SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 15
Descargar para leer sin conexión
1

แนวทางการดำ า เนิ น งานโครงการเสริ ม สร้ า งคุ ณ ธรรมในสถาน
                  ศึ ก ษา ปี ง บประมาณ ๒๕๕๔
   สำ า นั ก งานเขตพื ้ น ที ่ ก ารศึ ก ษาประถมศึ ก ษาเลย เขต ๒

      สำานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้จัดสรรงบ
ประมาณเพื่อดำาเนินงานใน กลยุทธ์ที่ 2
ปลูกฝังคุณธรรม ความสำานึกในความเป็นชาติไทย และวิถีชีวิตตามหลัก
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จากแผนงานขยายโอกาส และพัฒนาการ
ศึกษา งบดำาเนินงาน โดยสำานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ได้กำาหนดเป้าหมายความสำาเร็จ และตัวชี้วัดความสำาเร็จ ดังนี้

ท เป้ า หมายความสำ า เร็ จ          ตั ว ชี ้ ว ั ด ความสำ า เร็ จ
ีี
ี่
๑ ผู้เรียนทุกคนได้รับการพัฒนา       ๑. จำานวนผู้เรียนได้รับการ
   ให้มีคุณธรรม จิตสำานึกความ       พัฒนาให้มีจิตสำานึกเป็นไทย ยึด
   เป็นไทย                          มั่นในสถาบันชาติ ศาสนาและ
                                    พระมหากษัตริย์และการ
                                    ปกครองตามระบอบ
                                    ประชาธิปไตยอันมีพระมหา
                                    กษัตริย์ทรงเป็นประมุข
๒ ผู้เรียนมีคุณลักษณะที่พึง         ๒. ร้อยละผู้เรียนมีคุณลักษณะที่
  ประสงค์ตามหลักสูตรการศึกษา        พึงประสงค์ตามหลักสูตรการ
  ขั้นพื้นฐาน ไม่น้อยกว่าร้อยละ     ศึกษาขั้นพื้นฐาน
  ๘๐
๓ โรงเรียนทุกโรงจัดกิจกรรมเสริม     ๓.๑ จำานวนโรงเรียนที่จัด
  สร้างคุณธรรม จริยธรรม ความ        กิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม
  สำานึกในความเป็นชาติไทยและ        ความสำานึกในความเป็นชาติ
  วิถีชีวิตตามหลักปรัชญา            ไทยและวิถีชีวิตตามหลัก
  เศรษฐกิจพอเพียง                   ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
                                    ๓.๒ จำานวนโรงเรียนที่จัด
                                    กิจกรรมตามหลักปรัชญาของ
                                    เศรษฐกิจพอเพียงเป็นโรงเรียน
                                    พอเพียงต้นแบบ
๔ ผู้เรียนทุกคนได้รับการพัฒนา       ๔. จำานวนผู้เรียนได้รับการ
  ทักษะการดำารงชีวิตที่มีคุณภาพ     พัฒนาทักษะการดำารงชีวิตที่มี
  ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอ           คุณภาพตามหลักปรัชญาของ
  เพียง                             เศรษฐกิจพอเพียง
             ดังนั้นเพื่อให้การดำาเนินงาน บรรลุตามเป้าหมายความสำาเร็จ
สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต ๒ จึงได้จัดทำา
โครงการส่งเสริมคุณธรรมในสถานศึกษาโดยใช้งบประมาณที่ได้รับ
จัดสรรโดยดำาเนินการดังนี้
      ๑. สำ า นั ก งานเขตพื ้ น ที ่ ก ารศึ ก ษาประถมศึ ก ษา
             ๑.๑ จัดทำาโครงการส่งเสริมคุณธรรมระดับเขตพื้นที่การ
ศึกษา
             ๑.๒ จัดตั้งแม่ข่ายโรงเรียนวิถีพุทธชั้นนำาและเครือข่าย
โรงเรียนวิถีพุทธชั้นนำา
             ๑.๔ จัดทำาแนวทางการส่งเสริมคุณธรรมในสถานศึกษาเพื่อ
ขอรับงบประมาณ
             ๑.๕ แจ้งประชาสัมพันธ์ให้โรงเรียนดำาเนินโครงการส่งเสริม
คุณธรรมในสถานศึกษา
2

         ๑.๖ พิจารณา จัดสรรงบประมาณให้โรงเรียนดำาเนิน
โครงการคุณธรรมในสถานศึกษา
         ๑.๗ นิเทศกำากับติดตามการดำาเนินงานโครงการของ
โรงเรียน
         ๑.๘ จัดการประกวดโครงงานคุณธรรม
         ๑.๙ จัดเวทีและเปลี่ยนเรียนรู้
         ๑.๑๐ สรุปรายงานผลการดำาเนินงานระดับเขตพื้นที่การ
ศึกษาประถมศึกษา
     ๒ . ก า ร ด ำา เ น ิ น ก า ร ร ะ ด ั บ โ ร ง เ ร ี ย น
           ๒.๑ โรงเรียนเสนอโครงการตามแบบฟอร์มโครงการที่กำาหนด
เพื่อขออนุมัติดำาเนินการ โดยดำาเนินการให้สอดคล้องกับเป้าหมายความ
สำาเร็จ และตัวชี้วัดความสำาเร็จ ตามกลยุทธ์ที่ ๒ (งบประมาณโครงการละ
๑๒,๐๐๐ บาท) คณะกรรมการระดับเขตพื้นที่พิจารณาโครงการและ
จัดสรรงบประมาณตามความเหมาะสม โรงเรียนสามารถเลือก โรงเรียน
เสนอโครงการฯตามกิจกรรมที่กำาหนดดังนี้
                   ๒.๑.๑ ศูนย์การเรียนรู้พุทธศาสนา สร้างจิตอาสา
ชุมชน (ศูนย์ GIVE & TAKE) โครงงานคุณธรรม
                   ๒.๑.๒ โครงงานคุณธรรมสำานึกดี CSR (Corporate
Social Responsibility CSR)
                   ๒.๑.๓ ค่ายโต๊ะครู
                   ๒.๑.๔ โครงการคุณธรรม
                   ๒.๑.๕ ๒๙ ประการสู่ความเป็นโรงเรียนวิถีพุทธ
                                           ฯลฯ
            ๒.๒. โรงเรียนดำาเนินการ ๓ กิจกรรม อย่างน้อยกิจกรรรมละ
๑ ครั้งต่อเดือน ดังนี้
                  ๒.๒.๑ ศูนย์การเรียนรู้พุทธศาสนา สร้างจิตอาสาชุมชน
(ศูนย์ GIVE & TAKE)
                  ๒.๒.๒ โครงงานคุณธรรมสำานึกดี CSR และโครงงาน
คุณธรรมเยาวชนไทยทำาดี ถวายในหลวง
                  ๒.๒.๓ กิจกรรม ค่ายพระ(โต๊ะครู) ครู ผู้ปกครอง
                  ๒.๓. ประชุมปรึกษาร่วมกันทุกคนในโรงเรียน รวมทั้ง
ตัวแทนทางศาสนาและชุมชน กำาหนดบทบาทหน้าที่ของแต่ละฝ่ายให้
ครอบคลุม
                  ๒.๔. เก็บข้อมูล รูปภาพ และปัญหาอุปสรรคก่อนการ
ดำาเนินการ ระหว่างดำาเนินการ และหลังการดำาเนินการ
                  ๒.๕. ประชุมหารือ ทำา AAR อย่างน้อยเดือนละ ๑ ครั้ง
ต่อเนื่อง
                  ๒.๖. รายงานข้อมูลดำาเนินการแก่สำานักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศึกษาเลย
เขต ๒
3




                                  รายละเอียดกิจกรรม
       โ ค ร ง ก า ร เ ส ร ิ ม ส ร ้ า ง ค ุ ณ ธ ร ร ม ใ น ส ถ า น ศ ึ ก ษ า ปี ๒ ๕ ๕ ๔

กิ จ ก ร ร ม ท ี ่ ๑ ศ ู น ย ์ ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้ พ ุ ท ธ ศ า ส น า ส ร ้ า ง จ ิ ต อ า ส า
ชุ ม ช น (ศ ู น ย ์ G IVE & TA KE )
         วิธีดำาเนินการ นักเรียนเป็นผู้สื่อข่าวสารข้อมูลของคนในเขต
บ้านของนักเรียน ว่าใครควรได้รับการช่วยเหลืออะไร อย่างไร เมื่อไร
ต้องการใครมาช่วยบ้างและแจ้งข้อมูลไว้ พร้อมกันนั้นให้ทำารายการว่า
วัน เดือนใด จะมีการออกหน่วยเคลื่อนที่เพื่อไปให้ความช่วยเหลือ (
อย่างน้อยเดือนละ ๑ ครั้ง) หาอาสาสมัคร มีการนัดหมายบุคลากร และ
วัสดุอุปกรณ์ครบครัน เพื่อดำาเนินการหลังการดำาเนินการให้มีการถอด
ประสบการณ์ ทบทวนเรื่องที่ทำา และเรื่องที่ควรปรับปรุง อนึ่งการทำางาน
ในศูนย์ ต้องมีข้อตกลงสำาคัญ คือ ไม่รับค่าตอบแทน ไม่รับค่าพาหนะ
ให้นำาอาหาร นำ้าดื่มไปรับประทานเอง อีกทั้งอาจร่วมบริจาคเงิน และ
สิ่งของที่จำาเป็น
               ตั ว อ ย ่ า ง ก ิ จ ก ร ร ม ศ ู น ย ์ ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้ พ ุ ท ธ ศ า ส น า ส ร ้ า ง
จิ ต อ า ส า ช ุ ม ช น
                ๑.Sharing Bank หรือ ธนาคารแบ่งปัน
                ๒.จิตอาสารักษาวัฒนธรรมไทยภูมิปัญญาท้องถิ่น
                ๓.จิตอาสาในโรงพยาบาล
                ๔. ครูอาสาน้อย
                ๕.จิตอาสาป้องกันยาเสพติด
                ๖. จิตอาสาเผยแผ่ศาสนา
                ๗.จิตอาสาสื่อคุณธรรม
                ๘.จิตอาสาวิทยาศาสตร์เพื่อท้องถิ่น
                ๙.จิตอาสาอนุรักษ์ธรรมชาติ
                ๑๐.สวดสรภัญญะ/ประกวดสวดสรภัญญะ
                ๑๑. แผนที่คนดี/ธนาคารคนดี
                          ฯลฯ

กิ จ ก ร ร ม ท ี ่ ๒ โ ค ร ง ง า น ค ุ ณ ธ ร ร ม ส ำ า น ึ ก ด ี CSR (Corporate Social
Responsibility CSR)
          หมายถึง การจัดค่ายบนฐานคิดคุณธรรม ให้นักเรียนได้ลงมือ
กระทำาสิ่งใดสิ่งหนึ่ง อันแสดงความเป็นจิตอาสา รับผิดชอบต่อสังคม ได้
คุณค่ามากกว่ามูลค่า ไม่เอาเปรียบ เบียดเบียน รักษาสิ่งแวดล้อม เพื่อ
ความสงบสุขของส่วนรวม
          วิธีดำาเนินการ ศึกษาทำาความเข้าใจ CSR บูรณาการความคิด
เชิงธุรกิจ เศรษฐกิจพอเพียงกับคุณธรรม นักเรียนคิดหาธุรกิจเพื่อผลิต
และจำาหน่าย ภายใต้กระบวนการทำาธุรกิจอย่างฉลาด เรียนรู้หลัก
เศรษฐศาสตร์ และเจือด้วยหลักธรรมทั้งในส่วนการผลิตและใน
กระบวนการทำางานของผู้ผลิต ตั้งเป้าหมายผลการดำาเนินงานใน
โรงเรียนในวงที่กว้างขึ้น เช่นการคิดผลิตนำ้าสมุนไพรขายแทนนำ้าอัดลม
ซึ่งธุรกิจที่ผลิตต้องไม่เป็นการเพิ่มขยะ และหมุนเป็นวัฏจักรคุณธรรม
4

โดยควรให้ทุกโรงเรียนมีค่ายและดำาเนินการธุรกิจคุณธรรม อย่างน้อย ๑
โครงงาน (ระยะเวลาไม่น้อยกว่า ๓ เดือน) แล้วนำาผลกำาไรจากโครงงาน
คุณธรรมสำานึกดี CSR สนับสนุนการทำาความดีในโครงงานคุณธรรม
เยาวชนไทยทำาดี ถวายในหลวง (ทำาไปพร้อมกันทั้ง ๒ โครงงาน)


      ตั ว อ ย ่ า ง ก ิ จ ก ร ร ม โ ค ร ง ง า น ค ุ ณ ธ ร ร ม ส ำ า น ึ ก ด ี C S R
( C orporate s ocial R es pons ibility )
                    ๑. การผลิตนำ้าสมุนไพรขายแทนนำ้าอัดลม
               2. การผลิตนำ้ายาล้างจาน
               3. การผลิตผลิตภัณฑ์ในท้องถิ่น
               4. การผลิตสิ่งของต่างๆจากวัสดุเหลือใช้
               5. การผลิตแชมพูจากพืชสมุนไพรพื้นบ้าน
               6. การเลี้ยงสัตว์อย่างพอเพียง
               7. การช่วยเหลือสังคมในด้านการศึกษา สาธารณสุข สิง
                                                              ่
                  แวดล้อม ด้านจิตใจ
               8. การ RECYCLE นำามาใช้ประโยชน์
               9. โครงงานคุณธรรมเยาวชนไทยทำาดี ถวายในหลวง

กิ จ ก ร ร ม ท ี ่ ๓ ค่ า ย พ ร ะ (โ ต ๊ ะ ค ร ู ) ค ร ู ผ ู ้ ป ก ค ร อ ง
        วิธีดำาเนินการ ประสานงาน ๓ ฝ่าย ทั้งบ้าน วัด (มัสยิด)
โรงเรียน วางแผนดูแลนักเรียนด้วยความรักเมตตา มากกว่าการตรวจ
ตราจับกุม อาจจัดกิจกรรมผู้ปกครองอาสา วางแผนการดูแลนักเรียน
ด้วยกันอย่างเป็นระบบ มีจุดเน้นที่ให้นักเรียนมีสติ ระลึกรู้บาป บุญ คุณ
โทษ รู้สิทธิ และหน้าที่ มีจิตสำานึกความเป็นไทย สร้างศรัทธาและ
ปัญญาในความดี ด้วยกระบวนการ รับรู้ ได้ประโยชน์ เห็นคุณค่า จัด
ระบบ และเป็นนิสัย
       ตั ว อ ย ่ า ง ก ิ จ ก ร ร ม ค ่ า ย พ ร ะ (โ ต ๊ ะ ค ร ู ) ค ร ู ผู ้ ป ก ค ร อ ง
              ๑. ค่ายคุณธรรม / ค่ายจริยธรรมอิสลาม
          2. ค่ายจิตอาสาสำานึกความเป็นไทยนักเรียน
          3. ค่ายคุณธรรมสำาหรับครูผู้ปกครอง
          4. ค่ายธรรมะสำาหรับพระ หรือ โต๊ะครู(ศาสนาอิสลาม)
          5. กิจกรรมขยับกายสบายชีวี วิถีไทย
          6. กิจกรรมสร้างจิต พิชิตยาเสพติด
          7. ครอบครัวเข้มแข็ง
          8. กิจกรรมเยี่ยมบ้านกิจกรรมผู้ปกครองชั้นเรียน
          9. เพื่อนช่วยเพื่อน ( YC : Touch Counselor )
          10. ทักษะชีวิต : การเสริมสร้างความเข้มแข็งทางใจ
          11. กิจกรรมรณรงค์ต่อต้านปัญหายาเสพติด TO BE NUMBER
              ONE
              ๑๒. สภานักเรียน : ธรรมาธิปไตยในโรงเรียน
              ๑๓. กิจกรรมสร้างสรรค์ ด้านกีฬา ดนตรี ศิลปะ ฯลฯ ทั่วไป
   เช่น มหกรรมวิชาการ 3 D มุมสื่อสร้างสรรค์
              ๑๔. 3D ในห้องเรียน/โรงเรียน
                            ฯลฯ
5


กิ จ กรรมที ่ ๔ โครงงานคุ ณ ธรรม (Moral Project)
      โครงงานคุณธรรม หรือโครงงานความดี เป็นนวัตกรรมการเรียนรู้ที่
ส่งเสริมการทำาความดีมีคุณธรรมแบบเชิงรุก โดยให้ผู้เรียนที่เป็นเด็กและ
เยาวชนเกิดความรู้สึกเป็นเจ้าของกิจกรรมการเรียนรู้นี้เอง ผ่านเทคนิควิธี
การเรียนรู้แบบโครงงาน (Project Approach) โดยประเด็นที่เลือกทำา
โครงงานนั้นเกิดขึ้นมาจากความสนใจและความคิดริเริ่มของผู้เรียนเอง
เน้นการเรียนรู้ผ่านการปฏิบัติงานจริง ด้วยความพากเพียรพยายามอย่าง
จดจ่อต่อเนื่องในช่วงระยะเวลาที่ยาวนานพอสมควร (ต้องทำางานจริงไม่
น้อยกว่า ๒ เดือน) ในลักษณะวิจัยปฏิบัติการ (action research) นำาไปสู่
การแก้ไขปัญหาด้านความเสื่อมทรามทางศีลธรรม และส่งเสริมการบ่ม
เพาะความดีมีคุณธรรมอย่างเป็นรูปธรรมและเป็นระบบ รวมทั้งการขยาย
ความมีส่วนร่วมไปสู่บุคคลต่างๆ ในสถานศึกษาและชุมชนของตนเองหรือ
ชุมชนอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง

                ขั ้ น ตอนในการทำ า โครงงานคุ ณ ธรรม

          ขั ้ น ตอนที ่ ๑ การตระหนักรู้และพิจารณาเลือกหัวเรื่องหรือ
ประเด็นปัญหา
          ขันตอนนี้เป็นขั้นตอนที่สำาคัญที่สุด ที่ต้องอาศัยภาวะการตระหนักรู้
            ้
ในสถานการณ์หรือสภาพปัญหาด้วยสติปัญญา หรือภาวะที่มีแรงบันดาลใจ
ที่จะทำาสิ่งดีงามอะไรบางอย่างที่เป็นความฝันหรืออุดมคติ ซึ่งอาจจะเกิด
จากผู้เรียนเองโดยตรง หรืออาจจะเกิดจากการแนะนำาหรือชี้ชวนจากครูที่
ปรึกษาหรือผู้อื่นที่เป็นเงื่อนไขภายนอก มากระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความ
ตระหนักรู้หรือแรงบันดาลใจขึ้นก็ได้
          การสร้ า งความตระหนั ก รู้ นั้ น เป็ น ขั้ น ตอนที่ ย าก เพราะโดยทั่ ว ไป
สภาพการณ์ที่เป็นปัญหาต่างๆ นั้นมักจะเกิดขึ้นอยู่แล้ว แต่มักจะถูกละเลย
มองข้าม หรือชาชินเคยชินจนมองไม่เห็นปัญหา หรือไม่รู้สึกว่าตนเองมี
ส่วนเกี่ยวข้องกับปัญหานั้นอย่างไรในทำา นอง “เส้ น ผมบั งภูเขา” หรือ “
ปลาอยู่ ใ นนำ้า มองไม่ เ ห็ น นำ้า ” จึ ง ต้ อ งอาศั ย เหตุ ปั จ จั ย ภายนอก จาก
กัลยาณมิตรที่กระตุ้นปัจจัยภายในใจของผู้ เรี ยนได้ถูกตรงกับ จริต นิสั ย
ในเงื่อนไขสถานการณ์แวดล้อม และจังหวะเวลาที่พอเหมาะพอดี จนเกิด
ฉันทะร่วมกันที่จะรวมกันเป็นกลุ่มเพื่อดำาเนินการโครงงาน
          กิ จ กรรมแนะนำ า สำ า หรั บ ครู ท ี ่ ป รึ ก ษา
          ครูที่ปรึกษาอาจวางเงื่อนไขเบื้องต้นจากการให้ผู้เรียนสำารวจและ
สังเกตสภาพปัญหาต่างๆ จากเพื่อนนักเรียน ปัญหาที่พบเห็นในห้องเรียน
โรงเรียน วัด และชุมชน แล้วช่วยกันระดมความคิดต่อปัญหาที่เกิดขึ้นให้
ได้มากที่สุด แล้วมาอภิปรายกันในกลุ่มใหญ่หรือกลุ่มย่อยก็ได้ (อาจทำาให้
สนุกในลักษณะโต้วาทีหรือยอวาทีก็ได้) เพื่อเลือกประเด็นปัญหาที่มีความ
สนใจ หรืออยากจะแก้ปัญหานั้นมากที่สุด เพื่อนำามาตั้งเป็นประเด็น
สำาหรับทำาโครงงาน
          คำ า แนะนำ า เพิ ่ ม เติ ม (Tip)
          ความดี หรือ ประเด็นที่เลือกมาทำาโครงงานนั้นมีที่มา ๒ ลักษณะ
ด้วยกัน คือ ผู้เรียนเริ่มคิดจาก (๑) ปั ญ หาที ่ อ ยากแก้ หรือจาก (๒) สิ ่ ง
ดี ท ี ่ อ ยากทำ า จากประสบการณ์พบว่าผู้เรียนที่เริ่มคิดจากความดีที่อยาก
ทำาก่อนนั้นมักยังมองแบบผิวเผิน ความคิดความเข้าใจยังไม่หยั่งรากลึก
ความจริงแล้วแม้เป็นความดีที่อยากทำาก็ตาม หากย้อนคิดพิจารณาให้ดีก็
จะพบว่าสิ่งดีที่อยากทำานั้นต้องช่วยแก้ไขหรือปรับปรุงอะไรให้ดีขึ้นสัก
อย่างหนึ่งแน่ ครูที่ปรึกษาก็ต้องช่วยกระตุ้นชี้ชวนให้ผู้เรียนได้ย้อนคิด
พิจารณากลับไปที่ประเด็นปัญหาให้ได้ เช่น หากเด็กเริ่มต้นด้วยความคิด
อยากปลูกต้นไม้ขึ้นมาลอยๆ ครูที่ปรึกษาอาจต้องถามให้ย้อนคิดไปว่า
ทำาไมหรือถึงต้องปลูกต้นไม้? ปลูกที่ไหน? เพราะอะไรจึงต้องปลูกที่นี่?
ปลูกต้นไม้มันช่วยแก้ปัญหาอะไรหรือ? หรือมันช่วยทำาให้อะไรดีขึ้นบ้าง?
6

ถ้าผู้เรียนช่วยกันคิดและตอบปัญหาเหล่านี้ได้ ก็จะได้ประเด็นปัญหาที่
ชัดเจนสำาหรับการนำามาตั้งเป็นประเด็นทำาโครงงาน
            ขั ้ น ตอนที ่ ๒ การรวบรวมประมวลข้อมูลและองค์ความรู้ที่
เกี่ยวข้อง
            เมื่ อ สมาชิ ก ทุ ก คนในกลุ่ ม เห็ น พ้ อ งกั น และตั ด สิ น ใจเลื อ กประเด็ น
ปัญหาหรือหัวเรื่องได้แล้ว และได้รับความเห็นชอบจากที่ปรึกษาแล้ว ก็จะ
เป็นขั้นตอนของการระดมความคิดวางแผนงานในเบื้องต้น โดยเริ่มจาก
การร่วมกันพิจารณาวิเคราะห์สภาพปัญหาแล้วสืบสาวไปหาสาเหตุและ
ปัจจัยร่วมต่างๆ การวางเป้าหมายและวิธีการแก้ปัญหา แล้วประมวลสิ่งที่
วิ เ คราะห์ ได้ ทำา เป็ น ผ ั ง ม โ น ท ั ศ น ์ ในขั้ น ตอนนี้ จ ะพบว่ ายั ง มี ข้ อ มู ล ของ
สภาพปัญหาและปัจจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้องไม่เพียงพอหรือยังมีรายละเอียดที่
ไม่ ชั ด เจน ตั ว แปรสนั บ สนุ น และองค์ ค วามรู้ ต่ า งๆ ที่ จ ะนำา มาใช้ ใ นการ
วางแผนแก้ปัญหาก็ยังมีไม่ครบถ้วนหรือยังไม่ชัดเจนเป็นต้น จึงต้องมีการ
รวบรวมข้ อ มู ล และองค์ ค วามรู้ เ พิ่ ม เติ ม (ซึ่ งอาจจะได้ ม าจากการสำา รวจ
โดยละเอียดหรือประมาณการโดยคร่าวๆ ก็ได้) จากการพบปะสนทนาขอ
ความร่วมมือจากบุคคลต่างๆ และจากการค้นคว้าหาความรู้จากหนังสือ
ตำาราและแหล่งเรียนรู้ต่างๆ แล้วนำาข้อมูลที่รวบรวมได้ทั้งหมดมาประมวล
เพื่อจัดเตรียมสำาหรับคิดวางแผนทำาร่ า งโครงงาน ต่อไป
            กิ จ กรรมแนะนำ า สำ า หรั บ ครู ท ี ่ ป รึ ก ษา
              - สำาหรับนั ก เรี ย นระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษา จากการระดมความคิดใน
   ขันตอนที่ ๑ แล้วเลือกมา ๑ อย่างนั้น ครูที่ปรึกษาควรให้ผู้เรียนช่วยกัน
      ้
   ระดมความคิดกันต่อเพื่อตอบคำาถาม ๕ ข้อต่อไปนี้
                           ๑. “ ปัญหา” ที่เลือกเป็นประเด็นเริ่มต้นทำาโครงงาน คือ
            อะไร? ระบุสภาพปัญหาให้ชัดเจน
        (ปัญหา มักเป็นสภาพการณ์ที่ผิดปกติ ไม่ดี ไม่น่าพอใจ หรือเป็น
            พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ พฤติกรรมที่ผิด
        ศีลธรรม/ กฎระเบียบ หรือผิดจากมารยาทที่ถูกต้อง เป็นต้น)
                           ๒. ปัญหานั้นมี “ สาเหตุ” มาจากอะไร? วิเคราะห์ร่วม
            กันต่อว่าอะไรเป็นสาเหตุต้นตอที่
        แท้จริง อะไรเป็นปัจจัยร่วม? อะไรเป็นปัจจัยแวดล้อมภายนอก อะไร
            เป็นปัจจัยภายใน
                           ๓. “ เป้าหมาย” ของการแก้ปัญหาคืออะไร? ควรให้ช่วย
            กันเริ่มคิดจากการวางเป้าหมายระยะ
        สั้น-ระยะกลางก่อน โดยเริ่มจากการช่วยกันระบุเป้าหมายเชิงปริมาณ
            ว่าเกี่ยวข้องกับบุคคลหรือสิ่งของ
        แวดล้อมใดบ้าง? จำานวนหรือปริมาณเท่าใด? มีขอบเขตระยะเวลา –
            พื้นที่การทำางานเท่าใด? แล้วช่วยกัน
        ตั้ง เป้าหมายเชิงคุณภาพ ว่าต้องการให้กลุ่มเป้าหมายเกิดพฤติกรรมที่
            พึงประสงค์อย่างไรบ้าง? ให้เกิดการ
        พัฒนาจิตใจ หรือพัฒนาปัญญาอย่างไรบ้าง? หรือให้เกิดสิ่งของ/
            สภาพแวดล้อมที่พึงประสงค์อย่างไรบ้าง?
                           ๔. “ ทางแก้” หรือวิธีการดำาเนินงาน เพื่อไปสู่เป้าหมาย
            นั้น มีแผนงาน อย่างไรบ้าง? ให้ช่วยกัน
        วางแผนการทำางานที่จะสามารถทำาได้ทั้ง ๒ ระยะ ทั้งเฉพาะหน้าใน
            ระยะเวลา ๓ เดือนในช่วงเทอม ๑ และ
        ระยะที่ ๒ ในช่วงเทอม๒ อีกประมาณ ๓ – ๔ เดือน
                           ๕. การดำาเนินงานโครงงานดังกล่าวนั้น มีการใช้ “ หลัก
            ธรรมและแนวพระราชดำาริ”อะไรบ้าง?*
        หากผู้เรียนยังจำาหัวข้อธรรมะที่แน่นอนไม่ได้ หรือจำาพระราชดำารัสที่
            ถูกต้องไม่ได้ ก็ให้ใช้ถ้อยคำาง่ายๆ ที่
        อธิบายให้เข้าใจได้แทนไปก่อน แล้วไปค้นคว้าเพิ่มเติมต่อในภายหลัง
            ก็ได้)
                    - เมื่อตอบคำาถาม ๕ ข้อนี้ได้แล้ว ก็ให้ประมวลสรุปนำาเสนอใน
รูปแบบของผังมโนทัศน์ ที่มหัวข้อดังนี้ ี
7

                        ๐ ชื่อโครงงาน, ชื่อกลุ่ม, ชื่อโรงเรียน
                        ๐ วาดภาพประกอบโครงงาน ที่แสดงออกถึงความคิด
        สร้างสรรค์
                      ๐ ปัญหาที่เลือกทำาโครงงาน
                      ๐ สาเหตุของปัญหา
                      ๐ เป้าหมาย (เชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ)
                      ๐ ทางแก้ (วิธีการหรือกิจกรรมที่เป็นขั้นตอนเรียงข้อ)
                      ๐ หลักธรรม/ พระราชดำาริ/ พระราชดำารัส ที่นำามาใช้
                 - สำา หรั บ นั ก เรี ย นระดั บ ประถมศึ ก ษานั้ น เน้ น แค่ ใ ห้ เ ด็ ก
   สามารถคิ ด การใหญ่ (Think Big) คิ ด เป็ น ขั้ น ตอนได้ ก็ เ พี ย งพอแล้ ว
   ส่วนการคิดวิเคราะห์อย่างนักเรียนมัธยมนั้นถือว่าเป็นการต่อยอด เวลา
   ตั้ ง คำา ถามสามารถอนุ โ ลมให้ ใ ช้ คำา ถาม ๕ คำา ถามเหมื อ นของระดั บ
   มั ธ ยมก็ ไ ด้ แต่ เ ด็ ก นั ก เรี ย นจะวิ เ คราะห์ ไ ด้ ไ ม่ ลึ ก ซึ้ ง นั ก และจะดู
   เคร่งเครียดเกิ นไป ครูที่ปรึกษา จำา ต้องกระตุ้น ความคิดด้ว ยคำา ถามที่
   หลากหลาย และย่ อยประเด็น ลงไปให้ มากขึ้น และหากเด็ ก สนใจใน
   ประเด็ น “สิ่ ง ดี ที่ จ ะทำา ” มากกว่ า “ปั ญ หาที่ จ ะแก้ ” ก็ ไ ม่ เ ป็ น ไร ก็ ใ ห้
   ขยายสิ่งดีที่จะทำาให้เป็นโครงการใหญ่ตั้งกลุ่มเป้าหมายให้ชัดและคิด
   ขันตอนของการทำางานออกมาได้ ก็เพียงพอแล้ว
       ้
              ตั ว อ ย ่ า ง ป ร ะ เ ด ็ น ค ำ า ถ า ม ก ร ะ ต ุ ้ น ค ว า ม ค ิ ด น ั ก เ ร ี ย น
   ระดับประถ มศึกษ า
                      - ถ้าจะชวนกันให้ทำาความดีนั้นหลายๆ คน จะทำาได้
   หรือไม่?
                      - จะวางกลุ่มเป้าหมายเป็นใคร? จำานวนกี่คน?
                      - จะชักชวนหรือประชาสัมพันธ์ ด้วยวิธีการอย่างไร
   บ้าง?
                      - จะมีวิธีการหรือกิจกรรม ดำาเนินการโครงงานนี้
   อย่างไรบ้าง?
                      - จะมีวิธีใดที่จะรู้ว่าแต่ละคนนั้นทำาความดีนั้นจริง
   หรือไม่?
                      - ถ้าเขาทำาจริง จะรู้ได้อย่างไรว่าเขาทำามาก หรือทำา
   น้อย?
                      - ถ้ามีคนที่ทำาความดีมากๆ จะให้อะไรเขาตอบแทน?
                      - ต้องการให้เกิดผลดีจากการทำาโครงงานนี้อย่างไร
   บ้าง?
                      - จะตั้งชื่อโครงงาน, ชื่อกลุ่ม ว่าอะไร?
                      - อืน ๆ เช่น คุณธรรมใดที่จะนำามาใช้ในการ
                           ่
   ทำาความดีนี้
                      จากนั้นจึงให้ประมวลข้อมูลเป็นผ ั ง ม โ น ท ั ศ น ์ ที่มหัวข้อ
                                                                             ี
ดังต่อไปนี้
                        ๐ ชื่อโครงงาน, ชื่อกลุ่ม, ชื่อโรงเรียน
                        ๐ วาดภาพประกอบโครงงาน ที่แสดงออกถึงความคิด
        สร้างสรรค์
                 ๐ ประเด็นสิ่งดีที่อยากทำา / ประเด็นปัญหา(และสาเหตุ
        ของปัญหา) ที่เลือกทำาโครงงาน
                 ๐ เป้าหมาย (เชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ)
                 ๐ วิธีการ (วิธีการหรือกิจกรรมที่เป็นขั้นตอนเรียงข้อ)
8

                   ๐ หลักธรรม/พระราชดำาริ ที่นำามาใช้
        ขั ้ น ตอนที ่ ๓ การจัดทำาร่างโครงงาน
                ขันตอนนี้เป็นการคิดพิจารณาวางแผนงานในรายละเอียดและ
                  ้
ภาพรวมทั้งหมด โดยนำาข้อมูลที่รวบรวมและประมวลได้ทั้งหมดนั้นมาเรียบ
เรียงและจัดทำาเป็นเอกสารร่างโครงงาน ที่มีหัวข้อต่างๆ ตามที่กำาหนดไว้
อย่างน้อย ๑๓ หัวข้อ (จำานวนหน้า ๑๐ – ๒๐ หน้ากระดาษขนาด A4) ดังนี้
                    (๑) ชื่อโครงงาน (ชื่อโครงงานเป็นภาษาไทยและภาษา
     อังกฤษ)
                    (๒) กลุ่มเยาวชนผู้รับผิดชอบโครงงาน และสถานศึกษา
     แสดงชื่อกลุ่ม รายชื่อสมาชิกในกลุ่ม ตำาแหน่ง ชั้นเรียน, ชื่อสถาน
     ศึกษา ทีตั้ง โทรศัพท์ โทรสาร E-mail และเว็บไซต์สถานศึกษา(ถ้ามี)
                ่
                    (๓) ที่ปรึกษาโครงงาน ชื่อ-นามสกุล ตำาแหน่ง โทรศัพท์
     และ E-mail (กรณีเป็นพระภิกษุให้ระบุฉายาและชื่อวัดด้วย)
                    (๔) วัตถุประสงค์ (ไม่ควรเกิน ๕ ข้อ)
                    (๕) สถานที่และกำาหนดระยะเวลาดำาเนินการ พื้นที่ที่เลือก
     ดำาเนินการจะเป็นภายในหรือภายนอกสถานศึกษาก็ได้ ส่วนกำาหนด
     ระยะเวลาดำาเนินการนั้น แบ่งเป็น ๒ ระยะ ระยะที่ ๑ ควรอยู่ในช่วง
     เดือน พฤษภาคม – สิงหาคม ๒๕๕๐ และระยะที่ ๒ ในช่วงเดือน
     ตุลาคม ๒๕๕๐ – มกราคม ๒๕๕๑
                    (๖) ผั ง มโนทั ศ น์ สรุ ป ภาพรวมของร่ า งโครงงานทั้ ง หมด
     เป็นผังมโนทัศน์ ใน ๑ หน้ากระดาษ
                    (๗) สาระสำาคัญของโครงงาน (คำาอธิบายสาระสำาคัญของ
     โครงงานโดยย่อ ๕ - ๑๐ บรรทัด)
                    (๘) การศึกษาวิเคราะห์
                        (๘.๑) ปัญหาและสาเหตุ (ประมวลข้อมูลสภาพปัญหา
            แล้ววิเคราะห์สืบสาวหาสาเหตุและปัจจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับ
            ปัญหา เพื่อให้เห็นที่มาและความสำาคัญของโครงงาน)
                        (๘.๒) เป้าหมายและทางแก้ (วางเป้าหมายของการแก้
            ปัญหาทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ)
                        (๘.๓) หลักการและหลักธรรมที่นำามาใช้ (แสดงหลัก
            ธรรมและแนวพระราชดำาริ หรือหลักวิชาการต่างๆ ที่นำามาใช้
            พร้อมอธิบายความหมายโดยย่อ แล้วอธิบายเชื่อมโยงกับการ
            ดำาเนินการโครงงาน อย่างสอดคล้องเป็นเหตุเป็นผล)
                    (๙) วิธีการดำาเนินงาน (แสดงวิธีการดำาเนินงานเป็นข้อๆ หรือ
     เป็นแผนผังที่มีคำาอธิบายที่ชัดเจน)
                    (๑๐) งบประมาณและแหล่งที่มาของงบประมาณ (แสดง
     งบประมาณโครงงานและแหล่งที่มา หากมีการระดมทุนเพิ่ม ให้บอก
     แผนงานหรือวิธีการระดมทุนด้วย)
                    (๑๑) ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลโดยตรงและผลกระทบที่ต่อ
     เนื่องออกไป)
                    (๑๒) ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของที่ปรึกษา
                (๑๓) ความคิดเห็นและความรู้สึกของประธานกลุ่มเยาวชน
ผู้รับผิดชอบโครงงาน
9




    การทบทวนหลั ง ปฏิ บ ั ต ิ ก าร (After Action Review)
       ๑. ความหมายและประโยชน์
       การทบทวนหลังปฏิบัติการหรือที่เรียกว่า AAR เป็นเครื่องมือที่
พัฒนาขึ้นโดยกองทัพอเมริกันและใช้กันอย่างแพร่หลาย การทบทวน
หลังปฏิบัติการเป็นการคุยกันถึงกิจกรรมที่ช่วยให้แต่ละคนเรียนรู้ด้วย
ตนเองว่าเกิดอะไรขึ้น ทำาไมสิ่งนั้นจึงเกิดขึ้น อะไรเป็นสิ่งที่ดี อะไรที่ต้อง
ปรับปรุง และได้รับบทเรียนอะไรจากประสบการณ์ที่ได้จากการทำางาน
อย่างใดอย่างหนึ่ง สาระที่แท้จริงของการทบทวนหลังปฏิบัติการ คือ
การเปิดใจและการเรียนรู้ ไม่ใช่การแก้ปัญหาหรือการตำาหนิ บทเรียนที่
ได้เรียนรู้นอกจากจะแลกเปลี่ยนกันด้วยวาจาแล้วยังสามารถบันทึกและ
แบ่งปันกันในวงกว้างได้ด้วย
        การทบทวนหลังปฏิบัติการนั้นทำาได้ง่าย เพราะสามารถทำาได้
ตั้งแต่พูดคุยกัน ๒ คน เพียง ๕ นาที สำาหรับกิจกรรมเล็กๆ หรือนานเป็น
วันในกลุ่มขนาดใหญ่ใช้หลังสิ้นสุดโครงการขนาดใหญ่ มีข้อจำากัดใน
การใช้น้อยมาก กิจกรรมที่เหมาะสมสำาหรับการการทบทวนหลังปฏิบัติ
การจะต้องมีจุดเริ่มต้นและมีจุดจบ
มีวัตถุประสงค์ที่ระบุไว้ชัดเจน และสามารถประเมินผลการดำาเนินงานได้
ตัวอย่างของการใช้การทบทวน
หลังปฏิบัติการ เช่น เมื่อมีการวางวิธีการปฏิบัติงานใหม่ เมือมีการเปลี่ยน
                                                          ่
กะงาน หรือในกรณีของเราเมื่อฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการจัดการ
ความรู้เสร็จสิ้นลง การทบทวนหลังปฏิบัติการเป็นวิธีที่ดีมากสำาหรับการ
ทำาให้ความรู้ฝังลึกชัดแจ้งออกมาในการปฏิบัติงานหนึ่งๆ และทำาให้
บุคคลที่ร่วมกันทำางานได้เรียนรู้ก่อนที่จะแยกกันไปหรือลืมไปว่าเกิดอะไร
ขึน การทบทวนหลังปฏิบัติการไม่จำาเป็นต้องทำาหลังจากที่เสร็จสิ้นทุก
   ้
อย่างไปแล้ว สามารถกระทำาได้เป็นช่วงๆ หรือหลังกิจกรรมหลักๆ ของ
การทำางาน เพราะการเรียนรู้จะมีชีวิตชีวาและสามารถนำาบทเรียนไป
ประยุกต์ได้ทันที ยิ่งไปกว่านั้นเทคนิคนี้ยังมีส่วนช่วยให้มองเห็นจุดแข็ง
และจุดอ่อนของกิจกรรมและตัวบุคคลอย่างชัดแจ้ง ทั้งในส่วนของผู้นำาทีม
และกระบวนการปฏิบัติงาน นอกจากนั้นแล้วยังเป็นเครื่องมือที่มี
ประโยชน์สำาหรับผู้ปฏิบัติงาน โดยการให้และรับข้อมูลป้อนกลับใน
บรรยากาศที่เป็นกันเอง ไม่ข่มขู่คุกคาม หรือที่เรียกว่าแบบกัลยาณมิตร
และยังให้โอกาสบุคคลรับฟังความคิดเห็นและแสดงความคิดของตนเอง
ให้ผอื่นได้รับฟังด้วย
     ู้
      ๒. ขั ้ น ตอนของการทบทวนหลั ง ปฏิ บ ั ต ิ ก าร
      โดยทั่วไปการทบทวนหลังปฏิบัติการจำาแนกเป็น ๓ ประเภท คือ เป็น
ทางการ ไม่เป็นทางการและทำาส่วนตัว แม้ขั้นตอนหลักๆ จะเหมือนกัน
แต่ก็มีลักษณะพิเศษเฉพาะประเภท
           ๒.๑ การทบทวนหลั ง ปฏิ บ ั ต ิ ก ารอย่ า งเป็ น ทางการ
             การทำาอย่างเป็นทางการนี้ส่วนใหญ่แล้วจะใช้เมื่อหลังเสร็จ
สิ้นโครงการหรือเหตุการณ์ใหญ่ๆ เป็นการเรียนรู้หลังการกระทำา แต่ต้อง
มีการเตรียมตัวและการวางแผนล่วงหน้าพอสมควร การพูดคุยกันอาจใช้
เวลาประมาณ ๒ - ๓ ชั่วโมง หรือ ๒ - ๓ วันแล้วแต่ขนาดของโครงการ
แต่ก็มีขั้นตอนหลักๆ ดังนี้
             ๒.๑.๑ เชิญประชุมทันทีหรือเร็วที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้โดย
เชิญเฉพาะคนที่เหมาะสม ทีต้องเชิญให้เร็วเพราะเหตุการณ์ยังใหม่สด
                            ่
10

สามารถนำาเอาการเรียนรู้ไปประยุกต์ได้ทันที สำาหรับคนที่เหมาะสมนั้นคือ
คนที่มีส่วนร่วมในโครงการหรือกิจกรรมหรือคนที่ทำากิจกรรมคล้ายคลึง
กัน การเชิญคนนอกที่ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องเข้ามาอาจมีผลในการยับยั้งการ
แสดงออกของสมาชิกทีมได้
              ๒.๑.๒ สร้างบรรยากาศของความไว้วางใจ เปิดใจและเป็น
มิตร เพราะการทบทวนหลังปฏิบัติการเป็นการเรียนรู้ไม่ใช่การประเมิน
และการจับผิด ไม่มีลำาดับขั้นของอำานาจ ทุกคนมีสิทธิเท่ากันในการแสดง
ความคิดเห็นของตน เทคนิคของ สคศ. คือ ให้ผู้ทอาวุโสน้อยหรือ            ี่
สถานภาพตำ่าสุดเริ่มต้นพูดก่อนและสมาชิกอื่นๆโดยเฉพาะผู้ที่อาวุโสสูง
หรือสถานภาพสูงกว่าต้องรับฟังด้วยความเอาใจใส่ และต้องชัดเจนว่าจุด
ประสงค์ของการประชุมเป็นไปเพือช่วยให้การทำางานในช่วงเวลาต่อไป
                                          ่
ดำาเนินไปได้โดยราบรืนโดยอาศัยบทเรียนทีเกิดขึนเป็นฐาน
                          ่                              ่         ้
              ๒.๑.๓ แต่งตั้งผู้อำานวยความสะดวกในการประชุม จุด
ประสงค์ของขั้นนี้เป็นไปเพื่อช่วยให้ทีมตอบคำาถาม เข้าใจประเด็นที่ไม่
เคยได้พูดคุยกันมาก่อน ให้โอกาสทุกคนได้มีส่วนร่วม ช่วยให้พูดอย่าง
สร้างสรรค์โดยไม่ตำาหนิกัน และผู้อำานวยความสะดวกในการประชุมควร
เป็นบุคคลที่เกี่ยวข้องอย่างมากกับโครงการ เช่น หัวหน้าโครงการ เพื่อที่
จะได้รักษาให้การประชุมเป็นไปตามจุดประสงค์
              ๒.๑.๔ ทบทวนวัตถุประสงค์ ตัวโครงการและกระบวนการ
ปฏิบัติ ก่อนจัดประชุมผู้อำานวยความสะดวกและทีมควรทบทวนทุกอย่างที่
ทำาไว้ตั้งแต่เริ่มโครงการ อาจสร้างเป็นผังกระบวนการเพื่อให้มองเห็น
ภาระงาน การกระจายงาน และจุดที่ตัดสินใจ เพื่อจะได้พิจารณาส่วน
ประกอบต่างๆในการทำางานทั้งภาพรวมและรายละเอียด
              ๒.๑.๕ คำาถามที่ใช้ในการทบทวน มีข้อเสนอแนะดังนี้
                   ก. มี อ ะ ไ ร บ ้ า ง ท ี ่ ด ี ค้นหาว่าทำาไมจึงทำาได้ดีและแลก
เปลี่ยนเรียนรู้เพื่อนำาไปใช้ในอนาคต การประชุมควรเริ่มต้นด้วยสิ่งที่เป็น
บวก ในส่วนหนึ่งคือการค้นหาแบบปฏิบัติที่ดีเยี่ยมเพื่อการเรียนรู้แทน
การค้นหาข้อผิดพลาด และเมื่อรู้ว่าอะไรดีแล้วให้ถามต่อว่าทำาไม คำาตอบ
ที่ได้จะทำาให้เราพบสาเหตุหลัก ต่อจากนั้นจึงขอให้ผู้แสดงความคิดเห็น
ทบทวนความคิดของตนเป็นข้อเสนอแนะที่เฉพาะเจาะจง สำาหรับให้คน
อืนเก็บไว้ใช้ในการทำางานครั้งต่อไป
  ่
                   ข. มี อ ะ ไ ร บ ้ า ง ท ี ่ ส า ม า ร ถ ท ำ า ใ ห ้ ด ี ก ว ่ า น ี ้ ไ ด ้ คำาถาม
นี้ถามเพื่อค้นหาว่าปัญหาที่ผ่านมา คืออะไร มีขอสังเกตว่าไม่ตั้งคำาถาม
                                                                 ้
ว่ามีอะไรที่ทำาพลาดไปบ้าง แต่แทนที่ด้วยคำาถามว่ามีอะไรที่ทำาให้ดีกว่านี้
ได้บ้าง การตั้งคำาถามแบบนี้นอกจากจะทำาให้เรียนรู้ข้อผิดพลาด ที่เกิด
ขึนโดยไม่กดดันแล้วยังเป็นการมองหาโอกาสในการปรับปรุง และเช่น
    ้
เดียวกันกับคำาถามแรกให้ถามต่อว่าทำาไม เพื่อหาสาเหตุหลักและขอให้ผู้
แสดงความคิดเห็นทบทวนความคิดของตนเป็นข้อเสนอแนะที่เฉพาะ
เจาะจงเช่นกัน
              ๒.๑.๖ ทำาให้มั่นใจได้ว่าทุกคนรู้สึกว่าตนได้ยินทุกอย่างเต็มที่
ก่อนจบการประชุม ขั้นนี้สำาคัญมากจะต้องไม่ปล่อยให้การประชุมจบลง
โดยบางคนไม่ได้ฟังทั้งหมดและบางคนไม่ได้พูดอะไรเลย เทคนิคหนึ่งที่มี
ประโยชน์ คือ ขอให้ทุกคนในวงประชุมประมาณกิจกรรมที่ทำาไปโดยใช้
มาตราส่วนประมาณค่าที่เป็นตัวเลข โดยถามว่า หากมองย้อนไปคุณ
พอใจกิจกรรมหรือโครงการที่ทำาไปในระดับใด อาจให้ค่าประมาณ ๑ -
๑๐ และหากผู้ใดประมาณค่าความพอใจไม่ถึง ๑๐ ก็ถามต่อไปว่าหากจะ
ให้ถึง ๑๐ จะต้องทำาอะไรอีกและทำาอย่างไร เพื่อจะได้ข้อเสนอแนะเพิ่ม
เติม
              ๒.๑.๗ บันทึกการทบทวนหลังปฏิบัติการ สิ่งสำาคัญที่ต้อง
ทำาในการทบทวนหลังปฏิบัติการคือต้องมีการบันทึก เพราะจะใช้เป็นการ
เตือนความจำา เก็บบทเรียนและข้อเสนอแนะสำาหรับใช้ในโอกาสต่อไป
ในการบันทึกควรใส่ภูมิหลังของโครงการที่ทำาลงไปด้วยเพราะจะช่วยให้
สิ่งที่บันทึกได้จากการทบทวนมีความหมายชัดเจนว่าได้เกิดขึ้นในบริบท
เช่นใด นอกไปจากนั้นควรใส่ชื่อของบุคคลอ้างอิง เอกสารหลักๆ เช่น
ตัวโครงการหรือรายงานที่เกี่ยวข้อง หากจะพิจารณาว่าควรเก็บอะไร
บ้างลองตั้งคำาถามตนเองว่าหากเราเป็นหัวหน้าโครงการแบบนี้ในครั้งต่อ
ไปจะมีข้อมูลอะไรบ้างที่จะเป็นประโยชน์ต่อเรา
11

          ๒.๑.๘ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ผลการทบทวน พิจารณาว่าใครบ้าง
จะได้ประโยชน์จากผลการทบทวนนี้ และเก็บผลการบันทึกไว้ในรูปที่
บุคคลเหล่านี้จะค้นหาได้ง่ายและเข้ามาใช้ได้โดยสะดวก เช่น อาจเก็บไว้
ในห้องสมุด ศูนย์จัดการความรู้ ฐานข้อมูลบางประเภทหรือเครือข่าย
ภายในองค์กร
         ๒ .๒ ก า ร ท บ ท ว น ห ล ั ง ป ฏ ิ บ ั ต ิ ก า ร อ ย ่ า ง ไ ม ่ เ ป ็ น ท า ง ก า ร
             การทบทวนประเภททีสองนีกระทำาเมือเสร็จสินกิจกรรมย่อยๆ
                                      ่    ้         ่  ้
เช่น ประชุมหรือนำาเสนองานเสร็จสินลง (เรียนรูหลังทำา) หรือหลังจากเสร็จ
                                        ้          ้
กิจกรรมย่อยในโครงการขนาดใหญ่ (เรียนรูระหว่างทำา) ใช้เวลาสัน การเต
                                                 ้                ้
รียมตัวและการวางแผนน้อยกว่าการทบทวนประเภทแรก อุปกรณ์ทใช้ก็          ี่
ง่ายๆ เช่น กระดาษ ดินสอ หรือแผ่นพลิก ประกอบการประชุม และการ
ประชุมก็สนๆ เป็นกันเอง ตรงไปตรงมา ผูรวมประชุมเพียงตอบคำาถามเหล่านี้
          ั้                                 ้ ่
คือ
             ก. อะไรบ้างที่ควรจะมีหรือเกิดขึ้น (แต่ไม่มีหรือไม่เกิดขึ้น)
             ข. สิ่งที่ได้เกิดขึ้นจริงๆ คืออะไรบ้าง
             ค. ทำาไมจึงมีข้อแตกต่างเหล่านี้
             ง. เราได้เรียนรู้อะไรบ้าง
         ๒ .๓ ก า ร ท บ ท ว น ห ล ั ง ป ฏ ิ บ ั ต ิ ก า ร เ ป ็ น ส ่ ว น ต ั ว
          การทบทวนประเภทสุดท้ายเป็นการไตร่ตรองกิจกรรมที่
ตนเองทำาไปด้วยตนเอง อาจใช้เวลาสั้นๆ หลังทำากิจกรรม ถามตัวเองด้วย
คำาถาม ๔ ข้อ จากการทบทวนประเภทที่ ๒ แล้วบันทึกไว้เป็นบทเรียนของ
ตน

     ๓ . ข้อควร ตร ะ ห นัก ใ น ก า ร ท บ ท ว น ห ล ัง ป ฏิบัติก าร
          ๓.๑ ตระหนักไว้เสมอว่าการทบทวนหลังปฏิบัติการเป็นการเรียน
รู้ไม่ใช่การวิจารณ์ หรือตำาหนิ และไม่ใช่การประเมินผลการปฏิบัติงาน
คุณภาพของการทบทวนขึ้นอยู่กับความเต็มใจที่จะเปิดใจพูดถึงสิ่งต่างๆ
ตามความเป็นจริง ซึ่งจะเกิดขึ้นไม่ได้หากบรรยากาศไม่เป็นมิตร
          ๓.๒ จัดให้มีการทบทวนหลังปฏิบัติการให้เร็วที่สุด อย่าทิ้งช่วง
ว่างระหว่างกิจกรรมที่ทำาเสร็จกับการประชุมไว้นานนัก เพราะยิ่งเร็ว
เท่าใดก็เท่ากับว่าคนจะเรียนรู้ได้มากและนำาไปใช้ได้ทันทีและใช้ได้อย่าง
มีประสิทธิภาพ ด้วยเหตุนี้จึงมีข้อเสนอแนะว่าในโครงการต่างๆควรมีการ
ทบทวนหลังปฏิบัติเป็นระยะเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ระหว่างทำางาน
     ๔ . ข้ อ ส ั ง เ ก ต เ พ ิ ่ ม เ ต ิ ม
         ในบางโครงการใช้เทคนิคเดียวกันนี้ทำาก่อนเริ่มต้อนปฏิบัติการ
เรียกว่า BAR (Before Action Review) การทบทวนก่อนปฏิบัติการ เพื่อ
เตรียมความพร้อมในการทำางาน
อ้างอิงจาก เอกสารสรุปองค์ความรู้โครงการวิจัยและพัฒนานวัตกรรม
การเพิ่มประสิทธิภาพขององค์กรทางการศึกษาด้วยการจัดการความรู้
โดย รศ.ดร.กุญชรี ค้าขาย มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา
12

  แ บ บ ร า ย ง า น ก า ร ด ำา เ น ิ น ก า ร โ ค ร ง ก า ร เ ส ร ิ ม ส ร ้ า ง ค ุ ณ ธ ร ร ม ใ น
                               ส ถ า น ศ ึ ก ษ า (ตัวอย่าง)

ชื ่ อ โ ร ง เ ร ี ย น
................................................................................................. ส พ ป .
เลย เขต ๒
จ ำ า น ว น โ ร ง เ ร ี ย น ใ น เ ค ร ื อ ข ่ า ย ..................................................

กิ จ ก ร ร ม เ ร ื ่ อ ง
................................................................................................................
...............................
แ ผ น ด ำา เ น ิ น ก า ร
๑. ............................................................................................................
.....................................

๒. ............................................................................................................
.....................................
๓. ............................................................................................................
.....................................
๔. ............................................................................................................
.....................................
ผ ล ด ำ า เ น ิ น ก า ร (ระยะ ๑               ระยะ ๒            ระยะ ๓ ระยะ ๔)
................................................................................................................
......................................................
................................................................................................................
......................................................
................................................................................................................
......................................................
ปั ญ ห า อุ ป ส ร ร ค
................................................................................................................
......................................................
................................................................................................................
......................................................
งบประมา ณ
 ยกมา               ได้รับ            ใช้ไป              คงเหลือ            หมายเหตุ

ข้ อ ค ิ ด เ ห ็ น เ ส น อ แ น ะ (ต่อเครือข่ายอื่น/ ต่อ สพท./ ต่อ สพฐ.)
................................................................................................................
......................................................
13

................................................................................................................
......................................................
ผู ้ ร า ย ง า น ....................................................
ต ำ า แ ห น ่ ง ...................................................................................
       (                                                  ) โ ท ร .มื อ ถ ื อ
… ………………………………………………
                   ..




                               ตั ว อ ย ่ า ง แ บ บ เ ส น อ โ ค ร ง ก า ร
โครงการ                    เสริมสร้างคุณธรรมในสถานศึกษา
แผนงาน                              ขยายโอกาสและพัฒนาการศึกษา
สนองกลยุทธ์ของ สพฐ.                         กลยุทธ์ที่ ๒ ปลูกฝังคุณธรรม ความสำานึกใน
ความเป็นชาติไทย และ
                           วิถีชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ผู้รับผิดชอบโครงการ
         ........................................................................................................
........................
งานที่รับผิดชอบ
         ........................................................................................................
.......................
ลักษณะโครงการ                               โครงการใหม่
ระยะเวลาดำาเนินการ พฤษภาคม – ๒๐ กันยายน ๒๕๕๔
................................................................................................................
..........................................................
๑ . หลักการและเหตุผล
       กระทรวงศึกษาธิการ ได้ประกาศจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
ด้วยการขับเคลื่อนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑ และ
การปฏิรูปการศึกษารอบสอง (พ.ศ.๒๕๕๒ – ๒๕๖๑) ให้ประสบผลสำาเร็จ
ตามจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนโดยให้ทุกภาคส่วนร่วมกันดำาเนิน
การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ด้านคุณลักษณะ รั ก ค ว า ม เ ป ็ น ไ ท ย ซึ่งเป็น
คุณลักษณะหนึ่งที่หลักสูตรกำาหนดไว้ให้ฝึกฝน ขัดเกลาบ่มเพาะให้
เยาวชนไทยได้แสดงออกถึงความภาคภูมิใจ เห็นคุณค่า ร่วมอนุรักษ์
สืบทอดภูมิปัญญาไทย ขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะและวัฒนธรรม ใช้
ภาษาไทยในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม ดังนั้น เด็กไทยทุก
คนควรได้รับการเรียนรู้และพัฒนาตนเองอย่างเต็มศักยภาพ
         นอกจากนี้ สำานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ยังได้
ส่งเสริมพัฒนาโครงการโรงเรียนวิถีพุทธ
โดยปรารถนาให้เป็นจุดสำาคัญของการนำาคุณค่ามหาศาลของพุทธธรรม
มาสู่สังคมไทยโดยผ่านกระบวนการจัดการเรียนรู้ ของโรงเรียนโดยเน้น
ให้ผู้บริหารและครูผู้สอน นำาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนามาประยุกต์ใช้
ในการบริหารจัดการโรงเรียนทุกด้าน เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจและสามารถ
นำาหลักธรรมไปใช้ในการดำารงชีวิต พร้อมกับการปูพื้นฐาน ด้านความรู้
ความเข้าใจ สร้างเจตคติให้เยาวชนอย่างเหมาะสมด้วยคุณค่าอนันต์ของ
องค์ความรู้ในพุทธธรรม โดยผสมผสานสาระความรู้ต่าง ๆ อย่างได้
14

สัดส่วนสมดุลกันทั้งด้านการปลูกฝังคุณธรรม ค่านิยมที่ดีงามและ
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ในทุกวิชา เรียนรู้อย่างบูรณาการในทุกกลุ่ม
สาระ และตามกรอบแนวคิดโรงเรียนวิถีพุทธ ทั้งนี้เพื่อมุ่งหวังที่จะช่วยลด
สถานการณ์ปัจจุบันของนักเรียนและเยาวชนที่อยู่ในสถานศึกษามาจาก
ครอบครัวที่แตกต่างกันในด้านความเป็นอยู่ อันเนื่องมาจากการ
เปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และการมีความรู้พื้นฐาน
ด้านการศึกษาของผู้ปกครอง สภาพสิ่งแวดล้อมที่ไม่พึงประสงค์ อาทิเช่น
ปัญหาทะเลาะวิวาท การทำาร้ายร่างกายระหว่างนักเรียนด้วยกันเอง
ปัญหาการเสพสิ่งเสพติดให้โทษ ปัญหาทางเพศก่อนวัยอันควร ปัญหา
การใช้จ่ายเงินเกินความจำาเป็น ปัญหาการรับวัฒนธรรมในการแต่งกายที่
ขัดต่อวัฒนธรรมอันดีงามของชาติไทย ขาดความกตัญญูรู้คุณต่อผู้มี
พระคุณ ไม่มีความเกื้อกูล เอือเฟื้อ เผื่อแผ่ แบ่งปันไม่มีความเป็น
                                   ้
กัลยาณมิตรระหว่างการอยู่ร่วมกันเท่าที่ควร ส่งผลให้สภาพสังคมไทย
โดยเฉพาะการขาดจิตสำานึก
ในตนเอง การมีจิตสาธารณะ ความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ความเป็น
พลเมืองชาติ และพลเมืองโลก
      โรงเรียน......................................................... ตระหนักและเห็น
ความสำาคัญอย่างยิ่ง
จึงได้จัดทำาโครงการนี้
๒ . วั ต ถ ุ ป ร ะ ส ง ค ์
๒.๑..........................................................................................................
..........................................
๒.๒..........................................................................................................
...........................................
๓ . เป้ า ห ม า ย
๓.๑..........................................................................................................
.........................................
๓.๒..........................................................................................................
.........................................
๓.๓..........................................................................................................
........................................
๔ . กิ จ ก ร ร ม / ร ะ ย ะ เ ว ล า ด ำา เ น ิ น ง า น
ที่ กิจกรรม                                                ระยะเวลา             ผู้รับผิดชอบ




๕ . ง บ ป ร ะ ม า ณ จำานวน..................................บาท(ถัวจ่ายทุกรายการ)
จำาแนกรายละเอียดการใช้งบประมาณ ดังนี้
15

                                         หมวดค่าใช้จ่าย
ที่ รายละเอียดการใช้งบ
    ประมาณ                               ค่า        ค่า                       ค่าวัสดุ       รวม
                                         ตอบแทน ใช้สอย
๑
๒
๓
๔
    รวมทั้งสิ้น
๖ . การประเมินผล
ที่    ตัวชี้วัดความสำาเร็จ                          วิธีการ                    เครื่องมือ




๗ . ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๗.๑..........................................................................................................
...........................................
๗.๒.........................................................................................................
...........................................
                                (ลงชื่อ)                                ผู้เสนอโครงการ
                                   (...........................................)
                             ตำาแหน่ง.........................................................
                                (ลงชื่อ)                               ผู้เห็นชอบโครงการ
                                    (.........................................)
                             ตำาแหน่ง.........................................................


                             (ลงชื่อ)                                   ผู้เห็นชอบโครงการ
                                    (........................................)
                         ตำาแหน่งผู้อำานวยการ
                 โรงเรียน.........................................................

                                  (ลงชื่อ)            ผูอนุมัติโครงการ
                                                        ้
                                   (นายเทวรัฐ โตไทยะ)
                      ผู้อำานวยการสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
                 เลย เขต ๒

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

นวัตกรรม การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษานวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษาครูแชมป์ ฟักอ่อน
 
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...Wichai Likitponrak
 
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนwatdang
 
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docx
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docxรายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docx
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docxweskaew yodmongkol
 
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)yana54
 
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอทีสมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอทีPakornkrits
 
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรมโครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรมtassanee chaicharoen
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานtongkesmanee
 
โรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชนโรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชนTwatchai Tangutairuang
 
ครอบครัวคุณธรรม
ครอบครัวคุณธรรมครอบครัวคุณธรรม
ครอบครัวคุณธรรมnorrasweb
 
2554 ค่ายโรงเรียนยิ้ม กลุ่มต้นกล้า U-6
2554 ค่ายโรงเรียนยิ้ม กลุ่มต้นกล้า  U-62554 ค่ายโรงเรียนยิ้ม กลุ่มต้นกล้า  U-6
2554 ค่ายโรงเรียนยิ้ม กลุ่มต้นกล้า U-6mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
การบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการการบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการTwatchai Tangutairuang
 
การบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการการบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการWatcharasak Chantong
 
แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงคราม
แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงครามแผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงคราม
แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงครามSuppalak Lim
 

La actualidad más candente (20)

ด้านที่ 1
ด้านที่ 1ด้านที่ 1
ด้านที่ 1
 
นวัตกรรม การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษานวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
 
บริหารกิจการนักเรียน
บริหารกิจการนักเรียนบริหารกิจการนักเรียน
บริหารกิจการนักเรียน
 
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
 
Id plan
Id planId plan
Id plan
 
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
 
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docx
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docxรายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docx
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docx
 
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
 
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอทีสมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
 
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรมโครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชนโรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชน
 
ครอบครัวคุณธรรม
ครอบครัวคุณธรรมครอบครัวคุณธรรม
ครอบครัวคุณธรรม
 
2554 ค่ายโรงเรียนยิ้ม กลุ่มต้นกล้า U-6
2554 ค่ายโรงเรียนยิ้ม กลุ่มต้นกล้า  U-62554 ค่ายโรงเรียนยิ้ม กลุ่มต้นกล้า  U-6
2554 ค่ายโรงเรียนยิ้ม กลุ่มต้นกล้า U-6
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
โครงสร้างบริหารงานโรงเรียนพานพร้าว
โครงสร้างบริหารงานโรงเรียนพานพร้าวโครงสร้างบริหารงานโรงเรียนพานพร้าว
โครงสร้างบริหารงานโรงเรียนพานพร้าว
 
การบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการการบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการ
 
กิจการนักเรียน
กิจการนักเรียนกิจการนักเรียน
กิจการนักเรียน
 
การบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการการบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการ
 
แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงคราม
แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงครามแผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงคราม
แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงคราม
 

Similar a เสริมสร้างคุณธรรม

Similar a เสริมสร้างคุณธรรม (20)

หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
 
ตัวอย่าง Sar
ตัวอย่าง Sarตัวอย่าง Sar
ตัวอย่าง Sar
 
W 2
W 2W 2
W 2
 
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคมโครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 

เสริมสร้างคุณธรรม

  • 1. 1 แนวทางการดำ า เนิ น งานโครงการเสริ ม สร้ า งคุ ณ ธรรมในสถาน ศึ ก ษา ปี ง บประมาณ ๒๕๕๔ สำ า นั ก งานเขตพื ้ น ที ่ ก ารศึ ก ษาประถมศึ ก ษาเลย เขต ๒ สำานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้จัดสรรงบ ประมาณเพื่อดำาเนินงานใน กลยุทธ์ที่ 2 ปลูกฝังคุณธรรม ความสำานึกในความเป็นชาติไทย และวิถีชีวิตตามหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จากแผนงานขยายโอกาส และพัฒนาการ ศึกษา งบดำาเนินงาน โดยสำานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้กำาหนดเป้าหมายความสำาเร็จ และตัวชี้วัดความสำาเร็จ ดังนี้ ท เป้ า หมายความสำ า เร็ จ ตั ว ชี ้ ว ั ด ความสำ า เร็ จ ีี ี่ ๑ ผู้เรียนทุกคนได้รับการพัฒนา ๑. จำานวนผู้เรียนได้รับการ ให้มีคุณธรรม จิตสำานึกความ พัฒนาให้มีจิตสำานึกเป็นไทย ยึด เป็นไทย มั่นในสถาบันชาติ ศาสนาและ พระมหากษัตริย์และการ ปกครองตามระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหา กษัตริย์ทรงเป็นประมุข ๒ ผู้เรียนมีคุณลักษณะที่พึง ๒. ร้อยละผู้เรียนมีคุณลักษณะที่ ประสงค์ตามหลักสูตรการศึกษา พึงประสงค์ตามหลักสูตรการ ขั้นพื้นฐาน ไม่น้อยกว่าร้อยละ ศึกษาขั้นพื้นฐาน ๘๐ ๓ โรงเรียนทุกโรงจัดกิจกรรมเสริม ๓.๑ จำานวนโรงเรียนที่จัด สร้างคุณธรรม จริยธรรม ความ กิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม สำานึกในความเป็นชาติไทยและ ความสำานึกในความเป็นชาติ วิถีชีวิตตามหลักปรัชญา ไทยและวิถีชีวิตตามหลัก เศรษฐกิจพอเพียง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๓.๒ จำานวนโรงเรียนที่จัด กิจกรรมตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงเป็นโรงเรียน พอเพียงต้นแบบ ๔ ผู้เรียนทุกคนได้รับการพัฒนา ๔. จำานวนผู้เรียนได้รับการ ทักษะการดำารงชีวิตที่มีคุณภาพ พัฒนาทักษะการดำารงชีวิตที่มี ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอ คุณภาพตามหลักปรัชญาของ เพียง เศรษฐกิจพอเพียง ดังนั้นเพื่อให้การดำาเนินงาน บรรลุตามเป้าหมายความสำาเร็จ สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต ๒ จึงได้จัดทำา โครงการส่งเสริมคุณธรรมในสถานศึกษาโดยใช้งบประมาณที่ได้รับ จัดสรรโดยดำาเนินการดังนี้ ๑. สำ า นั ก งานเขตพื ้ น ที ่ ก ารศึ ก ษาประถมศึ ก ษา ๑.๑ จัดทำาโครงการส่งเสริมคุณธรรมระดับเขตพื้นที่การ ศึกษา ๑.๒ จัดตั้งแม่ข่ายโรงเรียนวิถีพุทธชั้นนำาและเครือข่าย โรงเรียนวิถีพุทธชั้นนำา ๑.๔ จัดทำาแนวทางการส่งเสริมคุณธรรมในสถานศึกษาเพื่อ ขอรับงบประมาณ ๑.๕ แจ้งประชาสัมพันธ์ให้โรงเรียนดำาเนินโครงการส่งเสริม คุณธรรมในสถานศึกษา
  • 2. 2 ๑.๖ พิจารณา จัดสรรงบประมาณให้โรงเรียนดำาเนิน โครงการคุณธรรมในสถานศึกษา ๑.๗ นิเทศกำากับติดตามการดำาเนินงานโครงการของ โรงเรียน ๑.๘ จัดการประกวดโครงงานคุณธรรม ๑.๙ จัดเวทีและเปลี่ยนเรียนรู้ ๑.๑๐ สรุปรายงานผลการดำาเนินงานระดับเขตพื้นที่การ ศึกษาประถมศึกษา ๒ . ก า ร ด ำา เ น ิ น ก า ร ร ะ ด ั บ โ ร ง เ ร ี ย น ๒.๑ โรงเรียนเสนอโครงการตามแบบฟอร์มโครงการที่กำาหนด เพื่อขออนุมัติดำาเนินการ โดยดำาเนินการให้สอดคล้องกับเป้าหมายความ สำาเร็จ และตัวชี้วัดความสำาเร็จ ตามกลยุทธ์ที่ ๒ (งบประมาณโครงการละ ๑๒,๐๐๐ บาท) คณะกรรมการระดับเขตพื้นที่พิจารณาโครงการและ จัดสรรงบประมาณตามความเหมาะสม โรงเรียนสามารถเลือก โรงเรียน เสนอโครงการฯตามกิจกรรมที่กำาหนดดังนี้ ๒.๑.๑ ศูนย์การเรียนรู้พุทธศาสนา สร้างจิตอาสา ชุมชน (ศูนย์ GIVE & TAKE) โครงงานคุณธรรม ๒.๑.๒ โครงงานคุณธรรมสำานึกดี CSR (Corporate Social Responsibility CSR) ๒.๑.๓ ค่ายโต๊ะครู ๒.๑.๔ โครงการคุณธรรม ๒.๑.๕ ๒๙ ประการสู่ความเป็นโรงเรียนวิถีพุทธ ฯลฯ ๒.๒. โรงเรียนดำาเนินการ ๓ กิจกรรม อย่างน้อยกิจกรรรมละ ๑ ครั้งต่อเดือน ดังนี้ ๒.๒.๑ ศูนย์การเรียนรู้พุทธศาสนา สร้างจิตอาสาชุมชน (ศูนย์ GIVE & TAKE) ๒.๒.๒ โครงงานคุณธรรมสำานึกดี CSR และโครงงาน คุณธรรมเยาวชนไทยทำาดี ถวายในหลวง ๒.๒.๓ กิจกรรม ค่ายพระ(โต๊ะครู) ครู ผู้ปกครอง ๒.๓. ประชุมปรึกษาร่วมกันทุกคนในโรงเรียน รวมทั้ง ตัวแทนทางศาสนาและชุมชน กำาหนดบทบาทหน้าที่ของแต่ละฝ่ายให้ ครอบคลุม ๒.๔. เก็บข้อมูล รูปภาพ และปัญหาอุปสรรคก่อนการ ดำาเนินการ ระหว่างดำาเนินการ และหลังการดำาเนินการ ๒.๕. ประชุมหารือ ทำา AAR อย่างน้อยเดือนละ ๑ ครั้ง ต่อเนื่อง ๒.๖. รายงานข้อมูลดำาเนินการแก่สำานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต ๒
  • 3. 3 รายละเอียดกิจกรรม โ ค ร ง ก า ร เ ส ร ิ ม ส ร ้ า ง ค ุ ณ ธ ร ร ม ใ น ส ถ า น ศ ึ ก ษ า ปี ๒ ๕ ๕ ๔ กิ จ ก ร ร ม ท ี ่ ๑ ศ ู น ย ์ ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้ พ ุ ท ธ ศ า ส น า ส ร ้ า ง จ ิ ต อ า ส า ชุ ม ช น (ศ ู น ย ์ G IVE & TA KE ) วิธีดำาเนินการ นักเรียนเป็นผู้สื่อข่าวสารข้อมูลของคนในเขต บ้านของนักเรียน ว่าใครควรได้รับการช่วยเหลืออะไร อย่างไร เมื่อไร ต้องการใครมาช่วยบ้างและแจ้งข้อมูลไว้ พร้อมกันนั้นให้ทำารายการว่า วัน เดือนใด จะมีการออกหน่วยเคลื่อนที่เพื่อไปให้ความช่วยเหลือ ( อย่างน้อยเดือนละ ๑ ครั้ง) หาอาสาสมัคร มีการนัดหมายบุคลากร และ วัสดุอุปกรณ์ครบครัน เพื่อดำาเนินการหลังการดำาเนินการให้มีการถอด ประสบการณ์ ทบทวนเรื่องที่ทำา และเรื่องที่ควรปรับปรุง อนึ่งการทำางาน ในศูนย์ ต้องมีข้อตกลงสำาคัญ คือ ไม่รับค่าตอบแทน ไม่รับค่าพาหนะ ให้นำาอาหาร นำ้าดื่มไปรับประทานเอง อีกทั้งอาจร่วมบริจาคเงิน และ สิ่งของที่จำาเป็น ตั ว อ ย ่ า ง ก ิ จ ก ร ร ม ศ ู น ย ์ ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้ พ ุ ท ธ ศ า ส น า ส ร ้ า ง จิ ต อ า ส า ช ุ ม ช น ๑.Sharing Bank หรือ ธนาคารแบ่งปัน ๒.จิตอาสารักษาวัฒนธรรมไทยภูมิปัญญาท้องถิ่น ๓.จิตอาสาในโรงพยาบาล ๔. ครูอาสาน้อย ๕.จิตอาสาป้องกันยาเสพติด ๖. จิตอาสาเผยแผ่ศาสนา ๗.จิตอาสาสื่อคุณธรรม ๘.จิตอาสาวิทยาศาสตร์เพื่อท้องถิ่น ๙.จิตอาสาอนุรักษ์ธรรมชาติ ๑๐.สวดสรภัญญะ/ประกวดสวดสรภัญญะ ๑๑. แผนที่คนดี/ธนาคารคนดี ฯลฯ กิ จ ก ร ร ม ท ี ่ ๒ โ ค ร ง ง า น ค ุ ณ ธ ร ร ม ส ำ า น ึ ก ด ี CSR (Corporate Social Responsibility CSR) หมายถึง การจัดค่ายบนฐานคิดคุณธรรม ให้นักเรียนได้ลงมือ กระทำาสิ่งใดสิ่งหนึ่ง อันแสดงความเป็นจิตอาสา รับผิดชอบต่อสังคม ได้ คุณค่ามากกว่ามูลค่า ไม่เอาเปรียบ เบียดเบียน รักษาสิ่งแวดล้อม เพื่อ ความสงบสุขของส่วนรวม วิธีดำาเนินการ ศึกษาทำาความเข้าใจ CSR บูรณาการความคิด เชิงธุรกิจ เศรษฐกิจพอเพียงกับคุณธรรม นักเรียนคิดหาธุรกิจเพื่อผลิต และจำาหน่าย ภายใต้กระบวนการทำาธุรกิจอย่างฉลาด เรียนรู้หลัก เศรษฐศาสตร์ และเจือด้วยหลักธรรมทั้งในส่วนการผลิตและใน กระบวนการทำางานของผู้ผลิต ตั้งเป้าหมายผลการดำาเนินงานใน โรงเรียนในวงที่กว้างขึ้น เช่นการคิดผลิตนำ้าสมุนไพรขายแทนนำ้าอัดลม ซึ่งธุรกิจที่ผลิตต้องไม่เป็นการเพิ่มขยะ และหมุนเป็นวัฏจักรคุณธรรม
  • 4. 4 โดยควรให้ทุกโรงเรียนมีค่ายและดำาเนินการธุรกิจคุณธรรม อย่างน้อย ๑ โครงงาน (ระยะเวลาไม่น้อยกว่า ๓ เดือน) แล้วนำาผลกำาไรจากโครงงาน คุณธรรมสำานึกดี CSR สนับสนุนการทำาความดีในโครงงานคุณธรรม เยาวชนไทยทำาดี ถวายในหลวง (ทำาไปพร้อมกันทั้ง ๒ โครงงาน) ตั ว อ ย ่ า ง ก ิ จ ก ร ร ม โ ค ร ง ง า น ค ุ ณ ธ ร ร ม ส ำ า น ึ ก ด ี C S R ( C orporate s ocial R es pons ibility ) ๑. การผลิตนำ้าสมุนไพรขายแทนนำ้าอัดลม 2. การผลิตนำ้ายาล้างจาน 3. การผลิตผลิตภัณฑ์ในท้องถิ่น 4. การผลิตสิ่งของต่างๆจากวัสดุเหลือใช้ 5. การผลิตแชมพูจากพืชสมุนไพรพื้นบ้าน 6. การเลี้ยงสัตว์อย่างพอเพียง 7. การช่วยเหลือสังคมในด้านการศึกษา สาธารณสุข สิง ่ แวดล้อม ด้านจิตใจ 8. การ RECYCLE นำามาใช้ประโยชน์ 9. โครงงานคุณธรรมเยาวชนไทยทำาดี ถวายในหลวง กิ จ ก ร ร ม ท ี ่ ๓ ค่ า ย พ ร ะ (โ ต ๊ ะ ค ร ู ) ค ร ู ผ ู ้ ป ก ค ร อ ง วิธีดำาเนินการ ประสานงาน ๓ ฝ่าย ทั้งบ้าน วัด (มัสยิด) โรงเรียน วางแผนดูแลนักเรียนด้วยความรักเมตตา มากกว่าการตรวจ ตราจับกุม อาจจัดกิจกรรมผู้ปกครองอาสา วางแผนการดูแลนักเรียน ด้วยกันอย่างเป็นระบบ มีจุดเน้นที่ให้นักเรียนมีสติ ระลึกรู้บาป บุญ คุณ โทษ รู้สิทธิ และหน้าที่ มีจิตสำานึกความเป็นไทย สร้างศรัทธาและ ปัญญาในความดี ด้วยกระบวนการ รับรู้ ได้ประโยชน์ เห็นคุณค่า จัด ระบบ และเป็นนิสัย ตั ว อ ย ่ า ง ก ิ จ ก ร ร ม ค ่ า ย พ ร ะ (โ ต ๊ ะ ค ร ู ) ค ร ู ผู ้ ป ก ค ร อ ง ๑. ค่ายคุณธรรม / ค่ายจริยธรรมอิสลาม 2. ค่ายจิตอาสาสำานึกความเป็นไทยนักเรียน 3. ค่ายคุณธรรมสำาหรับครูผู้ปกครอง 4. ค่ายธรรมะสำาหรับพระ หรือ โต๊ะครู(ศาสนาอิสลาม) 5. กิจกรรมขยับกายสบายชีวี วิถีไทย 6. กิจกรรมสร้างจิต พิชิตยาเสพติด 7. ครอบครัวเข้มแข็ง 8. กิจกรรมเยี่ยมบ้านกิจกรรมผู้ปกครองชั้นเรียน 9. เพื่อนช่วยเพื่อน ( YC : Touch Counselor ) 10. ทักษะชีวิต : การเสริมสร้างความเข้มแข็งทางใจ 11. กิจกรรมรณรงค์ต่อต้านปัญหายาเสพติด TO BE NUMBER ONE ๑๒. สภานักเรียน : ธรรมาธิปไตยในโรงเรียน ๑๓. กิจกรรมสร้างสรรค์ ด้านกีฬา ดนตรี ศิลปะ ฯลฯ ทั่วไป เช่น มหกรรมวิชาการ 3 D มุมสื่อสร้างสรรค์ ๑๔. 3D ในห้องเรียน/โรงเรียน ฯลฯ
  • 5. 5 กิ จ กรรมที ่ ๔ โครงงานคุ ณ ธรรม (Moral Project) โครงงานคุณธรรม หรือโครงงานความดี เป็นนวัตกรรมการเรียนรู้ที่ ส่งเสริมการทำาความดีมีคุณธรรมแบบเชิงรุก โดยให้ผู้เรียนที่เป็นเด็กและ เยาวชนเกิดความรู้สึกเป็นเจ้าของกิจกรรมการเรียนรู้นี้เอง ผ่านเทคนิควิธี การเรียนรู้แบบโครงงาน (Project Approach) โดยประเด็นที่เลือกทำา โครงงานนั้นเกิดขึ้นมาจากความสนใจและความคิดริเริ่มของผู้เรียนเอง เน้นการเรียนรู้ผ่านการปฏิบัติงานจริง ด้วยความพากเพียรพยายามอย่าง จดจ่อต่อเนื่องในช่วงระยะเวลาที่ยาวนานพอสมควร (ต้องทำางานจริงไม่ น้อยกว่า ๒ เดือน) ในลักษณะวิจัยปฏิบัติการ (action research) นำาไปสู่ การแก้ไขปัญหาด้านความเสื่อมทรามทางศีลธรรม และส่งเสริมการบ่ม เพาะความดีมีคุณธรรมอย่างเป็นรูปธรรมและเป็นระบบ รวมทั้งการขยาย ความมีส่วนร่วมไปสู่บุคคลต่างๆ ในสถานศึกษาและชุมชนของตนเองหรือ ชุมชนอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ขั ้ น ตอนในการทำ า โครงงานคุ ณ ธรรม ขั ้ น ตอนที ่ ๑ การตระหนักรู้และพิจารณาเลือกหัวเรื่องหรือ ประเด็นปัญหา ขันตอนนี้เป็นขั้นตอนที่สำาคัญที่สุด ที่ต้องอาศัยภาวะการตระหนักรู้ ้ ในสถานการณ์หรือสภาพปัญหาด้วยสติปัญญา หรือภาวะที่มีแรงบันดาลใจ ที่จะทำาสิ่งดีงามอะไรบางอย่างที่เป็นความฝันหรืออุดมคติ ซึ่งอาจจะเกิด จากผู้เรียนเองโดยตรง หรืออาจจะเกิดจากการแนะนำาหรือชี้ชวนจากครูที่ ปรึกษาหรือผู้อื่นที่เป็นเงื่อนไขภายนอก มากระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความ ตระหนักรู้หรือแรงบันดาลใจขึ้นก็ได้ การสร้ า งความตระหนั ก รู้ นั้ น เป็ น ขั้ น ตอนที่ ย าก เพราะโดยทั่ ว ไป สภาพการณ์ที่เป็นปัญหาต่างๆ นั้นมักจะเกิดขึ้นอยู่แล้ว แต่มักจะถูกละเลย มองข้าม หรือชาชินเคยชินจนมองไม่เห็นปัญหา หรือไม่รู้สึกว่าตนเองมี ส่วนเกี่ยวข้องกับปัญหานั้นอย่างไรในทำา นอง “เส้ น ผมบั งภูเขา” หรือ “ ปลาอยู่ ใ นนำ้า มองไม่ เ ห็ น นำ้า ” จึ ง ต้ อ งอาศั ย เหตุ ปั จ จั ย ภายนอก จาก กัลยาณมิตรที่กระตุ้นปัจจัยภายในใจของผู้ เรี ยนได้ถูกตรงกับ จริต นิสั ย ในเงื่อนไขสถานการณ์แวดล้อม และจังหวะเวลาที่พอเหมาะพอดี จนเกิด ฉันทะร่วมกันที่จะรวมกันเป็นกลุ่มเพื่อดำาเนินการโครงงาน กิ จ กรรมแนะนำ า สำ า หรั บ ครู ท ี ่ ป รึ ก ษา ครูที่ปรึกษาอาจวางเงื่อนไขเบื้องต้นจากการให้ผู้เรียนสำารวจและ สังเกตสภาพปัญหาต่างๆ จากเพื่อนนักเรียน ปัญหาที่พบเห็นในห้องเรียน โรงเรียน วัด และชุมชน แล้วช่วยกันระดมความคิดต่อปัญหาที่เกิดขึ้นให้ ได้มากที่สุด แล้วมาอภิปรายกันในกลุ่มใหญ่หรือกลุ่มย่อยก็ได้ (อาจทำาให้ สนุกในลักษณะโต้วาทีหรือยอวาทีก็ได้) เพื่อเลือกประเด็นปัญหาที่มีความ สนใจ หรืออยากจะแก้ปัญหานั้นมากที่สุด เพื่อนำามาตั้งเป็นประเด็น สำาหรับทำาโครงงาน คำ า แนะนำ า เพิ ่ ม เติ ม (Tip) ความดี หรือ ประเด็นที่เลือกมาทำาโครงงานนั้นมีที่มา ๒ ลักษณะ ด้วยกัน คือ ผู้เรียนเริ่มคิดจาก (๑) ปั ญ หาที ่ อ ยากแก้ หรือจาก (๒) สิ ่ ง ดี ท ี ่ อ ยากทำ า จากประสบการณ์พบว่าผู้เรียนที่เริ่มคิดจากความดีที่อยาก ทำาก่อนนั้นมักยังมองแบบผิวเผิน ความคิดความเข้าใจยังไม่หยั่งรากลึก ความจริงแล้วแม้เป็นความดีที่อยากทำาก็ตาม หากย้อนคิดพิจารณาให้ดีก็ จะพบว่าสิ่งดีที่อยากทำานั้นต้องช่วยแก้ไขหรือปรับปรุงอะไรให้ดีขึ้นสัก อย่างหนึ่งแน่ ครูที่ปรึกษาก็ต้องช่วยกระตุ้นชี้ชวนให้ผู้เรียนได้ย้อนคิด พิจารณากลับไปที่ประเด็นปัญหาให้ได้ เช่น หากเด็กเริ่มต้นด้วยความคิด อยากปลูกต้นไม้ขึ้นมาลอยๆ ครูที่ปรึกษาอาจต้องถามให้ย้อนคิดไปว่า ทำาไมหรือถึงต้องปลูกต้นไม้? ปลูกที่ไหน? เพราะอะไรจึงต้องปลูกที่นี่? ปลูกต้นไม้มันช่วยแก้ปัญหาอะไรหรือ? หรือมันช่วยทำาให้อะไรดีขึ้นบ้าง?
  • 6. 6 ถ้าผู้เรียนช่วยกันคิดและตอบปัญหาเหล่านี้ได้ ก็จะได้ประเด็นปัญหาที่ ชัดเจนสำาหรับการนำามาตั้งเป็นประเด็นทำาโครงงาน ขั ้ น ตอนที ่ ๒ การรวบรวมประมวลข้อมูลและองค์ความรู้ที่ เกี่ยวข้อง เมื่ อ สมาชิ ก ทุ ก คนในกลุ่ ม เห็ น พ้ อ งกั น และตั ด สิ น ใจเลื อ กประเด็ น ปัญหาหรือหัวเรื่องได้แล้ว และได้รับความเห็นชอบจากที่ปรึกษาแล้ว ก็จะ เป็นขั้นตอนของการระดมความคิดวางแผนงานในเบื้องต้น โดยเริ่มจาก การร่วมกันพิจารณาวิเคราะห์สภาพปัญหาแล้วสืบสาวไปหาสาเหตุและ ปัจจัยร่วมต่างๆ การวางเป้าหมายและวิธีการแก้ปัญหา แล้วประมวลสิ่งที่ วิ เ คราะห์ ได้ ทำา เป็ น ผ ั ง ม โ น ท ั ศ น ์ ในขั้ น ตอนนี้ จ ะพบว่ ายั ง มี ข้ อ มู ล ของ สภาพปัญหาและปัจจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้องไม่เพียงพอหรือยังมีรายละเอียดที่ ไม่ ชั ด เจน ตั ว แปรสนั บ สนุ น และองค์ ค วามรู้ ต่ า งๆ ที่ จ ะนำา มาใช้ ใ นการ วางแผนแก้ปัญหาก็ยังมีไม่ครบถ้วนหรือยังไม่ชัดเจนเป็นต้น จึงต้องมีการ รวบรวมข้ อ มู ล และองค์ ค วามรู้ เ พิ่ ม เติ ม (ซึ่ งอาจจะได้ ม าจากการสำา รวจ โดยละเอียดหรือประมาณการโดยคร่าวๆ ก็ได้) จากการพบปะสนทนาขอ ความร่วมมือจากบุคคลต่างๆ และจากการค้นคว้าหาความรู้จากหนังสือ ตำาราและแหล่งเรียนรู้ต่างๆ แล้วนำาข้อมูลที่รวบรวมได้ทั้งหมดมาประมวล เพื่อจัดเตรียมสำาหรับคิดวางแผนทำาร่ า งโครงงาน ต่อไป กิ จ กรรมแนะนำ า สำ า หรั บ ครู ท ี ่ ป รึ ก ษา - สำาหรับนั ก เรี ย นระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษา จากการระดมความคิดใน ขันตอนที่ ๑ แล้วเลือกมา ๑ อย่างนั้น ครูที่ปรึกษาควรให้ผู้เรียนช่วยกัน ้ ระดมความคิดกันต่อเพื่อตอบคำาถาม ๕ ข้อต่อไปนี้ ๑. “ ปัญหา” ที่เลือกเป็นประเด็นเริ่มต้นทำาโครงงาน คือ อะไร? ระบุสภาพปัญหาให้ชัดเจน (ปัญหา มักเป็นสภาพการณ์ที่ผิดปกติ ไม่ดี ไม่น่าพอใจ หรือเป็น พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ พฤติกรรมที่ผิด ศีลธรรม/ กฎระเบียบ หรือผิดจากมารยาทที่ถูกต้อง เป็นต้น) ๒. ปัญหานั้นมี “ สาเหตุ” มาจากอะไร? วิเคราะห์ร่วม กันต่อว่าอะไรเป็นสาเหตุต้นตอที่ แท้จริง อะไรเป็นปัจจัยร่วม? อะไรเป็นปัจจัยแวดล้อมภายนอก อะไร เป็นปัจจัยภายใน ๓. “ เป้าหมาย” ของการแก้ปัญหาคืออะไร? ควรให้ช่วย กันเริ่มคิดจากการวางเป้าหมายระยะ สั้น-ระยะกลางก่อน โดยเริ่มจากการช่วยกันระบุเป้าหมายเชิงปริมาณ ว่าเกี่ยวข้องกับบุคคลหรือสิ่งของ แวดล้อมใดบ้าง? จำานวนหรือปริมาณเท่าใด? มีขอบเขตระยะเวลา – พื้นที่การทำางานเท่าใด? แล้วช่วยกัน ตั้ง เป้าหมายเชิงคุณภาพ ว่าต้องการให้กลุ่มเป้าหมายเกิดพฤติกรรมที่ พึงประสงค์อย่างไรบ้าง? ให้เกิดการ พัฒนาจิตใจ หรือพัฒนาปัญญาอย่างไรบ้าง? หรือให้เกิดสิ่งของ/ สภาพแวดล้อมที่พึงประสงค์อย่างไรบ้าง? ๔. “ ทางแก้” หรือวิธีการดำาเนินงาน เพื่อไปสู่เป้าหมาย นั้น มีแผนงาน อย่างไรบ้าง? ให้ช่วยกัน วางแผนการทำางานที่จะสามารถทำาได้ทั้ง ๒ ระยะ ทั้งเฉพาะหน้าใน ระยะเวลา ๓ เดือนในช่วงเทอม ๑ และ ระยะที่ ๒ ในช่วงเทอม๒ อีกประมาณ ๓ – ๔ เดือน ๕. การดำาเนินงานโครงงานดังกล่าวนั้น มีการใช้ “ หลัก ธรรมและแนวพระราชดำาริ”อะไรบ้าง?* หากผู้เรียนยังจำาหัวข้อธรรมะที่แน่นอนไม่ได้ หรือจำาพระราชดำารัสที่ ถูกต้องไม่ได้ ก็ให้ใช้ถ้อยคำาง่ายๆ ที่ อธิบายให้เข้าใจได้แทนไปก่อน แล้วไปค้นคว้าเพิ่มเติมต่อในภายหลัง ก็ได้) - เมื่อตอบคำาถาม ๕ ข้อนี้ได้แล้ว ก็ให้ประมวลสรุปนำาเสนอใน รูปแบบของผังมโนทัศน์ ที่มหัวข้อดังนี้ ี
  • 7. 7 ๐ ชื่อโครงงาน, ชื่อกลุ่ม, ชื่อโรงเรียน ๐ วาดภาพประกอบโครงงาน ที่แสดงออกถึงความคิด สร้างสรรค์ ๐ ปัญหาที่เลือกทำาโครงงาน ๐ สาเหตุของปัญหา ๐ เป้าหมาย (เชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ) ๐ ทางแก้ (วิธีการหรือกิจกรรมที่เป็นขั้นตอนเรียงข้อ) ๐ หลักธรรม/ พระราชดำาริ/ พระราชดำารัส ที่นำามาใช้ - สำา หรั บ นั ก เรี ย นระดั บ ประถมศึ ก ษานั้ น เน้ น แค่ ใ ห้ เ ด็ ก สามารถคิ ด การใหญ่ (Think Big) คิ ด เป็ น ขั้ น ตอนได้ ก็ เ พี ย งพอแล้ ว ส่วนการคิดวิเคราะห์อย่างนักเรียนมัธยมนั้นถือว่าเป็นการต่อยอด เวลา ตั้ ง คำา ถามสามารถอนุ โ ลมให้ ใ ช้ คำา ถาม ๕ คำา ถามเหมื อ นของระดั บ มั ธ ยมก็ ไ ด้ แต่ เ ด็ ก นั ก เรี ย นจะวิ เ คราะห์ ไ ด้ ไ ม่ ลึ ก ซึ้ ง นั ก และจะดู เคร่งเครียดเกิ นไป ครูที่ปรึกษา จำา ต้องกระตุ้น ความคิดด้ว ยคำา ถามที่ หลากหลาย และย่ อยประเด็น ลงไปให้ มากขึ้น และหากเด็ ก สนใจใน ประเด็ น “สิ่ ง ดี ที่ จ ะทำา ” มากกว่ า “ปั ญ หาที่ จ ะแก้ ” ก็ ไ ม่ เ ป็ น ไร ก็ ใ ห้ ขยายสิ่งดีที่จะทำาให้เป็นโครงการใหญ่ตั้งกลุ่มเป้าหมายให้ชัดและคิด ขันตอนของการทำางานออกมาได้ ก็เพียงพอแล้ว ้ ตั ว อ ย ่ า ง ป ร ะ เ ด ็ น ค ำ า ถ า ม ก ร ะ ต ุ ้ น ค ว า ม ค ิ ด น ั ก เ ร ี ย น ระดับประถ มศึกษ า - ถ้าจะชวนกันให้ทำาความดีนั้นหลายๆ คน จะทำาได้ หรือไม่? - จะวางกลุ่มเป้าหมายเป็นใคร? จำานวนกี่คน? - จะชักชวนหรือประชาสัมพันธ์ ด้วยวิธีการอย่างไร บ้าง? - จะมีวิธีการหรือกิจกรรม ดำาเนินการโครงงานนี้ อย่างไรบ้าง? - จะมีวิธีใดที่จะรู้ว่าแต่ละคนนั้นทำาความดีนั้นจริง หรือไม่? - ถ้าเขาทำาจริง จะรู้ได้อย่างไรว่าเขาทำามาก หรือทำา น้อย? - ถ้ามีคนที่ทำาความดีมากๆ จะให้อะไรเขาตอบแทน? - ต้องการให้เกิดผลดีจากการทำาโครงงานนี้อย่างไร บ้าง? - จะตั้งชื่อโครงงาน, ชื่อกลุ่ม ว่าอะไร? - อืน ๆ เช่น คุณธรรมใดที่จะนำามาใช้ในการ ่ ทำาความดีนี้ จากนั้นจึงให้ประมวลข้อมูลเป็นผ ั ง ม โ น ท ั ศ น ์ ที่มหัวข้อ ี ดังต่อไปนี้ ๐ ชื่อโครงงาน, ชื่อกลุ่ม, ชื่อโรงเรียน ๐ วาดภาพประกอบโครงงาน ที่แสดงออกถึงความคิด สร้างสรรค์ ๐ ประเด็นสิ่งดีที่อยากทำา / ประเด็นปัญหา(และสาเหตุ ของปัญหา) ที่เลือกทำาโครงงาน ๐ เป้าหมาย (เชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ) ๐ วิธีการ (วิธีการหรือกิจกรรมที่เป็นขั้นตอนเรียงข้อ)
  • 8. 8 ๐ หลักธรรม/พระราชดำาริ ที่นำามาใช้ ขั ้ น ตอนที ่ ๓ การจัดทำาร่างโครงงาน ขันตอนนี้เป็นการคิดพิจารณาวางแผนงานในรายละเอียดและ ้ ภาพรวมทั้งหมด โดยนำาข้อมูลที่รวบรวมและประมวลได้ทั้งหมดนั้นมาเรียบ เรียงและจัดทำาเป็นเอกสารร่างโครงงาน ที่มีหัวข้อต่างๆ ตามที่กำาหนดไว้ อย่างน้อย ๑๓ หัวข้อ (จำานวนหน้า ๑๐ – ๒๐ หน้ากระดาษขนาด A4) ดังนี้ (๑) ชื่อโครงงาน (ชื่อโครงงานเป็นภาษาไทยและภาษา อังกฤษ) (๒) กลุ่มเยาวชนผู้รับผิดชอบโครงงาน และสถานศึกษา แสดงชื่อกลุ่ม รายชื่อสมาชิกในกลุ่ม ตำาแหน่ง ชั้นเรียน, ชื่อสถาน ศึกษา ทีตั้ง โทรศัพท์ โทรสาร E-mail และเว็บไซต์สถานศึกษา(ถ้ามี) ่ (๓) ที่ปรึกษาโครงงาน ชื่อ-นามสกุล ตำาแหน่ง โทรศัพท์ และ E-mail (กรณีเป็นพระภิกษุให้ระบุฉายาและชื่อวัดด้วย) (๔) วัตถุประสงค์ (ไม่ควรเกิน ๕ ข้อ) (๕) สถานที่และกำาหนดระยะเวลาดำาเนินการ พื้นที่ที่เลือก ดำาเนินการจะเป็นภายในหรือภายนอกสถานศึกษาก็ได้ ส่วนกำาหนด ระยะเวลาดำาเนินการนั้น แบ่งเป็น ๒ ระยะ ระยะที่ ๑ ควรอยู่ในช่วง เดือน พฤษภาคม – สิงหาคม ๒๕๕๐ และระยะที่ ๒ ในช่วงเดือน ตุลาคม ๒๕๕๐ – มกราคม ๒๕๕๑ (๖) ผั ง มโนทั ศ น์ สรุ ป ภาพรวมของร่ า งโครงงานทั้ ง หมด เป็นผังมโนทัศน์ ใน ๑ หน้ากระดาษ (๗) สาระสำาคัญของโครงงาน (คำาอธิบายสาระสำาคัญของ โครงงานโดยย่อ ๕ - ๑๐ บรรทัด) (๘) การศึกษาวิเคราะห์ (๘.๑) ปัญหาและสาเหตุ (ประมวลข้อมูลสภาพปัญหา แล้ววิเคราะห์สืบสาวหาสาเหตุและปัจจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับ ปัญหา เพื่อให้เห็นที่มาและความสำาคัญของโครงงาน) (๘.๒) เป้าหมายและทางแก้ (วางเป้าหมายของการแก้ ปัญหาทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ) (๘.๓) หลักการและหลักธรรมที่นำามาใช้ (แสดงหลัก ธรรมและแนวพระราชดำาริ หรือหลักวิชาการต่างๆ ที่นำามาใช้ พร้อมอธิบายความหมายโดยย่อ แล้วอธิบายเชื่อมโยงกับการ ดำาเนินการโครงงาน อย่างสอดคล้องเป็นเหตุเป็นผล) (๙) วิธีการดำาเนินงาน (แสดงวิธีการดำาเนินงานเป็นข้อๆ หรือ เป็นแผนผังที่มีคำาอธิบายที่ชัดเจน) (๑๐) งบประมาณและแหล่งที่มาของงบประมาณ (แสดง งบประมาณโครงงานและแหล่งที่มา หากมีการระดมทุนเพิ่ม ให้บอก แผนงานหรือวิธีการระดมทุนด้วย) (๑๑) ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลโดยตรงและผลกระทบที่ต่อ เนื่องออกไป) (๑๒) ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของที่ปรึกษา (๑๓) ความคิดเห็นและความรู้สึกของประธานกลุ่มเยาวชน ผู้รับผิดชอบโครงงาน
  • 9. 9 การทบทวนหลั ง ปฏิ บ ั ต ิ ก าร (After Action Review) ๑. ความหมายและประโยชน์ การทบทวนหลังปฏิบัติการหรือที่เรียกว่า AAR เป็นเครื่องมือที่ พัฒนาขึ้นโดยกองทัพอเมริกันและใช้กันอย่างแพร่หลาย การทบทวน หลังปฏิบัติการเป็นการคุยกันถึงกิจกรรมที่ช่วยให้แต่ละคนเรียนรู้ด้วย ตนเองว่าเกิดอะไรขึ้น ทำาไมสิ่งนั้นจึงเกิดขึ้น อะไรเป็นสิ่งที่ดี อะไรที่ต้อง ปรับปรุง และได้รับบทเรียนอะไรจากประสบการณ์ที่ได้จากการทำางาน อย่างใดอย่างหนึ่ง สาระที่แท้จริงของการทบทวนหลังปฏิบัติการ คือ การเปิดใจและการเรียนรู้ ไม่ใช่การแก้ปัญหาหรือการตำาหนิ บทเรียนที่ ได้เรียนรู้นอกจากจะแลกเปลี่ยนกันด้วยวาจาแล้วยังสามารถบันทึกและ แบ่งปันกันในวงกว้างได้ด้วย การทบทวนหลังปฏิบัติการนั้นทำาได้ง่าย เพราะสามารถทำาได้ ตั้งแต่พูดคุยกัน ๒ คน เพียง ๕ นาที สำาหรับกิจกรรมเล็กๆ หรือนานเป็น วันในกลุ่มขนาดใหญ่ใช้หลังสิ้นสุดโครงการขนาดใหญ่ มีข้อจำากัดใน การใช้น้อยมาก กิจกรรมที่เหมาะสมสำาหรับการการทบทวนหลังปฏิบัติ การจะต้องมีจุดเริ่มต้นและมีจุดจบ มีวัตถุประสงค์ที่ระบุไว้ชัดเจน และสามารถประเมินผลการดำาเนินงานได้ ตัวอย่างของการใช้การทบทวน หลังปฏิบัติการ เช่น เมื่อมีการวางวิธีการปฏิบัติงานใหม่ เมือมีการเปลี่ยน ่ กะงาน หรือในกรณีของเราเมื่อฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการจัดการ ความรู้เสร็จสิ้นลง การทบทวนหลังปฏิบัติการเป็นวิธีที่ดีมากสำาหรับการ ทำาให้ความรู้ฝังลึกชัดแจ้งออกมาในการปฏิบัติงานหนึ่งๆ และทำาให้ บุคคลที่ร่วมกันทำางานได้เรียนรู้ก่อนที่จะแยกกันไปหรือลืมไปว่าเกิดอะไร ขึน การทบทวนหลังปฏิบัติการไม่จำาเป็นต้องทำาหลังจากที่เสร็จสิ้นทุก ้ อย่างไปแล้ว สามารถกระทำาได้เป็นช่วงๆ หรือหลังกิจกรรมหลักๆ ของ การทำางาน เพราะการเรียนรู้จะมีชีวิตชีวาและสามารถนำาบทเรียนไป ประยุกต์ได้ทันที ยิ่งไปกว่านั้นเทคนิคนี้ยังมีส่วนช่วยให้มองเห็นจุดแข็ง และจุดอ่อนของกิจกรรมและตัวบุคคลอย่างชัดแจ้ง ทั้งในส่วนของผู้นำาทีม และกระบวนการปฏิบัติงาน นอกจากนั้นแล้วยังเป็นเครื่องมือที่มี ประโยชน์สำาหรับผู้ปฏิบัติงาน โดยการให้และรับข้อมูลป้อนกลับใน บรรยากาศที่เป็นกันเอง ไม่ข่มขู่คุกคาม หรือที่เรียกว่าแบบกัลยาณมิตร และยังให้โอกาสบุคคลรับฟังความคิดเห็นและแสดงความคิดของตนเอง ให้ผอื่นได้รับฟังด้วย ู้ ๒. ขั ้ น ตอนของการทบทวนหลั ง ปฏิ บ ั ต ิ ก าร โดยทั่วไปการทบทวนหลังปฏิบัติการจำาแนกเป็น ๓ ประเภท คือ เป็น ทางการ ไม่เป็นทางการและทำาส่วนตัว แม้ขั้นตอนหลักๆ จะเหมือนกัน แต่ก็มีลักษณะพิเศษเฉพาะประเภท ๒.๑ การทบทวนหลั ง ปฏิ บ ั ต ิ ก ารอย่ า งเป็ น ทางการ การทำาอย่างเป็นทางการนี้ส่วนใหญ่แล้วจะใช้เมื่อหลังเสร็จ สิ้นโครงการหรือเหตุการณ์ใหญ่ๆ เป็นการเรียนรู้หลังการกระทำา แต่ต้อง มีการเตรียมตัวและการวางแผนล่วงหน้าพอสมควร การพูดคุยกันอาจใช้ เวลาประมาณ ๒ - ๓ ชั่วโมง หรือ ๒ - ๓ วันแล้วแต่ขนาดของโครงการ แต่ก็มีขั้นตอนหลักๆ ดังนี้ ๒.๑.๑ เชิญประชุมทันทีหรือเร็วที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้โดย เชิญเฉพาะคนที่เหมาะสม ทีต้องเชิญให้เร็วเพราะเหตุการณ์ยังใหม่สด ่
  • 10. 10 สามารถนำาเอาการเรียนรู้ไปประยุกต์ได้ทันที สำาหรับคนที่เหมาะสมนั้นคือ คนที่มีส่วนร่วมในโครงการหรือกิจกรรมหรือคนที่ทำากิจกรรมคล้ายคลึง กัน การเชิญคนนอกที่ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องเข้ามาอาจมีผลในการยับยั้งการ แสดงออกของสมาชิกทีมได้ ๒.๑.๒ สร้างบรรยากาศของความไว้วางใจ เปิดใจและเป็น มิตร เพราะการทบทวนหลังปฏิบัติการเป็นการเรียนรู้ไม่ใช่การประเมิน และการจับผิด ไม่มีลำาดับขั้นของอำานาจ ทุกคนมีสิทธิเท่ากันในการแสดง ความคิดเห็นของตน เทคนิคของ สคศ. คือ ให้ผู้ทอาวุโสน้อยหรือ ี่ สถานภาพตำ่าสุดเริ่มต้นพูดก่อนและสมาชิกอื่นๆโดยเฉพาะผู้ที่อาวุโสสูง หรือสถานภาพสูงกว่าต้องรับฟังด้วยความเอาใจใส่ และต้องชัดเจนว่าจุด ประสงค์ของการประชุมเป็นไปเพือช่วยให้การทำางานในช่วงเวลาต่อไป ่ ดำาเนินไปได้โดยราบรืนโดยอาศัยบทเรียนทีเกิดขึนเป็นฐาน ่ ่ ้ ๒.๑.๓ แต่งตั้งผู้อำานวยความสะดวกในการประชุม จุด ประสงค์ของขั้นนี้เป็นไปเพื่อช่วยให้ทีมตอบคำาถาม เข้าใจประเด็นที่ไม่ เคยได้พูดคุยกันมาก่อน ให้โอกาสทุกคนได้มีส่วนร่วม ช่วยให้พูดอย่าง สร้างสรรค์โดยไม่ตำาหนิกัน และผู้อำานวยความสะดวกในการประชุมควร เป็นบุคคลที่เกี่ยวข้องอย่างมากกับโครงการ เช่น หัวหน้าโครงการ เพื่อที่ จะได้รักษาให้การประชุมเป็นไปตามจุดประสงค์ ๒.๑.๔ ทบทวนวัตถุประสงค์ ตัวโครงการและกระบวนการ ปฏิบัติ ก่อนจัดประชุมผู้อำานวยความสะดวกและทีมควรทบทวนทุกอย่างที่ ทำาไว้ตั้งแต่เริ่มโครงการ อาจสร้างเป็นผังกระบวนการเพื่อให้มองเห็น ภาระงาน การกระจายงาน และจุดที่ตัดสินใจ เพื่อจะได้พิจารณาส่วน ประกอบต่างๆในการทำางานทั้งภาพรวมและรายละเอียด ๒.๑.๕ คำาถามที่ใช้ในการทบทวน มีข้อเสนอแนะดังนี้ ก. มี อ ะ ไ ร บ ้ า ง ท ี ่ ด ี ค้นหาว่าทำาไมจึงทำาได้ดีและแลก เปลี่ยนเรียนรู้เพื่อนำาไปใช้ในอนาคต การประชุมควรเริ่มต้นด้วยสิ่งที่เป็น บวก ในส่วนหนึ่งคือการค้นหาแบบปฏิบัติที่ดีเยี่ยมเพื่อการเรียนรู้แทน การค้นหาข้อผิดพลาด และเมื่อรู้ว่าอะไรดีแล้วให้ถามต่อว่าทำาไม คำาตอบ ที่ได้จะทำาให้เราพบสาเหตุหลัก ต่อจากนั้นจึงขอให้ผู้แสดงความคิดเห็น ทบทวนความคิดของตนเป็นข้อเสนอแนะที่เฉพาะเจาะจง สำาหรับให้คน อืนเก็บไว้ใช้ในการทำางานครั้งต่อไป ่ ข. มี อ ะ ไ ร บ ้ า ง ท ี ่ ส า ม า ร ถ ท ำ า ใ ห ้ ด ี ก ว ่ า น ี ้ ไ ด ้ คำาถาม นี้ถามเพื่อค้นหาว่าปัญหาที่ผ่านมา คืออะไร มีขอสังเกตว่าไม่ตั้งคำาถาม ้ ว่ามีอะไรที่ทำาพลาดไปบ้าง แต่แทนที่ด้วยคำาถามว่ามีอะไรที่ทำาให้ดีกว่านี้ ได้บ้าง การตั้งคำาถามแบบนี้นอกจากจะทำาให้เรียนรู้ข้อผิดพลาด ที่เกิด ขึนโดยไม่กดดันแล้วยังเป็นการมองหาโอกาสในการปรับปรุง และเช่น ้ เดียวกันกับคำาถามแรกให้ถามต่อว่าทำาไม เพื่อหาสาเหตุหลักและขอให้ผู้ แสดงความคิดเห็นทบทวนความคิดของตนเป็นข้อเสนอแนะที่เฉพาะ เจาะจงเช่นกัน ๒.๑.๖ ทำาให้มั่นใจได้ว่าทุกคนรู้สึกว่าตนได้ยินทุกอย่างเต็มที่ ก่อนจบการประชุม ขั้นนี้สำาคัญมากจะต้องไม่ปล่อยให้การประชุมจบลง โดยบางคนไม่ได้ฟังทั้งหมดและบางคนไม่ได้พูดอะไรเลย เทคนิคหนึ่งที่มี ประโยชน์ คือ ขอให้ทุกคนในวงประชุมประมาณกิจกรรมที่ทำาไปโดยใช้ มาตราส่วนประมาณค่าที่เป็นตัวเลข โดยถามว่า หากมองย้อนไปคุณ พอใจกิจกรรมหรือโครงการที่ทำาไปในระดับใด อาจให้ค่าประมาณ ๑ - ๑๐ และหากผู้ใดประมาณค่าความพอใจไม่ถึง ๑๐ ก็ถามต่อไปว่าหากจะ ให้ถึง ๑๐ จะต้องทำาอะไรอีกและทำาอย่างไร เพื่อจะได้ข้อเสนอแนะเพิ่ม เติม ๒.๑.๗ บันทึกการทบทวนหลังปฏิบัติการ สิ่งสำาคัญที่ต้อง ทำาในการทบทวนหลังปฏิบัติการคือต้องมีการบันทึก เพราะจะใช้เป็นการ เตือนความจำา เก็บบทเรียนและข้อเสนอแนะสำาหรับใช้ในโอกาสต่อไป ในการบันทึกควรใส่ภูมิหลังของโครงการที่ทำาลงไปด้วยเพราะจะช่วยให้ สิ่งที่บันทึกได้จากการทบทวนมีความหมายชัดเจนว่าได้เกิดขึ้นในบริบท เช่นใด นอกไปจากนั้นควรใส่ชื่อของบุคคลอ้างอิง เอกสารหลักๆ เช่น ตัวโครงการหรือรายงานที่เกี่ยวข้อง หากจะพิจารณาว่าควรเก็บอะไร บ้างลองตั้งคำาถามตนเองว่าหากเราเป็นหัวหน้าโครงการแบบนี้ในครั้งต่อ ไปจะมีข้อมูลอะไรบ้างที่จะเป็นประโยชน์ต่อเรา
  • 11. 11 ๒.๑.๘ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ผลการทบทวน พิจารณาว่าใครบ้าง จะได้ประโยชน์จากผลการทบทวนนี้ และเก็บผลการบันทึกไว้ในรูปที่ บุคคลเหล่านี้จะค้นหาได้ง่ายและเข้ามาใช้ได้โดยสะดวก เช่น อาจเก็บไว้ ในห้องสมุด ศูนย์จัดการความรู้ ฐานข้อมูลบางประเภทหรือเครือข่าย ภายในองค์กร ๒ .๒ ก า ร ท บ ท ว น ห ล ั ง ป ฏ ิ บ ั ต ิ ก า ร อ ย ่ า ง ไ ม ่ เ ป ็ น ท า ง ก า ร การทบทวนประเภททีสองนีกระทำาเมือเสร็จสินกิจกรรมย่อยๆ ่ ้ ่ ้ เช่น ประชุมหรือนำาเสนองานเสร็จสินลง (เรียนรูหลังทำา) หรือหลังจากเสร็จ ้ ้ กิจกรรมย่อยในโครงการขนาดใหญ่ (เรียนรูระหว่างทำา) ใช้เวลาสัน การเต ้ ้ รียมตัวและการวางแผนน้อยกว่าการทบทวนประเภทแรก อุปกรณ์ทใช้ก็ ี่ ง่ายๆ เช่น กระดาษ ดินสอ หรือแผ่นพลิก ประกอบการประชุม และการ ประชุมก็สนๆ เป็นกันเอง ตรงไปตรงมา ผูรวมประชุมเพียงตอบคำาถามเหล่านี้ ั้ ้ ่ คือ ก. อะไรบ้างที่ควรจะมีหรือเกิดขึ้น (แต่ไม่มีหรือไม่เกิดขึ้น) ข. สิ่งที่ได้เกิดขึ้นจริงๆ คืออะไรบ้าง ค. ทำาไมจึงมีข้อแตกต่างเหล่านี้ ง. เราได้เรียนรู้อะไรบ้าง ๒ .๓ ก า ร ท บ ท ว น ห ล ั ง ป ฏ ิ บ ั ต ิ ก า ร เ ป ็ น ส ่ ว น ต ั ว การทบทวนประเภทสุดท้ายเป็นการไตร่ตรองกิจกรรมที่ ตนเองทำาไปด้วยตนเอง อาจใช้เวลาสั้นๆ หลังทำากิจกรรม ถามตัวเองด้วย คำาถาม ๔ ข้อ จากการทบทวนประเภทที่ ๒ แล้วบันทึกไว้เป็นบทเรียนของ ตน ๓ . ข้อควร ตร ะ ห นัก ใ น ก า ร ท บ ท ว น ห ล ัง ป ฏิบัติก าร ๓.๑ ตระหนักไว้เสมอว่าการทบทวนหลังปฏิบัติการเป็นการเรียน รู้ไม่ใช่การวิจารณ์ หรือตำาหนิ และไม่ใช่การประเมินผลการปฏิบัติงาน คุณภาพของการทบทวนขึ้นอยู่กับความเต็มใจที่จะเปิดใจพูดถึงสิ่งต่างๆ ตามความเป็นจริง ซึ่งจะเกิดขึ้นไม่ได้หากบรรยากาศไม่เป็นมิตร ๓.๒ จัดให้มีการทบทวนหลังปฏิบัติการให้เร็วที่สุด อย่าทิ้งช่วง ว่างระหว่างกิจกรรมที่ทำาเสร็จกับการประชุมไว้นานนัก เพราะยิ่งเร็ว เท่าใดก็เท่ากับว่าคนจะเรียนรู้ได้มากและนำาไปใช้ได้ทันทีและใช้ได้อย่าง มีประสิทธิภาพ ด้วยเหตุนี้จึงมีข้อเสนอแนะว่าในโครงการต่างๆควรมีการ ทบทวนหลังปฏิบัติเป็นระยะเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ระหว่างทำางาน ๔ . ข้ อ ส ั ง เ ก ต เ พ ิ ่ ม เ ต ิ ม ในบางโครงการใช้เทคนิคเดียวกันนี้ทำาก่อนเริ่มต้อนปฏิบัติการ เรียกว่า BAR (Before Action Review) การทบทวนก่อนปฏิบัติการ เพื่อ เตรียมความพร้อมในการทำางาน อ้างอิงจาก เอกสารสรุปองค์ความรู้โครงการวิจัยและพัฒนานวัตกรรม การเพิ่มประสิทธิภาพขององค์กรทางการศึกษาด้วยการจัดการความรู้ โดย รศ.ดร.กุญชรี ค้าขาย มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา
  • 12. 12 แ บ บ ร า ย ง า น ก า ร ด ำา เ น ิ น ก า ร โ ค ร ง ก า ร เ ส ร ิ ม ส ร ้ า ง ค ุ ณ ธ ร ร ม ใ น ส ถ า น ศ ึ ก ษ า (ตัวอย่าง) ชื ่ อ โ ร ง เ ร ี ย น ................................................................................................. ส พ ป . เลย เขต ๒ จ ำ า น ว น โ ร ง เ ร ี ย น ใ น เ ค ร ื อ ข ่ า ย .................................................. กิ จ ก ร ร ม เ ร ื ่ อ ง ................................................................................................................ ............................... แ ผ น ด ำา เ น ิ น ก า ร ๑. ............................................................................................................ ..................................... ๒. ............................................................................................................ ..................................... ๓. ............................................................................................................ ..................................... ๔. ............................................................................................................ ..................................... ผ ล ด ำ า เ น ิ น ก า ร (ระยะ ๑ ระยะ ๒ ระยะ ๓ ระยะ ๔) ................................................................................................................ ...................................................... ................................................................................................................ ...................................................... ................................................................................................................ ...................................................... ปั ญ ห า อุ ป ส ร ร ค ................................................................................................................ ...................................................... ................................................................................................................ ...................................................... งบประมา ณ ยกมา ได้รับ ใช้ไป คงเหลือ หมายเหตุ ข้ อ ค ิ ด เ ห ็ น เ ส น อ แ น ะ (ต่อเครือข่ายอื่น/ ต่อ สพท./ ต่อ สพฐ.) ................................................................................................................ ......................................................
  • 13. 13 ................................................................................................................ ...................................................... ผู ้ ร า ย ง า น .................................................... ต ำ า แ ห น ่ ง ................................................................................... ( ) โ ท ร .มื อ ถ ื อ … ……………………………………………… .. ตั ว อ ย ่ า ง แ บ บ เ ส น อ โ ค ร ง ก า ร โครงการ เสริมสร้างคุณธรรมในสถานศึกษา แผนงาน ขยายโอกาสและพัฒนาการศึกษา สนองกลยุทธ์ของ สพฐ. กลยุทธ์ที่ ๒ ปลูกฝังคุณธรรม ความสำานึกใน ความเป็นชาติไทย และ วิถีชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผู้รับผิดชอบโครงการ ........................................................................................................ ........................ งานที่รับผิดชอบ ........................................................................................................ ....................... ลักษณะโครงการ โครงการใหม่ ระยะเวลาดำาเนินการ พฤษภาคม – ๒๐ กันยายน ๒๕๕๔ ................................................................................................................ .......................................................... ๑ . หลักการและเหตุผล กระทรวงศึกษาธิการ ได้ประกาศจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ด้วยการขับเคลื่อนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑ และ การปฏิรูปการศึกษารอบสอง (พ.ศ.๒๕๕๒ – ๒๕๖๑) ให้ประสบผลสำาเร็จ ตามจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนโดยให้ทุกภาคส่วนร่วมกันดำาเนิน การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ด้านคุณลักษณะ รั ก ค ว า ม เ ป ็ น ไ ท ย ซึ่งเป็น คุณลักษณะหนึ่งที่หลักสูตรกำาหนดไว้ให้ฝึกฝน ขัดเกลาบ่มเพาะให้ เยาวชนไทยได้แสดงออกถึงความภาคภูมิใจ เห็นคุณค่า ร่วมอนุรักษ์ สืบทอดภูมิปัญญาไทย ขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะและวัฒนธรรม ใช้ ภาษาไทยในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม ดังนั้น เด็กไทยทุก คนควรได้รับการเรียนรู้และพัฒนาตนเองอย่างเต็มศักยภาพ นอกจากนี้ สำานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ยังได้ ส่งเสริมพัฒนาโครงการโรงเรียนวิถีพุทธ โดยปรารถนาให้เป็นจุดสำาคัญของการนำาคุณค่ามหาศาลของพุทธธรรม มาสู่สังคมไทยโดยผ่านกระบวนการจัดการเรียนรู้ ของโรงเรียนโดยเน้น ให้ผู้บริหารและครูผู้สอน นำาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนามาประยุกต์ใช้ ในการบริหารจัดการโรงเรียนทุกด้าน เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจและสามารถ นำาหลักธรรมไปใช้ในการดำารงชีวิต พร้อมกับการปูพื้นฐาน ด้านความรู้ ความเข้าใจ สร้างเจตคติให้เยาวชนอย่างเหมาะสมด้วยคุณค่าอนันต์ของ องค์ความรู้ในพุทธธรรม โดยผสมผสานสาระความรู้ต่าง ๆ อย่างได้
  • 14. 14 สัดส่วนสมดุลกันทั้งด้านการปลูกฝังคุณธรรม ค่านิยมที่ดีงามและ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ในทุกวิชา เรียนรู้อย่างบูรณาการในทุกกลุ่ม สาระ และตามกรอบแนวคิดโรงเรียนวิถีพุทธ ทั้งนี้เพื่อมุ่งหวังที่จะช่วยลด สถานการณ์ปัจจุบันของนักเรียนและเยาวชนที่อยู่ในสถานศึกษามาจาก ครอบครัวที่แตกต่างกันในด้านความเป็นอยู่ อันเนื่องมาจากการ เปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และการมีความรู้พื้นฐาน ด้านการศึกษาของผู้ปกครอง สภาพสิ่งแวดล้อมที่ไม่พึงประสงค์ อาทิเช่น ปัญหาทะเลาะวิวาท การทำาร้ายร่างกายระหว่างนักเรียนด้วยกันเอง ปัญหาการเสพสิ่งเสพติดให้โทษ ปัญหาทางเพศก่อนวัยอันควร ปัญหา การใช้จ่ายเงินเกินความจำาเป็น ปัญหาการรับวัฒนธรรมในการแต่งกายที่ ขัดต่อวัฒนธรรมอันดีงามของชาติไทย ขาดความกตัญญูรู้คุณต่อผู้มี พระคุณ ไม่มีความเกื้อกูล เอือเฟื้อ เผื่อแผ่ แบ่งปันไม่มีความเป็น ้ กัลยาณมิตรระหว่างการอยู่ร่วมกันเท่าที่ควร ส่งผลให้สภาพสังคมไทย โดยเฉพาะการขาดจิตสำานึก ในตนเอง การมีจิตสาธารณะ ความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ความเป็น พลเมืองชาติ และพลเมืองโลก โรงเรียน......................................................... ตระหนักและเห็น ความสำาคัญอย่างยิ่ง จึงได้จัดทำาโครงการนี้ ๒ . วั ต ถ ุ ป ร ะ ส ง ค ์ ๒.๑.......................................................................................................... .......................................... ๒.๒.......................................................................................................... ........................................... ๓ . เป้ า ห ม า ย ๓.๑.......................................................................................................... ......................................... ๓.๒.......................................................................................................... ......................................... ๓.๓.......................................................................................................... ........................................ ๔ . กิ จ ก ร ร ม / ร ะ ย ะ เ ว ล า ด ำา เ น ิ น ง า น ที่ กิจกรรม ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ ๕ . ง บ ป ร ะ ม า ณ จำานวน..................................บาท(ถัวจ่ายทุกรายการ) จำาแนกรายละเอียดการใช้งบประมาณ ดังนี้
  • 15. 15 หมวดค่าใช้จ่าย ที่ รายละเอียดการใช้งบ ประมาณ ค่า ค่า ค่าวัสดุ รวม ตอบแทน ใช้สอย ๑ ๒ ๓ ๔ รวมทั้งสิ้น ๖ . การประเมินผล ที่ ตัวชี้วัดความสำาเร็จ วิธีการ เครื่องมือ ๗ . ผลที่คาดว่าจะได้รับ ๗.๑.......................................................................................................... ........................................... ๗.๒......................................................................................................... ........................................... (ลงชื่อ) ผู้เสนอโครงการ (...........................................) ตำาแหน่ง......................................................... (ลงชื่อ) ผู้เห็นชอบโครงการ (.........................................) ตำาแหน่ง......................................................... (ลงชื่อ) ผู้เห็นชอบโครงการ (........................................) ตำาแหน่งผู้อำานวยการ โรงเรียน......................................................... (ลงชื่อ) ผูอนุมัติโครงการ ้ (นายเทวรัฐ โตไทยะ) ผู้อำานวยการสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา เลย เขต ๒