครื่องผ่อนแรงชนิดต่าง ๆ
 ผู้สอน
 ผู้เรียน
4.2 สกรู (Screw)
สกรู คือ เครื่องกลผ่อนแรงที่มีลักษณะเป็นแท่งทรงกระบอกตัน มีเกลียวรอบตัว ลักษณะการทางานคล้ายกับ
พื้นเอียง คือ งานที่ทาเท่ากับงานที่ได้ ตัวอย่างงาน เช่น สกรูยึดงาน ปากกาจับงานแท่นอัดด้วยสกรู เป็นต้น การคานวณ
เกี่ยวกับสกรู ดังสมการ
งานที่กระทา = งานที่ได้รับ
แรงที่มือหมุนระยะทางที่มือหมุนๆ รอบ = แรงกดงานระยะพิต
F1  d = F2  t
F1 = แรงที่มือหมุน
d = ระยะทางที่มือหมุนรอบ = 2 rπ
F2 = แรงกดงาน
t = ระยะพิต หมายถึง ระยะห่างระหว่างยอดเกลียวหนึ่งถึง
เกลียวที่อยู่ถัดไปตามเกลียวนั้นๆ
ตัวอย่างที่ 7.5 ปากกาตัวหนึ่ง แกนเกลียวปากกามีระยะพิต 5 มม. ด้ามมือหมุนปากกามีรัศมียาว 220 มม.
จากจุดศูนย์กลางแกนเกลียว ออกแรงหมุน 50 นิวตัน จงหาแรงจับชิ้นงาน
F
วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม
รหัส 2103 - 2112
หน่วยที่ 7 ระบบส่งกาลังทางกล 2 คาบ
ใบความรู้
เรื่อง 7 งาน กาลังงาน ประสิทธิภาพ
ของเครื่องกลและเครื่องผ่อนแรงชนิดต่าง ๆ
 ผู้สอน
 ผู้เรียน
วิธีทา จากสูตร F1  d = F2  t
F1 = 50 นิวตัน
d = 2 rπ = 23.14220 = 1381.6 มม.
t = 5 มม.
F2 = ? N
แทนค่า 50 1381.6 = F2  5
F2 =
5
6.138150
= 13816 นิวตัน
 แรงจับชิ้นงาน = 13816 นิวตัน ตอบ
4.3 ล้อและเพลา (Wheel and Axle)
ล้อและเพลา เป็นเครื่องกลผ่อนแรงอีกชนิดหนึ่ง ที่ประกอบด้วยวัตถุทรงกระบอก ขนาดต่างกันสอง
อันติดกัน และหมุนรอบแกนหรือจุดศูนย์กลางของวงกลมร่วมกัน ซึ่ง
- ทรงกระบอกอันใหญ่ เรียกว่า ล้อ (Wheel)
- ทรงกระบอกอันเล็ก เรียกว่า เพลา (Axle)
ในการที่มีจุดศูนย์กลางร่วมกัน เวลาหมุนรอบแกน เมื่อล้อหมุน 1 รอบ เพลาก็จะหมุนไป 1 รอบด้วย
เครื่องกลประเภทล้อและเพลา ได้แก่ ล้อรถ พวงมาลัยรถยนต์ กว้านสมอเรือ ฯลฯ ใช้หลักการของโมเมนต์ในคาน
คานวณหาค่าต่าง ๆ ดังสมการ
แรง =
หมุนความยาวมือ
รัศมีเพลาที่ต้องการน้าหนักของ 
F =
1
2
r
rW
( N )
เมื่อ F = แรง
W = น้าหนักของที่ต้องการ
r2 = รัศมีเพลา
r1 = ความยาวของมือหมุน
วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม
รหัส 2103 - 2112
หน่วยที่ 7 ระบบส่งกาลังทางกล 2 คาบ
ใบความรู้
เรื่อง 7 งาน กาลังงาน ประสิทธิภาพ
ของเครื่องกลและเครื่องผ่อนแรงชนิดต่าง ๆ
 ผู้สอน
 ผู้เรียน
ตัวอย่างที่ 7.6 คว้านยกน้าหนักดังรูป เพลาขนาด 300 มม. มือหมุนยาว 400 มม. ยกของหนัก 500 นิวตัน
ต้องใช้แรงที่มือหมุนเท่าไร
วิธีทา จากสูตร F =
1
2
r
rW
W = 500 นิวตัน
r1 = 400 มม.
r2 =
2
300
= 150 มม.
แทนค่า F =
400
150500
= 187.5 นิวตัน
 จะต้องใช้แรงที่มือหมุน = 187.5 นิวตัน ตอบ
วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม
รหัส 2103 - 2112
หน่วยที่ 7 ระบบส่งกาลังทางกล 2 คาบ
ใบความรู้
เรื่อง 7 งาน กาลังงาน ประสิทธิภาพ
ของเครื่องกลและเครื่องผ่อนแรงชนิดต่าง ๆ
 ผู้สอน
 ผู้เรียน
4.4 เฟืองทด
เฟืองทด เป็นเครื่องกลผ่อนแรงอีกชนิดหนึ่ง เป็นลักษณะของเฟืองที่ขบกัน จะรับแรงโดยเฟืองส่งกาลังจะเกิด
แรงขึ้น เรียกว่า แรงขับเฟือง ใช้หลักการเดียวกับโมเมนต์ในคาน คานวณหาค่าต่าง ๆ ดังรูป
ดังนั้นจะได้
M1 =
2
dF 1
 F =
1
1
d
M2
M2 =
2
dF 2
 F =
2
2
d
M2
1
1
d
M
=
2
2
d
M
วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม
รหัส 2103 - 2112
หน่วยที่ 7 ระบบส่งกาลังทางกล 2 คาบ
ใบความรู้
เรื่อง 7 งาน กาลังงาน ประสิทธิภาพ
ของเครื่องกลและเครื่องผ่อนแรงชนิดต่าง ๆ
 ผู้สอน
 ผู้เรียน
เมื่อ M คือ โมเมนต์
จากสูตรของเฟือง d = mz
d คือ เส้นผ่านศูนย์กลางของวงกลมฟิต
แทนค่า
1
1
mz
M
=
2
2
mz
M
ค่า M คือ โมดุลของเฟืองและมีค่าเท่ากัน

1
1
mz
M
=
2
2
mz
M
เมื่อ M1 = โมเมนต์บิดของตัวขับ
M2 = โมเมนต์บิดของตัวตาม
z = จานวนฟัน
ตัวอย่างที่ 7.7 เครื่องยนต์เครื่องหนึ่งให้แรงบิดออกมา 55 N.m จงหาแรงบิดของเฟืองตาม เมื่อเฟืองขับ
= 15 ฟัน เฟืองตาม = 58 ฟัน
วิธีทา จากสูตร
1
1
Z
M
=
2
2
Z
M
M1 = 55 N.m
Z1 = 15 ฟัน
Z2 = 58 ฟัน
แทนค่า
15
55
=
58
M2
M2 =
15
5558
M2 = 212.67 kN.m
 แรงบิดของเฟืองตาม = 212.67 kN.m ตอบ
วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม
รหัส 2103 - 2112
หน่วยที่ 7 ระบบส่งกาลังทางกล 2 คาบ
ใบความรู้
เรื่อง 7 งาน กาลังงาน ประสิทธิภาพ
ของเครื่องกลและเครื่องผ่อนแรงชนิดต่าง ๆ
 ผู้สอน
 ผู้เรียน
1.5 รอก (Pulley)
รอก เป็นอุปกรณ์ผ่อนแรงแบบหนึ่ง ที่ใช้ในการยกน้าหนักมาก ๆ เพราะช่วยให้เกิดการทดแรงและ
ได้เปรียบเชิงกล เช่น การใช้รอกพวงในการยกของ นอกจากนี้ยังใช้เป็นส่วนประกอบกับอุปกรณ์อื่นๆอีก คือ เครน ชุด
กว้าน รอกมีลักษณะเป็นล้อกลม และตรงกลางมีแบริ่งรองรับเพื่อลดความฝืด และยังทาให้หมุนคล่องตัว ส่วนที่ขอบ
เซาะเป็นร่องไว้สาหรับใส่เชือก ลาก หรือ โซ่ผ่าน รอกแบ่งเป็น 3 ชนิด ได้แก่
1. รอกเดี่ยวอยู่กับที่ เป็นรอกที่ติดตั้งไว้เหนือบริเวณที่จะยกของขึ้น รอกนี้จะไม่ผ่อนแรงเลย แต่จะช่วย
อานวยความสะดวกในการทางานเท่านั้น ซึ่งจะได้ตามสมการ
แรงดึง = น้าหนัก
F = W
ระยะทางที่ดึง = ระยะทางน้าหนักเคลื่อนที่
S2 = S1
2. รอกเคลื่อนที่ (รอกหมุนรอบแกนและเคลื่อนที่) เป็นรอกที่ใช้ทดแรงได้ แต่ต้องนาไปใช้ร่วมกับรอกอยู่
กับที่เท่านั้น เส้นลวดที่ 1 และเส้นที่ 2 ที่ดึงน้าหนักขึ้น รับน้าหนัก อย่างละครึ่ง ดังรูป
แรงดึง =
2
น้าหนัก
F =
2
W
ระยะทางที่ดึง = 2 ระยะทางน้าหนักเคลื่อนที่
S2 = 2 S1
S2
วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม
รหัส 2103 - 2112
หน่วยที่ 7 ระบบส่งกาลังทางกล 2 คาบ
ใบความรู้
เรื่อง 7 งาน กาลังงาน ประสิทธิภาพ
ของเครื่องกลและเครื่องผ่อนแรงชนิดต่าง ๆ
 ผู้สอน
 ผู้เรียน
3. รอกพวง
รอกพวง คือ การใช้รอกเดี่ยวหลายๆตัวมารวมกัน และมีการจัดตัวรอกไว้ในลักษณะต่าง ๆ เพื่อช่วยให้
สามารถผ่อนแรงได้มากขึ้น เป็นรอกชุดประกอบด้วยรอกอยู่กับที่ และ รอกเคลื่อนที่ ช่วยทาให้ทุ่นแรง โดยที่เชือกแต่
ละเส้นจะแบ่งรับน้าหนักไปเท่า ๆ กัน ดังรูป
นั่นคือ แรงดึง =
ชือกที่ดึงจานวนเส้นเ
น้าหนัก
F =
n
W
ระยะทางที่ดึง = จานวนเส้นเชือกที่ดึง ระยะทางน้าหนักเคลื่อนที่
S2 = n S1
W
วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม
รหัส 2103 - 2112
หน่วยที่ 7 ระบบส่งกาลังทางกล 2 คาบ
ใบความรู้
เรื่อง 7 งาน กาลังงาน ประสิทธิภาพ
ของเครื่องกลและเครื่องผ่อนแรงชนิดต่าง ๆ
 ผู้สอน
 ผู้เรียน
ตัวอย่างที่ 7.8 รอกพวงชุดหนึ่งประกอบด้วยรอกอยู่กับที่ 2 ตัว รอกเคลื่อนที่ 2 ตัว มีน้าหนักแขวนอยู่
1,600 นิวตัน ยกขึ้นสูง 3 ม. จงหาแรงดึงที่ต้องใช้ และระยะทางที่ต้องดึงเชือกขึ้น
เฉลย วิธีทา จากสูตร F =
n
W
W = 1600 นิวตัน
n = 4 ตัว
F =
4
1600
นิวตัน
∴ แรงดึงที่ต้องใช้ = 400 นิวตัน ตอบ
จากสูตร S2 = n S1
n = 4 ตัว
S1 = 3 ม.
S2 = 4  3 = 12 ม.
∴ ระยะทางที่ต้องดึงเชือก = 12 ม. ตอบ

More Related Content

What's hot

02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องPongtep Treeone
 
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง การรักษาดุลยภาพในร่างกาย เล่มที่ 1 โครงสร้างที่ใช้ในก...
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง การรักษาดุลยภาพในร่างกาย เล่มที่ 1 โครงสร้างที่ใช้ในก...บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง การรักษาดุลยภาพในร่างกาย เล่มที่ 1 โครงสร้างที่ใช้ในก...
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง การรักษาดุลยภาพในร่างกาย เล่มที่ 1 โครงสร้างที่ใช้ในก...Suda Yung
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์แวมไพร์ แวมไพร์
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรงบทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรงThepsatri Rajabhat University
 
แรงลัพธ์
แรงลัพธ์แรงลัพธ์
แรงลัพธ์Kan Pan
 
พันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมพันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมTa Lattapol
 
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกลPhanuwat Somvongs
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันThepsatri Rajabhat University
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนkrupornpana55
 
แม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้าแม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้าTheerawat Duangsin
 
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่website22556
 
สนามของแรง
สนามของแรงสนามของแรง
สนามของแรงTaweesak Poochai
 
05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลังPhanuwat Somvongs
 
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่ายThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆThepsatri Rajabhat University
 

What's hot (20)

02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง การรักษาดุลยภาพในร่างกาย เล่มที่ 1 โครงสร้างที่ใช้ในก...
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง การรักษาดุลยภาพในร่างกาย เล่มที่ 1 โครงสร้างที่ใช้ในก...บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง การรักษาดุลยภาพในร่างกาย เล่มที่ 1 โครงสร้างที่ใช้ในก...
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง การรักษาดุลยภาพในร่างกาย เล่มที่ 1 โครงสร้างที่ใช้ในก...
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
 
หิน
หินหิน
หิน
 
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่งเฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรงบทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
 
พลังงาน (Energy)
พลังงาน (Energy)พลังงาน (Energy)
พลังงาน (Energy)
 
แรงลัพธ์
แรงลัพธ์แรงลัพธ์
แรงลัพธ์
 
พันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมพันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถม
 
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
แม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้าแม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้า
 
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัวแรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
 
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
 
สนามของแรง
สนามของแรงสนามของแรง
สนามของแรง
 
05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง
 
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
 

More from Pannathat Champakul (20)

เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯเค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
 
505
505505
505
 
407
407407
407
 
603
603603
603
 
602
602602
602
 
601
601601
601
 
600
600600
600
 
504
504504
504
 
503
503503
503
 
502
502502
502
 
501
501501
501
 
500
500500
500
 
406
406406
406
 
405
405405
405
 
404
404404
404
 
403
403403
403
 
402
402402
402
 
401
401401
401
 
400
400400
400
 
305
305305
305
 

7 1

  • 1. วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม รหัส 2103 - 2112 หน่วยที่ 7 ระบบส่งกาลังทางกล 2 คาบ ใบความรู้ เรื่อง 7 งาน กาลังงาน ประสิทธิภาพ ของเครื่องกลและเครื่องผ่อนแรงชนิดต่าง ๆ  ผู้สอน  ผู้เรียน เครื่องผ่อนแรง คนเราเข้าใจและใช้เครื่องผ่อนแรงกันมาตั้งแต่สมัยโบราณ ไม่ว่าจะเป็นการสร้างพีระมิด การขนส่งไม้ตาม แม่น้าลาคลอง การใช้สัตว์ทางานแทน เช่น การทานา การนวดข้าว การผ่อนแรงนั้นไม่ใช่ช่วยให้ลดแรงกระทา น้อยลงเท่านั้น เครื่องผ่อนแรง ยังหมายถึง การอานวยความสะดวกสบาย ด้วยการเคลื่อนย้ายสิ่งของ เช่น การยกน้า ยกภาชนะไปที่ไกล ๆ อาจใช้วิธีหาม การใช้สัตว์ลากแทน ใช้วัวเทียมเกวียนต่างๆ ในปัจจุบันการผ่อนแรงจะมี เครื่องมือ หรือ เครื่องจักรทางานแทนมากขึ้น เช่น การเดิน อาจใช้รถยนต์ รถจักรยาน รถจักรยานยนต์หรือเรือ เป็นเครื่องมือช่วยในการเดินและถึงที่หมายเร็วขึ้น การเคลื่อนย้ายสิ่งของอาจจะใช้แม่แรงไฮดรอลิก หรือ รถยก ทางาน แทนตัวเราก็ได้ ฉะนั้นเครื่องผ่อนแรงรอบตัวเรากาลังมีพัฒนาให้ดียิ่งขึ้น สะดวกสบายและประหยัดทั้งเวลา แรงงาน และพยายามใช้บุคคลให้น้อยลง การใช้เครื่องผ่อนแรง เพื่อช่วยอานวยความสะดวกต่อการทางาน จะพยายามหาพลังงานต่าง ๆ มาช่วย ทางานแทน เช่น พลังงานของลม พลังงานจากกระแสน้า พลังงานจากความร้อน เป็นต้น ต่อมาเมื่อมีการสร้าง ระบบไฟฟ้ าขึ้นมา พลังงานไฟฟ้ าจะเป็นพลังงานที่ใช้ทดแทน จะแบ่งออกเป็น 3 หมวดใหญ่ ๆ คือ พลังงานจาก ไฟฟ้า พลังงานจากความร้อนและพลังงานกล 1. งาน ( Work ) งาน คือ ผลของการออกแรงกระทาต่อวัตถุ แล้ววัตถุเคลื่อนที่ได้ระยะทางตามแนวแรง ดังนั้น ค่าของงาน หาได้จาก ผลคูณของแรงกับระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ในแนวของแรง นั่นคือ งาน = แรง  ระยะทางตามแนวแรง N.m ( นิวตัน.เมตร) กาหนดให้ W = งานที่ทาได้ มีหน่วยเป็นนิวตัน . เมตร (N.m) หรือ จูล F = แรงที่ทาให้วัตถุเคลื่อนที่ได้ มีหน่วยเป็นนิวตัน (N) (J) S = ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ในแนวแรง มีหน่วยเป็นเมตร (m) 1 Nm = 1 J (จูล) 1 J = 1 WS ( วัตต์ – วินาที ) W = F  S
  • 2. วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม รหัส 2103 - 2112 หน่วยที่ 7 ระบบส่งกาลังทางกล 2 คาบ ใบความรู้ เรื่อง 7 งาน กาลังงาน ประสิทธิภาพ ของเครื่องกลและเครื่องผ่อนแรงชนิดต่าง ๆ  ผู้สอน  ผู้เรียน หมายเหตุ งานจะไม่เกิดขึ้นเมื่อ - แรงเท่ากับศูนย์ ( F = 0 ) - ระยะทางเท่ากับศูนย์ ( S = 0 ) - แรงตั้งฉากกับระยะทาง ( F S ) ตัวอย่างที่ 7.1 รถเครนคันหนึ่ง ยกน้าหนัก 10 kN ยกขึ้นสูง 2.5 m จงหางาน วิธีทา จากสูตร W = F S โจทย์กาหนด แรงที่กระทาให้วัตถุเคลื่อนที่ ( F ) = 10 kN ( 1 kN = 1000 N ) = 10  1000 N = 10000 N ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ ( S ) = 2.5 m แทนค่า W = 10000 2.5 = 25000 N.m  งานที่รถเครนยกน้าหนัก = 25000 N.m ตอบ 2. กาลังงาน ( Power ) กาลังงาน เรียกสั้น ๆ ว่า กาลัง คือผลของการทางานต่อระยะเวลาที่ใช้ในการทางาน นั่นคือ กาลัง = เวลา งาน N.m/sP = t W
  • 3. วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม รหัส 2103 - 2112 หน่วยที่ 7 ระบบส่งกาลังทางกล 2 คาบ ใบความรู้ เรื่อง 7 งาน กาลังงาน ประสิทธิภาพ ของเครื่องกลและเครื่องผ่อนแรงชนิดต่าง ๆ  ผู้สอน  ผู้เรียน กาหนดให้ W = งาน ( นิวตัน . เมตร = N.m ) t = เวลา ( วินาที = s ) P = กาลังงาน (นิวตัน . เมตร / วินาที = N.m /s ) แต่ W = FS  N.m /s แต่ ความเร็ว = เวลา ระยะทาง v = t s  P = v.F N.m /s เมื่อ P = กาลัง มีหน่วยเป็นวัตต์ (W) หรือ จูล/วินาที ( s/J ) W = งานที่ทาได้มีหน่วยเป็น นิวตัน.เมตร(N.m) หรือ จูล (J) F = แรงที่กระทา มีหน่วยเป็น นิวตัน (N) s = ระยะทางที่เคลื่อนที่ได้ มีหน่วยเป็น เมตร (m) v = ความเร็วของวัตถุ มีหน่วยเป็น เมตร/วินาที (m/s) t = เวลาที่ใช้ในการทางาน มีหน่วยเป็นวินาที (s) P = t SF
  • 4. วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม รหัส 2103 - 2112 หน่วยที่ 7 ระบบส่งกาลังทางกล 2 คาบ ใบความรู้ เรื่อง 7 งาน กาลังงาน ประสิทธิภาพ ของเครื่องกลและเครื่องผ่อนแรงชนิดต่าง ๆ  ผู้สอน  ผู้เรียน หน่วยของกาลังงาน 1 N.m /s (นิวตัน . เมตร / วินาที) = 1 s/J (จูล/วินาที ) และ 1 s/J = 1 N.m /s = 1 W (วัตต์) สาหรับระบบหน่วยอังกฤษ หน่วยของกาลัง จะเป็น ฟุต.ปอนด์/วินาที ( ft . lb /s ) หรือ กาลังม้า (Horse Power ; hp) โดยมี 1 hp = 550 ft . lb /s = 55060 = 33000 ft . lb /min เมื่อทาการเปรียบเทียบระหว่างหน่วยกาลังม้า และวัตต์ จะได้ว่า 1 กาลังม้า = 746 วัตต์ = 746 วินาที .มนิวตัน หรือ 1 hp = 746 W ตัวอย่างที่ 7.2 จงหากาลังของปั้นจั่นตัวหนึ่งยกน้าหนัก 9.8 kN เคลื่อนที่ขึ้นด้วยความเร็วคงที่ โดยขึ้นสูงจาก พื้น 2.5 m ใช้เวลา 15 s (วินาที ) วิธีทา จากสูตร P = t SF F = 9.8 1000 = 9800 N (1 kN = 1000 N) s = 2.5 m t = 15 s (วินาที) แทนค่า P = 15 5.29800 P = 1633.33 N.m /s  กาลังของปั้นจั่น = 1633.33 N.m /s ตอบ
  • 5. วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม รหัส 2103 - 2112 หน่วยที่ 7 ระบบส่งกาลังทางกล 2 คาบ ใบความรู้ เรื่อง 7 งาน กาลังงาน ประสิทธิภาพ ของเครื่องกลและเครื่องผ่อนแรงชนิดต่าง ๆ  ผู้สอน  ผู้เรียน 3. ประสิทธิภาพของเครื่องกล (Efficiency of Machine ; η ) ประสิทธิภาพของเครื่องกล คือ อัตราส่วนระหว่างงานที่เครื่องกลทาออกมา (Work Output) กับงานที่ให้เข้าไป แก่เครื่องกล ได้ตามสมการ ประสิทธิภาพของเครื่องกล = ่่องกลให้กับเครืงานที่ป้อน ่่องกลทาได้งานที่เครื η (อีต้า) = i o P P โดยที่ η = ประสิทธิภาพของเครื่องกล Po = งานที่เครื่องกลทาได้ Pi = งานที่ป้ อนให้กับเครื่องกล งานที่เครื่องกลทาได้ จะน้อยกว่า งานที่ป้ อนให้กับเครื่องกลเสมอ ดังนั้น ประสิทธิภาพเครื่องกล (η ) จะต้อง น้อยกว่า 1 เสมอ ( η 1 ) ประสิทธิภาพของเครื่องกลไม่มีหน่วย ซึ่งกาหนดในรูปของเปอร์เซ็นต์ได้ด้วย เช่น η = 0.9 อาจบอกเป็นเปอร์เซ็นต์ คือ 90% ตัวอย่างที่ 7.3 มอเตอร์ตัวหนึ่งใช้งาน 4 kW แต่ส่งกาลังเข้าเครื่อง 5 kW จงหาประสิทธิภาพของมอเตอร์ตัวนี้ วิธีทา จากสูตร η = i o P P แทนค่า η = 5 4 = 0.8  ประสิทธิภาพของมอเตอร์ = 0.8  100 = 80% ตอบ
  • 6. วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม รหัส 2103 - 2112 หน่วยที่ 7 ระบบส่งกาลังทางกล 2 คาบ ใบความรู้ เรื่อง 7 งาน กาลังงาน ประสิทธิภาพ ของเครื่องกลและเครื่องผ่อนแรงชนิดต่าง ๆ  ผู้สอน  ผู้เรียน 4. เครื่องผ่อนแรงชนิดต่าง ๆ 4.1 พื้นเอียงหรือพื้นลาด ( Inclined Plane) จัดได้ว่าเป็นเครื่องกลผ่อนแรงชนิดหนึ่ง ถึงแม้ว่าจะเป็นการเพิ่ม ระยะทางให้มากขึ้นก็ตาม ถ้าไม่คิดความฝืดแล้ว งานที่ป้ อนให้กับเครื่องกล เท่ากับ งานที่เครื่องกลทาได้ งานบนพื้นเอียง = งานในแนวดิ่ง แรงระยะทาง = น้าหนัก  ความสูง F  L = W  h เมื่อ F = แรง L = ระยะทางลาด W = น้าหนัก h = ความสูง ตัวอย่างที่ 7.4 พื้นลาดยาว 5 เมตร เข็นของหนัก 120 นิวตัน ขึ้นบนรถสูง 2 เมตร จงหาแรงที่ใช้เข็นของนี้ วิธีทา จากสูตร F  L = W  h F = ? นิวตัน L = 5 เมตร W = 120 นิวตัน h = 2 เมตร แทนค่า F 5 = 1202 F = 5 2120 F = 48 นิวตัน  แรงที่ใช้เข็นของ = 48 นิวตัน ตอบ = = = = = = = = = = = = = =
  • 7. วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม รหัส 2103 - 2112 หน่วยที่ 7 ระบบส่งกาลังทางกล 2 คาบ ใบความรู้ เรื่อง 7 งาน กาลังงาน ประสิทธิภาพ ของเครื่องกลและเครื่องผ่อนแรงชนิดต่าง ๆ  ผู้สอน  ผู้เรียน 4.2 สกรู (Screw) สกรู คือ เครื่องกลผ่อนแรงที่มีลักษณะเป็นแท่งทรงกระบอกตัน มีเกลียวรอบตัว ลักษณะการทางานคล้ายกับ พื้นเอียง คือ งานที่ทาเท่ากับงานที่ได้ ตัวอย่างงาน เช่น สกรูยึดงาน ปากกาจับงานแท่นอัดด้วยสกรู เป็นต้น การคานวณ เกี่ยวกับสกรู ดังสมการ งานที่กระทา = งานที่ได้รับ แรงที่มือหมุนระยะทางที่มือหมุนๆ รอบ = แรงกดงานระยะพิต F1  d = F2  t F1 = แรงที่มือหมุน d = ระยะทางที่มือหมุนรอบ = 2 rπ F2 = แรงกดงาน t = ระยะพิต หมายถึง ระยะห่างระหว่างยอดเกลียวหนึ่งถึง เกลียวที่อยู่ถัดไปตามเกลียวนั้นๆ ตัวอย่างที่ 7.5 ปากกาตัวหนึ่ง แกนเกลียวปากกามีระยะพิต 5 มม. ด้ามมือหมุนปากกามีรัศมียาว 220 มม. จากจุดศูนย์กลางแกนเกลียว ออกแรงหมุน 50 นิวตัน จงหาแรงจับชิ้นงาน F
  • 8. วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม รหัส 2103 - 2112 หน่วยที่ 7 ระบบส่งกาลังทางกล 2 คาบ ใบความรู้ เรื่อง 7 งาน กาลังงาน ประสิทธิภาพ ของเครื่องกลและเครื่องผ่อนแรงชนิดต่าง ๆ  ผู้สอน  ผู้เรียน วิธีทา จากสูตร F1  d = F2  t F1 = 50 นิวตัน d = 2 rπ = 23.14220 = 1381.6 มม. t = 5 มม. F2 = ? N แทนค่า 50 1381.6 = F2  5 F2 = 5 6.138150 = 13816 นิวตัน  แรงจับชิ้นงาน = 13816 นิวตัน ตอบ 4.3 ล้อและเพลา (Wheel and Axle) ล้อและเพลา เป็นเครื่องกลผ่อนแรงอีกชนิดหนึ่ง ที่ประกอบด้วยวัตถุทรงกระบอก ขนาดต่างกันสอง อันติดกัน และหมุนรอบแกนหรือจุดศูนย์กลางของวงกลมร่วมกัน ซึ่ง - ทรงกระบอกอันใหญ่ เรียกว่า ล้อ (Wheel) - ทรงกระบอกอันเล็ก เรียกว่า เพลา (Axle) ในการที่มีจุดศูนย์กลางร่วมกัน เวลาหมุนรอบแกน เมื่อล้อหมุน 1 รอบ เพลาก็จะหมุนไป 1 รอบด้วย เครื่องกลประเภทล้อและเพลา ได้แก่ ล้อรถ พวงมาลัยรถยนต์ กว้านสมอเรือ ฯลฯ ใช้หลักการของโมเมนต์ในคาน คานวณหาค่าต่าง ๆ ดังสมการ แรง = หมุนความยาวมือ รัศมีเพลาที่ต้องการน้าหนักของ  F = 1 2 r rW ( N ) เมื่อ F = แรง W = น้าหนักของที่ต้องการ r2 = รัศมีเพลา r1 = ความยาวของมือหมุน
  • 9. วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม รหัส 2103 - 2112 หน่วยที่ 7 ระบบส่งกาลังทางกล 2 คาบ ใบความรู้ เรื่อง 7 งาน กาลังงาน ประสิทธิภาพ ของเครื่องกลและเครื่องผ่อนแรงชนิดต่าง ๆ  ผู้สอน  ผู้เรียน ตัวอย่างที่ 7.6 คว้านยกน้าหนักดังรูป เพลาขนาด 300 มม. มือหมุนยาว 400 มม. ยกของหนัก 500 นิวตัน ต้องใช้แรงที่มือหมุนเท่าไร วิธีทา จากสูตร F = 1 2 r rW W = 500 นิวตัน r1 = 400 มม. r2 = 2 300 = 150 มม. แทนค่า F = 400 150500 = 187.5 นิวตัน  จะต้องใช้แรงที่มือหมุน = 187.5 นิวตัน ตอบ
  • 10. วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม รหัส 2103 - 2112 หน่วยที่ 7 ระบบส่งกาลังทางกล 2 คาบ ใบความรู้ เรื่อง 7 งาน กาลังงาน ประสิทธิภาพ ของเครื่องกลและเครื่องผ่อนแรงชนิดต่าง ๆ  ผู้สอน  ผู้เรียน 4.4 เฟืองทด เฟืองทด เป็นเครื่องกลผ่อนแรงอีกชนิดหนึ่ง เป็นลักษณะของเฟืองที่ขบกัน จะรับแรงโดยเฟืองส่งกาลังจะเกิด แรงขึ้น เรียกว่า แรงขับเฟือง ใช้หลักการเดียวกับโมเมนต์ในคาน คานวณหาค่าต่าง ๆ ดังรูป ดังนั้นจะได้ M1 = 2 dF 1  F = 1 1 d M2 M2 = 2 dF 2  F = 2 2 d M2 1 1 d M = 2 2 d M
  • 11. วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม รหัส 2103 - 2112 หน่วยที่ 7 ระบบส่งกาลังทางกล 2 คาบ ใบความรู้ เรื่อง 7 งาน กาลังงาน ประสิทธิภาพ ของเครื่องกลและเครื่องผ่อนแรงชนิดต่าง ๆ  ผู้สอน  ผู้เรียน เมื่อ M คือ โมเมนต์ จากสูตรของเฟือง d = mz d คือ เส้นผ่านศูนย์กลางของวงกลมฟิต แทนค่า 1 1 mz M = 2 2 mz M ค่า M คือ โมดุลของเฟืองและมีค่าเท่ากัน  1 1 mz M = 2 2 mz M เมื่อ M1 = โมเมนต์บิดของตัวขับ M2 = โมเมนต์บิดของตัวตาม z = จานวนฟัน ตัวอย่างที่ 7.7 เครื่องยนต์เครื่องหนึ่งให้แรงบิดออกมา 55 N.m จงหาแรงบิดของเฟืองตาม เมื่อเฟืองขับ = 15 ฟัน เฟืองตาม = 58 ฟัน วิธีทา จากสูตร 1 1 Z M = 2 2 Z M M1 = 55 N.m Z1 = 15 ฟัน Z2 = 58 ฟัน แทนค่า 15 55 = 58 M2 M2 = 15 5558 M2 = 212.67 kN.m  แรงบิดของเฟืองตาม = 212.67 kN.m ตอบ
  • 12. วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม รหัส 2103 - 2112 หน่วยที่ 7 ระบบส่งกาลังทางกล 2 คาบ ใบความรู้ เรื่อง 7 งาน กาลังงาน ประสิทธิภาพ ของเครื่องกลและเครื่องผ่อนแรงชนิดต่าง ๆ  ผู้สอน  ผู้เรียน 1.5 รอก (Pulley) รอก เป็นอุปกรณ์ผ่อนแรงแบบหนึ่ง ที่ใช้ในการยกน้าหนักมาก ๆ เพราะช่วยให้เกิดการทดแรงและ ได้เปรียบเชิงกล เช่น การใช้รอกพวงในการยกของ นอกจากนี้ยังใช้เป็นส่วนประกอบกับอุปกรณ์อื่นๆอีก คือ เครน ชุด กว้าน รอกมีลักษณะเป็นล้อกลม และตรงกลางมีแบริ่งรองรับเพื่อลดความฝืด และยังทาให้หมุนคล่องตัว ส่วนที่ขอบ เซาะเป็นร่องไว้สาหรับใส่เชือก ลาก หรือ โซ่ผ่าน รอกแบ่งเป็น 3 ชนิด ได้แก่ 1. รอกเดี่ยวอยู่กับที่ เป็นรอกที่ติดตั้งไว้เหนือบริเวณที่จะยกของขึ้น รอกนี้จะไม่ผ่อนแรงเลย แต่จะช่วย อานวยความสะดวกในการทางานเท่านั้น ซึ่งจะได้ตามสมการ แรงดึง = น้าหนัก F = W ระยะทางที่ดึง = ระยะทางน้าหนักเคลื่อนที่ S2 = S1 2. รอกเคลื่อนที่ (รอกหมุนรอบแกนและเคลื่อนที่) เป็นรอกที่ใช้ทดแรงได้ แต่ต้องนาไปใช้ร่วมกับรอกอยู่ กับที่เท่านั้น เส้นลวดที่ 1 และเส้นที่ 2 ที่ดึงน้าหนักขึ้น รับน้าหนัก อย่างละครึ่ง ดังรูป แรงดึง = 2 น้าหนัก F = 2 W ระยะทางที่ดึง = 2 ระยะทางน้าหนักเคลื่อนที่ S2 = 2 S1 S2
  • 13. วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม รหัส 2103 - 2112 หน่วยที่ 7 ระบบส่งกาลังทางกล 2 คาบ ใบความรู้ เรื่อง 7 งาน กาลังงาน ประสิทธิภาพ ของเครื่องกลและเครื่องผ่อนแรงชนิดต่าง ๆ  ผู้สอน  ผู้เรียน 3. รอกพวง รอกพวง คือ การใช้รอกเดี่ยวหลายๆตัวมารวมกัน และมีการจัดตัวรอกไว้ในลักษณะต่าง ๆ เพื่อช่วยให้ สามารถผ่อนแรงได้มากขึ้น เป็นรอกชุดประกอบด้วยรอกอยู่กับที่ และ รอกเคลื่อนที่ ช่วยทาให้ทุ่นแรง โดยที่เชือกแต่ ละเส้นจะแบ่งรับน้าหนักไปเท่า ๆ กัน ดังรูป นั่นคือ แรงดึง = ชือกที่ดึงจานวนเส้นเ น้าหนัก F = n W ระยะทางที่ดึง = จานวนเส้นเชือกที่ดึง ระยะทางน้าหนักเคลื่อนที่ S2 = n S1 W
  • 14. วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม รหัส 2103 - 2112 หน่วยที่ 7 ระบบส่งกาลังทางกล 2 คาบ ใบความรู้ เรื่อง 7 งาน กาลังงาน ประสิทธิภาพ ของเครื่องกลและเครื่องผ่อนแรงชนิดต่าง ๆ  ผู้สอน  ผู้เรียน ตัวอย่างที่ 7.8 รอกพวงชุดหนึ่งประกอบด้วยรอกอยู่กับที่ 2 ตัว รอกเคลื่อนที่ 2 ตัว มีน้าหนักแขวนอยู่ 1,600 นิวตัน ยกขึ้นสูง 3 ม. จงหาแรงดึงที่ต้องใช้ และระยะทางที่ต้องดึงเชือกขึ้น เฉลย วิธีทา จากสูตร F = n W W = 1600 นิวตัน n = 4 ตัว F = 4 1600 นิวตัน ∴ แรงดึงที่ต้องใช้ = 400 นิวตัน ตอบ จากสูตร S2 = n S1 n = 4 ตัว S1 = 3 ม. S2 = 4  3 = 12 ม. ∴ ระยะทางที่ต้องดึงเชือก = 12 ม. ตอบ