SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
โรคมือ เท้า ปาก (Hand foot mouth
syndrome)
ธิติพงษ์ พลอยเหลือง นักวิชาการสาธารณสุขชานาญการ
โรคมือเท้าปาก
• เป็ นโรคที่มักพบการติดเชื้อในกลุ่มทารกและเด็กเล็ก แต่บางรายจะมี
อาการรุนแรง ขึ้นอยู่กับชนิดของไวรัสที่มีการติดเชื้อ โรค HFMD
ส่วนใหญ่พบในเด็กอายุน้อยกว่า 10 ปี โดยเฉพาะอายุต่ากว่า 5 ปี มี
อาการไข้ร่วมกับตุ่มเล็กๆ เกิดขึ้นที่ผิวหนังบริเวณฝ่ามือ ฝ่าเท้า และ
ในปาก ส่วนใหญ่อาการไม่รุนแรง หายได้เอง ส่วนน้อยอาจมีอาการ
ทางสมองร่วมด้วย ซึ่งอาจทาให้รุนแรงถึงเสียชีวิตได้ ส่วนใหญ่พบใน
เด็กอายุ 1-7 ปี
สาเหตุของโรคมือเท้าปาก
• เกิดจากเชื้อCoxsackie A1B และ enterovirus71
• สามารถทาให้เกิด การอักเสบของ
สมองได้
• ผู้ป่ วยจะมีอาการหนักคือมีไข้ ซึม หอบ เขียว และเสียชีวิตอย่างรวดเร็ว แต่
อย่างไรก็ตามมีเพียงส่วนน้อยที่มีอาการหนัก
• ในประเทศไทยพบการระบาดของโรคนี้เพียงประปรายเท่านั้น
การติดเชื้อ
• เมื่อเด็กได้รับเชื้อไวรัสต้นเหตุเข้าสู่ร่างกาย ไวรัสจะแบ่งตัวที่
เยื่อบุในกระพุ้งแก้ม และในลาไส้เล็ก
• ใน 24 ชั่วโมงต่อมาเชื้อไวรัสจะเข้าไปอยู่ในต่อมน้าเหลือง
โดยมีระยะฟักตัวสั้น คือ 3-6 วัน
• หลังได้รับเชื้อ 3 วัน ไวรัสก็จะแพร่กระจายในกระแสเลือดไป
ฝังตัวอยู่ตามอวัยวะเป้ าหมาย คือเยื่อบุของช่องปาก และที่
ผิวหนังของมือและเท้า
• เมื่อเข้าสู่วันที่ 6 ของการติดเชื้อ
ร่างกายจะสร้างภูมิต้านทานสูงขึ้น
ให้เชื้อไวรัสถูกขจัดออกจากกระแส
เลือดและตาแหน่งที่เชื้อไวรัสไปฝัง
อยู่
ระยะฟักตัวของโรคมือเท้าปาก หมายถึง
ระยะตั้งแต่ได้รับเชื้อจนกระทั่งเกิดอาการใช้
เวลาประมาณ 4-6 วัน
อาการของโรค
• มีไข้ เจ็บคอ
• มีตุ่มที่คอ ปาก เหงือก ลิ้นโดยมากเป็ นตุ่มน้ามากกว่าเป็ นแผล
• ปวดศีรษะ
• ผื่นเป็ นมากที่มือ รองลงมาพบที่เท้า ที่ก้นก็พอพบได้
• เบื่ออาหาร
• เด็กจะหงุดหงิด
โรคแทรกซ้อน
• ผู้ป่ วยส่วนใหญ่ที่เกิดโรคนี้จากเชื้อ coxsackievirus A16 จะหาย
เองใน 1 สัปดาห์ แต่หากเกิดจากเชื้อ enterovirus 71 โรคจะ
เป็ นรุนแรงและเกิดโรคแทรกซ้อน
- อาจจะเกิดชักเนื่องจากไข้สูง ต้องเช็ดตัวเวลามีไข้และ
รับประทาน ยาลดไข้
- อาจจะเกิดเยื่อหุ้มสมองและสมองอักเสบได้
ระยะที่แพร่เชื้อของโรคมือเท้าปาก
• ประมาณอาทิตย์แรกของการเจ็บป่ วย เชื้อนั้นอาจจะอยู่ในร่างกายได้เป็ น
สัปดาห์
• หลังจากอาการดีขึ้้นแล้ว ซึ่งยังสามารถติดต่อสู่ผู้อื่นได้แม้ว่าจะหายแล้ว
• การแพร่เชื้อมักเกิดได้ง่ายในช่วงสัปดาห์แรกของการป่ วย ซึ่งมีเชื้อออกมา
มาก เชื้อจะอยู่ในลาคอ ประมาณ 2-3 สัปดาห์ ไวรัสเข้าสู่ร่างกายทางเยื่อบุ
ของคอหอยและลาไส้ เพิ่มจานวนที่ทอนซิลและเนื้อเยื่อของระบบน้าเหลือง
บริเวณลาไส้
• เชื้อจะออกมากับอุจจาระ
• ยังไม่มีหลักฐานที่เชื่อถือได้ว่า การแพร่กระจายของโรคเกิดจากแมลง น้า
อาหาร หรือขยะ
การแพร่กระจายของเชื้อ
• เชื้อ Enteroviruses พบได้ทั่วโลก
• ในประเทศที่ยังไม่พัฒนา อาจพบเด็ก ๆ ติดเชื้อในระหว่างที่ยัง
เป็ นทารกอยู่ แต่สาหรับในประเทศที่พัฒนาแล้ว อาจจะไม่พบ
การติดเชื้อจนกระทั่งเป็ นวัยรุ่น
• เพศชายจะสามารถสร้างภูมิคุ้มกันได้ดีกว่าเพศหญิง
• การถ่ายทอดไวรัสผ่านทางช่องปากหรือโดยทางอวัยวะที่เกี่ยวกับ
การหายใจ
การแพร่กระจายของเชื้อ (ต่อ)
• Enterovirus สามารถถูกขับออกมาทางอุจจาระได้
• ตรวจพบได้ในน้า , ดิน , ผักสด , สัตว์น้าที่มีเปลือกหุ้ม
• สามารถติดต่อได้ในชุมชนโดยการปนเปื้ อนมากับอาหาร หรือ
น้า
• ลักษณะของโรค จะเกิดผื่นขึ้นที่มือ เท้า และปาก
• ประเทศในเขตอบอุ่น จะพบโรคนี้บ่อยในฤดูที่มีอากาศร้อน แต่
สาหรับประเทศในเขตร้อน จะพบโรคนี้ได้ทุกฤดูกาล
เกณฑ์การวินิจฉัยโรค…ทางคลีนิค
ไข้ + แผลเปื่ อยหลายแผล + ตุ่มน้าพองขนาดเล็กที่ฝ่ามือ นิ้วเท้า ฝ่าเท้าและส้นเท้า
เกณฑ์การวินิจฉัยโรค...ทางห้องปฏิบัติการ
• แยกเชื้อไวรัส จาก
- Throat swab ในสัปดาห์แรกของการเริ่มป่ วย
- ป้ ายจากตุ่มน้าพอง ที่มือ เท้า ก้น
- เก็บอุจจาระภายใน 14 วันของวันที่เริ่มป่ วย
• ตรวจเลือด 2 ครั้งห่างกัน 14 วัน
ประเภทผู้ป่ วยและการรายงานโรค
ผู้ป่ วยที่สงสัย
(suspected case)
ผู้ที่มีอาการตามเกณฑ์ทางคลีนิค
ผู้ป่ วยที่เข้าข่าย
(probable case)
เกณฑ์ทางคลีนิค + ข้อมูลทางระบาดวิทยาที่
เชื่อมโยงกับผู้ป่ วยที่ยืนยัน
ผู้ป่ วยที่ยืนยัน
(confirmed case)
เกณฑ์ทางคลีนิค + ผลทางห้องปฏิบัติการ
การรักษา
• ไม่มียาสาหรับการรักษาโดยเฉพาะ
– ส่วนมากมักจะเป็ นการรักษาไปตามอาการ
– อาจมีการรักษาที่มุ่งจัดการกับโรคแทรกซ้อน เช่น เยื่อหุ้มสมอง
อักเสบ , การเต้นของกล้ามเนื้อหัวใจผิดปกติ , หัวใจล้มเหลว เป็ นต้น
– ใช้ immune globulin ป้ องกันการเกิดอาการที่รุนแรง คือ ในรายที่
ระดับภูมิคุ้มกันอยู่ในระดับที่เป็ นอันตรายและสามารถทาให้ถึงแก่ชีวิต
ได้
การป้ องกันและควบคุม
1. จัดการการอนามัยในชุมชนให้ดีขึ้น เพื่อลดการแพร่กระจาย
ของเชื้อ
2. หลีกเลี่ยงการสัมผัสกับผู้ป่ วย
3. ในกรณีที่พบการระบาดในพื้นที่เดียวกัน ให้สอบสวนหาสาเหตุ
ของการระบาดเพื่อกาหนดแนวทางการควบคุมและป้ องกันการ
แพร่ระบาดของโรค
มือ เท้า ปาก

More Related Content

What's hot

โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก
sivapong klongpanich
 
แผลกดทับ
แผลกดทับแผลกดทับ
แผลกดทับ
techno UCH
 

What's hot (20)

แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
 
อาหาร Dm
อาหาร Dmอาหาร Dm
อาหาร Dm
 
Ppt.aids
Ppt.aidsPpt.aids
Ppt.aids
 
Dangue fever pp
Dangue fever ppDangue fever pp
Dangue fever pp
 
Ppt. stroke1
Ppt. stroke1Ppt. stroke1
Ppt. stroke1
 
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
 
โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก
 
Ppt influenza
Ppt influenzaPpt influenza
Ppt influenza
 
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุอาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
 
Ppt.dm
Ppt.dmPpt.dm
Ppt.dm
 
Case study : dengue fever
Case study : dengue feverCase study : dengue fever
Case study : dengue fever
 
แผลกดทับ
แผลกดทับแผลกดทับ
แผลกดทับ
 
Ppt.ht
Ppt.htPpt.ht
Ppt.ht
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
 
Genogram
GenogramGenogram
Genogram
 
วัยผู้ใหญ่
วัยผู้ใหญ่วัยผู้ใหญ่
วัยผู้ใหญ่
 
Wound care
Wound careWound care
Wound care
 
Ppt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านมPpt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านม
 
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
 
ภาวะซีด
ภาวะซีดภาวะซีด
ภาวะซีด
 

Similar to มือ เท้า ปาก (9)

แผ่นพับ โรคมือเท้าปาก
แผ่นพับ โรคมือเท้าปากแผ่นพับ โรคมือเท้าปาก
แผ่นพับ โรคมือเท้าปาก
 
Knowledge
KnowledgeKnowledge
Knowledge
 
Factsheet hfm
Factsheet hfmFactsheet hfm
Factsheet hfm
 
Factsheet hfm
Factsheet hfmFactsheet hfm
Factsheet hfm
 
STD
STD STD
STD
 
hand foot mouth
hand foot mouthhand foot mouth
hand foot mouth
 
Allergic rhinitis cpg
Allergic rhinitis cpgAllergic rhinitis cpg
Allergic rhinitis cpg
 
Current practice and guidance in allergic rhinitis management
Current practice and guidance in allergic rhinitis managementCurrent practice and guidance in allergic rhinitis management
Current practice and guidance in allergic rhinitis management
 
Current Practice and Guidance in Allergic Rhinitis Management
Current Practice and Guidance in Allergic Rhinitis ManagementCurrent Practice and Guidance in Allergic Rhinitis Management
Current Practice and Guidance in Allergic Rhinitis Management
 

มือ เท้า ปาก

  • 1. โรคมือ เท้า ปาก (Hand foot mouth syndrome) ธิติพงษ์ พลอยเหลือง นักวิชาการสาธารณสุขชานาญการ
  • 2. โรคมือเท้าปาก • เป็ นโรคที่มักพบการติดเชื้อในกลุ่มทารกและเด็กเล็ก แต่บางรายจะมี อาการรุนแรง ขึ้นอยู่กับชนิดของไวรัสที่มีการติดเชื้อ โรค HFMD ส่วนใหญ่พบในเด็กอายุน้อยกว่า 10 ปี โดยเฉพาะอายุต่ากว่า 5 ปี มี อาการไข้ร่วมกับตุ่มเล็กๆ เกิดขึ้นที่ผิวหนังบริเวณฝ่ามือ ฝ่าเท้า และ ในปาก ส่วนใหญ่อาการไม่รุนแรง หายได้เอง ส่วนน้อยอาจมีอาการ ทางสมองร่วมด้วย ซึ่งอาจทาให้รุนแรงถึงเสียชีวิตได้ ส่วนใหญ่พบใน เด็กอายุ 1-7 ปี
  • 3. สาเหตุของโรคมือเท้าปาก • เกิดจากเชื้อCoxsackie A1B และ enterovirus71 • สามารถทาให้เกิด การอักเสบของ สมองได้ • ผู้ป่ วยจะมีอาการหนักคือมีไข้ ซึม หอบ เขียว และเสียชีวิตอย่างรวดเร็ว แต่ อย่างไรก็ตามมีเพียงส่วนน้อยที่มีอาการหนัก • ในประเทศไทยพบการระบาดของโรคนี้เพียงประปรายเท่านั้น
  • 4. การติดเชื้อ • เมื่อเด็กได้รับเชื้อไวรัสต้นเหตุเข้าสู่ร่างกาย ไวรัสจะแบ่งตัวที่ เยื่อบุในกระพุ้งแก้ม และในลาไส้เล็ก • ใน 24 ชั่วโมงต่อมาเชื้อไวรัสจะเข้าไปอยู่ในต่อมน้าเหลือง โดยมีระยะฟักตัวสั้น คือ 3-6 วัน • หลังได้รับเชื้อ 3 วัน ไวรัสก็จะแพร่กระจายในกระแสเลือดไป ฝังตัวอยู่ตามอวัยวะเป้ าหมาย คือเยื่อบุของช่องปาก และที่ ผิวหนังของมือและเท้า
  • 5. • เมื่อเข้าสู่วันที่ 6 ของการติดเชื้อ ร่างกายจะสร้างภูมิต้านทานสูงขึ้น ให้เชื้อไวรัสถูกขจัดออกจากกระแส เลือดและตาแหน่งที่เชื้อไวรัสไปฝัง อยู่ ระยะฟักตัวของโรคมือเท้าปาก หมายถึง ระยะตั้งแต่ได้รับเชื้อจนกระทั่งเกิดอาการใช้ เวลาประมาณ 4-6 วัน
  • 6. อาการของโรค • มีไข้ เจ็บคอ • มีตุ่มที่คอ ปาก เหงือก ลิ้นโดยมากเป็ นตุ่มน้ามากกว่าเป็ นแผล • ปวดศีรษะ • ผื่นเป็ นมากที่มือ รองลงมาพบที่เท้า ที่ก้นก็พอพบได้ • เบื่ออาหาร • เด็กจะหงุดหงิด
  • 7. โรคแทรกซ้อน • ผู้ป่ วยส่วนใหญ่ที่เกิดโรคนี้จากเชื้อ coxsackievirus A16 จะหาย เองใน 1 สัปดาห์ แต่หากเกิดจากเชื้อ enterovirus 71 โรคจะ เป็ นรุนแรงและเกิดโรคแทรกซ้อน - อาจจะเกิดชักเนื่องจากไข้สูง ต้องเช็ดตัวเวลามีไข้และ รับประทาน ยาลดไข้ - อาจจะเกิดเยื่อหุ้มสมองและสมองอักเสบได้
  • 8. ระยะที่แพร่เชื้อของโรคมือเท้าปาก • ประมาณอาทิตย์แรกของการเจ็บป่ วย เชื้อนั้นอาจจะอยู่ในร่างกายได้เป็ น สัปดาห์ • หลังจากอาการดีขึ้้นแล้ว ซึ่งยังสามารถติดต่อสู่ผู้อื่นได้แม้ว่าจะหายแล้ว • การแพร่เชื้อมักเกิดได้ง่ายในช่วงสัปดาห์แรกของการป่ วย ซึ่งมีเชื้อออกมา มาก เชื้อจะอยู่ในลาคอ ประมาณ 2-3 สัปดาห์ ไวรัสเข้าสู่ร่างกายทางเยื่อบุ ของคอหอยและลาไส้ เพิ่มจานวนที่ทอนซิลและเนื้อเยื่อของระบบน้าเหลือง บริเวณลาไส้ • เชื้อจะออกมากับอุจจาระ • ยังไม่มีหลักฐานที่เชื่อถือได้ว่า การแพร่กระจายของโรคเกิดจากแมลง น้า อาหาร หรือขยะ
  • 9. การแพร่กระจายของเชื้อ • เชื้อ Enteroviruses พบได้ทั่วโลก • ในประเทศที่ยังไม่พัฒนา อาจพบเด็ก ๆ ติดเชื้อในระหว่างที่ยัง เป็ นทารกอยู่ แต่สาหรับในประเทศที่พัฒนาแล้ว อาจจะไม่พบ การติดเชื้อจนกระทั่งเป็ นวัยรุ่น • เพศชายจะสามารถสร้างภูมิคุ้มกันได้ดีกว่าเพศหญิง • การถ่ายทอดไวรัสผ่านทางช่องปากหรือโดยทางอวัยวะที่เกี่ยวกับ การหายใจ
  • 10. การแพร่กระจายของเชื้อ (ต่อ) • Enterovirus สามารถถูกขับออกมาทางอุจจาระได้ • ตรวจพบได้ในน้า , ดิน , ผักสด , สัตว์น้าที่มีเปลือกหุ้ม • สามารถติดต่อได้ในชุมชนโดยการปนเปื้ อนมากับอาหาร หรือ น้า • ลักษณะของโรค จะเกิดผื่นขึ้นที่มือ เท้า และปาก • ประเทศในเขตอบอุ่น จะพบโรคนี้บ่อยในฤดูที่มีอากาศร้อน แต่ สาหรับประเทศในเขตร้อน จะพบโรคนี้ได้ทุกฤดูกาล
  • 11. เกณฑ์การวินิจฉัยโรค…ทางคลีนิค ไข้ + แผลเปื่ อยหลายแผล + ตุ่มน้าพองขนาดเล็กที่ฝ่ามือ นิ้วเท้า ฝ่าเท้าและส้นเท้า เกณฑ์การวินิจฉัยโรค...ทางห้องปฏิบัติการ • แยกเชื้อไวรัส จาก - Throat swab ในสัปดาห์แรกของการเริ่มป่ วย - ป้ ายจากตุ่มน้าพอง ที่มือ เท้า ก้น - เก็บอุจจาระภายใน 14 วันของวันที่เริ่มป่ วย • ตรวจเลือด 2 ครั้งห่างกัน 14 วัน
  • 12. ประเภทผู้ป่ วยและการรายงานโรค ผู้ป่ วยที่สงสัย (suspected case) ผู้ที่มีอาการตามเกณฑ์ทางคลีนิค ผู้ป่ วยที่เข้าข่าย (probable case) เกณฑ์ทางคลีนิค + ข้อมูลทางระบาดวิทยาที่ เชื่อมโยงกับผู้ป่ วยที่ยืนยัน ผู้ป่ วยที่ยืนยัน (confirmed case) เกณฑ์ทางคลีนิค + ผลทางห้องปฏิบัติการ
  • 13. การรักษา • ไม่มียาสาหรับการรักษาโดยเฉพาะ – ส่วนมากมักจะเป็ นการรักษาไปตามอาการ – อาจมีการรักษาที่มุ่งจัดการกับโรคแทรกซ้อน เช่น เยื่อหุ้มสมอง อักเสบ , การเต้นของกล้ามเนื้อหัวใจผิดปกติ , หัวใจล้มเหลว เป็ นต้น – ใช้ immune globulin ป้ องกันการเกิดอาการที่รุนแรง คือ ในรายที่ ระดับภูมิคุ้มกันอยู่ในระดับที่เป็ นอันตรายและสามารถทาให้ถึงแก่ชีวิต ได้
  • 14. การป้ องกันและควบคุม 1. จัดการการอนามัยในชุมชนให้ดีขึ้น เพื่อลดการแพร่กระจาย ของเชื้อ 2. หลีกเลี่ยงการสัมผัสกับผู้ป่ วย 3. ในกรณีที่พบการระบาดในพื้นที่เดียวกัน ให้สอบสวนหาสาเหตุ ของการระบาดเพื่อกาหนดแนวทางการควบคุมและป้ องกันการ แพร่ระบาดของโรค