SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 8
Descargar para leer sin conexión
1
การประเมินผลความหน้าการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศในพื้นที่ภาคกลาง
ในช่วงครึ่งแรกของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11
(พ.ศ 2555-2557)
An Evaluation of Eco Industrial Town Development in Central Region
of Thailand During the First Half of the 11th
Economic and Social
Development Plan (2012-2014)
โดย
เชิญ ไกรนรา
Choen Krainara
สานักพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมภาคกลาง
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
2 มิถุนายน 2557
2
การประเมินผลความหน้าการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศในพื้นที่ภาคกลาง
ในช่วงครึ่งแรกของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11
(พ.ศ 2555-2557)
An Evaluation of Eco Industrial Town Development in Central Region
of Thailand During the First Half of the 11th
Economic and Social
Development Plan (2012-2014)
ขอบเขตของเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ มี 4 ระดับคือ
-ระดับโรงงาน เข้าสู่การเป็นโรงงานอุตสาหกรรมสีเขียว (Green Industry) ระดับ GI1 – GI 5 ตามเกณฑ์ของ
กระทรวงอุตสาหกรรม
-ระดับนิคมอุตสาหกรรม พัฒนาเชิงพื้นที่ด้วยความร่วมมือกับเครือข่ายทั้ง โรงงานชุมชน และหน่วยงานส่วน
ท้องถิ่น ให้เป็น “นิคมอุตสาหกรรมเชิงนิเวศและเครือข่าย” หรือ “เมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ” (Eco
Industrial Estate & Networks)
• ระดับเมือง ที่มีนิคมอุตสาหกรรมตั้งอยู่โดยการพัฒนาในด้านต่างๆ ของท้องถิ่น ควบคู่กันไปกับภาคส่วน
อุตสาหกรรม ซึ่งเป็นหลักในการสร้างความเจริญทางเศรษฐกิจของท้องถิ่นหรือเมืองนั้นๆ สู่การเป็น “เมืองน่า
อยู่ คู่อุตสาหกรรม” (Eco Industrial Town)
• ระดับจังหวัด พัฒนาในทุกภาคส่วนสู่เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน ได้แก่ เกษตรยั่งยืน ประมงยั่งยืน
ท่องเที่ยวยั่งยืนและอุตสาหกรรมยั่งยืน เพื่อเป็น“เมืองน่าอยู่ เมืองยั่งยืน” (Eco City)
ความก้าวหน้าของการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศในพื้นที่ภาคกลางในช่วงครึ่งแรกของแผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 มีสาระสาคัญดังนี้
1.ความก้าวหน้าการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศระดับโรงงานในพื้นที่ภาคกลางระหว่างปี 2555-
2556
ระหว่างปี 2555-2556 พื้นที่ภาคกลาง 25 จังหวัดรวมกรุงเทพมหานครมีจานวนโรงงานอุตสาหกรรมจาพวกที่
3 ซึ่งเป็นโรงงานขนาดใหญ่ ก่อปัญหามลพิษทางราชการต้องควบคุมดูแลและจะต้องได้รับใบอนุญาตประกอบ
กิจการก่อนประกอบการจานวน 48,723 โรงงาน หากรวมเฉพาะพื้นที่ทั้งภาคกลางจานวน 25 จังหวัดจะมี
โรงงานอุตสาหกรรมจาพวกที่ 3 จานวน 39,255 โรงงาน หรือคิดเป็นร้อยละ 80.54 ของจานวนโรงงาน
อุตสาหกรรมทั้งพื้นที่ภาคกลางรวมกรุงเทพมหานคร กระทรวงอุตสาหกรรมได้จัดทาโครงการอุตสาหกรรม
สีเขียว (Green Industry: GI) ทั่วประเทศตั้งแต่ปี 2554 จนถึงถึงปัจจุบัน ซึ่งเป็นการทางานเชิงรุกโดยมุ่งเน้น
ส่งเสริมและพัฒนาภาคอุตสาหกรรมให้เติบโตและพัฒนาอย่างยั่งยืน ตลอดทั้งส่งเสริมภาคอุตสาหกรรมให้มี
3
การประกอบการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและต่อสังคม เพื่อให้ภาคอุตสาหกรรมมีภาพลักษณ์ทีดี น่าเชื่อถือ
และประชาชนไว้วางใจ และเกิดการสร้างเศรษฐกิจสีเขียว ซึ่งจะทาให้ผลิตภัณฑ์มวลรวมสีเขียวของประเทศ
(Green GDP) มีมูลค่าเพิ่มสูงขึ้นด้วย โดยส่งเสริมให้สถานประกอบการมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องสู่การเป็น
อุตสาหกรรมสีเขียวใน 5 ระดับ ประกอบด้วย
 ระดับที่ 1 ความมุ่งมั่นสีเขียว (Green Commitment) คือ ความมุ่งมั่นที่จะลดผลกระทบต่อ
สิ่งแวดล้อมและมีการสื่อสารภายในองค์กรให้ทราบโดยทั่วกัน
 ระดับที่ 2 ปฏิบัติการสีเขียว (Green Activity) คือการดาเนินกิจกรรมเพื่อลดผลกระทบต่อ
สิ่งแวดล้อมได้สาเร็จตามความมุ่งมั่นที่ตั้งไว้
 ระดับที่ 3 ระบบสีเขียว (Green System) คือการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างเป็นระบบ มีการ
ติดตามประเมินผลและทบทวนเพื่อการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง รวมถึงการได้รับรางวัลด้านสิ่งแวดล้อมที่
เป็นที่ยอมรับ และการรับรองมาตรฐานด้านสิ่งแวดล้อมต่างๆ
 ระดับที่ 4 วัฒนธรรมสีเขียว (Green Culture) คือการที่ทุกคนในองค์กรให้ความร่วมมือในการ
ดาเนินงานอย่างเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมในทุกด้านของการประกอบกิจการ จนกลายเป็นส่วนหนึ่งของ
องค์กร
 ระดับที่ 5 เครือข่ายสีเขียว (Green Network) คือการแสดงถึงการขยายเครือข่ายตลอดห่วงโซ่
อุปทานสีเขียว โดยสนับสนุนให้คู่ค้าและและพันธมิตรเข้าสู่กระบวนการรับรองอุตสาหกรรมสีเขียว
ด้วย
โดยระหว่างปี 2555-2556 มีจานวนโรงงานอุตสาหกรรมในพื้นที่ภาคกลางจาก 6 กลุ่มจังหวัด สมัครเข้าร่วม
โครงการรับรองอุตสาหกรรมสีเขียวรวมจานวนทั้งสิ้น 3,944 โรงงาน หรือคิดเป็นร้อยละ 10.01 ของจานวน
โรงงานทั้งพื้นที่ภาคกลางไม่รวมกรุงเทพมหานคร และได้รับใบรับรองอุตสาหกรรมสีเขียวจานวน 3,824
โรงงาน หรือคิดเป็นร้อยละ 97 ของโรงงานทั้งหมดที่เข้าร่วมโครงการ โดยมีโรงงานที่ผ่านการประเมินและ
ได้รับใบรับรองระดับ 1 จานวน 2,298 โรงงาน หรือคิดเป็นร้อยละ 58.26 ของจานวนโรงงานที่เข้าร่วม
โครงการ ระดับ 2 จานวน 864 โรงงาน หรือคิดเป็นร้อยละ 21.90 ระดับ 3 จานวน 629 โรงงาน หรือคิดเป็น
ร้อยละ16 ระดับ 4 จานวน 33 โรงงาน หรือคิดเป็นร้อยละ 0.83 สาหรับระดับ 5 ขณะนี้อยู่ระหว่างการตรวจ
ประเมิน โดยสามารถจาแนกการได้รับใบรับรองการเป็นอุตสาหกรรมสีเขียวออกเป็นรายกลุ่มจังหวัดได้ดังนี้
1.1 กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนกลาง มีจานวนโรงงานอุตสาหกรรมมากที่สุด 9,829 โรงงาน โดยมีโรงงาน
อุตสาหกรรมสมัครเข้าร่วมโครงการจานวน 731 โรงงาน หรือคิดเป็นร้อยละ 7.43 ของจานวนโรงงานรวมทั้ง
กลุ่มจังหวัด และมีโรงงานที่ผ่านการประเมินและได้รับใบรับรองรวมทั้งสิ้นจานวน 642 โรงงาน หรือคิดเป็น
ร้อยละ 88 ของจานวนโรงงานที่เข้าร่วมโครงการทั้งกลุ่มจังหวัด แบ่งออกเป็น ระดับ 1 จานวน 179 โรงงาน
ระดับ 2 จานวน 107 โรงงาน ระดับ 3 จานวน 114 โครงการ ระดับ 4 จานวน 5 โรงงาน สาหรับระดับ 5
ขณะนี้อยู่ระหว่างการตรวจประเมิน โดยมีสัดส่วนของจังหวัดที่ได้รับใบรับรองจากจานวนโรงงานที่ได้รับ
4
ใบรับรองรวมทั้งกลุ่มจังหวัดมีดังนี้ จังหวัดสมุทรปราการคิดเป็นร้อยละ 58.72 จังหวัดฉะเชิงเทราคิดเป็นร้อย
ละ 22 จังหวัดปราจีนบุรีคิดเป็นร้อยละ 8 จังหวัดนครนายกคิดเป็นร้อยละ 5.45 และจังหวัดสระแก้วคิดเป็น
ร้อยละ 5 ตามลาดับ
1.2 กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน 1 มีจานวนทั้งสิ้น 8,467 โรงงาน โดยมีโรงงานอุตสาหกรรมสมัครเข้า
ร่วมโครงการจานวน 1,166 โรงงาน หรือคิดเป็นร้อยละ 13.77 ของจานวนโรงงานรวมทั้งกลุ่มจังหวัด และมี
โรงงานที่ผ่านการประเมินและได้รับใบรับรองรวมทั้งสิ้นจานวน 1,076 โรงงาน หรือคิดเป็นร้อยละ 92.28 ของ
จานวนโรงงานที่เข้าร่วมโครงการทั้งกลุ่มจังหวัด แบ่งออกเป็น ระดับ 1 จานวน 750 โรงงาน ระดับ 2 จานวน
240 โรงงาน ระดับ 3 จานวน 157 โรงงาน ระดับ 4 จานวน 16 โรงงาน สาหรับระดับ 5 ขณะนี้อยู่ระหว่าง
การตรวจประเมิน โดยมีสัดส่วนของจังหวัดที่ได้รับใบรับรองจากจานวนโรงงานที่ได้รับใบรับรองรวมทั้งกลุ่ม
จังหวัดมีดังนี้ จังหวัดปทุมธานีคิดเป็นร้อยละ 41.27 จังหวัดสระบุรีคิดเป็นร้อยละ 23.04 จังหวัดนนทบุรีคิด
เป็นร้อยละ 21.75 และจังหวัดพระนครศรีอยุธยาคิดเป็นร้อยละ 13.92 ตามลาดับ
1.3 กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออก มีจานวนทั้งสิ้น 6,855 โรงงาน โดยมีโรงงานอุตสาหกรรมสมัครเข้าร่วม
โครงการจานวน 896 โรงงาน หรือคิดเป็นร้อยละ 13.07 ของจานวนโรงงานรวมทั้งกลุ่มจังหวัด และมีโรงงานที่
ผ่านการประเมินและได้รับใบรับรองรวมทั้งสิ้นจานวน 881 โรงงาน หรือคิดเป็นร้อยละ 98.32 ของจานวน
โรงงานที่เข้าร่วมโครงการทั้งกลุ่มจังหวัด แบ่งออกเป็น ระดับ 1 จานวน 521 โรงงาน ระดับ 2 จานวน 127
โรงงาน ระดับ 3 จานวน 225 โรงงาน ระดับ 4 จานวน 8 โรงงาน สาหรับระดับ 5 ขณะนี้อยู่ระหว่างการตรวจ
ประเมิน โดยมีสัดส่วนของจังหวัดที่ได้รับใบรับรองจากจานวนโรงงานที่ได้รับใบรับรองรวมทั้งกลุ่มจังหวัดมีดังนี้
จังหวัดชลบุรีคิดเป็นร้อยละ 53.91 จังหวัดระยองคิดเป็นร้อยละ 33.03 จังหวัดจันทบุรีคิดเป็นร้อยละ 9.3
และจังหวัดตราดคิดเป็นร้อยละ 3.74 ตามลาดับ
1.4 กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง 2 มีจานวนทั้งสิ้น 6,332 โรงงาน โดยมีโรงงานอุตสาหกรรมสมัครเข้า
ร่วมโครงการจานวน 319 โรงงาน หรือคิดเป็นร้อยละ 5.03 ของจานวนโรงงานรวมทั้งกลุ่มจังหวัด และมี
โรงงานที่ผ่านการประเมินและได้รับใบรับรองรวมทั้งสิ้นจานวน 318 โรงงาน หรือคิดเป็นร้อยละ 100 ของ
จานวนโรงงานที่เข้าร่วมโครงการทั้งกลุ่มจังหวัด แบ่งออกเป็น ระดับ 1 จานวน 223 โรงงาน ระดับ 2 จานวน
68 โรงงาน ระดับ 3 จานวน 27 โรงงาน สาหรับระดับ 4 และระดับ 5 ขณะนี้อยู่ระหว่างการตรวจประเมิน
โดยมีสัดส่วนของจังหวัดที่ได้รับใบรับรองจากจานวนโรงงานที่ได้รับใบรับรองรวมทั้งกลุ่มจังหวัดมีดังนี้ จังหวัด
สมุทรสาครคิดเป็นร้อยละ 65.09 จังหวัดประจวบคีรีขันธ์คิดเป็นร้อยละ 20.44 จังหวัดเพชรบุรีคิดเป็นร้อยละ
7.54 และจังหวัดสมุทรสงครามคิดเป็นร้อยละ 6.91 ตามลาดับ
1.5 กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง 1 มีจานวนทั้งสิ้น 6,184 โรงงาน โดยมีโรงงานอุตสาหกรรมสมัครเข้า
5
ร่วมโครงการจานวน 685 โรงงาน หรือคิดเป็นร้อยละ 11 ของจานวนโรงงานรวมทั้งกลุ่มจังหวัด และมีโรงงาน
ที่ผ่านการประเมินและได้รับใบรับรองรวมทั้งสิ้นจานวน 672 โรงงาน หรือคิดเป็นร้อยละ 98.1 ของจานวน
โรงงานที่เข้าร่วมโครงการทั้งกลุ่มจังหวัด แบ่งออกเป็น ระดับ 1 จานวน 440 โรงงาน ระดับ 2 จานวน 179
โรงงาน ระดับ 3 จานวน 49 โรงงาน ระดับ 4 จานวน 4 โรงงาน สาหรับระดับ 5 ขณะนี้อยู่ระหว่างการตรวจ
ประเมิน โดยมีสัดส่วนของจังหวัดที่ได้รับใบรับรองจากจานวนโรงงานที่ได้รับใบรับรองรวมทั้งกลุ่มจังหวัดมีดังนี้
จังหวัดนครปฐมคิดเป็นร้อยละ 46.42 จังหวัดราชบุรีคิดเป็นร้อยละ 27.52 จังหวัดสุพรรณบุรีคิดเป็นร้อยละ
20.98 และจังหวัดกาญจนบุรีคิดเป็นร้อยละ 5.05 ตามลาดับ
1.6 กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน 2 มีโรงงานอุตสาหกรรมจานวนน้อยที่สุด 1,554 โรงงาน โดยมี
โรงงานอุตสาหกรรมสมัครเข้าร่วมโครงการจานวน 147 โรงงาน หรือคิดเป็นร้อยละ 9.45 ของจานวนโรงงาน
รวมทั้งกลุ่มจังหวัด ซึ่งโรงงานที่สมัครเข้าร่วมโครงการทั้งกลุ่มจังหวัดผ่านการประเมินและได้รับใบรับรองครบ
100 % แบ่งออกเป็น ระดับ 1 จานวน 76 โรงงาน ระดับ 2 จานวน 51 โรงงาน ระดับ 3 จานวน 18 โรงงาน
ระดับ 4 จานวน 18 โรงงาน สาหรับระดับ 5 ขณะนี้อยู่ระหว่างการตรวจประเมิน โดยมีสัดส่วนของจังหวัดที่
ได้รับใบรับรองจากจานวนโรงงานที่ได้รับใบรับรองรวมทั้งกลุ่มจังหวัดมีดังนี้ จังหวัดอ่างทองคิดเป็นร้อยละ
31.75 จังหวัดชัยนาทคิดเป็นร้อยละ 25.67 จังหวัดสิงห์บุรีคิดเป็นร้อยละ 22.29 และจังหวัดลพบุรี คิดเป็น
ร้อยละ 13.69 ตามลาดับ
จากสถิติโรงงานที่ได้รับการรับรองข้างต้น กล่าวได้ว่าการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศที่มุ่งเน้นการพัฒนา
อุตสาหกรรมสีเขียวระดับโรงงานในพื้นที่ภาคกลางอยู่ในช่วงเริ่มต้น แต่มีความก้าวหน้าของการดาเนินงานอยู่
ในเกณฑ์ดี ตลอดทั้งยังเป็นเป้าหมายที่มีความท้าทายเนื่องจากอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อมยังขาด
ความรู้ ความเข้าใจ และความตระหนักในความสาคัญเพื่อปรับปรุงกิจการที่ไม่กระทบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
แม้ว่าอาจจะมีศักยภาพในการปรับปรุงวิธีการในการบริหารจัดการอย่างง่ายๆให้มีประสิทธิภาพและไม่
ก่อให้เกิดผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม และมักจะต่อรองกับภาครัฐเกี่ยวกับมาตรการจูงใจทั้งในด้านการเงินและ
สิทธิประโยชน์ต่างๆ รวมถึงความพร้อมในเรื่องของเทคโนโลยีและเงินลงทุนซึ่งเป็นปัจจัยสาคัญในการ
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของการประกอบกิจการ ทาให้เป็นอุปสรรคต่อการบรรลุเป้าหมายของอุตสาหกรรม
สีเขียวที่ตั้งไว้
2.ความก้าวหน้าการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศระดับนิคมอุตสาหกรรม
กรมโรงงานอุตสาหกรรมและการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยกาหนดเป้าหมายการพัฒนาเมือง
อุตสาหกรรมเชิงนิเวศเชิงพื้นที่ใน 5 มิติ ซึ่งครอบคลุมด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม กายภาพและการ
บริหารจัดการ โดยส่งเสริมการพัฒนาตั้งแต่ระดับนิคมอุตสาหกรรม ระดับเมือง และระดับจังหวัด โดยใช้
หลักการสร้างเครือข่ายความร่วมมือแบบสามสามัคคีระหว่างอุตสาหกรรม ชุมชนและภาครัฐ และการพัฒนา
เพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่าโดยใช้หลักหมุนเวียนวัสดุ การเชื่อมโยงการใช้ประโยชน์ของเสียและ 3Rs หรือการ
6
ลดขยะ การนามาใช้ใหม่ และการแปรรูปและนากลับมาใช้ใหม่ (Reduce, Reuse, Recycle) โดยมีแนว
ทางการดาเนินงานดังนี้
1) ศึกษาข้อมูลพื้นฐานของพื้นที่เพื่อการวางแผนพัฒนาและแผนปฏิบัติการที่ชัดเจนในแต่ละพื้นที่ ตลอดจน
เปิดโอกาสให้มีการหารือและแสดงความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
2) สร้างความรู้ความเข้าใจและความตระหนักในการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศอย่างมีส่วนร่วม
3) ส่งเสริมการพัฒนาอุตสาหกรรมโดยใช้ทรัพยากรหมุนเวียนให้มากที่สุดและบริหารจัดการวัตถุดิบและของ
เสีย รวมทั้งส่งเสริมภาคเอกชนให้ประกอบกิจการอย่างมีความรับผิดชอบต่อสังคม
4) แก้ไขปัญหามลพิษและประเด็นปัญหาของพื้นที่เพื่อให้เกิดความเข้าใจอันดีต่อกัน
5) สร้างกลไกส่งเสริมการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศเชิงพื้นที่ และการพัฒนาอย่างต่อเนื่องรวมทั้งการ
ออกกฎระเบียบในการกากับดูแลและบริหารจัดการที่มุ่งสู่ความสมดุล
เพื่อผลักดันแนวคิดการพัฒนาอุตสาหกรรมเชิงนิเวศสู่การปฏิบัติ การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยได้
จัดทาคู่มือตัวชี้วัดและเกณฑ์การเป็นเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศและโรงงานอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ซึ่ง
ครอบคลุม 5 มิติ 22 ด้าน เมื่อปี 2555 โดยมีพื้นที่เป้าหมายระดับนิคมอุตสาหกรรม 3 แห่งคือ นิคม
อุตสาหกรรมสมุทรสาคร นิคมอุตสาหกรรมบางชัน และนิคมอุตสาหกรรมอมตะซิตี้ นอกจากนี้กรมโรงงาน
อุตสาหกรรมยังเป็นหน่วยงานหลักในการลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือกับผู้ประกอบการนิคม
อุตสาหกรรม ภายใต้โครงการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศเชิงพื้นที่เมื่อ 19 มีนาคม 2557 โดยมี
วัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศให้เป็นรูปธรรมภายในปี พ.ศ.2561 โดยแนวทาง
การพัฒนาพื้นที่อุตสาหกรรมแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่ 1 พัฒนาพื้นที่อุตสาหกรรมที่เกิดขึ้นใหม่เพื่อ
รองรับการลงทุนที่ไม่ก่อมลพิษและเร่งพัฒนาการผลิตของภาคอุตสาหกรรมให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และ
กลุ่มที่ 2 พื้นที่อุตสาหกรรมเดิมโดยส่งเสริมให้ปรับแนวทางการประกอบกิจการให้สอดคล้องกับกับแนว
ทางการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ เพื่อสร้างความเชื่อมั่นให้กับการพัฒนาด้านเศรษฐกิจ ที่จะเติบโต
พร้อมกับวิถีชีวิตของชุมชน และความสมดุลของสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน โดยกรมโรงงานอุตสาหกรรมได้
ดาเนินงานโครงการพัฒนาพื้นที่อุตสาหกรรมเดิมซึ่งดาเนินงานมาตั้งแต่ปี 2553 จนถึงปี 2556 จานวน 9 พื้นที่
ประกอบด้วย สวนอุตสาหกรรมโรจนะ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สวนอุตสาหกรรมบางกะดี จังหวัดปทุมธานี
เขตอุตสาหกรรม 304 อินดัสเตรียล ปาร์ค และสวนอุตสาหกรรมกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี สวน
อุตสาหกรรมศรีราชา จังหวัดชลบุรี เขตประกอบการอุตสาหกรรมไออาร์พีซี ชุมชนอุตสาหกรรม ไอ.พี.พี. เขต
ประกอบการอุตสาหกรรมเหมราชระยอง จังหวัดระยอง และเขตประกอบการอุตสาหกรรมเหมราชสระบุรี
จังหวัดสระบุรี
นอกจากนี้ในปี 2557 กรมโรงงานอุตสาหกรรมยังมีโครงการซึ่งอยู่ระหว่างการศึกษาวิจัยเพื่อแปลงแนวคิดการ
พัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศสู่การปฏิบัติจานวน 5 โครงการ ประกอบด้วย (1) โครงการศึกษาเพื่อจัดทา
แผนแม่บทเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศจานวน 15 จังหวัดทั่วประเทศ ซึ่งครอบคลุมจานวน 9 จังหวัดในพื้นที่
7
ภาคกลางประกอบด้วย จังหวัดระยอง จังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรสาคร จังหวัดปราจีนบุรี จังหวัด
ฉะเชิงเทรา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จังหวัดหวัดนครปฐม จังหวัดชลบุรี และจังหวัดสระบุรี (2) โครงการ
พัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศจังหวัดระยองและจังหวัดปราจีนบุรี (พื้นที่เป้าหมายของจังหวัดระยอง
ประกอบด้วย เขตประกอบการอุตสาหกรรมไออาร์พีซี ชุมชนอุตสาหกรรม ไอ.พี.พี. เขตประกอบการ
อุตสาหกรรมเหมราชระยอง และจังหวัดปราจีนบุรี ประกอบด้วย เขตอุตสาหกรรม 304 อินดัสเตรียล ปาร์ค
และสวนอุตสาหกรรมกบินทร์บุรี) (3) โครงการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศจังหวัดปทุมธานี
พระนครศรีอยุธยา สระบุรีและชลบุรี (พื้นที่เป้าหมายประกอบด้วย สวนอุตสาหกรรมบางกะดี จังหวัด
ปทุมธานี สวนอุตสาหกรรมโรจนะ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เขตประกอบการอุตสาหกรรมเหมราชสระบุรี
จังหวัดสระบุรี และสวนอุตสาหกรรมศรีราชา จังหวัดชลบุรี) (4) โครงการเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับแผน
แม่บทเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ โดยพื้นที่เป้าหมายประกอบด้วย สถานประกอบการอุตสาหกรรมในจังหวัด
ระยอง ปราจีนบุรีและสมุทรสาคร (ยกเว้นนิคมอุตสาหกรรมที่อยู่ในความรับผิดชอบของการนิคมอุตสาหกรรม
แห่งประเทศไทย) และ (5) โครงการจัดทาศูนย์พัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ (Eco Town Center)
สาหรับปัญหาสาคัญในการผลักดันการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ได้แก่ ผู้ประกอบการยังขาดความรู้
ความเข้าใจถึงความสาคัญของการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ยังมีความไม่ชัดเจนเกี่ยวกับมาตรการหรือ
แรงจูงใจที่จะได้รับจากภาครัฐภายหลังการเข้าร่วมขับเคลื่อนการพัฒนาอุตสาหกรรมเชิงนิเวศเชิงพื้นที่ ขาด
การลงทุนตั้งโรงงานเพื่อรับกากของเสียอุตสาหกรรมไปแปรรูเพื่อใช้เป็นวัตถุดิบสาหรับโรงงานอุตสาหกรรม
อื่นๆ เป็นต้น
3.ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศในช่วงครึ่งหลังของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 (พ.ศ 2557-2559)
3.1 ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศซึ่งมุ่งเน้นการพัฒนาอุตสาหกรรมสีเขียวระดับ
โรงงาน
ควรกาหนดแนวทางเชิงรุกเพื่อเพิ่มจานวนโรงงานอุตสาหกรรมให้เข้าร่วมโครงการอุตสาหกรรมสีเขียวให้มาก
ขึ้น และส่งเสริมให้โรงงานอุตสาหกรรมที่ผ่านการประเมินแล้วพัฒนากระบวนการผลิตและการจัดการ
สิ่งแวดล้อมที่ดีอย่างต่อเนื่อง เพื่อผลักดันให้สามารถยกระดับ (Upgrade) การพัฒนาอุตสาหกรรมสีเขียวสู่
ระดับที่สูงขึ้น รวมทั้งส่งเสริมการการให้คาปรึกษาเพื่อช่วยเหลือสถานประกอบการทุกขนาด การกาหนด
หลักเกณฑ์การส่งเสริมการลงทุนที่เน้นกิจการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม การแบ่งระดับโรงงานอุตสาหกรรมเพื่อ
ลดขั้นตอนในการกากับดูแล การส่งเสริมการใช้ตราสัญลักษณ์อุตสาหกรรมสีเขียว การสร้างกระแสความนิยม
ในการบริโภคสินค้าสีเขียว และการสนับสนุนมาตรการภาษีเพื่อการจัดการสิ่งแวดล้อม
8
3.2 ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศระดับนิคมอุตสาหกรรม ระดับเมืองและระดับ
จังหวัด
ผลักดันการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศระดับนิคมอุตสาหกรรมและเครือข่ายสู่การปฏิบัติอย่างเป็น
รูปธรรม รวมทั้งส่งเสริมการสร้างความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับความสาคัญของการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรม
เชิงนิเวศให้แก่ผู้ประกอบการ การสร้างมาตรการหรือแรงจูงใจเพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ
เชิงพื้นที่ การส่งเสริมการลงทุนพัฒนาโรงงานอุตสาหกรรมเพื่อใช้ประโยชน์ของเสียให้เป็นวัตถุดิบสาหรับการ
ผลิตทางอุตสาหกรรม โดยการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศระดับนิคมอุตสาหกรรมดังกล่าวควรคู่ขนาน
และเชื่อมโยงกับการผลักดันสู่เป้าหมายการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศระดับเมืองและระดับจังหวัด
ต่อไป
เอกสารอ้างอิง
การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย.ไม่ระบุปี.การส่งเสริมการพัฒนาอุตสาหกรรมเชิงนิเวศสู่การปฏิบัติ
กรมโรงงานอุตสาหกรรม.2557.การพัฒนาอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ
สานักงานพัฒนาอุตสาหกรรมสีเขียว สานักงานปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม.2557.สถิติโรงงานที่สมัครเข้าร่วม
โครงการอุตสาหกรรมสีเขียวและได้รับไปรับรองอุตสาหกรรมสีเขียว
http://www.greenindustrythailand.com/online.html เข้าถึงเมื่อวันที่ 2 มิถุนายน 2557

Más contenido relacionado

Más de Dr.Choen Krainara

Certificate of Completion in Risk Management
Certificate of Completion in Risk ManagementCertificate of Completion in Risk Management
Certificate of Completion in Risk ManagementDr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Child Protection in Conflict Settings
Certificate of Completion in Child Protection in Conflict SettingsCertificate of Completion in Child Protection in Conflict Settings
Certificate of Completion in Child Protection in Conflict SettingsDr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Humanitarian Operations Programme (HOP) Fundamen...
Certificate of Completion in Humanitarian Operations Programme (HOP) Fundamen...Certificate of Completion in Humanitarian Operations Programme (HOP) Fundamen...
Certificate of Completion in Humanitarian Operations Programme (HOP) Fundamen...Dr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Humanitarian Information Management, Communicati...
Certificate of Completion in Humanitarian Information Management, Communicati...Certificate of Completion in Humanitarian Information Management, Communicati...
Certificate of Completion in Humanitarian Information Management, Communicati...Dr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Finance and Budgets in Emergencies
Certificate of Completion in Finance and Budgets in EmergenciesCertificate of Completion in Finance and Budgets in Emergencies
Certificate of Completion in Finance and Budgets in EmergenciesDr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Introduction to Human Resource Management in Hum...
Certificate of Completion in Introduction to Human Resource Management in Hum...Certificate of Completion in Introduction to Human Resource Management in Hum...
Certificate of Completion in Introduction to Human Resource Management in Hum...Dr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in IRC Personal Safety and Security
Certificate of Completion in IRC Personal Safety and SecurityCertificate of Completion in IRC Personal Safety and Security
Certificate of Completion in IRC Personal Safety and SecurityDr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Wellness and Resilience for Frontline Workers an...
Certificate of Completion in Wellness and Resilience for Frontline Workers an...Certificate of Completion in Wellness and Resilience for Frontline Workers an...
Certificate of Completion in Wellness and Resilience for Frontline Workers an...Dr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Finanancial ...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Finanancial ...Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Finanancial ...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Finanancial ...Dr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Green Public...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Green Public...Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Green Public...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Green Public...Dr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Mitigation S...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Mitigation S...Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Mitigation S...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Mitigation S...Dr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change: Science, Econo...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change: Science, Econo...Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change: Science, Econo...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change: Science, Econo...Dr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Environment in Humanitarian Action
Certificate of Completion in Environment in Humanitarian ActionCertificate of Completion in Environment in Humanitarian Action
Certificate of Completion in Environment in Humanitarian ActionDr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Working in Partnerships
Certificate of Completion in Working in PartnershipsCertificate of Completion in Working in Partnerships
Certificate of Completion in Working in PartnershipsDr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Basic Principles of Disability Inclusion in Huma...
Certificate of Completion in Basic Principles of Disability Inclusion in Huma...Certificate of Completion in Basic Principles of Disability Inclusion in Huma...
Certificate of Completion in Basic Principles of Disability Inclusion in Huma...Dr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Safeguarding Essentials
Certificate of Completion in Safeguarding EssentialsCertificate of Completion in Safeguarding Essentials
Certificate of Completion in Safeguarding EssentialsDr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in MEAL in Emergencies
Certificate of Completion in MEAL in EmergenciesCertificate of Completion in MEAL in Emergencies
Certificate of Completion in MEAL in EmergenciesDr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Introduction to Needs Assessments in Emergencies
Certificate of Completion in Introduction to Needs Assessments in EmergenciesCertificate of Completion in Introduction to Needs Assessments in Emergencies
Certificate of Completion in Introduction to Needs Assessments in EmergenciesDr.Choen Krainara
 
Introduction to Conflict Sensitivity
Introduction to Conflict SensitivityIntroduction to Conflict Sensitivity
Introduction to Conflict SensitivityDr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in MEAL DPro Monitoring, Evaluation, Accountability...
Certificate of Completion in MEAL DPro Monitoring, Evaluation, Accountability...Certificate of Completion in MEAL DPro Monitoring, Evaluation, Accountability...
Certificate of Completion in MEAL DPro Monitoring, Evaluation, Accountability...Dr.Choen Krainara
 

Más de Dr.Choen Krainara (20)

Certificate of Completion in Risk Management
Certificate of Completion in Risk ManagementCertificate of Completion in Risk Management
Certificate of Completion in Risk Management
 
Certificate of Completion in Child Protection in Conflict Settings
Certificate of Completion in Child Protection in Conflict SettingsCertificate of Completion in Child Protection in Conflict Settings
Certificate of Completion in Child Protection in Conflict Settings
 
Certificate of Completion in Humanitarian Operations Programme (HOP) Fundamen...
Certificate of Completion in Humanitarian Operations Programme (HOP) Fundamen...Certificate of Completion in Humanitarian Operations Programme (HOP) Fundamen...
Certificate of Completion in Humanitarian Operations Programme (HOP) Fundamen...
 
Certificate of Completion in Humanitarian Information Management, Communicati...
Certificate of Completion in Humanitarian Information Management, Communicati...Certificate of Completion in Humanitarian Information Management, Communicati...
Certificate of Completion in Humanitarian Information Management, Communicati...
 
Certificate of Completion in Finance and Budgets in Emergencies
Certificate of Completion in Finance and Budgets in EmergenciesCertificate of Completion in Finance and Budgets in Emergencies
Certificate of Completion in Finance and Budgets in Emergencies
 
Certificate of Completion in Introduction to Human Resource Management in Hum...
Certificate of Completion in Introduction to Human Resource Management in Hum...Certificate of Completion in Introduction to Human Resource Management in Hum...
Certificate of Completion in Introduction to Human Resource Management in Hum...
 
Certificate of Completion in IRC Personal Safety and Security
Certificate of Completion in IRC Personal Safety and SecurityCertificate of Completion in IRC Personal Safety and Security
Certificate of Completion in IRC Personal Safety and Security
 
Certificate of Completion in Wellness and Resilience for Frontline Workers an...
Certificate of Completion in Wellness and Resilience for Frontline Workers an...Certificate of Completion in Wellness and Resilience for Frontline Workers an...
Certificate of Completion in Wellness and Resilience for Frontline Workers an...
 
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Finanancial ...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Finanancial ...Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Finanancial ...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Finanancial ...
 
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Green Public...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Green Public...Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Green Public...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Green Public...
 
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Mitigation S...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Mitigation S...Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Mitigation S...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Mitigation S...
 
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change: Science, Econo...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change: Science, Econo...Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change: Science, Econo...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change: Science, Econo...
 
Certificate of Completion in Environment in Humanitarian Action
Certificate of Completion in Environment in Humanitarian ActionCertificate of Completion in Environment in Humanitarian Action
Certificate of Completion in Environment in Humanitarian Action
 
Certificate of Completion in Working in Partnerships
Certificate of Completion in Working in PartnershipsCertificate of Completion in Working in Partnerships
Certificate of Completion in Working in Partnerships
 
Certificate of Completion in Basic Principles of Disability Inclusion in Huma...
Certificate of Completion in Basic Principles of Disability Inclusion in Huma...Certificate of Completion in Basic Principles of Disability Inclusion in Huma...
Certificate of Completion in Basic Principles of Disability Inclusion in Huma...
 
Certificate of Completion in Safeguarding Essentials
Certificate of Completion in Safeguarding EssentialsCertificate of Completion in Safeguarding Essentials
Certificate of Completion in Safeguarding Essentials
 
Certificate of Completion in MEAL in Emergencies
Certificate of Completion in MEAL in EmergenciesCertificate of Completion in MEAL in Emergencies
Certificate of Completion in MEAL in Emergencies
 
Certificate of Completion in Introduction to Needs Assessments in Emergencies
Certificate of Completion in Introduction to Needs Assessments in EmergenciesCertificate of Completion in Introduction to Needs Assessments in Emergencies
Certificate of Completion in Introduction to Needs Assessments in Emergencies
 
Introduction to Conflict Sensitivity
Introduction to Conflict SensitivityIntroduction to Conflict Sensitivity
Introduction to Conflict Sensitivity
 
Certificate of Completion in MEAL DPro Monitoring, Evaluation, Accountability...
Certificate of Completion in MEAL DPro Monitoring, Evaluation, Accountability...Certificate of Completion in MEAL DPro Monitoring, Evaluation, Accountability...
Certificate of Completion in MEAL DPro Monitoring, Evaluation, Accountability...
 

การประเมินผลความหน้าการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศในพื้นที่ภาคกลาง (An evaluation of Eco Industrial Town Development

  • 1. 1 การประเมินผลความหน้าการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศในพื้นที่ภาคกลาง ในช่วงครึ่งแรกของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 (พ.ศ 2555-2557) An Evaluation of Eco Industrial Town Development in Central Region of Thailand During the First Half of the 11th Economic and Social Development Plan (2012-2014) โดย เชิญ ไกรนรา Choen Krainara สานักพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมภาคกลาง สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 2 มิถุนายน 2557
  • 2. 2 การประเมินผลความหน้าการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศในพื้นที่ภาคกลาง ในช่วงครึ่งแรกของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 (พ.ศ 2555-2557) An Evaluation of Eco Industrial Town Development in Central Region of Thailand During the First Half of the 11th Economic and Social Development Plan (2012-2014) ขอบเขตของเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ มี 4 ระดับคือ -ระดับโรงงาน เข้าสู่การเป็นโรงงานอุตสาหกรรมสีเขียว (Green Industry) ระดับ GI1 – GI 5 ตามเกณฑ์ของ กระทรวงอุตสาหกรรม -ระดับนิคมอุตสาหกรรม พัฒนาเชิงพื้นที่ด้วยความร่วมมือกับเครือข่ายทั้ง โรงงานชุมชน และหน่วยงานส่วน ท้องถิ่น ให้เป็น “นิคมอุตสาหกรรมเชิงนิเวศและเครือข่าย” หรือ “เมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ” (Eco Industrial Estate & Networks) • ระดับเมือง ที่มีนิคมอุตสาหกรรมตั้งอยู่โดยการพัฒนาในด้านต่างๆ ของท้องถิ่น ควบคู่กันไปกับภาคส่วน อุตสาหกรรม ซึ่งเป็นหลักในการสร้างความเจริญทางเศรษฐกิจของท้องถิ่นหรือเมืองนั้นๆ สู่การเป็น “เมืองน่า อยู่ คู่อุตสาหกรรม” (Eco Industrial Town) • ระดับจังหวัด พัฒนาในทุกภาคส่วนสู่เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน ได้แก่ เกษตรยั่งยืน ประมงยั่งยืน ท่องเที่ยวยั่งยืนและอุตสาหกรรมยั่งยืน เพื่อเป็น“เมืองน่าอยู่ เมืองยั่งยืน” (Eco City) ความก้าวหน้าของการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศในพื้นที่ภาคกลางในช่วงครึ่งแรกของแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 มีสาระสาคัญดังนี้ 1.ความก้าวหน้าการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศระดับโรงงานในพื้นที่ภาคกลางระหว่างปี 2555- 2556 ระหว่างปี 2555-2556 พื้นที่ภาคกลาง 25 จังหวัดรวมกรุงเทพมหานครมีจานวนโรงงานอุตสาหกรรมจาพวกที่ 3 ซึ่งเป็นโรงงานขนาดใหญ่ ก่อปัญหามลพิษทางราชการต้องควบคุมดูแลและจะต้องได้รับใบอนุญาตประกอบ กิจการก่อนประกอบการจานวน 48,723 โรงงาน หากรวมเฉพาะพื้นที่ทั้งภาคกลางจานวน 25 จังหวัดจะมี โรงงานอุตสาหกรรมจาพวกที่ 3 จานวน 39,255 โรงงาน หรือคิดเป็นร้อยละ 80.54 ของจานวนโรงงาน อุตสาหกรรมทั้งพื้นที่ภาคกลางรวมกรุงเทพมหานคร กระทรวงอุตสาหกรรมได้จัดทาโครงการอุตสาหกรรม สีเขียว (Green Industry: GI) ทั่วประเทศตั้งแต่ปี 2554 จนถึงถึงปัจจุบัน ซึ่งเป็นการทางานเชิงรุกโดยมุ่งเน้น ส่งเสริมและพัฒนาภาคอุตสาหกรรมให้เติบโตและพัฒนาอย่างยั่งยืน ตลอดทั้งส่งเสริมภาคอุตสาหกรรมให้มี
  • 3. 3 การประกอบการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและต่อสังคม เพื่อให้ภาคอุตสาหกรรมมีภาพลักษณ์ทีดี น่าเชื่อถือ และประชาชนไว้วางใจ และเกิดการสร้างเศรษฐกิจสีเขียว ซึ่งจะทาให้ผลิตภัณฑ์มวลรวมสีเขียวของประเทศ (Green GDP) มีมูลค่าเพิ่มสูงขึ้นด้วย โดยส่งเสริมให้สถานประกอบการมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องสู่การเป็น อุตสาหกรรมสีเขียวใน 5 ระดับ ประกอบด้วย  ระดับที่ 1 ความมุ่งมั่นสีเขียว (Green Commitment) คือ ความมุ่งมั่นที่จะลดผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อมและมีการสื่อสารภายในองค์กรให้ทราบโดยทั่วกัน  ระดับที่ 2 ปฏิบัติการสีเขียว (Green Activity) คือการดาเนินกิจกรรมเพื่อลดผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อมได้สาเร็จตามความมุ่งมั่นที่ตั้งไว้  ระดับที่ 3 ระบบสีเขียว (Green System) คือการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างเป็นระบบ มีการ ติดตามประเมินผลและทบทวนเพื่อการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง รวมถึงการได้รับรางวัลด้านสิ่งแวดล้อมที่ เป็นที่ยอมรับ และการรับรองมาตรฐานด้านสิ่งแวดล้อมต่างๆ  ระดับที่ 4 วัฒนธรรมสีเขียว (Green Culture) คือการที่ทุกคนในองค์กรให้ความร่วมมือในการ ดาเนินงานอย่างเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมในทุกด้านของการประกอบกิจการ จนกลายเป็นส่วนหนึ่งของ องค์กร  ระดับที่ 5 เครือข่ายสีเขียว (Green Network) คือการแสดงถึงการขยายเครือข่ายตลอดห่วงโซ่ อุปทานสีเขียว โดยสนับสนุนให้คู่ค้าและและพันธมิตรเข้าสู่กระบวนการรับรองอุตสาหกรรมสีเขียว ด้วย โดยระหว่างปี 2555-2556 มีจานวนโรงงานอุตสาหกรรมในพื้นที่ภาคกลางจาก 6 กลุ่มจังหวัด สมัครเข้าร่วม โครงการรับรองอุตสาหกรรมสีเขียวรวมจานวนทั้งสิ้น 3,944 โรงงาน หรือคิดเป็นร้อยละ 10.01 ของจานวน โรงงานทั้งพื้นที่ภาคกลางไม่รวมกรุงเทพมหานคร และได้รับใบรับรองอุตสาหกรรมสีเขียวจานวน 3,824 โรงงาน หรือคิดเป็นร้อยละ 97 ของโรงงานทั้งหมดที่เข้าร่วมโครงการ โดยมีโรงงานที่ผ่านการประเมินและ ได้รับใบรับรองระดับ 1 จานวน 2,298 โรงงาน หรือคิดเป็นร้อยละ 58.26 ของจานวนโรงงานที่เข้าร่วม โครงการ ระดับ 2 จานวน 864 โรงงาน หรือคิดเป็นร้อยละ 21.90 ระดับ 3 จานวน 629 โรงงาน หรือคิดเป็น ร้อยละ16 ระดับ 4 จานวน 33 โรงงาน หรือคิดเป็นร้อยละ 0.83 สาหรับระดับ 5 ขณะนี้อยู่ระหว่างการตรวจ ประเมิน โดยสามารถจาแนกการได้รับใบรับรองการเป็นอุตสาหกรรมสีเขียวออกเป็นรายกลุ่มจังหวัดได้ดังนี้ 1.1 กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนกลาง มีจานวนโรงงานอุตสาหกรรมมากที่สุด 9,829 โรงงาน โดยมีโรงงาน อุตสาหกรรมสมัครเข้าร่วมโครงการจานวน 731 โรงงาน หรือคิดเป็นร้อยละ 7.43 ของจานวนโรงงานรวมทั้ง กลุ่มจังหวัด และมีโรงงานที่ผ่านการประเมินและได้รับใบรับรองรวมทั้งสิ้นจานวน 642 โรงงาน หรือคิดเป็น ร้อยละ 88 ของจานวนโรงงานที่เข้าร่วมโครงการทั้งกลุ่มจังหวัด แบ่งออกเป็น ระดับ 1 จานวน 179 โรงงาน ระดับ 2 จานวน 107 โรงงาน ระดับ 3 จานวน 114 โครงการ ระดับ 4 จานวน 5 โรงงาน สาหรับระดับ 5 ขณะนี้อยู่ระหว่างการตรวจประเมิน โดยมีสัดส่วนของจังหวัดที่ได้รับใบรับรองจากจานวนโรงงานที่ได้รับ
  • 4. 4 ใบรับรองรวมทั้งกลุ่มจังหวัดมีดังนี้ จังหวัดสมุทรปราการคิดเป็นร้อยละ 58.72 จังหวัดฉะเชิงเทราคิดเป็นร้อย ละ 22 จังหวัดปราจีนบุรีคิดเป็นร้อยละ 8 จังหวัดนครนายกคิดเป็นร้อยละ 5.45 และจังหวัดสระแก้วคิดเป็น ร้อยละ 5 ตามลาดับ 1.2 กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน 1 มีจานวนทั้งสิ้น 8,467 โรงงาน โดยมีโรงงานอุตสาหกรรมสมัครเข้า ร่วมโครงการจานวน 1,166 โรงงาน หรือคิดเป็นร้อยละ 13.77 ของจานวนโรงงานรวมทั้งกลุ่มจังหวัด และมี โรงงานที่ผ่านการประเมินและได้รับใบรับรองรวมทั้งสิ้นจานวน 1,076 โรงงาน หรือคิดเป็นร้อยละ 92.28 ของ จานวนโรงงานที่เข้าร่วมโครงการทั้งกลุ่มจังหวัด แบ่งออกเป็น ระดับ 1 จานวน 750 โรงงาน ระดับ 2 จานวน 240 โรงงาน ระดับ 3 จานวน 157 โรงงาน ระดับ 4 จานวน 16 โรงงาน สาหรับระดับ 5 ขณะนี้อยู่ระหว่าง การตรวจประเมิน โดยมีสัดส่วนของจังหวัดที่ได้รับใบรับรองจากจานวนโรงงานที่ได้รับใบรับรองรวมทั้งกลุ่ม จังหวัดมีดังนี้ จังหวัดปทุมธานีคิดเป็นร้อยละ 41.27 จังหวัดสระบุรีคิดเป็นร้อยละ 23.04 จังหวัดนนทบุรีคิด เป็นร้อยละ 21.75 และจังหวัดพระนครศรีอยุธยาคิดเป็นร้อยละ 13.92 ตามลาดับ 1.3 กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออก มีจานวนทั้งสิ้น 6,855 โรงงาน โดยมีโรงงานอุตสาหกรรมสมัครเข้าร่วม โครงการจานวน 896 โรงงาน หรือคิดเป็นร้อยละ 13.07 ของจานวนโรงงานรวมทั้งกลุ่มจังหวัด และมีโรงงานที่ ผ่านการประเมินและได้รับใบรับรองรวมทั้งสิ้นจานวน 881 โรงงาน หรือคิดเป็นร้อยละ 98.32 ของจานวน โรงงานที่เข้าร่วมโครงการทั้งกลุ่มจังหวัด แบ่งออกเป็น ระดับ 1 จานวน 521 โรงงาน ระดับ 2 จานวน 127 โรงงาน ระดับ 3 จานวน 225 โรงงาน ระดับ 4 จานวน 8 โรงงาน สาหรับระดับ 5 ขณะนี้อยู่ระหว่างการตรวจ ประเมิน โดยมีสัดส่วนของจังหวัดที่ได้รับใบรับรองจากจานวนโรงงานที่ได้รับใบรับรองรวมทั้งกลุ่มจังหวัดมีดังนี้ จังหวัดชลบุรีคิดเป็นร้อยละ 53.91 จังหวัดระยองคิดเป็นร้อยละ 33.03 จังหวัดจันทบุรีคิดเป็นร้อยละ 9.3 และจังหวัดตราดคิดเป็นร้อยละ 3.74 ตามลาดับ 1.4 กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง 2 มีจานวนทั้งสิ้น 6,332 โรงงาน โดยมีโรงงานอุตสาหกรรมสมัครเข้า ร่วมโครงการจานวน 319 โรงงาน หรือคิดเป็นร้อยละ 5.03 ของจานวนโรงงานรวมทั้งกลุ่มจังหวัด และมี โรงงานที่ผ่านการประเมินและได้รับใบรับรองรวมทั้งสิ้นจานวน 318 โรงงาน หรือคิดเป็นร้อยละ 100 ของ จานวนโรงงานที่เข้าร่วมโครงการทั้งกลุ่มจังหวัด แบ่งออกเป็น ระดับ 1 จานวน 223 โรงงาน ระดับ 2 จานวน 68 โรงงาน ระดับ 3 จานวน 27 โรงงาน สาหรับระดับ 4 และระดับ 5 ขณะนี้อยู่ระหว่างการตรวจประเมิน โดยมีสัดส่วนของจังหวัดที่ได้รับใบรับรองจากจานวนโรงงานที่ได้รับใบรับรองรวมทั้งกลุ่มจังหวัดมีดังนี้ จังหวัด สมุทรสาครคิดเป็นร้อยละ 65.09 จังหวัดประจวบคีรีขันธ์คิดเป็นร้อยละ 20.44 จังหวัดเพชรบุรีคิดเป็นร้อยละ 7.54 และจังหวัดสมุทรสงครามคิดเป็นร้อยละ 6.91 ตามลาดับ 1.5 กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง 1 มีจานวนทั้งสิ้น 6,184 โรงงาน โดยมีโรงงานอุตสาหกรรมสมัครเข้า
  • 5. 5 ร่วมโครงการจานวน 685 โรงงาน หรือคิดเป็นร้อยละ 11 ของจานวนโรงงานรวมทั้งกลุ่มจังหวัด และมีโรงงาน ที่ผ่านการประเมินและได้รับใบรับรองรวมทั้งสิ้นจานวน 672 โรงงาน หรือคิดเป็นร้อยละ 98.1 ของจานวน โรงงานที่เข้าร่วมโครงการทั้งกลุ่มจังหวัด แบ่งออกเป็น ระดับ 1 จานวน 440 โรงงาน ระดับ 2 จานวน 179 โรงงาน ระดับ 3 จานวน 49 โรงงาน ระดับ 4 จานวน 4 โรงงาน สาหรับระดับ 5 ขณะนี้อยู่ระหว่างการตรวจ ประเมิน โดยมีสัดส่วนของจังหวัดที่ได้รับใบรับรองจากจานวนโรงงานที่ได้รับใบรับรองรวมทั้งกลุ่มจังหวัดมีดังนี้ จังหวัดนครปฐมคิดเป็นร้อยละ 46.42 จังหวัดราชบุรีคิดเป็นร้อยละ 27.52 จังหวัดสุพรรณบุรีคิดเป็นร้อยละ 20.98 และจังหวัดกาญจนบุรีคิดเป็นร้อยละ 5.05 ตามลาดับ 1.6 กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน 2 มีโรงงานอุตสาหกรรมจานวนน้อยที่สุด 1,554 โรงงาน โดยมี โรงงานอุตสาหกรรมสมัครเข้าร่วมโครงการจานวน 147 โรงงาน หรือคิดเป็นร้อยละ 9.45 ของจานวนโรงงาน รวมทั้งกลุ่มจังหวัด ซึ่งโรงงานที่สมัครเข้าร่วมโครงการทั้งกลุ่มจังหวัดผ่านการประเมินและได้รับใบรับรองครบ 100 % แบ่งออกเป็น ระดับ 1 จานวน 76 โรงงาน ระดับ 2 จานวน 51 โรงงาน ระดับ 3 จานวน 18 โรงงาน ระดับ 4 จานวน 18 โรงงาน สาหรับระดับ 5 ขณะนี้อยู่ระหว่างการตรวจประเมิน โดยมีสัดส่วนของจังหวัดที่ ได้รับใบรับรองจากจานวนโรงงานที่ได้รับใบรับรองรวมทั้งกลุ่มจังหวัดมีดังนี้ จังหวัดอ่างทองคิดเป็นร้อยละ 31.75 จังหวัดชัยนาทคิดเป็นร้อยละ 25.67 จังหวัดสิงห์บุรีคิดเป็นร้อยละ 22.29 และจังหวัดลพบุรี คิดเป็น ร้อยละ 13.69 ตามลาดับ จากสถิติโรงงานที่ได้รับการรับรองข้างต้น กล่าวได้ว่าการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศที่มุ่งเน้นการพัฒนา อุตสาหกรรมสีเขียวระดับโรงงานในพื้นที่ภาคกลางอยู่ในช่วงเริ่มต้น แต่มีความก้าวหน้าของการดาเนินงานอยู่ ในเกณฑ์ดี ตลอดทั้งยังเป็นเป้าหมายที่มีความท้าทายเนื่องจากอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อมยังขาด ความรู้ ความเข้าใจ และความตระหนักในความสาคัญเพื่อปรับปรุงกิจการที่ไม่กระทบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม แม้ว่าอาจจะมีศักยภาพในการปรับปรุงวิธีการในการบริหารจัดการอย่างง่ายๆให้มีประสิทธิภาพและไม่ ก่อให้เกิดผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม และมักจะต่อรองกับภาครัฐเกี่ยวกับมาตรการจูงใจทั้งในด้านการเงินและ สิทธิประโยชน์ต่างๆ รวมถึงความพร้อมในเรื่องของเทคโนโลยีและเงินลงทุนซึ่งเป็นปัจจัยสาคัญในการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของการประกอบกิจการ ทาให้เป็นอุปสรรคต่อการบรรลุเป้าหมายของอุตสาหกรรม สีเขียวที่ตั้งไว้ 2.ความก้าวหน้าการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศระดับนิคมอุตสาหกรรม กรมโรงงานอุตสาหกรรมและการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยกาหนดเป้าหมายการพัฒนาเมือง อุตสาหกรรมเชิงนิเวศเชิงพื้นที่ใน 5 มิติ ซึ่งครอบคลุมด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม กายภาพและการ บริหารจัดการ โดยส่งเสริมการพัฒนาตั้งแต่ระดับนิคมอุตสาหกรรม ระดับเมือง และระดับจังหวัด โดยใช้ หลักการสร้างเครือข่ายความร่วมมือแบบสามสามัคคีระหว่างอุตสาหกรรม ชุมชนและภาครัฐ และการพัฒนา เพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่าโดยใช้หลักหมุนเวียนวัสดุ การเชื่อมโยงการใช้ประโยชน์ของเสียและ 3Rs หรือการ
  • 6. 6 ลดขยะ การนามาใช้ใหม่ และการแปรรูปและนากลับมาใช้ใหม่ (Reduce, Reuse, Recycle) โดยมีแนว ทางการดาเนินงานดังนี้ 1) ศึกษาข้อมูลพื้นฐานของพื้นที่เพื่อการวางแผนพัฒนาและแผนปฏิบัติการที่ชัดเจนในแต่ละพื้นที่ ตลอดจน เปิดโอกาสให้มีการหารือและแสดงความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 2) สร้างความรู้ความเข้าใจและความตระหนักในการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศอย่างมีส่วนร่วม 3) ส่งเสริมการพัฒนาอุตสาหกรรมโดยใช้ทรัพยากรหมุนเวียนให้มากที่สุดและบริหารจัดการวัตถุดิบและของ เสีย รวมทั้งส่งเสริมภาคเอกชนให้ประกอบกิจการอย่างมีความรับผิดชอบต่อสังคม 4) แก้ไขปัญหามลพิษและประเด็นปัญหาของพื้นที่เพื่อให้เกิดความเข้าใจอันดีต่อกัน 5) สร้างกลไกส่งเสริมการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศเชิงพื้นที่ และการพัฒนาอย่างต่อเนื่องรวมทั้งการ ออกกฎระเบียบในการกากับดูแลและบริหารจัดการที่มุ่งสู่ความสมดุล เพื่อผลักดันแนวคิดการพัฒนาอุตสาหกรรมเชิงนิเวศสู่การปฏิบัติ การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยได้ จัดทาคู่มือตัวชี้วัดและเกณฑ์การเป็นเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศและโรงงานอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ซึ่ง ครอบคลุม 5 มิติ 22 ด้าน เมื่อปี 2555 โดยมีพื้นที่เป้าหมายระดับนิคมอุตสาหกรรม 3 แห่งคือ นิคม อุตสาหกรรมสมุทรสาคร นิคมอุตสาหกรรมบางชัน และนิคมอุตสาหกรรมอมตะซิตี้ นอกจากนี้กรมโรงงาน อุตสาหกรรมยังเป็นหน่วยงานหลักในการลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือกับผู้ประกอบการนิคม อุตสาหกรรม ภายใต้โครงการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศเชิงพื้นที่เมื่อ 19 มีนาคม 2557 โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศให้เป็นรูปธรรมภายในปี พ.ศ.2561 โดยแนวทาง การพัฒนาพื้นที่อุตสาหกรรมแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่ 1 พัฒนาพื้นที่อุตสาหกรรมที่เกิดขึ้นใหม่เพื่อ รองรับการลงทุนที่ไม่ก่อมลพิษและเร่งพัฒนาการผลิตของภาคอุตสาหกรรมให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และ กลุ่มที่ 2 พื้นที่อุตสาหกรรมเดิมโดยส่งเสริมให้ปรับแนวทางการประกอบกิจการให้สอดคล้องกับกับแนว ทางการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ เพื่อสร้างความเชื่อมั่นให้กับการพัฒนาด้านเศรษฐกิจ ที่จะเติบโต พร้อมกับวิถีชีวิตของชุมชน และความสมดุลของสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน โดยกรมโรงงานอุตสาหกรรมได้ ดาเนินงานโครงการพัฒนาพื้นที่อุตสาหกรรมเดิมซึ่งดาเนินงานมาตั้งแต่ปี 2553 จนถึงปี 2556 จานวน 9 พื้นที่ ประกอบด้วย สวนอุตสาหกรรมโรจนะ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สวนอุตสาหกรรมบางกะดี จังหวัดปทุมธานี เขตอุตสาหกรรม 304 อินดัสเตรียล ปาร์ค และสวนอุตสาหกรรมกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี สวน อุตสาหกรรมศรีราชา จังหวัดชลบุรี เขตประกอบการอุตสาหกรรมไออาร์พีซี ชุมชนอุตสาหกรรม ไอ.พี.พี. เขต ประกอบการอุตสาหกรรมเหมราชระยอง จังหวัดระยอง และเขตประกอบการอุตสาหกรรมเหมราชสระบุรี จังหวัดสระบุรี นอกจากนี้ในปี 2557 กรมโรงงานอุตสาหกรรมยังมีโครงการซึ่งอยู่ระหว่างการศึกษาวิจัยเพื่อแปลงแนวคิดการ พัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศสู่การปฏิบัติจานวน 5 โครงการ ประกอบด้วย (1) โครงการศึกษาเพื่อจัดทา แผนแม่บทเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศจานวน 15 จังหวัดทั่วประเทศ ซึ่งครอบคลุมจานวน 9 จังหวัดในพื้นที่
  • 7. 7 ภาคกลางประกอบด้วย จังหวัดระยอง จังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรสาคร จังหวัดปราจีนบุรี จังหวัด ฉะเชิงเทรา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จังหวัดหวัดนครปฐม จังหวัดชลบุรี และจังหวัดสระบุรี (2) โครงการ พัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศจังหวัดระยองและจังหวัดปราจีนบุรี (พื้นที่เป้าหมายของจังหวัดระยอง ประกอบด้วย เขตประกอบการอุตสาหกรรมไออาร์พีซี ชุมชนอุตสาหกรรม ไอ.พี.พี. เขตประกอบการ อุตสาหกรรมเหมราชระยอง และจังหวัดปราจีนบุรี ประกอบด้วย เขตอุตสาหกรรม 304 อินดัสเตรียล ปาร์ค และสวนอุตสาหกรรมกบินทร์บุรี) (3) โครงการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศจังหวัดปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา สระบุรีและชลบุรี (พื้นที่เป้าหมายประกอบด้วย สวนอุตสาหกรรมบางกะดี จังหวัด ปทุมธานี สวนอุตสาหกรรมโรจนะ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เขตประกอบการอุตสาหกรรมเหมราชสระบุรี จังหวัดสระบุรี และสวนอุตสาหกรรมศรีราชา จังหวัดชลบุรี) (4) โครงการเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับแผน แม่บทเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ โดยพื้นที่เป้าหมายประกอบด้วย สถานประกอบการอุตสาหกรรมในจังหวัด ระยอง ปราจีนบุรีและสมุทรสาคร (ยกเว้นนิคมอุตสาหกรรมที่อยู่ในความรับผิดชอบของการนิคมอุตสาหกรรม แห่งประเทศไทย) และ (5) โครงการจัดทาศูนย์พัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ (Eco Town Center) สาหรับปัญหาสาคัญในการผลักดันการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ได้แก่ ผู้ประกอบการยังขาดความรู้ ความเข้าใจถึงความสาคัญของการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ยังมีความไม่ชัดเจนเกี่ยวกับมาตรการหรือ แรงจูงใจที่จะได้รับจากภาครัฐภายหลังการเข้าร่วมขับเคลื่อนการพัฒนาอุตสาหกรรมเชิงนิเวศเชิงพื้นที่ ขาด การลงทุนตั้งโรงงานเพื่อรับกากของเสียอุตสาหกรรมไปแปรรูเพื่อใช้เป็นวัตถุดิบสาหรับโรงงานอุตสาหกรรม อื่นๆ เป็นต้น 3.ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศในช่วงครึ่งหลังของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 (พ.ศ 2557-2559) 3.1 ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศซึ่งมุ่งเน้นการพัฒนาอุตสาหกรรมสีเขียวระดับ โรงงาน ควรกาหนดแนวทางเชิงรุกเพื่อเพิ่มจานวนโรงงานอุตสาหกรรมให้เข้าร่วมโครงการอุตสาหกรรมสีเขียวให้มาก ขึ้น และส่งเสริมให้โรงงานอุตสาหกรรมที่ผ่านการประเมินแล้วพัฒนากระบวนการผลิตและการจัดการ สิ่งแวดล้อมที่ดีอย่างต่อเนื่อง เพื่อผลักดันให้สามารถยกระดับ (Upgrade) การพัฒนาอุตสาหกรรมสีเขียวสู่ ระดับที่สูงขึ้น รวมทั้งส่งเสริมการการให้คาปรึกษาเพื่อช่วยเหลือสถานประกอบการทุกขนาด การกาหนด หลักเกณฑ์การส่งเสริมการลงทุนที่เน้นกิจการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม การแบ่งระดับโรงงานอุตสาหกรรมเพื่อ ลดขั้นตอนในการกากับดูแล การส่งเสริมการใช้ตราสัญลักษณ์อุตสาหกรรมสีเขียว การสร้างกระแสความนิยม ในการบริโภคสินค้าสีเขียว และการสนับสนุนมาตรการภาษีเพื่อการจัดการสิ่งแวดล้อม
  • 8. 8 3.2 ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศระดับนิคมอุตสาหกรรม ระดับเมืองและระดับ จังหวัด ผลักดันการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศระดับนิคมอุตสาหกรรมและเครือข่ายสู่การปฏิบัติอย่างเป็น รูปธรรม รวมทั้งส่งเสริมการสร้างความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับความสาคัญของการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรม เชิงนิเวศให้แก่ผู้ประกอบการ การสร้างมาตรการหรือแรงจูงใจเพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ เชิงพื้นที่ การส่งเสริมการลงทุนพัฒนาโรงงานอุตสาหกรรมเพื่อใช้ประโยชน์ของเสียให้เป็นวัตถุดิบสาหรับการ ผลิตทางอุตสาหกรรม โดยการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศระดับนิคมอุตสาหกรรมดังกล่าวควรคู่ขนาน และเชื่อมโยงกับการผลักดันสู่เป้าหมายการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศระดับเมืองและระดับจังหวัด ต่อไป เอกสารอ้างอิง การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย.ไม่ระบุปี.การส่งเสริมการพัฒนาอุตสาหกรรมเชิงนิเวศสู่การปฏิบัติ กรมโรงงานอุตสาหกรรม.2557.การพัฒนาอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ สานักงานพัฒนาอุตสาหกรรมสีเขียว สานักงานปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม.2557.สถิติโรงงานที่สมัครเข้าร่วม โครงการอุตสาหกรรมสีเขียวและได้รับไปรับรองอุตสาหกรรมสีเขียว http://www.greenindustrythailand.com/online.html เข้าถึงเมื่อวันที่ 2 มิถุนายน 2557