SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 275
Descargar para leer sin conexión
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
ขอบคุณสไลด์จากนายแพทย์ฉัตรชัย สวัสดิไชย โรงพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี
การแพทย์แผนไทย
๑. Thai Traditional Medicine
๒. วิถีการดูแลสุขภาพของคนไทย
๓. ที่สอดคล้องกับประเพณีไทย
๔. ใช้สมุนไพรรูปอาหารและยา
๕. ใช้ อบ ประคบ นวด
๖. สมุนไพรตารับรักษาโรค
๗. ภูมิปัญญาสืบทอดมายาวนานหลายพันปี
แผนไทยและสมุนไพร....
อันตรายจากยาแผนปัจจุบัน (สถิติในอเมริกา)
๑. คนไข้ในโรงพยาบาลที่ได้รับยาโรคหัวใจ Digoxin ประสพ
ปัญหายาเป็นพิษต่อหัวใจ ปีละ28,000ราย
๒. ผู้สูงอายุที่รับประทานยาแก้ไขข้ออักเสบ เกิดแผลในกระเพาะ
อาหารจนต้องส่งโรงพยาบาลปีละ41,000ราย และเสียชีวิตถึง
3,300ราย
๓. ผู้สูงอายุมีปัญหาความจาเสื่อม สมองเสื่อมปีละ163,000ราย
ซึ่งเกิดจากยาหรือยาเป็นสาเหตุให้อาการเป็นมากขึ้น
๑. 46% เกิดจากยากล่อมประสาท/ยานอนหลับ
๒. 14% เกิดจากยาลดความดัน
๓. 11% เกิดจากยาจิตเวช
๑. ผู้สูงอายุเกิดอาการparkinson (อาการ
มือเท้าสั่น ตัวแข็ง ยืนไม่มั่นคง) จาก
การใช้ยาจิตเวชปีละ61,000ราย
๒. ผู้สูงอายุเกิดการติดยาประเภทยากล่อม
ประสาทหรือยานอนหลับปีละ2ล้าน
ราย
๓. ผู้สูงอายุเกิดอาการdyskinesia (การ
เคลื่อนไหวแบบไม่ตั้งใจ) จากยาทางจิต
เวชปีละ73,000ราย
Parkinson’s disease
dyskinesia
ปรัชญาของการแพทย์แผนไทย
เป้ าหมายของการแพทย์แผนไทย คือ สุขภาพที่ดีทั้งร่างกายและจิตใจ
-ป้องกันก่อนเกิดโรค ( prevention before treatment)
-ค้นหาปัญหาสุขภาพ แก้ไข ก่อนที่จะรุกลามและสร้างปัญหาอย่าง
แท้จริง
นายแพทย์ฉัตรชัย สวัสดิไชย โรงพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี
แพทย์แผนไทย/แพทย์พื้นบ้าน
Thai Traditional
Medicine
การแพทย์แผนไทย
นวด , อบ , ประคบ ทับหม้อเกลือ
เหยียบไฟ คาถา หมอน้ามัน
สมุนไพร ผลิตภัณฑ์ สุขภาพ
แพทย์แผนไทยประยุกต์
เวชกรรมไทย เภสัชกรรมไทย
การผดุงครรภ์ไทย การนวดไทย
1 เวชกรรมไทย คือ กิจ 4 ประการ ได้แก่
รู้จักที่ตั้งแรกเกิดของโรค
รู้จักชื่อของโรค
รู้จักยารักษาโรค
รู้จักยาใดรักษาโรคใด
2 เภสัชกรรมไทย ประกอบด้วย หลักเภสัช 4 คือ เภสัชวัตถุ
สรรพคุณเภสัช คณาเภสัช เภสัชกรรม
3 การผดุงครรภ์ไทย มีองค์ความรู้ต่อการประกอบวิชาชีพ ได้แก่
สรีระร่างกายของหญิงและชายวัยเจริญพันธ์ การปฏิสนธิและการ
ตั้งครรภ์ การทาคลอดปกติ การดูแลมารดาและทารกในระยะ
คลอด การเจริญเติบโตและการดูแลทารก
4 การนวดไทย ได้แก่ ความรู้ในการค้นหาต้นเหตุของโรค (ซัก
ประวัติ และการตรวจร่างกาย) หลักพื้นฐานการนวดไทย (กาย
วิภาคศาสตร์ สรีรวิทยา พยาธิวิทยา) เส้นประธาน 10
การวินิจฉัยโรคตามหลัก
การแพทย์แผนไทย
รู้จัก "ตรีโทษ (Tri Dosha) หรือ
วาตะ ปิตตะ กผะ"
1. ทฤษฎีทางอายุรเวท ศาสตร์แห่งอินเดีย
2. การทางานของกายและจิตของมนุษย์จะถูกควบคุมโดย
พลังงานพื้นฐาน 3 ส่วน เรียกว่า "ไตรโทษะ หรือ ตรี
โทษ (Tri Dosha)“
3. วาตะ (Vata) ปิตตะ (Pitta) และ กผะ (Kapha)
พลังเหล่านี้มาจากธาตุสาคัญ 5 ชนิด ได้แก่ ธาตุดิน
ธาตุน้า ธาตุลม ธาตุไฟ และอากาศธาตุ
ตรีโทษ
กผะ
วาตะ
ปิตตะ
ลม และ อากาศธาตุ
ไฟ ดินและน้า
วาตะ (Vata)
วาตะ ประกอบด้วย "ธาตุลม" และ "อากาศธาตุ" มีหน้าที่ควบคุม
การเคลื่อนไหวของส่วนต่าง ๆ ในร่างกาย
วาตะ หมาย ถึง ลมของร่างกาย
วาตะ ควบคุมการหายใจ การกระพริบของเปลือกตา การเคลื่อนของ
กล้ามเนื้อและเนื้อเยื่อ การเต้นของหัวใจ รวมทั้งการยืดและหดของ
กล้ามเนื้อ
วาตะ ยังควบคุมอารมณ์ อาการสั่นสะท้านและการเกร็งกระตุกของ
กล้ามเนื้อ ลาไส้ใหญ่ โพรงกระดูกเชิงกราน กระดูก ผิวหนัง หูและต้น
ขา
ปิตตะ (Pitta)
ปิตตะ เป็นส่วนประกอบของ "ธาตุไฟ" มีหน้าที่เผาผลาญ
อาหารและให้ความอบอุ่นแก่ร่างกาย รวมทั้งช่วยในเรื่องการ
มองเห็น
ปิตตะ ควบคุมการย่อยอาหาร การดูดซึม สารอาหาร
ขบวนการเผาผลาญอาหารให้เกิดพลังงาน อุณหภูมิของ
ร่างกาย สีผิว ความสุกใสแวววาของดวงตา รวมทั้งความฉลาด
ความสามารถในการเรียนรู้ สรีระวิทยาส่วนกายภาพ
ปิตตะ ก่อให้เกิดความโกรธ ความเกลียดและความอิจฉาริษยา
กผะ (Kapha)
• กผะ ประกอบด้วย "ธาตุดิน" และ "ธาตุน้า" มีหน้าที่เป็นโครงสร้าง
ของร่างกาย เช่น กระดูก กล้ามเนื้อ เส้นเอ็นและให้ความชุ่มชื้น
ของเหลวที่อยู่ตามข้อต่อของกระดูกต่าง
• พื้นที่ของกผะ ได้แก่ ช่องอก (เต้านม) ลาคอ ศีรษะ โพรงไซนัส จมูก
ปาก กระเพาะอาหาร ข้อต่อต่าง ๆ สารน้าที่หล่อเลี้ยงนิวเคลียสของ
เซลล์ สารน้าในโลหิตและน้าเหลือง รวมทั้งของเหลวต่างๆใน
ร่างกายก
• กผะ ยังตอบสนองต่อารมณ์การยึดติด ความโลภ ความอิจฉาริษยา
ครอบคลุมความอ่อนไหว ความเฉื่อยชา การให้อภัยและความรักด้วย
- รูปร่างผอม น้าหนักตัวน้อย ผิวแห้ง
- ไม่ค่อยอยู่นิ่ง ชอบทาอะไรเร็ว ๆ
- ความหิวและอยากอาหารไม่แน่นอน
- มักจะท้องผูกง่ายกว่าท้องเสีย
- นอนหลับอยาก หลับไม่สนิท ฝันบ่อย จาความฝันไม่ค่อยได้
- ตื่นเต้นหรืออารมณ์เปลี่ยนแปลงง่าย
- เรียนรู้รวดเร็วแต่ขี้ลืม
- มีแนวโน้มที่จะกระวนกระวาย วิตกกังวล หวาดกลัว
- แรงอึดน้อย พลังมักจะมาเร็วหมดเร็ว
สรุปลักษณะเด่นของคนที่มี วาตะเป็นเจ้าเรือน
สรุปลักษณะเด่นของคนที่มี ปิตตะเป็นเจ้าเรือน
J รูปร่างและน้าหนักตัวปานกลาง
J ผิวละเอียด เป็นผืนแดงง่าย
หิวบ่อย กินจุ ควบคุมน้าหนักได้ดี
J มักจะท้องเสียมากกว่าท้องผูก
J นอนหลับง่าย หลับสนิท ฝันไม่บ่อย จาความฝันได้
J ความคิดเฉียบแหลม ชอบวางแผนสังการ
J ขี้หงุดหงิดหรือโมโหง่าย
J เหงื่อออกมาก ขี้ร้อน ชอบความเย็นหรืออากาศเย็น
J ชอบเป็นผู้นา
J รูปร่างใหญ่ น้าหนักตัวมาก
J ผิวนุ่มละเอียด ผิวขาวหรือซีด
J ความหิวค่อนข้างคงที่ สม่าเสมอ
J ปกติจะถ่ายวันละครั้ง และค่อนข้างเป็นเวลา
อุจจาระไม่แข็งหรือเหลวมาก
J นอนหลับสนิทและลึก นอนมาก
J เรียนรู้ช้า แต่ความจาดี
J ชอบทามากกว่าคิด ชอบเป็นผู้ตาม
J มักพยายามหลีกเลี่ยงการเผชิญกับปัญหาหรือเหตุการณ์เฉพาะหน้า
J มีนิสัยอ่อนโยน เยือกเย็น รักสงบ ไม่ชอบความเปลี่ยนแปลง
สรุปลักษณะเด่นของคนที่มี กผะเป็นเจ้าเรือน
การกาเริบ
• ปิตตะกาเริบ รบกวนขบวนการเผาผลาญและดูดซึม
สารอาหาร วัยผู้ใหญ่ ฤดูร้อน
• กผะกาเริบ ทาให้การเสริมสร้างมากเกินควร วัยเด็ก
• วตะกาเริบ ทาให้การเสื่อมสลายมากเกินควร วัยชรา
ฤดูฝนและ หนาว
สาเหตุใหญ่ๆของความเจ็บป่วยมี ๖ ประการ
๑. มูลเหตุธาตุทั้ง ๔ (ธาตุสมุฏฐาน)
๒. อิทธิพลของฤดูกาล (ฤดูสมุฏฐาน)
๓. อายุที่เปลี่ยนไปตามวัย (อายุสมุฏฐาน)
๔. ถิ่นที่อยู่อาศัย ( ประเทศสมุฏฐาน)
๕. อิทธิพลกาลเวลาและสุริยะจักรวาล (กาลสมุฏฐาน)
๖. พฤติกรรมที่เป็นมูลเหตุของโรค ๘ ประการ
คัมภีร์สมุฏฐานวินิจฉัย
แผนไทยและสมุนไพร....
8 พฤติกรรมไม่ดีต่อสุขภาพ
มลภาวะ
อากาศ
การอด
กิน
พฤติกรรมที่เป็นมูลเหตุเกิดโรค ได้แก่
การบริโภคมากหรือน้อยเกินไป บริโภคไม่ถูกกับธาตุ ไม่
ถูกกับโรค
การฝืนอิริยาบถ
มลภาวะของอากาศ
การอด ได้แก่ อด-อาหาร -น้า -นอน
การกลั้นอุจจาระ ปัสสาวะเป็นประจา
การทางานเกินกาลังมากเกินไปหรือกิจกรรมทางเพศมาก
เกินไป
มีความโศกเศร้าเสียใจ หรือดีใจเกินไป
มีโทสะมากเกินไป ขาดสติ
คัมภีร์สมุฏฐานวินิจฉัย
1. ธาตุสมุฎฐาน
2. ฤดูสมุฎฐาน
3. อายุสมุฎฐาน
4. กาลสมุฎฐาน
ธาตุสมุฏฐานแบ่งได้ 4 กอง คือ
สมุฎฐานเตโชธาตุพิกัด
สมุฎฐานวาโยธาตุพิกัด
สมุฎฐานอาโปธาตุพิกัด
สมุฎฐานปถวีธาตุพิกัด
ธาตุเจ้าเรือน
รู้ได้ นับตั้งแต่วันที่ปฏิสนธิ แต่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ ขึ้นอยู่กับ
สิ่งแวดล้อม การเลี้ยงดู และพฤติกรรมการกิน
เมื่อตั้งครรภ์ในฤดูใด เอาธาตุของฤดูนั้นเป็นที่ตั้ง
ธาตุเจ้าเรือนแต่กาเนิด
๑. ปฏิสนธิในเดือน ๕,๖,๗ เกิดในเดือน
๒,๓,๔ เป็นลักษณะแห่งธาตุไฟ
๒. ปฏิสนธิในเดือน ๘,๙,๑๐ เกิดในเดือน ๕,๖,๗ เป็น
ลักษณะแห่งธาตุลม
๓. ปฏิสนธิในเดือน ๑๑,๑๒,๑ เกิดในเดือน ๘,๙,๑๐
เป็นลักษณะแห่งธาตุน้า
๔. ปฏิสนธิในเดือน ๒,๓,๔ เกิดในเดือน ๑๑,๑๒,๑
เป็นลักษณะแห่งธาตุดิน
ธาตุดิน
คนเกิดปีจอ และปีฉลู หรือคนที่เกิดเดือน ตุลาคม พฤศจิกายน ธันวาคม
ส่วนใหญ่จะเป็นวันพฤหัสบดี และ วันศุกร์
ธาตุน้า
คนเกิดปีชวด และปีกุน หรือคนที่เกิดเดือน กรกฎาคม สิงหาคม กันยายน หรือผู้ที่เกิดใน
วันพุธ
ธาตุลม
คนเกิดปีเถาะ ปีมะเมีย ปีมะแม ปีวอกหรือ คนที่เกิดเดือน เมษายน พฤษภาคม มิถุนายน
ส่วนใหญ่จะเป็นคนเกิดวันศุกร์ และวันพุธ
ธาตุไฟ
คนเกิดปีขาล ปีมะโรง ปีมะเส็ง ปีระกา หรือคนที่เกิดเดือน มกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม
ผู้ที่เกิดในวันอาทิตย์ วันอังคาร วันเสาร์
ลักษณะผู้ที่มีธาตุดินมาก จะมีสภาพร่างกาย แข็งแรงบึกบึน กล้ามเนื้อ และ
กระดูกต่างๆ จะแข็งแรง น้าหนักตัวมาก ล่าสัน เสียงดังหนักแน่น ผิวหนังจะ
ค่อนข้างหยาบกระด้าง
พฤติกรรม ชอบความโดดเด่น เป็นตัวของตัวเอง ค่อนข้างทรนง ถือตัว ชอบขัน
อาสารับภาระแก่ผู้อื่น ชอบทาตนเป็นผู้นา
อารมณ์และนิสัย มีความอดทน มั่นคง มีน้าใจกว้างขวาง รู้จักวางตน ไม่ค่อย
อ่อนไหวต่ออารมณ์ต่างๆ นัก มีความความกล้าหาญ
โรคที่มักจะเป็น โรคท้องผูก ระบบย่อยอาหารไม่ค่อยปกติ ท้องอืดท้องเฟ้ อ
ความดันต่า ไขมันอุดตัน หินปูนเกาะกระดูก ปวดตามข้อ เส้นเลือดตีบ โรคหัวใจ
ไต ชักกระตุก
ภาวะไม่สมดุลของผู้มีธาตุเจ้าเรือนเป็นธาตุดิน
ปัญหาใหญ่ของคนธาตุดินคือน้าหนักตัว มักอ้วนง่ายลดยาก ในภาวะที่ไม่สมดุล
มีแนวโน้มที่จะเป็นคนละโมบหรือขี้เกียจและซึมเศร้า
แผนไทยและสมุนไพร....
• ลักษณะผู้ที่มีธาตุน้ามาก จะมีรูปร่างท้วมสมส่วนไปจนถึงท้วมใหญ่
น้าหนักเพิ่มง่าย แต่ลดยาก ผิวพรรณผ่องใส เส้นผมและขนจะมันเป็นเงา
โดยธรรมชาติ ฟันและเล็บมือเล็บเท้าจะขาวอมชมพูเป็นเงางาม ริมฝีปากจะ
มีสีสดตลอดเวลา แววตาจะดูแวววาว น้าเสียงจะก้องกังวาน เนื้อตัวจะเย็น
ใบหน้ามักจะกลมหรือรูปสี่เหลี่ยม ดวงตากลมโต ค่อนข้างมีขนาดใหญ่ และ
มีน้าหล่อเลี้ยงอยู่เสมอ ความรู้สึกทางเพศดี
พฤติกรรม เป็นคนเยือกเย็น และหนักแน่น ค่อนข้างมีเมตตาและเห็นอก
เห็นใจผู้อื่นเสมอ เป็นผู้ฟังที่ดี และให้กาลังใจผู้อื่นได้อย่างเป็นธรรมชาติ มี
เหตุมีผล นิยมชมชอบคบค้าสมาคมแก่คนทั้งหลาย มีอัธยาศัยชอบวางตัว
เป็นผู้ใหญ่เกินวัย มีผู้คนนับหน้าถือตา ขยันขันแข็ง
• อารมณ์และนิสัย รักสวยรักงาม รักหน้าตา มีจิตเมตตา โอบ
อ้อมอารี มีปกติ มักติดในอารมณ์ใดๆ ได้ง่าย เป็นประเภทพวก
รักง่ายหน่ายเร็ว ฉลาดเอาตัวรอดได้ ชื่นชอบธรรมชาติ และ
ดอกไม้ ในขณะเดียวกันคนธาตุน้าเป็นคนค่อนข้างเฉื่อยชา
ตื่นตัวช้า ติดจะขี้เกียจอยู่บ้าง รวมทั้งติดที่ ไม่ชอบความ
เปลี่ยนแปลง และหลีกเลี่ยงความขัดแย้งทุกรูปแบบ เรียนรู้ได้ช้า
แต่ความจาดี
• โรคที่มักจะเป็น โรคภูมิแพ้ โรคหวัด โรคติดเชื้อต่างๆ แผล
พุพองที่เรียกว่าน้าเหลืองเสีย น้าหนองไหล ปอดชื้น น้าท่วม
ปอด โรคไตวายฉับพลัน โลหิตจาง เลือดออกตามไรฟัน และโรค
อ้วน
ภาวะไม่สมดุลของผู้มีธาตุเจ้าเรือนเป็นธาตุน้า
ปัญหาใหญ่ของคนธาตุน้าคือน้าหนักตัว มักอ้วนง่ายลดยาก ใน
ภาวะที่ไม่สมดุล มีแนวโน้มที่จะเป็นคนละโมบหรือขี้เกียจและ
ซึมเศร้า
แผนไทยและสมุนไพร....
• ลักษณะผู้ที่มีธาตุลมมาก จะมีรูปร่างสูงโปร่ง ไม่อ้วน แขนขาเรียวเล็ก
ภาพรวมดูบริสุทธิ์และบอบบาง แต่บางครั้งโครงสร้างก็ดูเหมือนจะไม่
ค่อยได้ดุลยภาพเท่าที่ควร ผมเส้นใหญ่และขนตามตัวจะแห้งกรอบ
ผิวหนังแห้งกระด้างและเย็น เหงื่อน้อย เล็บกระดูกฟันเปราะกรอบ สีจะ
ขาวซีด ดวงตาจะพร่ามัวเพราะมีลมออกจากกระบอกตามาก น้าหนัก
ตัวที่ค่อนข้างน้อยอยู่แล้วจะเพิ่มยากแต่ลดง่าย
พฤติกรรม มีพลังสร้างสรรค์สูงกว่าธาตุเจ้าเรือนอื่นๆ เป็นคนที่มี
ลักษณะเหมือนลมนั่นเอง เคลื่อนไหวคล่องแคล่วรวดเร็ว อยู่ติดที่ได้ไม่
นาน ทาอะไรหุนหัน เรียกว่าโกรธง่ายหายเร็ว ทะเยอทะยาน มีความ
หยิ่งทระนง ที่ถนัดคือยุ่งกับเรื่องของชาวบ้านตั้งวงนินทา เป็นคนช่าง
ประจบทาให้ดูเหมือนมีสังคมกว้าง เข้ากับคนอื่นได้ง่ายแต่ก็โดนคนอื่น
ทิ้งได้ง่าย เป็นคนทาอะไรรวดเร็ว แต่ไม่ค่อยเรียบร้อย ช่างพูด เสียงต่า
ออกเสียงไม่ชัดเจน ความรู้สึกทางเพศไม่ค่อยดี
• อารมณ์และนิสัย เป็นคนเจ้าอารมณ์ ชอบเพ้อฝัน ตื่นเต้นง่าย มักจะมี
ความสนใจหลายๆ อย่างในเวลาเดียวกัน จนบางครั้งทาให้เหมือนเป็น
นักคิดที่ไม่ลงมือปฎิบัติเสียที่ รวมทั้งมีความวิตกกังวลได้ง่าย แต่ทางาน
ในลักษณะสร้างสรรค์หรืองานด้านศิลปะได้เป็นอย่างดี มีนิสัยค่อนข้าง
อิจฉาริษยา บางขณะก็มีน้าใจจนท่วมท้น ทาให้คนอยู่ใกล้อึดอัด
บางขณะก็ดูหฤโหด โกรธรุนแรง มีความหลงต่ออารมณ์ต่างๆ ได้ง่าย
จนถูกหลอกเป็นประจา ถึงกระนั้นก็ยังพอจะมีปฏิภาณเอาตัวรอดได้
เป็นผู้มีความคิดที่ใครๆ ก็จะคาดเดาลาบาก เรียนรู้เร็วแต่ลืมง่าย
โรคที่มักจะเป็น โรคกระดูกเปราะ โรคน้าตาแห้ง โรคตาต่างๆ โรคลมจุก
เสียด โรคลมดันหัวใจ โรคนอนกรน โรคผอมแห้งแรงน้อย โรคปวดหัว
วิงเวียนศีรษะ โรคท้องอืดท้องเฟ้ อ โรคอ่อนเพลีย นอนไม่ค่อยหลับ
ภาวะไม่สมดุลของผู้ที่มีธาตุเจ้าเรือนเป็นธาตุลม
ในแง่การทางานของระบบในร่างกาย คนธาตุลมค่อนข้างมีปัญหาเกี่ยวกับ
ระบบทางเดินอาหาร เช่น อาหารไม่ค่อยย่อยหรือท้องผูก มีปัญหากับระบบ
ประสาท รวมทั้งมีปัญหาในการนอนหลับ มักจะหลับไม่สนิทและตื่นได้ง่าย
แม้แต่เสียงรบกวนเล็กๆ น้อยๆ ในแง่ของจิตใจ คนธาตุลมจะค่อนข้างขี้กลัว
วิตกกังวล และซึมเศร้า ในขั้นรุนแรงมีแนวโน้มที่จะฆ่าตัวตายได้ ในภาวะที่
ไม่สมดุลมีแนวโน้มที่จะกระทามากไปทุกเรื่องทั้งในแง่ของการบริโภค และ
ความสัมพันธ์กับผู้อื่น
แผนไทยและสมุนไพร....
ลักษณะผู้ที่มีธาตุไฟมาก จะมีรูปร่างค่อนข้างสมส่วน น้าหนักเพิ่มง่าย แต่ก็ลดง่าย
ผิวบาง แพ้ง่าย ผอมคล้า ผิวหนักตกกระ ไฝฝ้ าจะขึ้นกระจายไปทั่ว ผมและขนจะแห้ง
แตกปลายและจะเบาบาง ตามลาตัวจะมีไอร้อนมากกว่าธาตุอื่นๆ สีหน้า และแววตา
จะหมองคล้า เล็บและฟันจะไม่เป็นเงางาม ในขณะที่ผมดกและนุ่ม รูปตาค่อนข้าง
เรียวเล็กและมีลักษณะเหมือนจะมองทะลุเข้าไปในความคิดของผู้ อื่น กล้ามเนื้อจะ
ไม่ค่อยแข็งแรง เซลล์ในกระดูกจะเกาะตัวกันอย่างหลวมๆ กลิ่นตัวรุนแรง ขี้ร้อน ทน
ร้อนไม่ค่อยได้ หิวบ่อย กินเก่ง ผมหงอกเร็ว มักหัวล้าน ความต้องการทางเพศปาน
กลาง
พฤติกรรม เป็นคนเฉลียวฉลาดทันคน มีความมุ่งมั่นในการทาภารกิจต่างๆ มีระบบ
ความคิดที่ชัดเจน ชอบเป็นผู้นาคน และค่อนข้างมีความมั่นใจในตัวเองสูง เมื่อจับ
งานใดๆ ก็ตาม จะผลักดันจนสาเร็จเสร็จสิ้นเป็นชิ้นๆ ไปแต่มักจะควบคุมอารมณ์
ฉุนเฉียวไม่ค่อยได้ และชอบการแข่งขันเป็นชีวิตจิตใจ ซื่อตรง พูดจาโผงผาง
ตรงไปตรงมา ส่วนใหญ่จะเสียเพราะคาพูด ทาอะไรชอบทาให้ดูใหญ่โต เรียกว่าฉิบ
หายไม่ว่า ต้องการชื่อเสียง เป็นเจ้าบุญทุ่มพอสมควร แต่มิค่อยมีคนชอบ ชอบอวดดี
อารมณ์และนิสัย เป็นคนอารมณ์รุนแรง โกรธรุนแรง หงุดหงิดง่าย เวลา
ทาอะไรมิค่อยคิด มีนิสัยชอบผูกพยาบาท ชอบคิดอยู่เสมอว่าเราเคยมี
บุญคุณกับคนอื่น คนอื่นก็ต้องตอบแทนเรา
โรคที่มักจะเป็น ท้องผูก ริดสีดวง ความดันสูง เส้นโลหิตเปราะบาง ปวด
ศีรษะ โรคไต โรคกระษัย ปัสสาวะกะปริบกะปรอย วิตกกังวล เบื่ออาหาร
โรคหัวใจ โรคไทรอยด์ ร้อนใน โรคกระเพาะ กระดูกเสื่อมเร็วก่อนวัย
หงุดหงิดง่าย ใจสั่น แผลพุพอง น้าเหลืองเสีย เลือดเป็นพิษ โรคเลือด
ลักปิดลักเปิด
ภาวะไม่สมดุลของผู้มีธาตุเจ้าเรือนเป็นธาตุไฟ
สิ่งต้องระวังของคนธาตุไฟคือภาวะของการอักเสบ ระวังเรื่องอาหารที่เผ็ด
ร้อน ซึ่งจะทาให้ท้องเสียอยู่เสมอ รวมทั้งปัญหาการควบคุมอารมณ์ได้ยาก
การไม่รู้จักประณีประนอม ปัญหาสุขภาพที่มักเกิดขึ้นคือแผลร้อนใน ความ
ดันเลือดสูง และภูมิแพ้
แผนไทยและสมุนไพร....
@ อาหารประจาธาตุ
ธาตุดิน ฝาด หวาน มัน เค็ม
ธาตุน้า เปรี้ยว ขม
ธาตุลม เผ็ดร้อน ทุกชนิด ถ้าทานเผ็ดร้อนไม่ได้ให้ใช้เครื่องเทศแทน
ธาตุไฟ เย็น จืด ขม
* * เมี่ยงคา เป็นอาหารปรับธาตุทั้งสี่ ชะพลู-น้า ถั่ว,กุ้งแห้ง-ดิน
มะนาว-น้า,ไฟ หอม,ขิง,พริก-ลม
@ ฤดูสมุฎฐาน
1. ฤดูร้อน เจ็บป่วยด้วยธาตุไฟ
2. ฤดูฝน เจ็บป่วยด้วยธาตุลม
3. ฤดูหนาว เจ็บป่วยด้วยธาตุน้า
ฤดูสมุฏฐาน มี 2 ฤดู คือ ฤดู 3 กับ ฤดู 6
ฤดู 3 ในหนึ่งปีแบ่งออกเป็น 3 ฤดูๆ ละ 4 เดือน
คือ
คิมหันตฤดู (ฤดูร้อน)
วสันตฤดู (ฤดูฝน)
เหมันตฤดู (ฤดูหนาว)
ฤดู 6 ในหนึ่งปีแบ่งออกเป็น 6 ฤดูๆ ละ 2 เดือน คือ
คิมหันตฤดู
วสันตฤดู
วัสสานฤดู
สะระทะฤดู
เหมันตฤดู
ศิริรฤดู
@อายุสมุฏฐาน (อายุที่เปลี่ยนไปตามวัย)
ปฐมวัย (แรกเกิด – 16 ปี) เจ็บป่วยด้วยธาตุน้า
มัชฌิมวัย (วัยกลางคน – 32 ปี) เจ็บป่วยด้วยธาตุไฟ
ปัจฉิมวัย (วัยชรา 32 – อายุขัย) เจ็บป่วยด้วยธาตุลม
แผนไทยและสมุนไพร....
กาลสมุฏฐาน แบ่งออกได้เป็น 2 กาล (เฉพาะกาล 3) มี
กาลกลางวัน ตั้งแต่
ย่ารุ่ง – 4 โมงเช้า (06.00-10.00) พิกัดเสมหะกระทา
5 โมงเช้า – บ่าย 2 โมง (11.00-14.00) พิกัดปิตะกระทา
บ่าย 3 โมง – ย่าค่า (15.00-18.00) พิกัดวาตะกระทา
กาลกลางคืน
ย่าค่า – 4 ทุ่ม (18.00-22.00) พิกัดเสมหะกระทา
5 ทุ่ม – 8 ทุ่ม (23.00-02.00) พิกัดปิตตะกระทา
9 ทุ่ม – ย่ารุ่ง (03.00-06.00) พิกัดวาตะกระทา
@ ประเทศสมุฏฐาน
สถานที่ถิ่นที่อยู่อาศัยเป็นสาเหตุการเกิดโรค.................
ประเทศร้อน ภูเขาสูง เนินผา ภาคเหนือ มักเจ็บป่วยด้วย
ธาตุไฟ
ประเทศเย็น น้าฝน โคลนตม มักเจ็บป่วยด้วยธาตุลม ภาค
กลาง
ประเทศอุ่น น้าฝน กรวด ทราย เก็บน้าไม่อยู่ มักเจ็บป่วย
ด้วยธาตุน้า ภาคอีสาน
ประเทศหนาว น้าเค็ม โคลนตม ชื้นแฉะ มักเจ็บป่วยด้วย
ธาตุดิน ภาคใต้ กินรสเผ็ดร้อน เพื่อขับความชื้นเย็นออกจากตัวมนุษย์
การคูณธาตุ (สูตร หมอขุนทอง กิจเพียร)
คานวณว่ามีธาตุอะไร กาเริบ หย่อน พิการ บ่งบอกถึงการเจ็บป่วยในแต่ละปี
สาหรับแต่ละบุคคล หลักๆ ใช้ยาเบญจกูล ในการคุมธาตุ
ตัวยาประจาธาตุทั้ง 4
ธาตุดิน 21 กอง ใช้ ดอกดีปลี (ใช้ต้นแทนได้)
ธาตุน้า 12 กอง ใช้ รากชะพลู
ธาตุลม 6 กอง ใช้ เถาสะค้าน
ธาตุไฟ 4 กอง ใช้ รากเจตมูลเพลิง (ใช้ต้นแทนได้)
การคานวณธาตุ
วิธีคิด อายุ + ธาตุ / 7 (คือธรรมชาติ 7 อย่าง)
เช่น อายุ 10 ปี ธาตุดิน (10+21)/7 = เศษ 3
ธาตุน้า (10+12)/7 = เศษ 1
ธาตุลม (10+6)/7 = เศษ 2
ธาตุดิน (10+4)/7 = เศษ 0
ถ้าเศษเดือนเกิดที่นับได้เกิน 6 เดือนขึ้นไป ให้นับเป็น 1 ปี เช่นเกิดเดือน
มกราคม 2523 ปัจจุบันตุลาคม 2533 ก็มีอายุเท่ากับ 10 ปี 9 เดือน ให้
นับเป็น 11 ปี
ถ้าเศษเดือนเกิดที่นับได้ต่ากว่า 6 เดือนให้ตัดทิ้ง
ตัวหารเลข 7 มาจากธรรมชาติ 7 อย่าง อยู่ในร่างกายเรานั่นเอง คือ
ภวังค์ คือ ความเกิด
มะโน คือ ความน้อม
จิตตัง คือ ความคิด
สัญญา คือ ความจาหมาย
วิญญาณ คือ ความรู้แจ้ง
สังขาร คือ ความปรุงแต่ง
เวทนา คือ ความเสวยอารมณ์สุข-ทุกข์
การแปรผล (ดูจากเศษ 7)
– ถ้าหารแล้วเหลือเศษ 0 แสดงว่า ธาตุนั้นเสียหมด (ธาตุพิการ)
– 1,2,3 แสดงว่าธาตุนั้นไม่บริบูรณ์ (ธาตุหย่อน)
– 4,5 แสดงว่าธาตุนั้นบริบูรณ์ดี (ธาตุปกติ)
– 6 แสดงว่าธาตุนั้นกาเริบ
ความรู้เรื่องการใช้สมุนไพร
สมุนไพร 67
สมุนไพร 68
เภสัชวิทยาพืชสมุนไพร
๑. Primary metabolite เป็นผลผลิตจากกระบวนการ
สังเคราะห์แสง พบในพืชทุกชนิด สารบางตัวก็ใช้เป็นยา
ได้ เช่น น้ามันละหุ่ง
๒. Secondary metabolite เกิดจากขบวนการ
biosynthesis ที่มีเอนไซม์เข้าร่วม
สารส่วนใหญ่ในกลุ่มนี้จะมีสรรพคุณทางยา นอกจากนี้ใน
สมุนไพรแต่ละชนิดอาจมีตัวยาได้หลายตัว
องค์ประกอบทางเคมีของพืชสมุนไพร
อัลคาลอยด์
แทนนิน
ไกลโคไซด์
น้ามันหอมระเหย
ฟลาโวนอยด์
ซาโปนิน
กัม และ ลาเท็กซ์
ไซยาโนเจนิก
สมุนไพร 70
สารประกอบที่สาคัญทางยา
เช่น
• น้ามันหอมระเหย
• แอลคาลอยด์
• กลัยโคไซด์
• แทนนิน
• ฟลาโวนอยด์
สารประกอบที่มีพิษในพืช
เช่น
•มิโมซีน
•ไซยาไนด์
น้ามันหอมระเหย (Essential oils)
สารเทอปีน (terpenes) ที่มีน้าหนักโมเลกุลต่า ได้แก่
- โมโนเทอปีน เช่น limonene, menthol และการบูร (camphor)
- เสสควิเทอปีน เช่น B-bisabolene
ฟีนีลโพรปานอยด์ พบได้น้อยกว่า สารกลุ่มเทอปีน เช่น eugenol
น้ามันหอมระเหยเป็นสารอินทรีย์ที่พืชสร้างขึ้น มีกลิ่นหอม
ระเหยง่าย โดยพืชเหล่านี้จะมีเซลล์พิเศษ ต่อม หรือ ท่อ เพื่อสร้าง
และกักเก็บน้ามันหอมระเหย เช่นส่วนของใบและเปลือกผลของ
พวกส้ม นอกจากนี้ยังพบได้ในทุกส่วนของพืช ขึ้นอยู่กับชนิดพืช
สารที่มีคุณสมบัติเป็นน้ามันหอมระเหย
๑. กลิ่นมะนาว (Lemon) ทาให้รู้สึกสดชื่น กระตุ้นการตื่นตัว
๒. กลื่นลาเวนเดอร์ (Lavender) ช่วยให้ผ่อนคลาย ลดความตึงเครียด
๓. กลิ่นมะลิ (Jasmine) ช่วยให้รู้สึกอ่อนหวาน ละมุนละไม
๔. กลิ่นส้ม (Orange) ช่วยผ่อนคลายความตึงเครียด และเพิ่มความสดชื่น
๕. กลิ่นกุหลาบ (Rose) กลิ่นเบาๆ สบายๆ ทาให้รู้สึกหวาน และรัก
๖. กลิ่นโรสแมรี่ (Rosemary) กลิ่นหอมสดชื่น เพิ่มความกระปรี้กระเปร่า
FL A V O N O I D S
ส่วนใหญ่เป็นสารสี เช่น แดง เหลือง ม่วง น้า
เงิน พบมากใน ดอก ใบ และ ผล
สามารถจาแนกฟลาโวนอยด์ได้อีก 12 ชนิด เช่น
๑. แอนโทไซยานิน (ดอกอัญชัน)
๒. ไอโซฟลาโวนส์ (ให้สีเหลือง)
๓. คาทีชิน (ในใบชา) ไม่มีสี แต่เมื่อถูก ความ
ร้อน หรือกรด จะเป็นสีแดง เป็นสารตั้งต้น
ของแทนนิน
ประโยชน์ของสารพวกฟลาโวนอยด์
๑. เป็นสารต้านอนุมูลอิสระ
๒. เป็นฮอร์โมนทดแทน (ชะลอความแก่)
๓. ฆ่าแมลง ต้านจุลชีพ
๔. แก้อักเสบ แก้ปวด (ทาลูกปะคบ)
๕. ต้านเซลล์มะเร็ง
๖. เป็นสารที่ให้สีต่างๆ (สีผสมอาหาร สีย้อม)
Akaloids
คื อ ส า ร อิ น ท รี ย์ ที่ มี
ลั ก ษ ณ ะ เ ป็ น ด่ า ง แ ล ะ มี
ไนโตรเจน เป็ นส่วนประกอบ มี
รสขม ไม่ละลายน้า แต่ละลายได้
ดีในตัวทาลายอินทรีย์ พบมากใน
พืชสมุนไพร แต่ปริมาณสารจะ
ต่างกันไปตามฤดูกาล
อัลคาลอยด์ ส่วนใหญ่ เป็นสารที่มีคุณสมบัติในทางการแพทย์มีฤทธิ์ทาง
เภสัชวิทยาต่อหลายระบบของร่างกาย ตัวอย่างเช่น
Quinine ในเปลือกต้นซิงโคนา มีสรรพคุณรักษาโรคมาเลเรีย
Reserpine ในรากระย่อม สรรพคุณลดความดันเลือด
Morphine ในยางของผลฝิ่ น มีสรรพคุณระงับอาการปวด
 Caffeine กระตุ้นระบบประสาท
 Cocaine เป็นยาสลบได้ กระตุ้นระบบประสาทอย่างแรงเป็นยาเสพติด
 Codeine แก้ปวด และแก้ไอ เสพติดได้
 Heroin เป็นอนุพันธุ์ของมอร์ฟีน เป็นยาเสพติดที่มีฤทธิ์สูง
 Nicotine เป็นพิษต่อระบบหายใจ เป็นยาฆ่าแมลง สารเสพติด
Caffeine Heroin Quinine
ในชาดามีสารที่มีชื่อ แทนนิน ซึ่งมีฤทธ์สมานผิวและห้ามเลือด
Tannin
สารสกัดมังคุด มีฤทธิ์ยับยั้งการ
เจริญเติบโตของเชื้อแบคทีเรีย อันเป็ น
สาเหตุอาการท้องเสีย
สารที่พบมากที่เปลือกคือแทนนินมีฤทธิ์
ฝาดสมาน ช่วยแก้อาการท้องเสีย
มีฤทธิ์ฆ่าเชื้อแบคทีเรีย สาเหตุการเกิด
หนอง และยังรักษาแผล
เป็นสารที่พบในพืชทั่วไป มีรสฝาด มีฤทธิ์เป็นกรดอ่อน และ
สามารถตกตะกอนโปรตีนได้ มีฤทธิ์ฝาดสมานและฤทธิ์ฆ่าเชื้อ
แบคทีเรีย พบในใบฝรั่ง เนื้อของกล้วยน้าว้าดิบ
Tannin
 ใบใบชาเป็นสารที่ให้รสฝาด พบในใบชาแห้งประมาณร้อยละ 20-
30 โดยน้าหนัก เมื่อชงชาแล้วทิ้งใบชาค้างไว้ในกานานๆ ทาให้น้าชามี
รสขมมากขึ้น
 ในโสมเกาหลี มีแทนนินเป็ นสารออกฤทธิ์สาคัญและใช้ประโยชน์
มากที่สุด
 พบมาก ในเปลือก ก้าน และเมล็ดของผลไม้ที่มีสีแดง หรือสี
เข้ม เช่น องุ่น แอปเปิ้ล บ๊วย และในใบโอ้ค
แทนนิน เพิ่มความยืดหยุ่นของกล้ามเนื้อหัวใจ และผนังหลอดเลือด
ช่วยบรรเทาอาการท้องเสีย
Thai Herb for acne
• ชื่อวิทยาศาสตร์ : Excoecaria
cochinchinensis
• สารสาคัญ : Tannin  Gallic acid
• มีผลการวิจัย ของสาร Tannin (Gallic
acid)เปรียบเทียบกับคลินดามัยซิน พบว่า
สารสกัดที่มีสาร tannin สามารถฆ่าเชื้อ P.
acnes ได้ถึง 99.9%
ดังนั้น ผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนประกอบหลักเป็น Gallic acid (tannin)
สามารถฆ่าเชื้อ P. acnes ที่เป็นสาเหตุหนึ่งของการเกิดสิวได้
Gallic Acid
สมุนไพร 80
@กลัยโคไซด์ (Glycosides)
• เป็นสารอินทรีย์ที่มี aglycone และ น้าตาลเป็นองค์ประกอบ
• มีทั้งประโยชน์และพิษต่อร่างกาย
– Cardiac glycosides มีฤทธิ์ต่อกล้ามเนื้อหัวใจและระบบไหลเวียน
เลือด เช่น ยี่โถ
– Anthraquinone glycosides เป็นยาระบาย ยาฆ่าเชื้อ และสี
ย้อม เช่น ใบมะขามแขก ใบขี้เหล็ก ใบชุมเห็ดเทศ ว่านหางจระเข้
– Cyanogenetic glycosides ย่อยแล้วกลายเป็นไซยาไนด์ ซึ่งมี
พิษ เช่น รากมันสาปะหลัง
สมุนไพร 81
การใช้สมุนไพรให้ถูกต้องควรปฏิบัติดังนี้
1. ใช้ให้ถูกต้น
สมุนไพรมีชื่อพ้องกันมาก หรือบางท้องถิ่นก็เรียกชื่อไม่
เหมือนกัน
2. ใช้ให้ถูกส่วน
ส่วนต่างๆของต้นสมุนไพรมีตัวยาไม่เท่ากัน หรือแม้แต่
ส่วนเดียวกัน ต่างระยะเก็บก็มีตัวยาต่างกันด้วย
3. ใช้ให้ถูกขนาด
สมุนไพร 82
การใช้สมุนไพรให้ถูกต้องควรปฏิบัติดังนี้ (ต่อ)
4. ใช้ให้ถูกวิธี
ตัวยาสมุนไพรบางชนิดสามารถละลายน้า แต่บางชนิดก็
ต้องละลายในแอลกอฮอล์
5. ใช้ให้ถูกโรค/ อาการ
ท้องเสียต้องใช้ยาฆ่าเชื้อ และ / หรือ ยาฝาดสมาน
รสยาในคัมภีร์
รสของตัวยา 4, 6, 8, 9 รส
1 รสยา 4 รส – มาจากคัมภีร์ธาตุวิภังค์
2 รสยา 6 รส – มาจากคัมภีร์วรโยคสาร
3 รสยา 8 รส – มาจากคัมภีร์ธาตุวิวรณ์
4 รสยา 9 รส – มาจากคัมภีร์สรรพคุณยา รวม รสจืด เป็น 10 รส
รสยา ๙ รส
- สมุนไพรทุกชนิดและทุกส่วนมีรสยาที่เฉพาะ
- รสยาของสมุนไพรมีความสัมพันธ์กับ สรรพคุณ
รสยา สรรพคุณ สารสาคัญ
ยารสประธาน
ร้อน
สุขุม
เย็น
เภสัชวิทยาของการแพทย์แผนจีน
สี รส อวัยวะเป้ าหมาย ธาตุ
เขียว เปรี้ยว ตับ ไม้
น้าตาล ขม หัวใจ ไฟ
เหลือง หวาน ม้าม ดิน
ขาว เผ็ด ปอด ทอง
ดา เค็ม ไต น้า
สมุนไพร5สี 5รส
ยา 6 รส (ตามคัมภึร์วรโยคสาร)
1. มธุระ รสหวาน ชอบ กับตา เจริญรสธาตุ
2. อัมพิละ รสเปรี้ยว ทาให้ลม ดี เสลด อนุโลมตามซึ่งตน เจริญรสอาหาร
กระทาสารพัดดิบให้สุก ถ้าใช้เป็นเกิดคุณ ใช้ไม่เป็นเกิดโทษ
3. กฎุก รสเผ็ดร้อน ทาให้กาลังน้อย ระงับความเกียจคร้าน ระงับพิษมิให้
เจริญ บารุงไฟธาตุ ทาให้อาหารสุก
4. ลวณะ รสเค็ม เผาโทษ เผาเขฬะ ให้เจริญไฟธาตุ
5. ติดติกะ รสขม เจริญไฟธาตุ แก้ร้อนใน แก้กระหายน้า ทาให้มูตรและ
คูถบริสุทธิ์เจริญรสอาหาร
6. กาสะวะ รสฝาด เจริญไฟธาตุ เจริญผิวกายและเนื้อ แก้กระหายน้า
 รสทั้ง 6 ทาให้เกิดโทษได้ดังนี้
• รสเผ็ด รสขม รสฝาด ทาให้ลมกาเริบ
• รสเผ็ด รสเปรี้ยว รสเค็ม ทาให้ดีกาเริบ
• รสหวาน รสเปรี้ยว รสเค็ม ทาให้เสลดกาเริบ
ตาราง สรุปคุณสมบัติรสทั้งหก
กระตุ้นการขับถ่ายชาระล้าง
ร่างกาย บารุงไฟธาตุ ช่วย
เจริญอาหาร ทาให้เนื้อเยื่ออ่อน
นุ่มและผ่อนคลาย
เพิ่มกผะและ
ปิตตะ
ลดวาตะ
ร้อน หนัก
ชุ่มชื่น
ธาตุน้าและไฟเค็ม
ทาให้ชุ่มชื่น กระตุ้นการ
ขับถ่าย ลดอาการเกร็ง
ช่วยเจริญและย่อยอาหาร
เพิ่มกผะและ
ปิตตะ
ลดวาตะ
ร้อน หนัก
ชุ่มชื่น
ธาตุดินและไฟเปรี้ยว
หล่อเลี้ยงร่างกายและจิตใจ
ดับความหิวกระหาย
เพิ่มพูนเนื้อเยื่อ
เพิ่มกผะ
ลดวาตะและ
ปิตตะ
เย็น หนัก
ชุ่มชื่น
ธาตุดินและธาตุ
น้า
หวาน
ผลต่อร่างกายผลต่อตรีโทษ
คุณสมบัติประกอบด้วย
รส
ตาราง สรุปคุณสมบัติรสทั้งหก(ต่อ)
สมานแผลและเนื้อเยื่อ ทาให้
เนื้อเยื่อหดตัว ลดความเป็น
เมือก ลดกาหนัด
เพิ่มวาตะ
ลดปิตตะและกผะ
เย็น เบา แห้งธาตุไฟและลมฝาด
ทาให้เมือกแห้ง ลดไข้
ลดกาหนัด
เพิ่มวาตะ
ลดปิตตะและกผะ
เย็น เบา แห้งธาตุลมและ
อากาศธาตุ
ขม
ทาให้เมือกและเสมหะใน
ร่างกายแห้ง
บารุงไฟธาตุ
เพิ่มปิตตะและ
วาตะ
ลดกผะ
ร้อน เบา
แห้ง
ธาตุไฟและลมเผ็ดร้อน
ผลต่อร่างกายผลต่อตรีโทษ
คุณสมบัติประกอบด้วยรส
ตาราง สรุปคุณสมบัติรสทั้งหก(ต่อ)
สมานแผลและเนื้อเยื่อ ทาให้
เนื้อเยื่อหดตัว ลดความเป็น
เมือก ลดกาหนัด
เพิ่มวาตะ
ลดปิตตะและกผะ
เย็น เบา แห้งธาตุไฟและธาตุ
ลม
ฝาด
ทาให้เมือกแห้ง ลดไข้ ลด
กาหนัด
เพิ่มวาตะ
ลดปิตตะและกผะ
เย็น เบา แห้งธาตุลมและ
อากาศธาตุ
ขม
ทาให้เมือกและเสมหะใน
ร่างกายแห้งบารุงไฟธาตุ
เพิ่มปิตตะและวาตะ
ลดกผะ
ร้อน เบา
แห้ง
ธาตุไฟและธาตุ
ลม
เผ็ดร้อน
ผลต่อร่างกาย
ผลต่อตรีโทษคุณสมบัติประกอบด้วย
รส
1. รสฝาด ซาบมังสา
2. รสขม ซาบตามผิวหนัง
3. รสเค็ม ซาบตามเส้นเอ็น
4. รสเผ็ดร้อน ซาบกระดูก
5. รสหวาน ซาบลาไส้ใหญ่
6. รสเปรี้ยว ซาบลาไส้น้อย
7. รสหอมเย็น ซาบหัวใจ
8. รสมัน ซาบข้อต่อทั้งปวง
รสฝาด
รสหวาน
รสเมาเบื่อ
รสขม
รสมัน
รสยา 9 รส
รสหอมเย็น
รสเค็ม
รสเปรี้ยว
รสเผ็ดร้อน
รสจืด
1. ยารสฝาด – ชอบสมาน
2. ยารสหวาน – ซึมซาบไปตามเนื้อ
3. ยารสเมาเบื่อ – แก้พิษ
4. ยารสขม – แก้ทางดีและโลหิต
5. ยารสเผ็ดร้อน – แก้ลม
6. ยารสมัน – แก้เส้นเอ็น
7. ยารสหอมเย็น – บารุงหัวใจ
8. ยารสเค็ม – ซึมซาบไปตามผิวหนัง
9. ยารสเปรี้ยว – กัดเสมหะ
10.ในตารา เวชศึกษาจัดรสยาเพิ่มอีก 1 รส คือ ยารสจืด ใช้สาหรับ แก้
ในทางเตโช ขับปัสสาวะ ดับพิษร้อน แก้ไข้
ยารสฝาด แก้ในทางสมานแผล แก้ท้องร่วง บิด บารุง
ธาตุ ถ้าให้มากเกินไป จะแสลงกับโรคท้องผูก เป็น
พรรดึก
ยารสหวาน ซึมซาบไปตามเนื้อ ทาให้ชุ่มชื่น บารุงกาลัง
แก้อ่อนเพลีย
ถ้าใช้มากเกินไป จะแสลงกับโรคเบาหวาน เสมหะเฟื่ อง
แสลงบาดแผล ทาให้แผลชื้น
รสเมาเบื่อ ใช้แก้พิษสัตว์กัดต่อย พิษดี พิษโลหิต
ถ้าใช้มากไปจะแสลงกับโรคหัวใจพิการ
รสขม สรรพคุณบารุงโลหิต และดี
ถ้าใช้มากไปจะแสลงกับโรคหัวใจพิการ
รสเผ็ดร้อน แก้ลมจุกเสียด แน่นเฟ้ อ ขับผายลม บารุงธาตุ
ถ้าใช้มากไป จะแสลงกับโรคไข้ที่มีพิษร้อน
รสเค็ม ซึมซาบไปตามผิวหนัง รักษาเนื้อไม่ให้เน่า
รักษาบาดแผล แก้เถาดานในท้อง
ถ้าใช้มากเกินไป จะแสลงกับโรคอุจจาระพิการ
รสเปรี้ยว แก้ทางเสมหะ ฟอกโลหิต ระบายอุจจาระธาตุ
ถ้าใช้มากเกินไป จะแสลงกับโรคท้องร่วง โรคน้าเหลือง
เสีย แสลงบาดแผล
รสมัน แก้เส้นเอ็นพิการ บารุงเส้น บารุงไขมัน ให้ความ
อบอุ่นแก่ร่างกาย ถ้าให้มากเกินไป
จะแสลงกับโรคท้องบิด ดีซ่าน ทาให้เสมหะพิการ
รสหอมเย็น บารุงหัวใจ ทาให้สดชื่น บารุงครรภ์รักษา แก้
เสมหะโลหิต แก้อ่อนเพลีย
ถ้าใช้มากเกินไป จะแสลงกับโรคในลาใส้
สรรพคุณ : สมานบาดแผล แก้บิด ปิดธาตุ คุมธาตุ แก้
ท้องร่วง แก้ท้องเสีย
แสลงโรค : ไอ ท้องผูก โรคลม โรคพรรดึก เตโชธาตุพิการ
สารเคมีที่มีรสฝาด : แทนนิน
๑ รสฝาด (Astringency)
คุณสมบัติของแทนนิน :
- ตกตะกอนสารพวกโปรตีน - ยับยั้งการอักเสบ
- ยาชาอ่อนๆ - ทาให้ผิวหนังและบาดแผลแห้ง
- ฆ่าแบคทีเรีย - แก้แผลไฟไหม้น้าร้อนลวก
- แก้ท้องเสีย - การอักเสบของแผลในช่องปาก
เปลือก รสฝาด สมานบาดแผล แก้บิด แก้ลาท้อง ล้างแผล
มังคุด
การวิจัยและพัฒนายาฆ่าเชื้อ
จากสารสกัดเปลือกมังคุด
เปลือกมังคุดมีสาร
แมงโกสติน แกมมา-
แมงโกสติน เบต้า-
แมงโกสติน ที่มี
ประสิทธิภาพในการ
ต้านเชื้อแบคทีเรีย
สรรพคุณ : ซึมซาบไปตามเนื้อ ทาให้เนื้อชุ่มชื้น บารุงกาลัง แก้อ่อนเพลีย
แสลงโรค : ฟันผุ เสมหะเฟื่ อง อาเจียน โรคเบาหวาน น้าเหลืองเสีย บาดแผล
สารที่ให้รสหวาน : - สารประเภทคาร์โบไฮเดรต
- เปปไทด์บางชนิด เช่น thaumalin, monelin มีความ
หวานแต่ไม่ให้พลังงาน
- สารกลุ่มอื่น ได้แก่ glycyrrhizin เป็นพวก
triterpenoid
๒ รสหวาน (Sweetness)
เนื้อไม้ รสหวาน แก้โรคในคอ แก้ลม บารุงธาตุ บารุงกาลัง ขับเสมหะ แก้
น้าลายเหนียว
ชะเอมไทย ชะเอมเทศ
รากสามสิบ: รสหวาน บารุงครรภ์ บารุงธาตุ บารุงกาลัง ขับเสมหะ
แก้น้าลายเหนียว
สรรพคุณ: แก้พิษดี พิษโลหิต พิษไข้ พิษเสมหะ พิษสัตว์กัดต่อย
แสลงโรค : หัวใจพิการ ไอ
สมุนไพรที่มีรสเมาเบื่อ : สารพวกแอลคาลอยด์
คุณสมบัติของสารแอลคาลอยด์ มีฤทธิ์หลากหลายเช่น มีฤทธิ์ระงับอาการปวด
แก้ปวดท้อง คลายกล้ามเนื้อ แก้หอบหืด เป็นยาพิษ ยาฆ่าแมลง อื่น ๆ
๓ รสเมาเบื่อ (intoxicant taste)
เมล็ด รสเมาเบื่อ ขับพยาธิไส้เดือน แก้โรคตานขโมย แก้ฝีตานซาง
สะแก
ดอก รสเมาเบื่อ แก้หอบหืด
ราก รสเมาเบื่อหวาน แก้ไข้พิษ ฝนทาแก้พิษร้อน ดับพิษฝี แก้ปวด บวม
ลาโพง
สรรพคุณ : แก้ทางโลหิตและดี แก้ไข้เพื่อดีพิการ แก้โลหิตพิการ เจริญอาหาร
แก้ไข้
แสลงโรค : หัวใจพิการ โรคลมจุกเสียด แน่นเฟ้ อ
สารที่มีรสขม : พบได้ในสารหลายกลุ่มเช่น
- แอลคาลอยด์
- สารกลุ่มเทอร์ปีนอยด์
๔ รสขม (Bitterness)
พวกแอลคาลอยด์
ควินิน
แก้ไข้มาลาเรีย
strychnine
จากเมล็ดโกษฐ์กะกลิ้ง ทาให้อาเจียน และชัก แต่ถ้าใช้ปริมาณน้อยๆ
จะช่วยกระตุ้นความอยากอาหารและบารุงร่างกาย (tonic)
- quassinoids จากต้นประทัดจีน แก้ไข้มาลาเรีย
- artemisinin จากต้นโกฐจุฬาลาพา แก้ไข้มาลาเรีย
- ganodermic acid จากเห็ดหลินจือ มีฤทธิ์ยับยั้งการหลั่งฮิสตา
มีน ลดความดันโลหิต ลดไขมันในเลือด ยับยั้งการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็ง
ตับ
สารกลุ่มเทอร์ปีนอยด์
บอระเพ็ด - ชิงช้าชาลี
เถา รสขมเย็น แก้พิษฝีดาษ แก้ไข้เหนือ ไข้พิษ ไข้กาฬ แก้ร้อนในกระหายน้า
บารุงน้าดี เจริญอาหาร
ลูก รสขม บารุงน้าดี แก้ดีแห้ง ดีฝ่อ ดับพิษโลหิต บารุงมดลูก แก้มดลูก
อักเสบ แก้ไข้
กระดอม
รสขมเย็น บารุงน้าดี แก้ไข้ แก้กระหายน้า
มะระ
สรรพคุณ : แก้ลม แก้ลมจุกเสียด แน่นเฟ้ อ ขับผายลม บารุงธาตุ กระจายลม
แสลงโรค : ไข้ ตัวร้อน เพ้อคลั่ง
สารเคมีที่มีรสเผ็ดร้อน : น้ามันหอมระเหย
น้ามันหอมระเหยจะมีฤทธิ์ :
- แก้ท้องอืด ท้องเฟ้ อ
- แก้อักเสบ
- ฆ่าเชื้อโรค
- ลดหรือกระตุ้นการหลั่งน้าย่อย
- แก้ปวดกล้ามเนื้อ
๕ รสเผ็ดร้อน (Spiciness)
กลุ่มอัลคาลอยด์
capsaicin จากพริก
piperine จากพริกไทย
สารกลุ่ม phenylpropanoids
cinnamic acid, eugenol
สารที่มีซัลเฟอร์ในโมเลกุล
allicin ในหัวกระเทียม
น้ามันหอมระเหย
คือสารที่มีกลิ่นที่สามารถระเหยได้ องค์ประกอบทางเคมีของน้ามันหอม
ระเหย แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ
1. Terpenoid derivative
H O
CHO
CHO
Linaloo Geranial Neral
2. Aromatic compound
HO
CH3O
CHO
Cinnamaldehyde Myristicin
จันทน์เทศ (Nutmeg tree) (Myristica fragrans Linn.)
วงศ์ MYRISTICACEAE
หุ้มเมล็ด (ดอกจันทน์) รสเผ็ดร้อน บารุงโลหิต บารุงธาตุ ขับลม
เมล็ด (ลูกจันทน์) รสหอมร้อน บารุงกาลัง บารุงธาตุ แก้ธาตุพิการ ขับลม
แก้ปวดมดลูก แก้ท้องร่วง บารุงโลหิต
ลูกจันทน์ ดอกจันทน์
กระวาน
รสเผ็ดร้อน กระจายเสมหะ โลหิต ลม แก้ปวดท้อง แก้จุกเสียด ขับลมในท้อง
สรรพคุณ: แก้เส้นเอ็นพิการ บารุงเส้นเอ็น เพิ่มไขมัน ให้ความอบอุ่นแก่
ร่างกาย
แสลงโรค : เสมหะพิการ เช่น ไอ หอบ และไข้ต่างๆ ร้อนใน กระหายน้า
สารเคมีที่มีรสมัน : สารกลุ่มไขมันและอนุพันธ์ของไขมัน
๖ รสมัน (Fat)
ให้พลังงานแก่ร่างกาย
ฤทธิ์ของสารกลุ่มไขมันและอนุพันธ์ของไขมัน
ลดโคเลสเตอรอลในเลือด
ได้แก่ oleic acid eicosapentaenoic acid (EPA),
decosahexaenoec acid (DHA), linolenic acid
ควบคุมระดับโคเลสเตอรอล เช่น
lecithin ซึ่งเป็นสารประเภท phospholipid จากน้ามันถั่วเหลือง ก็มีฤทธิ์
แห้วหมู
หัว รสมัน บารุงกาลัง บารุงครรภ์ บารุงธาตุ เป็นยาอายุวัฒนะ
สรรพคุณ : ทาให้ชื่นใจ บารุงหัวใจ บารุงครรภ์รักษา
แสลงโรค : ลมจุกเสียดแน่น ลมป่วง
สารเคมีที่มีรสหอมเย็น : น้ามันหอมระเหย
๗ รสหอมเย็น (Savouriness)
สารกลุ่มอัลคาลอยด์ ที่มีกลิ่นหอม
ได้แก่ muscopyridine จากชะมดเชียง
น้ามันหอมระเหย ในกลุ่มเทอร์ปีนอยด์
- ได้แก่ menthol, geraniol, farnesol
- มีฤทธิ์ช่วยในการนอนหลับ สงบระงับ บรรเทาอาการผิดปกติทางกายที่มี
สาเหตุมาจากจิตใจ ลดอาการประสาท
หญ้าฝรั่ง
รสหอมเย็น บารุงหัวใจ แก้ไข้เพื่อดี
ใบ รสหวานเย็นหอม บารุงหัวใจ ดับพิษไข้ ชูกาลัง
เตยหอม (Pandanus amaryllifolius
Roxb.)
วงศ์ PANDANACEAE
สรรพคุณ : ซาบไปตามผิวหนัง แก้โรคผิวหนังบางชนิด ป้ องกันไม่ให้เนื้อเน่า
แสลงโรค : อุจจาระธาตุพิการ โรคบิดมูกเลือด กระเพาะอาหารเป็นแผล
สารเคมีที่มีรสเค็ม : พวกเกลือต่างๆ เช่น sodium chloride, potassium
chloride
๘ รสเค็ม (Saltiness)
- ทาหน้าที่เป็นตัวรักษาสมดุลย์ของเกลือแร่ของระบบต่างๆ ในร่างกาย
- ขับปัสสาวะ
เช่น แสมทะเล เหงือกปลาหมอ
สรรพคุณ : กัดเสมหะ ฟอกโลหิต ระบายอุจจาระธาตุ
แสลงโรค : น้าเหลืองเสีย ท้องเสีย และไข้ต่างๆ
สารเคมีที่มีรสเปรี้ยว : สารพวกกรดต่างๆ ได้แก่ citric acid
๙ รสเปรี้ยว (Sourness)
- กระตุ้นให้มีการขับน้าลายทาให้ชุ่มคอ จึงลดอาการไอ
- มีฤทธิ์เป็นยาระบาย เช่น tartaric acid
- ยับยั้งการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ก่อโรคในร่างกาย
เช่น lactic acid จากนมเปรี้ยว แก้ท้องเสีย และเพิ่มภูมิต้านทานโรค
ให้แก่ร่างกาย
- วิตามินซี มีฤทธิ์ต้านโรคลักปิดลักเปิด และมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ
ฤทธิ์ของยารสเปรี้ยว
ส้มป่อย
ใบ รสเปรี้ยว ชาระล้างเสมหะในลาไส้ และฟอกโลหิต
สรรพคุณ : แก้ในทางเตโชธาตุ เสมหะ และปัสสาวะ
แสลงโรค : ไม่แสลงกับโรคใด
สารเคมีที่มีรสจืด : พวก polysaccharide เช่น pectin,
glucomannan, cellulose
๑๐ รสจืด (Tasteless)
เช่นผักกาดน้า รากหญ้าคา ไหมข้าวโพด
polysaccharide เช่น pectin, glucomannan, cellulose
มีคุณสมบัติดูดน้าเข้าตัว
กระตุ้นลาไส้ให้เคลื่อนไหว
ทาให้เกิดการขับถ่าย
ลดโคเลสเตอรอล
ขลู่
ต้น รสจืด แก้กษัยกล่อน แก้ปัสสาวะพิการ แก้นิ่ว
แผนไทยและสมุนไพร....
สมุนไพร 137
การจาแนกสมุนไพรเพื่อการรักษา
แบ่งตามกลุ่มโรค / อาการ (สนง.คณะกก.สาธารณสุขมูลฐาน ,
2541)
๑. กลุ่มโรคและอาการในระบบทางเดินอาหาร
๒. กลุ่มโรคและอาการในระบบทางเดินหายใจ
๓. กลุ่มโรคและอาการในระบบทางเดินปัสสาวะ
๔. กลุ่มโรคผิวหนัง
๕. กลุ่มโรค / อาการอื่นๆ
สมุนไพร 138
สมุนไพรรักษากลุ่มโรค/ อาการในระบบทางเดินอาหาร
1. โรคกระเพาะอาหาร : ขมิ้นชัน กล้วยน้าว้า
2. อาการท้องอืด ท้องเฟ้ อ แน่นจุกเสียด : ขมิ้น ขิง
กานพลู กระเทียม กะเพรา ตะไคร้ พริกไทย ดีปลี ข่า
กระชาย แห้วหมู กระวาน เร่ว มะนาว กระทือ
3. อาการท้องผูก : ชุมเห็ดเทศ มะขาม มะขามแขก
แมงลัก ขี้เหล็ก คูน
4. อาการท้องเสีย : ฝรั่ง ฟ้ าทะลายโจร กล้วยน้าว้า
ทับทิม มังคุด สีเสียดเหนือ
สมุนไพร 139
สมุนไพรรักษากลุ่มโรค/ อาการในระบบทางเดินอาหาร
5. อาการคลื่นไส้ อาเจียน : ขิง ยอ
6. โรคพยาธิลาไส้ : มะเกลือ เล็บมือนาง มะหาด ฟักทอง
7. อาการปวดฟัน : แก้ว ข่อย ผักคราดหัวแหวน
8. อาการเบื่ออาหาร : บอระเพ็ด ขี้เหล็ก มะระ สะเดา
บ้าน
สมุนไพร 140
สมุนไพรรักษากลุ่มโรค/ อาการในระบบทางเดินหายใจ
1. อาการไอและระคายคอจากเสมหะ : ขิง ดีปลี เพกา
มะขามป้ อม มะขาม มะนาว มะแว้งเครือ มะแว้งต้น
สมุนไพรรักษากลุ่มโรค/ อาการในระบบทางเดินปัสสาวะ
1. อาการขัดเบา : กระเจี๊ยบแดง ขลู่ ตะไคร้ สับปะรด
หญ้าคา อ้อยแดง
สมุนไพร 141
สมุนไพรรักษากลุ่มโรค/ อาการในกลุ่มโรคผิวหนัง
1. อาการกลากเกลื้อน : กระเทียม ข่า ชุมเห็ดเทศ
ทองพันชั่ง พลู
2. ชันนะตุ : มะคาดีควาย
3. แผลไฟไหม้ น้าร้อนลวก : บัวบก น้ามันมะพร้าว
ว่านหางจระเข้
4. ฝี แผลพุพอง : ขมิ้น ชุมเห็ดเทศ เทียนบ้าน ว่านหาง
จระเข้ ว่านมหากาฬ ฟ้ าทะลายโจร
สมุนไพร 142
สมุนไพรรักษากลุ่มโรค/ อาการในกลุ่มโรคผิวหนัง
5. อาการแพ้ อักเสบจากแมลงสัตว์กัดต่อย : ขมิ้นชัน
ตาลึง ผักบุ้งทะเล พญายอ เสลดพังพอน
6. อาการลมพิษ : พลู
7. อาการงู สวัด เริม: พญายอ
สมุนไพรรักษากลุ่มโรค/ อาการในกลุ่มโรคอื่นๆ
1. อาการเคล็ด ขัด ยอก : ไพล
2. อาการนอนไม่หลับ : ขี้เหล็ก
3. โรคเหา : น้อยหน่า
ปรัชญา หลักการ ของยาแผนไทย
• ยาจากสมุนไพร
- ส่วนใหญ่อยู่ในลักษณะเป็น “ ยาตารับ ” มีส่วนประกอบของสมุนไพร
หลายชนิดมากกว่าการใช้สมุนไพรชนิดเดียว
- เพื่อปรับ ระงับ หรือบารุงธาตุ ( ทั้งสี่ ) บารุงโลหิต เจริญอาหาร ช่วย
ให้ชุ่มชื่นใจ ระบายท้อง และช่วยทาให้นอนหลับสบาย
• จุดที่ดี คือ รักษาอาการที่ต้องการร่วมกับเสริมให้ร่างกายปรับเข้าสู่ภาวะ
ปกติ
• จุดด้อย คือ ยังไม่มีการพิสูจน์เชิงวิทยาศาสตร์ การรักษาช้า ไม่ค่อยทันใจ
Principle of Herbal Medicine Formulation
ทฤษฎีการตั้งตารับยาสมุนไพร
๑. ยาหัวหน้า Leader Group : provide major action
๒. ยาช่วยฤทธิ์ Assistant Group : provide supporting action
๓. ยาคุมพิษ Detoxified Group : control any possible
toxicity
๔. ยานาทาง Carrier Group : provide target along meridian
channels
จุลพิกัด
พิกัดยา
แผนไทยและสมุนไพร....
๑. โกศสอ , โกศเขมา , โกศจุฬาลัมพา
๒. แก่นจันทน์ขาว , แก่นจันทน์แดง
๓. ลูกกระดอม
๔. เถาบอระเพ็ด
๕. รากปลาไหลเผือก
๖. พิมเสน
๗. เลือกใช้ใน influenza,dengue fever, DHF, viral
enxantheme fever, fever in malignancy and HIV
etc.
จันทน์ลีลา
พิกัดเนาวโกฐ
โกฐสอ โกฐเขมา โกฐหัวบัว
โกฐเชียง โกฐจุฬาลัมพา โกฐก้านพร้าว
โกฐกระดูก โกฐพุงปลา โกฐชฎามังสี
สรรพคุณ
แก้ไข้จับ ไข้เรื้อรัง แก้หืด แก้ไอ กระจายลมทั้งปวง
บารุงโลหิต แก้บิดมูกเลือด แก้หอบสะอึก
พิกัดตรีชาต
ดอกจันทน์ ลูกกระวาน อบเชย
สรรพคุณ แก้ธาตุพิการ แก้ลมเสมหะ บารุง
ดวงจิต
พิกัดจันทน์ทั้ง 5
แก่นจันทน์แดง แก่นจันทน์ขาว แก่นจันทน์เทศ
แก่นจันทน์ชะมด แก่นจันทนา
สรรพคุณ
แก้ไข้เพื่อดีและโลหิต แก้ร้อนในกระหายน้า แก้
ลมวิงเวียน แก้คลื่นเหียนอาเจียน บารุงตับ และ
ปอด
พิกัดเบญจกูล
ดอกดีปลี รากช้าพลู เถาสะค้าน ราก
เจตมูลเพลิงแดง เหง้าขิงแห้ง
สรรพคุณ
กระจายกองลมและโลหิต แก้คูถเสมหะ
แก้ลมพานไส้
บารุงกองธาตุทั้ง 4 ให้บริบูรณ์
พิกัดตรีผลา
ลูกสมอไทย ลูกสมอพิเภก ลูกมะขามป้ อม
สรรพคุณ
แก้ปิตตะ แก้วาตะ เสมหะในกองธาตุ ฤดู อายุ
และสมุฏฐาน แก้โลหิต แก้น้าดี
ยาหอมนวโกฐ
ข้อบ่งใช้
แก้ลมวิงเวียน คลื่นเหียน อาเจียน ( ลมจุกแน่นในอก ) ใน
ผู้สูงอายุ แก้ลมปลายไข้ ( หลังจากฟื้นไข้แล้วยังมีอาการเช่น
คลื่นเหียน วิงเวียน เบื่ออาหาร ท้องอืด อ่อนเพลีย )
ยาสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาติ 71 ITEMS.
• กลุ่ม 1 ยาแผนไทย/ยาแผนโบราณ 50 รายการ
8 กลุ่มโรค
• กลุ่ม 2 ยาพัฒนาจากสมุนไพร 21 รายการ
8 กลุ่มโรค
กลุ่มที่ ๑ ยาแผนไทยหรือยาแผนโบราณ ๕๐ รายการ
๑.๑ ยารักษากลุ่มอาการทางระบบไหลเวียนโลหิต (แก้ลม)
๕ รายการ
(๑) ยาหอมทิพโอสถ ยาเม็ด
(๒) ยาหอมเทพจิตร ยาเม็ด
(๓) ยาหอมนวโกฐ ยาเม็ด
(๔) ยาหอมแก้ลมวิงเวียน ยาเม็ด
(๕) ยาหอมอินทจักร์ ยาเม็ด
๑.๒ ยารักษากลุ่มอาการทางระบบทางเดินอาหาร
๑.๒.๑ กลุ่มยาขับลม บรรเทาอาการท้องอืด ทองเฟ้ อ๑๐ รายการ
(๑) ยาธาตุบรรจบ ยาแคปซูล พิษ ac chr หนูขาว
(๒) ยาธาตุอบเชย ยาน้า
(๓) ยาเบญจกูล ยาแคปซูล
(๔) ยาประสะกะเพรา ยาเม็ด
(๕) ยาประสะกานพลู ยาแคปซูล
(๖) ยาประสะเจตพังคี แคปซูล
(๗) ยามันทธาตุ ยาเม็ด
(๘) ยามหาจักรใหญ่ ยาเม็ด
(๙) ยาวิสัมพยาใหญ่ ยาผง
(๑๐) ยาอภัยสาลี ยาเม็ด
๑.๒.๔ กลุ่มยาบรรเทาริดสีดวงทวารหนัก ๒ รายการ
(๑) ยาผสมเพชรสังฆาต แคปซูล
วิจัย = daflon
(๒) ยาริดสีดวงมหากาฬ ยาเม็ด
๑.๒.๒ กลุ่มยาบรรเทาอาการท้องผูก
(๑) ยาถ่ายดีเกลือฝรั่ง
(๒) ยาธรณีสันฑะฆาต
๑.๒.๓ กลุ่มยาบรรเทาอาการท้องเสีย
(๑) ยาธาตุบรรจบ
(๒) ยาเหลืองปิดสมุทร
๑.๒.๔ กลุ่มยาบรรเทาริดสีดวงทวารหนัก ๒ รายการ
(๑) ยาผสมเพชรสังฆาต แคปซูล
(๒) ยาริดสีดวงมหากาฬ ยาเม็ด
๑.๓ ยารักษากลุ่มอาการทางสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา ๖ รายการ
(๑) ยาประสะไพล แคปซูล ๕
(๒) ยาปลูกไฟธาตุ แคปซูล
(๓) ยาไฟประลัยกัลป์ แคปซูล
(๔) ยาไฟห้ากอง แคปซูล
(๕) ยาเลือดงาม แคปซูล
(๖) ยาสตรีหลังคลอด ยาต้ม
๑.๔ ยาแก้ไข้ ๖ รายการ
(๑) ยาเขียวหอม เม็ด
(๒) ยาจันทน์ลีลา แคปซูล
(๓) ยาประสะจันทน์แดง แคปซูล
(๔) ยาประสะเปราะใหญ่ ยาเม็ด
(๕) ยามหานิลแท่งทอง เม็ด
(๖) ยาห้าราก แคปซูล
๑.๕ ยารักษากลุ่มอาการของระบบทางเดินหายใจ ๘ รายการ
(๑) ยาแก้ไอผสมกานพลู ลูกกลอน
(๒) ยาแก้ไอผสมมะขามป้อม น้า
(๓) ยาแก้ไอผสมมะนาวดอง ลูกกลอน
(๔) ยาแก้ไอพื้นบ้านอีสาน น้า
(๕) ยาตรีผลา เม็ด
(๖) ยาประสะมะแว้ง เม็ด
(๗) ยาปราบชมพูทวีป แคปซูล
(๘) ยาอามฤควาที ลูกกลอน
๑.๖ ยาบารุงโลหิต
ยาบารุงโลหิต
๑.๗ ยารักษากลุ่มอาการทางกล้ามเนื้อและกระดูก ๘ รายการ
๑) ยาสาหรับรับประทาน
๑ ยากษัยเส้น ลูกกลอน
๒ ยาแก้ลมอัมพฤกษ์ ผง
๓ ยาธรณีสันฑะฆาต แคปซูล
๔ ยาผสมโคคลาน ต้ม ชง
๕ ยาผสมเถาวัลย์เปรียง ลูกกลอน
๖ ยาสหัศธารา แคปซูล
๒) ยาสาหรับใช้ภายนอก
๑. ยาขี้ผึ้งไพล ยาขี้ผึ้ง
๒. ยาประคบ
๑.๘ ยาบารุงธาตุ ปรับธาตุ
๑ ยาตรีเกสรมาศ
๒ ยาตรีพิกัด
๓ ยาเบญจกูล
๔ ยาปลูกไฟธาตุ
กลุ่มที่ ๒ ยาพัฒนาจากสมุนไพร ๒๑ รายการ
๒.๑ ยารักษากลุ่มอาการของระบบทางเดินอาหาร๖ รายการ
(๑) ยากล้วย ยาผง
(๒) ยาขมิ้นชัน แคปซูล
dyspepsia = flatulace
P.U. = Triple therapy
ป้องกันยุง
รักษาสิว
ข้อเข่าเสื่อม OA = Ibuprofen
(๓) ยาขิง แคปซูล
(๔) ยาชุมเห็ดเทศ ยาชง
ระบาย = Mist alba
ใบสกัดรักษา กลากเกลื้อน
(๕) ยาฟ้าทะลายโจรแคปซูล
ไข้หวัด = Paracetamol
ฟ้าทะลายโจร+Paracetamol ดีกว่า Paracetamol
อย่างเดียว
อุจจาระร่วง ดี
(๖) ยามะขามแขก แคปซูล
๒.๓ ยารักษากลุ่มอาการทางระบบผิวหนัง ๕ รายการ
(๑) ยาทิงเจอร์ทองพันชั่ง ทิงเจอร์
(๒) ยาทิงเจอร์พลู ทิงเจอร์
(๓) ยาบัวบก ยาครีม
(๔) ยาเปลือกมังคุด ยาน้าใส
(๕) ยาพญายอ ยาครีม
๒.๒ ยารักษากลุ่มอาการของระบบทางเดินหายใจ
๑ ยาฟ้ าทะลายโจร
๒.๓ ยารักษากลุ่มอาการทางระบบผิวหนัง
–๑ ยาทิงเจอร์ทองพันชั่ง ทิงเจอร์
–๒ ยาทิงเจอร์พลู ทิงเจอร์
–๓ ยาบัวบก ครีม
–๔ ยาเปลือกมังคุด ยาน้าใส
– ๕ ยาพญายอ ครีม
Herpes virus = Acyclovir
๒.๔ ยารักษากลุ่มอาการทางกล้ามเนื้อและกระดูก
๑) ยาสาหรับรับประทาน
ยาเถาวัลย์เปรียง
๒) ยาสาหรับใช้ภายนอก
๑ ยาพริก ยาเจล
๒ ยาครีมไพล ครีม
ไพล ดีมากกว่า หลอก
๓ ยาน้ามันไพล น้ามัน
๒.๕ ยารักษากลุ่มอาการทางระบบทางเดิน
ปัสสาวะ
๑ ยากระเจี๊ยบแดง ยาชง
๒ ยาหญ้าหนวดแมว ยาชง
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

คำแปลนิราศภูเขาทอง
คำแปลนิราศภูเขาทองคำแปลนิราศภูเขาทอง
คำแปลนิราศภูเขาทองโอ๋ อโนทัย
 
ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์koorimkhong
 
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์Supaporn Khiewwan
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟู
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟูคู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟู
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟูUtai Sukviwatsirikul
 
จดหมายขอบคุณช่วยเหลือน้ำท่วมจากสำนักนายก
จดหมายขอบคุณช่วยเหลือน้ำท่วมจากสำนักนายกจดหมายขอบคุณช่วยเหลือน้ำท่วมจากสำนักนายก
จดหมายขอบคุณช่วยเหลือน้ำท่วมจากสำนักนายกPoramate Minsiri
 
หนังสือ ข้อมูลสมุนไพรจีน (เมชฌ สอดส่องกฤษ พ.ศ. 2558) สำนักงานส่งเสริมบริหารงา...
หนังสือ ข้อมูลสมุนไพรจีน (เมชฌ สอดส่องกฤษ พ.ศ. 2558) สำนักงานส่งเสริมบริหารงา...หนังสือ ข้อมูลสมุนไพรจีน (เมชฌ สอดส่องกฤษ พ.ศ. 2558) สำนักงานส่งเสริมบริหารงา...
หนังสือ ข้อมูลสมุนไพรจีน (เมชฌ สอดส่องกฤษ พ.ศ. 2558) สำนักงานส่งเสริมบริหารงา...Vorawut Wongumpornpinit
 
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อการประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อUtai Sukviwatsirikul
 
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์Princess Chulabhon's College Chonburi
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว Utai Sukviwatsirikul
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓kruthai40
 
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนกลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนda priyada
 
แนวทางการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง 2007
แนวทางการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง  2007แนวทางการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง  2007
แนวทางการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง 2007Utai Sukviwatsirikul
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุSirinoot Jantharangkul
 

La actualidad más candente (20)

คำแปลนิราศภูเขาทอง
คำแปลนิราศภูเขาทองคำแปลนิราศภูเขาทอง
คำแปลนิราศภูเขาทอง
 
ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์
 
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
 
Ppt.เพศ
Ppt.เพศPpt.เพศ
Ppt.เพศ
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟู
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟูคู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟู
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟู
 
คำวิเศษณ์
คำวิเศษณ์คำวิเศษณ์
คำวิเศษณ์
 
จดหมายขอบคุณช่วยเหลือน้ำท่วมจากสำนักนายก
จดหมายขอบคุณช่วยเหลือน้ำท่วมจากสำนักนายกจดหมายขอบคุณช่วยเหลือน้ำท่วมจากสำนักนายก
จดหมายขอบคุณช่วยเหลือน้ำท่วมจากสำนักนายก
 
คำนาม
คำนามคำนาม
คำนาม
 
3 dynamic of behavioural management
3 dynamic of behavioural management3 dynamic of behavioural management
3 dynamic of behavioural management
 
เศรษฐศาสตร์สุขภาพ
เศรษฐศาสตร์สุขภาพเศรษฐศาสตร์สุขภาพ
เศรษฐศาสตร์สุขภาพ
 
หนังสือ ข้อมูลสมุนไพรจีน (เมชฌ สอดส่องกฤษ พ.ศ. 2558) สำนักงานส่งเสริมบริหารงา...
หนังสือ ข้อมูลสมุนไพรจีน (เมชฌ สอดส่องกฤษ พ.ศ. 2558) สำนักงานส่งเสริมบริหารงา...หนังสือ ข้อมูลสมุนไพรจีน (เมชฌ สอดส่องกฤษ พ.ศ. 2558) สำนักงานส่งเสริมบริหารงา...
หนังสือ ข้อมูลสมุนไพรจีน (เมชฌ สอดส่องกฤษ พ.ศ. 2558) สำนักงานส่งเสริมบริหารงา...
 
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อการประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
 
ไทย
ไทยไทย
ไทย
 
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนกลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
 
ไตรสิกขา
ไตรสิกขาไตรสิกขา
ไตรสิกขา
 
แนวทางการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง 2007
แนวทางการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง  2007แนวทางการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง  2007
แนวทางการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง 2007
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
 

Destacado

การคูณธาตุ
การคูณธาตุการคูณธาตุ
การคูณธาตุPrasit Kongsup
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์jupjiptogether
 
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการ
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการ
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการVorawut Wongumpornpinit
 
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยาพื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยาNickson Butsriwong
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์คัมภีร์ฉันทศาสตร์แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ทัศนะ แก้วช่วย
 

Destacado (6)

การคูณธาตุ
การคูณธาตุการคูณธาตุ
การคูณธาตุ
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
 
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการ
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการ
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการ
 
Benign Ovarian Tumor
Benign Ovarian TumorBenign Ovarian Tumor
Benign Ovarian Tumor
 
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยาพื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์คัมภีร์ฉันทศาสตร์แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์
 

Similar a แผนไทยและสมุนไพร....

Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.25554LIFEYES
 
นิ้ง ป๊อบ3
นิ้ง  ป๊อบ3นิ้ง  ป๊อบ3
นิ้ง ป๊อบ3supphawan
 
PC02 :Assessment in PC
PC02 :Assessment in PCPC02 :Assessment in PC
PC02 :Assessment in PCCAPD AngThong
 
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptxพื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptxSunnyStrong
 
สุทธิวัสส์ คำภา นาฬิกาชีวิต
สุทธิวัสส์ คำภา   นาฬิกาชีวิตสุทธิวัสส์ คำภา   นาฬิกาชีวิต
สุทธิวัสส์ คำภา นาฬิกาชีวิตTongsamut vorasan
 
วัฒนา
วัฒนาวัฒนา
วัฒนาsupphawan
 
พื้นฐานชีวิต 33.pptx
พื้นฐานชีวิต 33.pptxพื้นฐานชีวิต 33.pptx
พื้นฐานชีวิต 33.pptxSunnyStrong
 
ความทุกข์
ความทุกข์ความทุกข์
ความทุกข์kawpod
 
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5primpatcha
 
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5primpatcha
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน2
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน2มะเร็งการรักษาและการป้องกัน2
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน24LIFEYES
 
สุขศึกษา ม. 5 หน่วยที่ 7.pptx
สุขศึกษา ม. 5 หน่วยที่ 7.pptxสุขศึกษา ม. 5 หน่วยที่ 7.pptx
สุขศึกษา ม. 5 หน่วยที่ 7.pptxKritwarongTheychasir
 
ความส ขบนปลายล _น
ความส ขบนปลายล _นความส ขบนปลายล _น
ความส ขบนปลายล _นTanadol Intachan
 
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาadriamycin
 

Similar a แผนไทยและสมุนไพร.... (20)

Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555
 
Clu5
Clu5Clu5
Clu5
 
Clu5
Clu5Clu5
Clu5
 
นิ้ง ป๊อบ3
นิ้ง  ป๊อบ3นิ้ง  ป๊อบ3
นิ้ง ป๊อบ3
 
PC02 :Assessment in PC
PC02 :Assessment in PCPC02 :Assessment in PC
PC02 :Assessment in PC
 
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptxพื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
 
สุทธิวัสส์ คำภา นาฬิกาชีวิต
สุทธิวัสส์ คำภา   นาฬิกาชีวิตสุทธิวัสส์ คำภา   นาฬิกาชีวิต
สุทธิวัสส์ คำภา นาฬิกาชีวิต
 
วัฒนา
วัฒนาวัฒนา
วัฒนา
 
กรณีศึกษาไต (Ns) แก้ไข
กรณีศึกษาไต (Ns)  แก้ไขกรณีศึกษาไต (Ns)  แก้ไข
กรณีศึกษาไต (Ns) แก้ไข
 
พื้นฐานชีวิต 33.pptx
พื้นฐานชีวิต 33.pptxพื้นฐานชีวิต 33.pptx
พื้นฐานชีวิต 33.pptx
 
ความทุกข์
ความทุกข์ความทุกข์
ความทุกข์
 
Clu11
Clu11Clu11
Clu11
 
Clu11
Clu11Clu11
Clu11
 
Mom knowledge
Mom knowledgeMom knowledge
Mom knowledge
 
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
 
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน2
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน2มะเร็งการรักษาและการป้องกัน2
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน2
 
สุขศึกษา ม. 5 หน่วยที่ 7.pptx
สุขศึกษา ม. 5 หน่วยที่ 7.pptxสุขศึกษา ม. 5 หน่วยที่ 7.pptx
สุขศึกษา ม. 5 หน่วยที่ 7.pptx
 
ความส ขบนปลายล _น
ความส ขบนปลายล _นความส ขบนปลายล _น
ความส ขบนปลายล _น
 
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
 

Más de โรงพยาบาลสารภี

จริยธรรมสำหรับบุคลากรสาธารณสุขเชียงใหม่
จริยธรรมสำหรับบุคลากรสาธารณสุขเชียงใหม่จริยธรรมสำหรับบุคลากรสาธารณสุขเชียงใหม่
จริยธรรมสำหรับบุคลากรสาธารณสุขเชียงใหม่โรงพยาบาลสารภี
 
ก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐม
ก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐมก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐม
ก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐมโรงพยาบาลสารภี
 
หนังสือผนึก บูรณาการ สานพลัง ลดความเสี่ยงโรคเรื้อรัง
หนังสือผนึก บูรณาการ สานพลัง ลดความเสี่ยงโรคเรื้อรังหนังสือผนึก บูรณาการ สานพลัง ลดความเสี่ยงโรคเรื้อรัง
หนังสือผนึก บูรณาการ สานพลัง ลดความเสี่ยงโรคเรื้อรังโรงพยาบาลสารภี
 
การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล
การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาลการจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล
การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาลโรงพยาบาลสารภี
 
สารก่อมะเร็งปอดในสิ่งแวดล้อม
สารก่อมะเร็งปอดในสิ่งแวดล้อมสารก่อมะเร็งปอดในสิ่งแวดล้อม
สารก่อมะเร็งปอดในสิ่งแวดล้อมโรงพยาบาลสารภี
 
โครงการศูนย์เรียนรู้ย่ำขาง แบบแพทย์พื้นบ้านสารภี
โครงการศูนย์เรียนรู้ย่ำขาง แบบแพทย์พื้นบ้านสารภีโครงการศูนย์เรียนรู้ย่ำขาง แบบแพทย์พื้นบ้านสารภี
โครงการศูนย์เรียนรู้ย่ำขาง แบบแพทย์พื้นบ้านสารภีโรงพยาบาลสารภี
 

Más de โรงพยาบาลสารภี (11)

Saraphi , From HIS to Health.
Saraphi , From HIS to Health.Saraphi , From HIS to Health.
Saraphi , From HIS to Health.
 
หมอครอบครัว ระบบยาชุมชน
หมอครอบครัว  ระบบยาชุมชนหมอครอบครัว  ระบบยาชุมชน
หมอครอบครัว ระบบยาชุมชน
 
จริยธรรมสำหรับบุคลากรสาธารณสุขเชียงใหม่
จริยธรรมสำหรับบุคลากรสาธารณสุขเชียงใหม่จริยธรรมสำหรับบุคลากรสาธารณสุขเชียงใหม่
จริยธรรมสำหรับบุคลากรสาธารณสุขเชียงใหม่
 
ก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐม
ก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐมก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐม
ก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐม
 
หนังสือผนึก บูรณาการ สานพลัง ลดความเสี่ยงโรคเรื้อรัง
หนังสือผนึก บูรณาการ สานพลัง ลดความเสี่ยงโรคเรื้อรังหนังสือผนึก บูรณาการ สานพลัง ลดความเสี่ยงโรคเรื้อรัง
หนังสือผนึก บูรณาการ สานพลัง ลดความเสี่ยงโรคเรื้อรัง
 
หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4
 
การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล
การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาลการจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล
การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล
 
อำเภอสารภีสร้างสุข
อำเภอสารภีสร้างสุขอำเภอสารภีสร้างสุข
อำเภอสารภีสร้างสุข
 
สารก่อมะเร็งปอดในสิ่งแวดล้อม
สารก่อมะเร็งปอดในสิ่งแวดล้อมสารก่อมะเร็งปอดในสิ่งแวดล้อม
สารก่อมะเร็งปอดในสิ่งแวดล้อม
 
การดูแลสุขภาพคนเชียงใหม่
การดูแลสุขภาพคนเชียงใหม่การดูแลสุขภาพคนเชียงใหม่
การดูแลสุขภาพคนเชียงใหม่
 
โครงการศูนย์เรียนรู้ย่ำขาง แบบแพทย์พื้นบ้านสารภี
โครงการศูนย์เรียนรู้ย่ำขาง แบบแพทย์พื้นบ้านสารภีโครงการศูนย์เรียนรู้ย่ำขาง แบบแพทย์พื้นบ้านสารภี
โครงการศูนย์เรียนรู้ย่ำขาง แบบแพทย์พื้นบ้านสารภี
 

แผนไทยและสมุนไพร....

  • 6. ขอบคุณสไลด์จากนายแพทย์ฉัตรชัย สวัสดิไชย โรงพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี การแพทย์แผนไทย ๑. Thai Traditional Medicine ๒. วิถีการดูแลสุขภาพของคนไทย ๓. ที่สอดคล้องกับประเพณีไทย ๔. ใช้สมุนไพรรูปอาหารและยา ๕. ใช้ อบ ประคบ นวด ๖. สมุนไพรตารับรักษาโรค ๗. ภูมิปัญญาสืบทอดมายาวนานหลายพันปี
  • 8. อันตรายจากยาแผนปัจจุบัน (สถิติในอเมริกา) ๑. คนไข้ในโรงพยาบาลที่ได้รับยาโรคหัวใจ Digoxin ประสพ ปัญหายาเป็นพิษต่อหัวใจ ปีละ28,000ราย ๒. ผู้สูงอายุที่รับประทานยาแก้ไขข้ออักเสบ เกิดแผลในกระเพาะ อาหารจนต้องส่งโรงพยาบาลปีละ41,000ราย และเสียชีวิตถึง 3,300ราย ๓. ผู้สูงอายุมีปัญหาความจาเสื่อม สมองเสื่อมปีละ163,000ราย ซึ่งเกิดจากยาหรือยาเป็นสาเหตุให้อาการเป็นมากขึ้น ๑. 46% เกิดจากยากล่อมประสาท/ยานอนหลับ ๒. 14% เกิดจากยาลดความดัน ๓. 11% เกิดจากยาจิตเวช
  • 9. ๑. ผู้สูงอายุเกิดอาการparkinson (อาการ มือเท้าสั่น ตัวแข็ง ยืนไม่มั่นคง) จาก การใช้ยาจิตเวชปีละ61,000ราย ๒. ผู้สูงอายุเกิดการติดยาประเภทยากล่อม ประสาทหรือยานอนหลับปีละ2ล้าน ราย ๓. ผู้สูงอายุเกิดอาการdyskinesia (การ เคลื่อนไหวแบบไม่ตั้งใจ) จากยาทางจิต เวชปีละ73,000ราย Parkinson’s disease dyskinesia
  • 10. ปรัชญาของการแพทย์แผนไทย เป้ าหมายของการแพทย์แผนไทย คือ สุขภาพที่ดีทั้งร่างกายและจิตใจ -ป้องกันก่อนเกิดโรค ( prevention before treatment) -ค้นหาปัญหาสุขภาพ แก้ไข ก่อนที่จะรุกลามและสร้างปัญหาอย่าง แท้จริง
  • 11. นายแพทย์ฉัตรชัย สวัสดิไชย โรงพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี แพทย์แผนไทย/แพทย์พื้นบ้าน Thai Traditional Medicine การแพทย์แผนไทย นวด , อบ , ประคบ ทับหม้อเกลือ เหยียบไฟ คาถา หมอน้ามัน สมุนไพร ผลิตภัณฑ์ สุขภาพ แพทย์แผนไทยประยุกต์
  • 13. 1 เวชกรรมไทย คือ กิจ 4 ประการ ได้แก่ รู้จักที่ตั้งแรกเกิดของโรค รู้จักชื่อของโรค รู้จักยารักษาโรค รู้จักยาใดรักษาโรคใด 2 เภสัชกรรมไทย ประกอบด้วย หลักเภสัช 4 คือ เภสัชวัตถุ สรรพคุณเภสัช คณาเภสัช เภสัชกรรม
  • 14. 3 การผดุงครรภ์ไทย มีองค์ความรู้ต่อการประกอบวิชาชีพ ได้แก่ สรีระร่างกายของหญิงและชายวัยเจริญพันธ์ การปฏิสนธิและการ ตั้งครรภ์ การทาคลอดปกติ การดูแลมารดาและทารกในระยะ คลอด การเจริญเติบโตและการดูแลทารก 4 การนวดไทย ได้แก่ ความรู้ในการค้นหาต้นเหตุของโรค (ซัก ประวัติ และการตรวจร่างกาย) หลักพื้นฐานการนวดไทย (กาย วิภาคศาสตร์ สรีรวิทยา พยาธิวิทยา) เส้นประธาน 10
  • 16. รู้จัก "ตรีโทษ (Tri Dosha) หรือ วาตะ ปิตตะ กผะ" 1. ทฤษฎีทางอายุรเวท ศาสตร์แห่งอินเดีย 2. การทางานของกายและจิตของมนุษย์จะถูกควบคุมโดย พลังงานพื้นฐาน 3 ส่วน เรียกว่า "ไตรโทษะ หรือ ตรี โทษ (Tri Dosha)“ 3. วาตะ (Vata) ปิตตะ (Pitta) และ กผะ (Kapha) พลังเหล่านี้มาจากธาตุสาคัญ 5 ชนิด ได้แก่ ธาตุดิน ธาตุน้า ธาตุลม ธาตุไฟ และอากาศธาตุ
  • 18. วาตะ (Vata) วาตะ ประกอบด้วย "ธาตุลม" และ "อากาศธาตุ" มีหน้าที่ควบคุม การเคลื่อนไหวของส่วนต่าง ๆ ในร่างกาย วาตะ หมาย ถึง ลมของร่างกาย วาตะ ควบคุมการหายใจ การกระพริบของเปลือกตา การเคลื่อนของ กล้ามเนื้อและเนื้อเยื่อ การเต้นของหัวใจ รวมทั้งการยืดและหดของ กล้ามเนื้อ วาตะ ยังควบคุมอารมณ์ อาการสั่นสะท้านและการเกร็งกระตุกของ กล้ามเนื้อ ลาไส้ใหญ่ โพรงกระดูกเชิงกราน กระดูก ผิวหนัง หูและต้น ขา
  • 19. ปิตตะ (Pitta) ปิตตะ เป็นส่วนประกอบของ "ธาตุไฟ" มีหน้าที่เผาผลาญ อาหารและให้ความอบอุ่นแก่ร่างกาย รวมทั้งช่วยในเรื่องการ มองเห็น ปิตตะ ควบคุมการย่อยอาหาร การดูดซึม สารอาหาร ขบวนการเผาผลาญอาหารให้เกิดพลังงาน อุณหภูมิของ ร่างกาย สีผิว ความสุกใสแวววาของดวงตา รวมทั้งความฉลาด ความสามารถในการเรียนรู้ สรีระวิทยาส่วนกายภาพ ปิตตะ ก่อให้เกิดความโกรธ ความเกลียดและความอิจฉาริษยา
  • 20. กผะ (Kapha) • กผะ ประกอบด้วย "ธาตุดิน" และ "ธาตุน้า" มีหน้าที่เป็นโครงสร้าง ของร่างกาย เช่น กระดูก กล้ามเนื้อ เส้นเอ็นและให้ความชุ่มชื้น ของเหลวที่อยู่ตามข้อต่อของกระดูกต่าง • พื้นที่ของกผะ ได้แก่ ช่องอก (เต้านม) ลาคอ ศีรษะ โพรงไซนัส จมูก ปาก กระเพาะอาหาร ข้อต่อต่าง ๆ สารน้าที่หล่อเลี้ยงนิวเคลียสของ เซลล์ สารน้าในโลหิตและน้าเหลือง รวมทั้งของเหลวต่างๆใน ร่างกายก • กผะ ยังตอบสนองต่อารมณ์การยึดติด ความโลภ ความอิจฉาริษยา ครอบคลุมความอ่อนไหว ความเฉื่อยชา การให้อภัยและความรักด้วย
  • 21. - รูปร่างผอม น้าหนักตัวน้อย ผิวแห้ง - ไม่ค่อยอยู่นิ่ง ชอบทาอะไรเร็ว ๆ - ความหิวและอยากอาหารไม่แน่นอน - มักจะท้องผูกง่ายกว่าท้องเสีย - นอนหลับอยาก หลับไม่สนิท ฝันบ่อย จาความฝันไม่ค่อยได้ - ตื่นเต้นหรืออารมณ์เปลี่ยนแปลงง่าย - เรียนรู้รวดเร็วแต่ขี้ลืม - มีแนวโน้มที่จะกระวนกระวาย วิตกกังวล หวาดกลัว - แรงอึดน้อย พลังมักจะมาเร็วหมดเร็ว สรุปลักษณะเด่นของคนที่มี วาตะเป็นเจ้าเรือน
  • 22. สรุปลักษณะเด่นของคนที่มี ปิตตะเป็นเจ้าเรือน J รูปร่างและน้าหนักตัวปานกลาง J ผิวละเอียด เป็นผืนแดงง่าย หิวบ่อย กินจุ ควบคุมน้าหนักได้ดี J มักจะท้องเสียมากกว่าท้องผูก J นอนหลับง่าย หลับสนิท ฝันไม่บ่อย จาความฝันได้ J ความคิดเฉียบแหลม ชอบวางแผนสังการ J ขี้หงุดหงิดหรือโมโหง่าย J เหงื่อออกมาก ขี้ร้อน ชอบความเย็นหรืออากาศเย็น J ชอบเป็นผู้นา
  • 23. J รูปร่างใหญ่ น้าหนักตัวมาก J ผิวนุ่มละเอียด ผิวขาวหรือซีด J ความหิวค่อนข้างคงที่ สม่าเสมอ J ปกติจะถ่ายวันละครั้ง และค่อนข้างเป็นเวลา อุจจาระไม่แข็งหรือเหลวมาก J นอนหลับสนิทและลึก นอนมาก J เรียนรู้ช้า แต่ความจาดี J ชอบทามากกว่าคิด ชอบเป็นผู้ตาม J มักพยายามหลีกเลี่ยงการเผชิญกับปัญหาหรือเหตุการณ์เฉพาะหน้า J มีนิสัยอ่อนโยน เยือกเย็น รักสงบ ไม่ชอบความเปลี่ยนแปลง สรุปลักษณะเด่นของคนที่มี กผะเป็นเจ้าเรือน
  • 24. การกาเริบ • ปิตตะกาเริบ รบกวนขบวนการเผาผลาญและดูดซึม สารอาหาร วัยผู้ใหญ่ ฤดูร้อน • กผะกาเริบ ทาให้การเสริมสร้างมากเกินควร วัยเด็ก • วตะกาเริบ ทาให้การเสื่อมสลายมากเกินควร วัยชรา ฤดูฝนและ หนาว
  • 25. สาเหตุใหญ่ๆของความเจ็บป่วยมี ๖ ประการ ๑. มูลเหตุธาตุทั้ง ๔ (ธาตุสมุฏฐาน) ๒. อิทธิพลของฤดูกาล (ฤดูสมุฏฐาน) ๓. อายุที่เปลี่ยนไปตามวัย (อายุสมุฏฐาน) ๔. ถิ่นที่อยู่อาศัย ( ประเทศสมุฏฐาน) ๕. อิทธิพลกาลเวลาและสุริยะจักรวาล (กาลสมุฏฐาน) ๖. พฤติกรรมที่เป็นมูลเหตุของโรค ๘ ประการ คัมภีร์สมุฏฐานวินิจฉัย
  • 28. พฤติกรรมที่เป็นมูลเหตุเกิดโรค ได้แก่ การบริโภคมากหรือน้อยเกินไป บริโภคไม่ถูกกับธาตุ ไม่ ถูกกับโรค การฝืนอิริยาบถ มลภาวะของอากาศ การอด ได้แก่ อด-อาหาร -น้า -นอน การกลั้นอุจจาระ ปัสสาวะเป็นประจา การทางานเกินกาลังมากเกินไปหรือกิจกรรมทางเพศมาก เกินไป มีความโศกเศร้าเสียใจ หรือดีใจเกินไป มีโทสะมากเกินไป ขาดสติ
  • 30. ธาตุสมุฏฐานแบ่งได้ 4 กอง คือ สมุฎฐานเตโชธาตุพิกัด สมุฎฐานวาโยธาตุพิกัด สมุฎฐานอาโปธาตุพิกัด สมุฎฐานปถวีธาตุพิกัด
  • 31. ธาตุเจ้าเรือน รู้ได้ นับตั้งแต่วันที่ปฏิสนธิ แต่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ ขึ้นอยู่กับ สิ่งแวดล้อม การเลี้ยงดู และพฤติกรรมการกิน เมื่อตั้งครรภ์ในฤดูใด เอาธาตุของฤดูนั้นเป็นที่ตั้ง
  • 32. ธาตุเจ้าเรือนแต่กาเนิด ๑. ปฏิสนธิในเดือน ๕,๖,๗ เกิดในเดือน ๒,๓,๔ เป็นลักษณะแห่งธาตุไฟ ๒. ปฏิสนธิในเดือน ๘,๙,๑๐ เกิดในเดือน ๕,๖,๗ เป็น ลักษณะแห่งธาตุลม ๓. ปฏิสนธิในเดือน ๑๑,๑๒,๑ เกิดในเดือน ๘,๙,๑๐ เป็นลักษณะแห่งธาตุน้า ๔. ปฏิสนธิในเดือน ๒,๓,๔ เกิดในเดือน ๑๑,๑๒,๑ เป็นลักษณะแห่งธาตุดิน
  • 33. ธาตุดิน คนเกิดปีจอ และปีฉลู หรือคนที่เกิดเดือน ตุลาคม พฤศจิกายน ธันวาคม ส่วนใหญ่จะเป็นวันพฤหัสบดี และ วันศุกร์ ธาตุน้า คนเกิดปีชวด และปีกุน หรือคนที่เกิดเดือน กรกฎาคม สิงหาคม กันยายน หรือผู้ที่เกิดใน วันพุธ ธาตุลม คนเกิดปีเถาะ ปีมะเมีย ปีมะแม ปีวอกหรือ คนที่เกิดเดือน เมษายน พฤษภาคม มิถุนายน ส่วนใหญ่จะเป็นคนเกิดวันศุกร์ และวันพุธ ธาตุไฟ คนเกิดปีขาล ปีมะโรง ปีมะเส็ง ปีระกา หรือคนที่เกิดเดือน มกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม ผู้ที่เกิดในวันอาทิตย์ วันอังคาร วันเสาร์
  • 34. ลักษณะผู้ที่มีธาตุดินมาก จะมีสภาพร่างกาย แข็งแรงบึกบึน กล้ามเนื้อ และ กระดูกต่างๆ จะแข็งแรง น้าหนักตัวมาก ล่าสัน เสียงดังหนักแน่น ผิวหนังจะ ค่อนข้างหยาบกระด้าง พฤติกรรม ชอบความโดดเด่น เป็นตัวของตัวเอง ค่อนข้างทรนง ถือตัว ชอบขัน อาสารับภาระแก่ผู้อื่น ชอบทาตนเป็นผู้นา อารมณ์และนิสัย มีความอดทน มั่นคง มีน้าใจกว้างขวาง รู้จักวางตน ไม่ค่อย อ่อนไหวต่ออารมณ์ต่างๆ นัก มีความความกล้าหาญ โรคที่มักจะเป็น โรคท้องผูก ระบบย่อยอาหารไม่ค่อยปกติ ท้องอืดท้องเฟ้ อ ความดันต่า ไขมันอุดตัน หินปูนเกาะกระดูก ปวดตามข้อ เส้นเลือดตีบ โรคหัวใจ ไต ชักกระตุก ภาวะไม่สมดุลของผู้มีธาตุเจ้าเรือนเป็นธาตุดิน ปัญหาใหญ่ของคนธาตุดินคือน้าหนักตัว มักอ้วนง่ายลดยาก ในภาวะที่ไม่สมดุล มีแนวโน้มที่จะเป็นคนละโมบหรือขี้เกียจและซึมเศร้า
  • 36. • ลักษณะผู้ที่มีธาตุน้ามาก จะมีรูปร่างท้วมสมส่วนไปจนถึงท้วมใหญ่ น้าหนักเพิ่มง่าย แต่ลดยาก ผิวพรรณผ่องใส เส้นผมและขนจะมันเป็นเงา โดยธรรมชาติ ฟันและเล็บมือเล็บเท้าจะขาวอมชมพูเป็นเงางาม ริมฝีปากจะ มีสีสดตลอดเวลา แววตาจะดูแวววาว น้าเสียงจะก้องกังวาน เนื้อตัวจะเย็น ใบหน้ามักจะกลมหรือรูปสี่เหลี่ยม ดวงตากลมโต ค่อนข้างมีขนาดใหญ่ และ มีน้าหล่อเลี้ยงอยู่เสมอ ความรู้สึกทางเพศดี พฤติกรรม เป็นคนเยือกเย็น และหนักแน่น ค่อนข้างมีเมตตาและเห็นอก เห็นใจผู้อื่นเสมอ เป็นผู้ฟังที่ดี และให้กาลังใจผู้อื่นได้อย่างเป็นธรรมชาติ มี เหตุมีผล นิยมชมชอบคบค้าสมาคมแก่คนทั้งหลาย มีอัธยาศัยชอบวางตัว เป็นผู้ใหญ่เกินวัย มีผู้คนนับหน้าถือตา ขยันขันแข็ง
  • 37. • อารมณ์และนิสัย รักสวยรักงาม รักหน้าตา มีจิตเมตตา โอบ อ้อมอารี มีปกติ มักติดในอารมณ์ใดๆ ได้ง่าย เป็นประเภทพวก รักง่ายหน่ายเร็ว ฉลาดเอาตัวรอดได้ ชื่นชอบธรรมชาติ และ ดอกไม้ ในขณะเดียวกันคนธาตุน้าเป็นคนค่อนข้างเฉื่อยชา ตื่นตัวช้า ติดจะขี้เกียจอยู่บ้าง รวมทั้งติดที่ ไม่ชอบความ เปลี่ยนแปลง และหลีกเลี่ยงความขัดแย้งทุกรูปแบบ เรียนรู้ได้ช้า แต่ความจาดี
  • 38. • โรคที่มักจะเป็น โรคภูมิแพ้ โรคหวัด โรคติดเชื้อต่างๆ แผล พุพองที่เรียกว่าน้าเหลืองเสีย น้าหนองไหล ปอดชื้น น้าท่วม ปอด โรคไตวายฉับพลัน โลหิตจาง เลือดออกตามไรฟัน และโรค อ้วน ภาวะไม่สมดุลของผู้มีธาตุเจ้าเรือนเป็นธาตุน้า ปัญหาใหญ่ของคนธาตุน้าคือน้าหนักตัว มักอ้วนง่ายลดยาก ใน ภาวะที่ไม่สมดุล มีแนวโน้มที่จะเป็นคนละโมบหรือขี้เกียจและ ซึมเศร้า
  • 40. • ลักษณะผู้ที่มีธาตุลมมาก จะมีรูปร่างสูงโปร่ง ไม่อ้วน แขนขาเรียวเล็ก ภาพรวมดูบริสุทธิ์และบอบบาง แต่บางครั้งโครงสร้างก็ดูเหมือนจะไม่ ค่อยได้ดุลยภาพเท่าที่ควร ผมเส้นใหญ่และขนตามตัวจะแห้งกรอบ ผิวหนังแห้งกระด้างและเย็น เหงื่อน้อย เล็บกระดูกฟันเปราะกรอบ สีจะ ขาวซีด ดวงตาจะพร่ามัวเพราะมีลมออกจากกระบอกตามาก น้าหนัก ตัวที่ค่อนข้างน้อยอยู่แล้วจะเพิ่มยากแต่ลดง่าย พฤติกรรม มีพลังสร้างสรรค์สูงกว่าธาตุเจ้าเรือนอื่นๆ เป็นคนที่มี ลักษณะเหมือนลมนั่นเอง เคลื่อนไหวคล่องแคล่วรวดเร็ว อยู่ติดที่ได้ไม่ นาน ทาอะไรหุนหัน เรียกว่าโกรธง่ายหายเร็ว ทะเยอทะยาน มีความ หยิ่งทระนง ที่ถนัดคือยุ่งกับเรื่องของชาวบ้านตั้งวงนินทา เป็นคนช่าง ประจบทาให้ดูเหมือนมีสังคมกว้าง เข้ากับคนอื่นได้ง่ายแต่ก็โดนคนอื่น ทิ้งได้ง่าย เป็นคนทาอะไรรวดเร็ว แต่ไม่ค่อยเรียบร้อย ช่างพูด เสียงต่า ออกเสียงไม่ชัดเจน ความรู้สึกทางเพศไม่ค่อยดี
  • 41. • อารมณ์และนิสัย เป็นคนเจ้าอารมณ์ ชอบเพ้อฝัน ตื่นเต้นง่าย มักจะมี ความสนใจหลายๆ อย่างในเวลาเดียวกัน จนบางครั้งทาให้เหมือนเป็น นักคิดที่ไม่ลงมือปฎิบัติเสียที่ รวมทั้งมีความวิตกกังวลได้ง่าย แต่ทางาน ในลักษณะสร้างสรรค์หรืองานด้านศิลปะได้เป็นอย่างดี มีนิสัยค่อนข้าง อิจฉาริษยา บางขณะก็มีน้าใจจนท่วมท้น ทาให้คนอยู่ใกล้อึดอัด บางขณะก็ดูหฤโหด โกรธรุนแรง มีความหลงต่ออารมณ์ต่างๆ ได้ง่าย จนถูกหลอกเป็นประจา ถึงกระนั้นก็ยังพอจะมีปฏิภาณเอาตัวรอดได้ เป็นผู้มีความคิดที่ใครๆ ก็จะคาดเดาลาบาก เรียนรู้เร็วแต่ลืมง่าย
  • 42. โรคที่มักจะเป็น โรคกระดูกเปราะ โรคน้าตาแห้ง โรคตาต่างๆ โรคลมจุก เสียด โรคลมดันหัวใจ โรคนอนกรน โรคผอมแห้งแรงน้อย โรคปวดหัว วิงเวียนศีรษะ โรคท้องอืดท้องเฟ้ อ โรคอ่อนเพลีย นอนไม่ค่อยหลับ ภาวะไม่สมดุลของผู้ที่มีธาตุเจ้าเรือนเป็นธาตุลม ในแง่การทางานของระบบในร่างกาย คนธาตุลมค่อนข้างมีปัญหาเกี่ยวกับ ระบบทางเดินอาหาร เช่น อาหารไม่ค่อยย่อยหรือท้องผูก มีปัญหากับระบบ ประสาท รวมทั้งมีปัญหาในการนอนหลับ มักจะหลับไม่สนิทและตื่นได้ง่าย แม้แต่เสียงรบกวนเล็กๆ น้อยๆ ในแง่ของจิตใจ คนธาตุลมจะค่อนข้างขี้กลัว วิตกกังวล และซึมเศร้า ในขั้นรุนแรงมีแนวโน้มที่จะฆ่าตัวตายได้ ในภาวะที่ ไม่สมดุลมีแนวโน้มที่จะกระทามากไปทุกเรื่องทั้งในแง่ของการบริโภค และ ความสัมพันธ์กับผู้อื่น
  • 44. ลักษณะผู้ที่มีธาตุไฟมาก จะมีรูปร่างค่อนข้างสมส่วน น้าหนักเพิ่มง่าย แต่ก็ลดง่าย ผิวบาง แพ้ง่าย ผอมคล้า ผิวหนักตกกระ ไฝฝ้ าจะขึ้นกระจายไปทั่ว ผมและขนจะแห้ง แตกปลายและจะเบาบาง ตามลาตัวจะมีไอร้อนมากกว่าธาตุอื่นๆ สีหน้า และแววตา จะหมองคล้า เล็บและฟันจะไม่เป็นเงางาม ในขณะที่ผมดกและนุ่ม รูปตาค่อนข้าง เรียวเล็กและมีลักษณะเหมือนจะมองทะลุเข้าไปในความคิดของผู้ อื่น กล้ามเนื้อจะ ไม่ค่อยแข็งแรง เซลล์ในกระดูกจะเกาะตัวกันอย่างหลวมๆ กลิ่นตัวรุนแรง ขี้ร้อน ทน ร้อนไม่ค่อยได้ หิวบ่อย กินเก่ง ผมหงอกเร็ว มักหัวล้าน ความต้องการทางเพศปาน กลาง พฤติกรรม เป็นคนเฉลียวฉลาดทันคน มีความมุ่งมั่นในการทาภารกิจต่างๆ มีระบบ ความคิดที่ชัดเจน ชอบเป็นผู้นาคน และค่อนข้างมีความมั่นใจในตัวเองสูง เมื่อจับ งานใดๆ ก็ตาม จะผลักดันจนสาเร็จเสร็จสิ้นเป็นชิ้นๆ ไปแต่มักจะควบคุมอารมณ์ ฉุนเฉียวไม่ค่อยได้ และชอบการแข่งขันเป็นชีวิตจิตใจ ซื่อตรง พูดจาโผงผาง ตรงไปตรงมา ส่วนใหญ่จะเสียเพราะคาพูด ทาอะไรชอบทาให้ดูใหญ่โต เรียกว่าฉิบ หายไม่ว่า ต้องการชื่อเสียง เป็นเจ้าบุญทุ่มพอสมควร แต่มิค่อยมีคนชอบ ชอบอวดดี
  • 45. อารมณ์และนิสัย เป็นคนอารมณ์รุนแรง โกรธรุนแรง หงุดหงิดง่าย เวลา ทาอะไรมิค่อยคิด มีนิสัยชอบผูกพยาบาท ชอบคิดอยู่เสมอว่าเราเคยมี บุญคุณกับคนอื่น คนอื่นก็ต้องตอบแทนเรา โรคที่มักจะเป็น ท้องผูก ริดสีดวง ความดันสูง เส้นโลหิตเปราะบาง ปวด ศีรษะ โรคไต โรคกระษัย ปัสสาวะกะปริบกะปรอย วิตกกังวล เบื่ออาหาร โรคหัวใจ โรคไทรอยด์ ร้อนใน โรคกระเพาะ กระดูกเสื่อมเร็วก่อนวัย หงุดหงิดง่าย ใจสั่น แผลพุพอง น้าเหลืองเสีย เลือดเป็นพิษ โรคเลือด ลักปิดลักเปิด ภาวะไม่สมดุลของผู้มีธาตุเจ้าเรือนเป็นธาตุไฟ สิ่งต้องระวังของคนธาตุไฟคือภาวะของการอักเสบ ระวังเรื่องอาหารที่เผ็ด ร้อน ซึ่งจะทาให้ท้องเสียอยู่เสมอ รวมทั้งปัญหาการควบคุมอารมณ์ได้ยาก การไม่รู้จักประณีประนอม ปัญหาสุขภาพที่มักเกิดขึ้นคือแผลร้อนใน ความ ดันเลือดสูง และภูมิแพ้
  • 47. @ อาหารประจาธาตุ ธาตุดิน ฝาด หวาน มัน เค็ม ธาตุน้า เปรี้ยว ขม ธาตุลม เผ็ดร้อน ทุกชนิด ถ้าทานเผ็ดร้อนไม่ได้ให้ใช้เครื่องเทศแทน ธาตุไฟ เย็น จืด ขม * * เมี่ยงคา เป็นอาหารปรับธาตุทั้งสี่ ชะพลู-น้า ถั่ว,กุ้งแห้ง-ดิน มะนาว-น้า,ไฟ หอม,ขิง,พริก-ลม
  • 48. @ ฤดูสมุฎฐาน 1. ฤดูร้อน เจ็บป่วยด้วยธาตุไฟ 2. ฤดูฝน เจ็บป่วยด้วยธาตุลม 3. ฤดูหนาว เจ็บป่วยด้วยธาตุน้า
  • 49. ฤดูสมุฏฐาน มี 2 ฤดู คือ ฤดู 3 กับ ฤดู 6 ฤดู 3 ในหนึ่งปีแบ่งออกเป็น 3 ฤดูๆ ละ 4 เดือน คือ คิมหันตฤดู (ฤดูร้อน) วสันตฤดู (ฤดูฝน) เหมันตฤดู (ฤดูหนาว)
  • 50. ฤดู 6 ในหนึ่งปีแบ่งออกเป็น 6 ฤดูๆ ละ 2 เดือน คือ คิมหันตฤดู วสันตฤดู วัสสานฤดู สะระทะฤดู เหมันตฤดู ศิริรฤดู
  • 51. @อายุสมุฏฐาน (อายุที่เปลี่ยนไปตามวัย) ปฐมวัย (แรกเกิด – 16 ปี) เจ็บป่วยด้วยธาตุน้า มัชฌิมวัย (วัยกลางคน – 32 ปี) เจ็บป่วยด้วยธาตุไฟ ปัจฉิมวัย (วัยชรา 32 – อายุขัย) เจ็บป่วยด้วยธาตุลม
  • 53. กาลสมุฏฐาน แบ่งออกได้เป็น 2 กาล (เฉพาะกาล 3) มี กาลกลางวัน ตั้งแต่ ย่ารุ่ง – 4 โมงเช้า (06.00-10.00) พิกัดเสมหะกระทา 5 โมงเช้า – บ่าย 2 โมง (11.00-14.00) พิกัดปิตะกระทา บ่าย 3 โมง – ย่าค่า (15.00-18.00) พิกัดวาตะกระทา กาลกลางคืน ย่าค่า – 4 ทุ่ม (18.00-22.00) พิกัดเสมหะกระทา 5 ทุ่ม – 8 ทุ่ม (23.00-02.00) พิกัดปิตตะกระทา 9 ทุ่ม – ย่ารุ่ง (03.00-06.00) พิกัดวาตะกระทา
  • 54. @ ประเทศสมุฏฐาน สถานที่ถิ่นที่อยู่อาศัยเป็นสาเหตุการเกิดโรค................. ประเทศร้อน ภูเขาสูง เนินผา ภาคเหนือ มักเจ็บป่วยด้วย ธาตุไฟ ประเทศเย็น น้าฝน โคลนตม มักเจ็บป่วยด้วยธาตุลม ภาค กลาง ประเทศอุ่น น้าฝน กรวด ทราย เก็บน้าไม่อยู่ มักเจ็บป่วย ด้วยธาตุน้า ภาคอีสาน ประเทศหนาว น้าเค็ม โคลนตม ชื้นแฉะ มักเจ็บป่วยด้วย ธาตุดิน ภาคใต้ กินรสเผ็ดร้อน เพื่อขับความชื้นเย็นออกจากตัวมนุษย์
  • 55. การคูณธาตุ (สูตร หมอขุนทอง กิจเพียร) คานวณว่ามีธาตุอะไร กาเริบ หย่อน พิการ บ่งบอกถึงการเจ็บป่วยในแต่ละปี สาหรับแต่ละบุคคล หลักๆ ใช้ยาเบญจกูล ในการคุมธาตุ ตัวยาประจาธาตุทั้ง 4 ธาตุดิน 21 กอง ใช้ ดอกดีปลี (ใช้ต้นแทนได้) ธาตุน้า 12 กอง ใช้ รากชะพลู ธาตุลม 6 กอง ใช้ เถาสะค้าน ธาตุไฟ 4 กอง ใช้ รากเจตมูลเพลิง (ใช้ต้นแทนได้)
  • 56. การคานวณธาตุ วิธีคิด อายุ + ธาตุ / 7 (คือธรรมชาติ 7 อย่าง) เช่น อายุ 10 ปี ธาตุดิน (10+21)/7 = เศษ 3 ธาตุน้า (10+12)/7 = เศษ 1 ธาตุลม (10+6)/7 = เศษ 2 ธาตุดิน (10+4)/7 = เศษ 0 ถ้าเศษเดือนเกิดที่นับได้เกิน 6 เดือนขึ้นไป ให้นับเป็น 1 ปี เช่นเกิดเดือน มกราคม 2523 ปัจจุบันตุลาคม 2533 ก็มีอายุเท่ากับ 10 ปี 9 เดือน ให้ นับเป็น 11 ปี ถ้าเศษเดือนเกิดที่นับได้ต่ากว่า 6 เดือนให้ตัดทิ้ง
  • 57. ตัวหารเลข 7 มาจากธรรมชาติ 7 อย่าง อยู่ในร่างกายเรานั่นเอง คือ ภวังค์ คือ ความเกิด มะโน คือ ความน้อม จิตตัง คือ ความคิด สัญญา คือ ความจาหมาย วิญญาณ คือ ความรู้แจ้ง สังขาร คือ ความปรุงแต่ง เวทนา คือ ความเสวยอารมณ์สุข-ทุกข์
  • 58. การแปรผล (ดูจากเศษ 7) – ถ้าหารแล้วเหลือเศษ 0 แสดงว่า ธาตุนั้นเสียหมด (ธาตุพิการ) – 1,2,3 แสดงว่าธาตุนั้นไม่บริบูรณ์ (ธาตุหย่อน) – 4,5 แสดงว่าธาตุนั้นบริบูรณ์ดี (ธาตุปกติ) – 6 แสดงว่าธาตุนั้นกาเริบ
  • 61. สมุนไพร 68 เภสัชวิทยาพืชสมุนไพร ๑. Primary metabolite เป็นผลผลิตจากกระบวนการ สังเคราะห์แสง พบในพืชทุกชนิด สารบางตัวก็ใช้เป็นยา ได้ เช่น น้ามันละหุ่ง ๒. Secondary metabolite เกิดจากขบวนการ biosynthesis ที่มีเอนไซม์เข้าร่วม สารส่วนใหญ่ในกลุ่มนี้จะมีสรรพคุณทางยา นอกจากนี้ใน สมุนไพรแต่ละชนิดอาจมีตัวยาได้หลายตัว
  • 63. สมุนไพร 70 สารประกอบที่สาคัญทางยา เช่น • น้ามันหอมระเหย • แอลคาลอยด์ • กลัยโคไซด์ • แทนนิน • ฟลาโวนอยด์ สารประกอบที่มีพิษในพืช เช่น •มิโมซีน •ไซยาไนด์
  • 64. น้ามันหอมระเหย (Essential oils) สารเทอปีน (terpenes) ที่มีน้าหนักโมเลกุลต่า ได้แก่ - โมโนเทอปีน เช่น limonene, menthol และการบูร (camphor) - เสสควิเทอปีน เช่น B-bisabolene ฟีนีลโพรปานอยด์ พบได้น้อยกว่า สารกลุ่มเทอปีน เช่น eugenol น้ามันหอมระเหยเป็นสารอินทรีย์ที่พืชสร้างขึ้น มีกลิ่นหอม ระเหยง่าย โดยพืชเหล่านี้จะมีเซลล์พิเศษ ต่อม หรือ ท่อ เพื่อสร้าง และกักเก็บน้ามันหอมระเหย เช่นส่วนของใบและเปลือกผลของ พวกส้ม นอกจากนี้ยังพบได้ในทุกส่วนของพืช ขึ้นอยู่กับชนิดพืช สารที่มีคุณสมบัติเป็นน้ามันหอมระเหย
  • 65. ๑. กลิ่นมะนาว (Lemon) ทาให้รู้สึกสดชื่น กระตุ้นการตื่นตัว ๒. กลื่นลาเวนเดอร์ (Lavender) ช่วยให้ผ่อนคลาย ลดความตึงเครียด ๓. กลิ่นมะลิ (Jasmine) ช่วยให้รู้สึกอ่อนหวาน ละมุนละไม ๔. กลิ่นส้ม (Orange) ช่วยผ่อนคลายความตึงเครียด และเพิ่มความสดชื่น ๕. กลิ่นกุหลาบ (Rose) กลิ่นเบาๆ สบายๆ ทาให้รู้สึกหวาน และรัก ๖. กลิ่นโรสแมรี่ (Rosemary) กลิ่นหอมสดชื่น เพิ่มความกระปรี้กระเปร่า
  • 66. FL A V O N O I D S ส่วนใหญ่เป็นสารสี เช่น แดง เหลือง ม่วง น้า เงิน พบมากใน ดอก ใบ และ ผล สามารถจาแนกฟลาโวนอยด์ได้อีก 12 ชนิด เช่น ๑. แอนโทไซยานิน (ดอกอัญชัน) ๒. ไอโซฟลาโวนส์ (ให้สีเหลือง) ๓. คาทีชิน (ในใบชา) ไม่มีสี แต่เมื่อถูก ความ ร้อน หรือกรด จะเป็นสีแดง เป็นสารตั้งต้น ของแทนนิน
  • 67. ประโยชน์ของสารพวกฟลาโวนอยด์ ๑. เป็นสารต้านอนุมูลอิสระ ๒. เป็นฮอร์โมนทดแทน (ชะลอความแก่) ๓. ฆ่าแมลง ต้านจุลชีพ ๔. แก้อักเสบ แก้ปวด (ทาลูกปะคบ) ๕. ต้านเซลล์มะเร็ง ๖. เป็นสารที่ให้สีต่างๆ (สีผสมอาหาร สีย้อม)
  • 68. Akaloids คื อ ส า ร อิ น ท รี ย์ ที่ มี ลั ก ษ ณ ะ เ ป็ น ด่ า ง แ ล ะ มี ไนโตรเจน เป็ นส่วนประกอบ มี รสขม ไม่ละลายน้า แต่ละลายได้ ดีในตัวทาลายอินทรีย์ พบมากใน พืชสมุนไพร แต่ปริมาณสารจะ ต่างกันไปตามฤดูกาล
  • 69. อัลคาลอยด์ ส่วนใหญ่ เป็นสารที่มีคุณสมบัติในทางการแพทย์มีฤทธิ์ทาง เภสัชวิทยาต่อหลายระบบของร่างกาย ตัวอย่างเช่น Quinine ในเปลือกต้นซิงโคนา มีสรรพคุณรักษาโรคมาเลเรีย Reserpine ในรากระย่อม สรรพคุณลดความดันเลือด Morphine ในยางของผลฝิ่ น มีสรรพคุณระงับอาการปวด  Caffeine กระตุ้นระบบประสาท  Cocaine เป็นยาสลบได้ กระตุ้นระบบประสาทอย่างแรงเป็นยาเสพติด  Codeine แก้ปวด และแก้ไอ เสพติดได้  Heroin เป็นอนุพันธุ์ของมอร์ฟีน เป็นยาเสพติดที่มีฤทธิ์สูง  Nicotine เป็นพิษต่อระบบหายใจ เป็นยาฆ่าแมลง สารเสพติด Caffeine Heroin Quinine
  • 70. ในชาดามีสารที่มีชื่อ แทนนิน ซึ่งมีฤทธ์สมานผิวและห้ามเลือด Tannin สารสกัดมังคุด มีฤทธิ์ยับยั้งการ เจริญเติบโตของเชื้อแบคทีเรีย อันเป็ น สาเหตุอาการท้องเสีย สารที่พบมากที่เปลือกคือแทนนินมีฤทธิ์ ฝาดสมาน ช่วยแก้อาการท้องเสีย มีฤทธิ์ฆ่าเชื้อแบคทีเรีย สาเหตุการเกิด หนอง และยังรักษาแผล เป็นสารที่พบในพืชทั่วไป มีรสฝาด มีฤทธิ์เป็นกรดอ่อน และ สามารถตกตะกอนโปรตีนได้ มีฤทธิ์ฝาดสมานและฤทธิ์ฆ่าเชื้อ แบคทีเรีย พบในใบฝรั่ง เนื้อของกล้วยน้าว้าดิบ
  • 71. Tannin  ใบใบชาเป็นสารที่ให้รสฝาด พบในใบชาแห้งประมาณร้อยละ 20- 30 โดยน้าหนัก เมื่อชงชาแล้วทิ้งใบชาค้างไว้ในกานานๆ ทาให้น้าชามี รสขมมากขึ้น  ในโสมเกาหลี มีแทนนินเป็ นสารออกฤทธิ์สาคัญและใช้ประโยชน์ มากที่สุด  พบมาก ในเปลือก ก้าน และเมล็ดของผลไม้ที่มีสีแดง หรือสี เข้ม เช่น องุ่น แอปเปิ้ล บ๊วย และในใบโอ้ค แทนนิน เพิ่มความยืดหยุ่นของกล้ามเนื้อหัวใจ และผนังหลอดเลือด ช่วยบรรเทาอาการท้องเสีย
  • 72. Thai Herb for acne • ชื่อวิทยาศาสตร์ : Excoecaria cochinchinensis • สารสาคัญ : Tannin  Gallic acid • มีผลการวิจัย ของสาร Tannin (Gallic acid)เปรียบเทียบกับคลินดามัยซิน พบว่า สารสกัดที่มีสาร tannin สามารถฆ่าเชื้อ P. acnes ได้ถึง 99.9% ดังนั้น ผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนประกอบหลักเป็น Gallic acid (tannin) สามารถฆ่าเชื้อ P. acnes ที่เป็นสาเหตุหนึ่งของการเกิดสิวได้ Gallic Acid
  • 73. สมุนไพร 80 @กลัยโคไซด์ (Glycosides) • เป็นสารอินทรีย์ที่มี aglycone และ น้าตาลเป็นองค์ประกอบ • มีทั้งประโยชน์และพิษต่อร่างกาย – Cardiac glycosides มีฤทธิ์ต่อกล้ามเนื้อหัวใจและระบบไหลเวียน เลือด เช่น ยี่โถ – Anthraquinone glycosides เป็นยาระบาย ยาฆ่าเชื้อ และสี ย้อม เช่น ใบมะขามแขก ใบขี้เหล็ก ใบชุมเห็ดเทศ ว่านหางจระเข้ – Cyanogenetic glycosides ย่อยแล้วกลายเป็นไซยาไนด์ ซึ่งมี พิษ เช่น รากมันสาปะหลัง
  • 74. สมุนไพร 81 การใช้สมุนไพรให้ถูกต้องควรปฏิบัติดังนี้ 1. ใช้ให้ถูกต้น สมุนไพรมีชื่อพ้องกันมาก หรือบางท้องถิ่นก็เรียกชื่อไม่ เหมือนกัน 2. ใช้ให้ถูกส่วน ส่วนต่างๆของต้นสมุนไพรมีตัวยาไม่เท่ากัน หรือแม้แต่ ส่วนเดียวกัน ต่างระยะเก็บก็มีตัวยาต่างกันด้วย 3. ใช้ให้ถูกขนาด
  • 75. สมุนไพร 82 การใช้สมุนไพรให้ถูกต้องควรปฏิบัติดังนี้ (ต่อ) 4. ใช้ให้ถูกวิธี ตัวยาสมุนไพรบางชนิดสามารถละลายน้า แต่บางชนิดก็ ต้องละลายในแอลกอฮอล์ 5. ใช้ให้ถูกโรค/ อาการ ท้องเสียต้องใช้ยาฆ่าเชื้อ และ / หรือ ยาฝาดสมาน
  • 76. รสยาในคัมภีร์ รสของตัวยา 4, 6, 8, 9 รส 1 รสยา 4 รส – มาจากคัมภีร์ธาตุวิภังค์ 2 รสยา 6 รส – มาจากคัมภีร์วรโยคสาร 3 รสยา 8 รส – มาจากคัมภีร์ธาตุวิวรณ์ 4 รสยา 9 รส – มาจากคัมภีร์สรรพคุณยา รวม รสจืด เป็น 10 รส
  • 77. รสยา ๙ รส - สมุนไพรทุกชนิดและทุกส่วนมีรสยาที่เฉพาะ - รสยาของสมุนไพรมีความสัมพันธ์กับ สรรพคุณ รสยา สรรพคุณ สารสาคัญ
  • 79. เภสัชวิทยาของการแพทย์แผนจีน สี รส อวัยวะเป้ าหมาย ธาตุ เขียว เปรี้ยว ตับ ไม้ น้าตาล ขม หัวใจ ไฟ เหลือง หวาน ม้าม ดิน ขาว เผ็ด ปอด ทอง ดา เค็ม ไต น้า สมุนไพร5สี 5รส
  • 80. ยา 6 รส (ตามคัมภึร์วรโยคสาร) 1. มธุระ รสหวาน ชอบ กับตา เจริญรสธาตุ 2. อัมพิละ รสเปรี้ยว ทาให้ลม ดี เสลด อนุโลมตามซึ่งตน เจริญรสอาหาร กระทาสารพัดดิบให้สุก ถ้าใช้เป็นเกิดคุณ ใช้ไม่เป็นเกิดโทษ 3. กฎุก รสเผ็ดร้อน ทาให้กาลังน้อย ระงับความเกียจคร้าน ระงับพิษมิให้ เจริญ บารุงไฟธาตุ ทาให้อาหารสุก 4. ลวณะ รสเค็ม เผาโทษ เผาเขฬะ ให้เจริญไฟธาตุ 5. ติดติกะ รสขม เจริญไฟธาตุ แก้ร้อนใน แก้กระหายน้า ทาให้มูตรและ คูถบริสุทธิ์เจริญรสอาหาร 6. กาสะวะ รสฝาด เจริญไฟธาตุ เจริญผิวกายและเนื้อ แก้กระหายน้า
  • 81.  รสทั้ง 6 ทาให้เกิดโทษได้ดังนี้ • รสเผ็ด รสขม รสฝาด ทาให้ลมกาเริบ • รสเผ็ด รสเปรี้ยว รสเค็ม ทาให้ดีกาเริบ • รสหวาน รสเปรี้ยว รสเค็ม ทาให้เสลดกาเริบ
  • 82. ตาราง สรุปคุณสมบัติรสทั้งหก กระตุ้นการขับถ่ายชาระล้าง ร่างกาย บารุงไฟธาตุ ช่วย เจริญอาหาร ทาให้เนื้อเยื่ออ่อน นุ่มและผ่อนคลาย เพิ่มกผะและ ปิตตะ ลดวาตะ ร้อน หนัก ชุ่มชื่น ธาตุน้าและไฟเค็ม ทาให้ชุ่มชื่น กระตุ้นการ ขับถ่าย ลดอาการเกร็ง ช่วยเจริญและย่อยอาหาร เพิ่มกผะและ ปิตตะ ลดวาตะ ร้อน หนัก ชุ่มชื่น ธาตุดินและไฟเปรี้ยว หล่อเลี้ยงร่างกายและจิตใจ ดับความหิวกระหาย เพิ่มพูนเนื้อเยื่อ เพิ่มกผะ ลดวาตะและ ปิตตะ เย็น หนัก ชุ่มชื่น ธาตุดินและธาตุ น้า หวาน ผลต่อร่างกายผลต่อตรีโทษ คุณสมบัติประกอบด้วย รส
  • 83. ตาราง สรุปคุณสมบัติรสทั้งหก(ต่อ) สมานแผลและเนื้อเยื่อ ทาให้ เนื้อเยื่อหดตัว ลดความเป็น เมือก ลดกาหนัด เพิ่มวาตะ ลดปิตตะและกผะ เย็น เบา แห้งธาตุไฟและลมฝาด ทาให้เมือกแห้ง ลดไข้ ลดกาหนัด เพิ่มวาตะ ลดปิตตะและกผะ เย็น เบา แห้งธาตุลมและ อากาศธาตุ ขม ทาให้เมือกและเสมหะใน ร่างกายแห้ง บารุงไฟธาตุ เพิ่มปิตตะและ วาตะ ลดกผะ ร้อน เบา แห้ง ธาตุไฟและลมเผ็ดร้อน ผลต่อร่างกายผลต่อตรีโทษ คุณสมบัติประกอบด้วยรส
  • 84. ตาราง สรุปคุณสมบัติรสทั้งหก(ต่อ) สมานแผลและเนื้อเยื่อ ทาให้ เนื้อเยื่อหดตัว ลดความเป็น เมือก ลดกาหนัด เพิ่มวาตะ ลดปิตตะและกผะ เย็น เบา แห้งธาตุไฟและธาตุ ลม ฝาด ทาให้เมือกแห้ง ลดไข้ ลด กาหนัด เพิ่มวาตะ ลดปิตตะและกผะ เย็น เบา แห้งธาตุลมและ อากาศธาตุ ขม ทาให้เมือกและเสมหะใน ร่างกายแห้งบารุงไฟธาตุ เพิ่มปิตตะและวาตะ ลดกผะ ร้อน เบา แห้ง ธาตุไฟและธาตุ ลม เผ็ดร้อน ผลต่อร่างกาย ผลต่อตรีโทษคุณสมบัติประกอบด้วย รส
  • 85. 1. รสฝาด ซาบมังสา 2. รสขม ซาบตามผิวหนัง 3. รสเค็ม ซาบตามเส้นเอ็น 4. รสเผ็ดร้อน ซาบกระดูก 5. รสหวาน ซาบลาไส้ใหญ่ 6. รสเปรี้ยว ซาบลาไส้น้อย 7. รสหอมเย็น ซาบหัวใจ 8. รสมัน ซาบข้อต่อทั้งปวง
  • 87. 1. ยารสฝาด – ชอบสมาน 2. ยารสหวาน – ซึมซาบไปตามเนื้อ 3. ยารสเมาเบื่อ – แก้พิษ 4. ยารสขม – แก้ทางดีและโลหิต 5. ยารสเผ็ดร้อน – แก้ลม 6. ยารสมัน – แก้เส้นเอ็น 7. ยารสหอมเย็น – บารุงหัวใจ 8. ยารสเค็ม – ซึมซาบไปตามผิวหนัง 9. ยารสเปรี้ยว – กัดเสมหะ 10.ในตารา เวชศึกษาจัดรสยาเพิ่มอีก 1 รส คือ ยารสจืด ใช้สาหรับ แก้ ในทางเตโช ขับปัสสาวะ ดับพิษร้อน แก้ไข้
  • 88. ยารสฝาด แก้ในทางสมานแผล แก้ท้องร่วง บิด บารุง ธาตุ ถ้าให้มากเกินไป จะแสลงกับโรคท้องผูก เป็น พรรดึก ยารสหวาน ซึมซาบไปตามเนื้อ ทาให้ชุ่มชื่น บารุงกาลัง แก้อ่อนเพลีย ถ้าใช้มากเกินไป จะแสลงกับโรคเบาหวาน เสมหะเฟื่ อง แสลงบาดแผล ทาให้แผลชื้น
  • 89. รสเมาเบื่อ ใช้แก้พิษสัตว์กัดต่อย พิษดี พิษโลหิต ถ้าใช้มากไปจะแสลงกับโรคหัวใจพิการ รสขม สรรพคุณบารุงโลหิต และดี ถ้าใช้มากไปจะแสลงกับโรคหัวใจพิการ รสเผ็ดร้อน แก้ลมจุกเสียด แน่นเฟ้ อ ขับผายลม บารุงธาตุ ถ้าใช้มากไป จะแสลงกับโรคไข้ที่มีพิษร้อน
  • 90. รสเค็ม ซึมซาบไปตามผิวหนัง รักษาเนื้อไม่ให้เน่า รักษาบาดแผล แก้เถาดานในท้อง ถ้าใช้มากเกินไป จะแสลงกับโรคอุจจาระพิการ รสเปรี้ยว แก้ทางเสมหะ ฟอกโลหิต ระบายอุจจาระธาตุ ถ้าใช้มากเกินไป จะแสลงกับโรคท้องร่วง โรคน้าเหลือง เสีย แสลงบาดแผล
  • 91. รสมัน แก้เส้นเอ็นพิการ บารุงเส้น บารุงไขมัน ให้ความ อบอุ่นแก่ร่างกาย ถ้าให้มากเกินไป จะแสลงกับโรคท้องบิด ดีซ่าน ทาให้เสมหะพิการ รสหอมเย็น บารุงหัวใจ ทาให้สดชื่น บารุงครรภ์รักษา แก้ เสมหะโลหิต แก้อ่อนเพลีย ถ้าใช้มากเกินไป จะแสลงกับโรคในลาใส้
  • 92. สรรพคุณ : สมานบาดแผล แก้บิด ปิดธาตุ คุมธาตุ แก้ ท้องร่วง แก้ท้องเสีย แสลงโรค : ไอ ท้องผูก โรคลม โรคพรรดึก เตโชธาตุพิการ สารเคมีที่มีรสฝาด : แทนนิน ๑ รสฝาด (Astringency)
  • 93. คุณสมบัติของแทนนิน : - ตกตะกอนสารพวกโปรตีน - ยับยั้งการอักเสบ - ยาชาอ่อนๆ - ทาให้ผิวหนังและบาดแผลแห้ง - ฆ่าแบคทีเรีย - แก้แผลไฟไหม้น้าร้อนลวก - แก้ท้องเสีย - การอักเสบของแผลในช่องปาก
  • 94. เปลือก รสฝาด สมานบาดแผล แก้บิด แก้ลาท้อง ล้างแผล มังคุด
  • 96. สรรพคุณ : ซึมซาบไปตามเนื้อ ทาให้เนื้อชุ่มชื้น บารุงกาลัง แก้อ่อนเพลีย แสลงโรค : ฟันผุ เสมหะเฟื่ อง อาเจียน โรคเบาหวาน น้าเหลืองเสีย บาดแผล สารที่ให้รสหวาน : - สารประเภทคาร์โบไฮเดรต - เปปไทด์บางชนิด เช่น thaumalin, monelin มีความ หวานแต่ไม่ให้พลังงาน - สารกลุ่มอื่น ได้แก่ glycyrrhizin เป็นพวก triterpenoid ๒ รสหวาน (Sweetness)
  • 97. เนื้อไม้ รสหวาน แก้โรคในคอ แก้ลม บารุงธาตุ บารุงกาลัง ขับเสมหะ แก้ น้าลายเหนียว ชะเอมไทย ชะเอมเทศ
  • 98. รากสามสิบ: รสหวาน บารุงครรภ์ บารุงธาตุ บารุงกาลัง ขับเสมหะ แก้น้าลายเหนียว
  • 99. สรรพคุณ: แก้พิษดี พิษโลหิต พิษไข้ พิษเสมหะ พิษสัตว์กัดต่อย แสลงโรค : หัวใจพิการ ไอ สมุนไพรที่มีรสเมาเบื่อ : สารพวกแอลคาลอยด์ คุณสมบัติของสารแอลคาลอยด์ มีฤทธิ์หลากหลายเช่น มีฤทธิ์ระงับอาการปวด แก้ปวดท้อง คลายกล้ามเนื้อ แก้หอบหืด เป็นยาพิษ ยาฆ่าแมลง อื่น ๆ ๓ รสเมาเบื่อ (intoxicant taste)
  • 100. เมล็ด รสเมาเบื่อ ขับพยาธิไส้เดือน แก้โรคตานขโมย แก้ฝีตานซาง สะแก
  • 101. ดอก รสเมาเบื่อ แก้หอบหืด ราก รสเมาเบื่อหวาน แก้ไข้พิษ ฝนทาแก้พิษร้อน ดับพิษฝี แก้ปวด บวม ลาโพง
  • 102. สรรพคุณ : แก้ทางโลหิตและดี แก้ไข้เพื่อดีพิการ แก้โลหิตพิการ เจริญอาหาร แก้ไข้ แสลงโรค : หัวใจพิการ โรคลมจุกเสียด แน่นเฟ้ อ สารที่มีรสขม : พบได้ในสารหลายกลุ่มเช่น - แอลคาลอยด์ - สารกลุ่มเทอร์ปีนอยด์ ๔ รสขม (Bitterness)
  • 103. พวกแอลคาลอยด์ ควินิน แก้ไข้มาลาเรีย strychnine จากเมล็ดโกษฐ์กะกลิ้ง ทาให้อาเจียน และชัก แต่ถ้าใช้ปริมาณน้อยๆ จะช่วยกระตุ้นความอยากอาหารและบารุงร่างกาย (tonic)
  • 104. - quassinoids จากต้นประทัดจีน แก้ไข้มาลาเรีย - artemisinin จากต้นโกฐจุฬาลาพา แก้ไข้มาลาเรีย - ganodermic acid จากเห็ดหลินจือ มีฤทธิ์ยับยั้งการหลั่งฮิสตา มีน ลดความดันโลหิต ลดไขมันในเลือด ยับยั้งการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็ง ตับ สารกลุ่มเทอร์ปีนอยด์
  • 105. บอระเพ็ด - ชิงช้าชาลี เถา รสขมเย็น แก้พิษฝีดาษ แก้ไข้เหนือ ไข้พิษ ไข้กาฬ แก้ร้อนในกระหายน้า บารุงน้าดี เจริญอาหาร
  • 106. ลูก รสขม บารุงน้าดี แก้ดีแห้ง ดีฝ่อ ดับพิษโลหิต บารุงมดลูก แก้มดลูก อักเสบ แก้ไข้ กระดอม
  • 107. รสขมเย็น บารุงน้าดี แก้ไข้ แก้กระหายน้า มะระ
  • 108. สรรพคุณ : แก้ลม แก้ลมจุกเสียด แน่นเฟ้ อ ขับผายลม บารุงธาตุ กระจายลม แสลงโรค : ไข้ ตัวร้อน เพ้อคลั่ง สารเคมีที่มีรสเผ็ดร้อน : น้ามันหอมระเหย น้ามันหอมระเหยจะมีฤทธิ์ : - แก้ท้องอืด ท้องเฟ้ อ - แก้อักเสบ - ฆ่าเชื้อโรค - ลดหรือกระตุ้นการหลั่งน้าย่อย - แก้ปวดกล้ามเนื้อ ๕ รสเผ็ดร้อน (Spiciness)
  • 109. กลุ่มอัลคาลอยด์ capsaicin จากพริก piperine จากพริกไทย สารกลุ่ม phenylpropanoids cinnamic acid, eugenol สารที่มีซัลเฟอร์ในโมเลกุล allicin ในหัวกระเทียม
  • 112. จันทน์เทศ (Nutmeg tree) (Myristica fragrans Linn.) วงศ์ MYRISTICACEAE
  • 113. หุ้มเมล็ด (ดอกจันทน์) รสเผ็ดร้อน บารุงโลหิต บารุงธาตุ ขับลม เมล็ด (ลูกจันทน์) รสหอมร้อน บารุงกาลัง บารุงธาตุ แก้ธาตุพิการ ขับลม แก้ปวดมดลูก แก้ท้องร่วง บารุงโลหิต ลูกจันทน์ ดอกจันทน์
  • 114. กระวาน รสเผ็ดร้อน กระจายเสมหะ โลหิต ลม แก้ปวดท้อง แก้จุกเสียด ขับลมในท้อง
  • 115. สรรพคุณ: แก้เส้นเอ็นพิการ บารุงเส้นเอ็น เพิ่มไขมัน ให้ความอบอุ่นแก่ ร่างกาย แสลงโรค : เสมหะพิการ เช่น ไอ หอบ และไข้ต่างๆ ร้อนใน กระหายน้า สารเคมีที่มีรสมัน : สารกลุ่มไขมันและอนุพันธ์ของไขมัน ๖ รสมัน (Fat)
  • 116. ให้พลังงานแก่ร่างกาย ฤทธิ์ของสารกลุ่มไขมันและอนุพันธ์ของไขมัน ลดโคเลสเตอรอลในเลือด ได้แก่ oleic acid eicosapentaenoic acid (EPA), decosahexaenoec acid (DHA), linolenic acid ควบคุมระดับโคเลสเตอรอล เช่น lecithin ซึ่งเป็นสารประเภท phospholipid จากน้ามันถั่วเหลือง ก็มีฤทธิ์
  • 117. แห้วหมู หัว รสมัน บารุงกาลัง บารุงครรภ์ บารุงธาตุ เป็นยาอายุวัฒนะ
  • 118. สรรพคุณ : ทาให้ชื่นใจ บารุงหัวใจ บารุงครรภ์รักษา แสลงโรค : ลมจุกเสียดแน่น ลมป่วง สารเคมีที่มีรสหอมเย็น : น้ามันหอมระเหย ๗ รสหอมเย็น (Savouriness)
  • 119. สารกลุ่มอัลคาลอยด์ ที่มีกลิ่นหอม ได้แก่ muscopyridine จากชะมดเชียง น้ามันหอมระเหย ในกลุ่มเทอร์ปีนอยด์ - ได้แก่ menthol, geraniol, farnesol - มีฤทธิ์ช่วยในการนอนหลับ สงบระงับ บรรเทาอาการผิดปกติทางกายที่มี สาเหตุมาจากจิตใจ ลดอาการประสาท
  • 121. ใบ รสหวานเย็นหอม บารุงหัวใจ ดับพิษไข้ ชูกาลัง เตยหอม (Pandanus amaryllifolius Roxb.) วงศ์ PANDANACEAE
  • 122. สรรพคุณ : ซาบไปตามผิวหนัง แก้โรคผิวหนังบางชนิด ป้ องกันไม่ให้เนื้อเน่า แสลงโรค : อุจจาระธาตุพิการ โรคบิดมูกเลือด กระเพาะอาหารเป็นแผล สารเคมีที่มีรสเค็ม : พวกเกลือต่างๆ เช่น sodium chloride, potassium chloride ๘ รสเค็ม (Saltiness) - ทาหน้าที่เป็นตัวรักษาสมดุลย์ของเกลือแร่ของระบบต่างๆ ในร่างกาย - ขับปัสสาวะ เช่น แสมทะเล เหงือกปลาหมอ
  • 123. สรรพคุณ : กัดเสมหะ ฟอกโลหิต ระบายอุจจาระธาตุ แสลงโรค : น้าเหลืองเสีย ท้องเสีย และไข้ต่างๆ สารเคมีที่มีรสเปรี้ยว : สารพวกกรดต่างๆ ได้แก่ citric acid ๙ รสเปรี้ยว (Sourness)
  • 124. - กระตุ้นให้มีการขับน้าลายทาให้ชุ่มคอ จึงลดอาการไอ - มีฤทธิ์เป็นยาระบาย เช่น tartaric acid - ยับยั้งการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ก่อโรคในร่างกาย เช่น lactic acid จากนมเปรี้ยว แก้ท้องเสีย และเพิ่มภูมิต้านทานโรค ให้แก่ร่างกาย - วิตามินซี มีฤทธิ์ต้านโรคลักปิดลักเปิด และมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ ฤทธิ์ของยารสเปรี้ยว
  • 126. สรรพคุณ : แก้ในทางเตโชธาตุ เสมหะ และปัสสาวะ แสลงโรค : ไม่แสลงกับโรคใด สารเคมีที่มีรสจืด : พวก polysaccharide เช่น pectin, glucomannan, cellulose ๑๐ รสจืด (Tasteless) เช่นผักกาดน้า รากหญ้าคา ไหมข้าวโพด
  • 127. polysaccharide เช่น pectin, glucomannan, cellulose มีคุณสมบัติดูดน้าเข้าตัว กระตุ้นลาไส้ให้เคลื่อนไหว ทาให้เกิดการขับถ่าย ลดโคเลสเตอรอล
  • 128. ขลู่ ต้น รสจืด แก้กษัยกล่อน แก้ปัสสาวะพิการ แก้นิ่ว
  • 130. สมุนไพร 137 การจาแนกสมุนไพรเพื่อการรักษา แบ่งตามกลุ่มโรค / อาการ (สนง.คณะกก.สาธารณสุขมูลฐาน , 2541) ๑. กลุ่มโรคและอาการในระบบทางเดินอาหาร ๒. กลุ่มโรคและอาการในระบบทางเดินหายใจ ๓. กลุ่มโรคและอาการในระบบทางเดินปัสสาวะ ๔. กลุ่มโรคผิวหนัง ๕. กลุ่มโรค / อาการอื่นๆ
  • 131. สมุนไพร 138 สมุนไพรรักษากลุ่มโรค/ อาการในระบบทางเดินอาหาร 1. โรคกระเพาะอาหาร : ขมิ้นชัน กล้วยน้าว้า 2. อาการท้องอืด ท้องเฟ้ อ แน่นจุกเสียด : ขมิ้น ขิง กานพลู กระเทียม กะเพรา ตะไคร้ พริกไทย ดีปลี ข่า กระชาย แห้วหมู กระวาน เร่ว มะนาว กระทือ 3. อาการท้องผูก : ชุมเห็ดเทศ มะขาม มะขามแขก แมงลัก ขี้เหล็ก คูน 4. อาการท้องเสีย : ฝรั่ง ฟ้ าทะลายโจร กล้วยน้าว้า ทับทิม มังคุด สีเสียดเหนือ
  • 132. สมุนไพร 139 สมุนไพรรักษากลุ่มโรค/ อาการในระบบทางเดินอาหาร 5. อาการคลื่นไส้ อาเจียน : ขิง ยอ 6. โรคพยาธิลาไส้ : มะเกลือ เล็บมือนาง มะหาด ฟักทอง 7. อาการปวดฟัน : แก้ว ข่อย ผักคราดหัวแหวน 8. อาการเบื่ออาหาร : บอระเพ็ด ขี้เหล็ก มะระ สะเดา บ้าน
  • 133. สมุนไพร 140 สมุนไพรรักษากลุ่มโรค/ อาการในระบบทางเดินหายใจ 1. อาการไอและระคายคอจากเสมหะ : ขิง ดีปลี เพกา มะขามป้ อม มะขาม มะนาว มะแว้งเครือ มะแว้งต้น สมุนไพรรักษากลุ่มโรค/ อาการในระบบทางเดินปัสสาวะ 1. อาการขัดเบา : กระเจี๊ยบแดง ขลู่ ตะไคร้ สับปะรด หญ้าคา อ้อยแดง
  • 134. สมุนไพร 141 สมุนไพรรักษากลุ่มโรค/ อาการในกลุ่มโรคผิวหนัง 1. อาการกลากเกลื้อน : กระเทียม ข่า ชุมเห็ดเทศ ทองพันชั่ง พลู 2. ชันนะตุ : มะคาดีควาย 3. แผลไฟไหม้ น้าร้อนลวก : บัวบก น้ามันมะพร้าว ว่านหางจระเข้ 4. ฝี แผลพุพอง : ขมิ้น ชุมเห็ดเทศ เทียนบ้าน ว่านหาง จระเข้ ว่านมหากาฬ ฟ้ าทะลายโจร
  • 135. สมุนไพร 142 สมุนไพรรักษากลุ่มโรค/ อาการในกลุ่มโรคผิวหนัง 5. อาการแพ้ อักเสบจากแมลงสัตว์กัดต่อย : ขมิ้นชัน ตาลึง ผักบุ้งทะเล พญายอ เสลดพังพอน 6. อาการลมพิษ : พลู 7. อาการงู สวัด เริม: พญายอ สมุนไพรรักษากลุ่มโรค/ อาการในกลุ่มโรคอื่นๆ 1. อาการเคล็ด ขัด ยอก : ไพล 2. อาการนอนไม่หลับ : ขี้เหล็ก 3. โรคเหา : น้อยหน่า
  • 136. ปรัชญา หลักการ ของยาแผนไทย • ยาจากสมุนไพร - ส่วนใหญ่อยู่ในลักษณะเป็น “ ยาตารับ ” มีส่วนประกอบของสมุนไพร หลายชนิดมากกว่าการใช้สมุนไพรชนิดเดียว - เพื่อปรับ ระงับ หรือบารุงธาตุ ( ทั้งสี่ ) บารุงโลหิต เจริญอาหาร ช่วย ให้ชุ่มชื่นใจ ระบายท้อง และช่วยทาให้นอนหลับสบาย • จุดที่ดี คือ รักษาอาการที่ต้องการร่วมกับเสริมให้ร่างกายปรับเข้าสู่ภาวะ ปกติ • จุดด้อย คือ ยังไม่มีการพิสูจน์เชิงวิทยาศาสตร์ การรักษาช้า ไม่ค่อยทันใจ
  • 137. Principle of Herbal Medicine Formulation ทฤษฎีการตั้งตารับยาสมุนไพร ๑. ยาหัวหน้า Leader Group : provide major action ๒. ยาช่วยฤทธิ์ Assistant Group : provide supporting action ๓. ยาคุมพิษ Detoxified Group : control any possible toxicity ๔. ยานาทาง Carrier Group : provide target along meridian channels
  • 141. ๑. โกศสอ , โกศเขมา , โกศจุฬาลัมพา ๒. แก่นจันทน์ขาว , แก่นจันทน์แดง ๓. ลูกกระดอม ๔. เถาบอระเพ็ด ๕. รากปลาไหลเผือก ๖. พิมเสน ๗. เลือกใช้ใน influenza,dengue fever, DHF, viral enxantheme fever, fever in malignancy and HIV etc. จันทน์ลีลา
  • 142. พิกัดเนาวโกฐ โกฐสอ โกฐเขมา โกฐหัวบัว โกฐเชียง โกฐจุฬาลัมพา โกฐก้านพร้าว โกฐกระดูก โกฐพุงปลา โกฐชฎามังสี สรรพคุณ แก้ไข้จับ ไข้เรื้อรัง แก้หืด แก้ไอ กระจายลมทั้งปวง บารุงโลหิต แก้บิดมูกเลือด แก้หอบสะอึก
  • 143. พิกัดตรีชาต ดอกจันทน์ ลูกกระวาน อบเชย สรรพคุณ แก้ธาตุพิการ แก้ลมเสมหะ บารุง ดวงจิต
  • 144. พิกัดจันทน์ทั้ง 5 แก่นจันทน์แดง แก่นจันทน์ขาว แก่นจันทน์เทศ แก่นจันทน์ชะมด แก่นจันทนา สรรพคุณ แก้ไข้เพื่อดีและโลหิต แก้ร้อนในกระหายน้า แก้ ลมวิงเวียน แก้คลื่นเหียนอาเจียน บารุงตับ และ ปอด
  • 145. พิกัดเบญจกูล ดอกดีปลี รากช้าพลู เถาสะค้าน ราก เจตมูลเพลิงแดง เหง้าขิงแห้ง สรรพคุณ กระจายกองลมและโลหิต แก้คูถเสมหะ แก้ลมพานไส้ บารุงกองธาตุทั้ง 4 ให้บริบูรณ์
  • 146. พิกัดตรีผลา ลูกสมอไทย ลูกสมอพิเภก ลูกมะขามป้ อม สรรพคุณ แก้ปิตตะ แก้วาตะ เสมหะในกองธาตุ ฤดู อายุ และสมุฏฐาน แก้โลหิต แก้น้าดี
  • 147. ยาหอมนวโกฐ ข้อบ่งใช้ แก้ลมวิงเวียน คลื่นเหียน อาเจียน ( ลมจุกแน่นในอก ) ใน ผู้สูงอายุ แก้ลมปลายไข้ ( หลังจากฟื้นไข้แล้วยังมีอาการเช่น คลื่นเหียน วิงเวียน เบื่ออาหาร ท้องอืด อ่อนเพลีย )
  • 148. ยาสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาติ 71 ITEMS. • กลุ่ม 1 ยาแผนไทย/ยาแผนโบราณ 50 รายการ 8 กลุ่มโรค • กลุ่ม 2 ยาพัฒนาจากสมุนไพร 21 รายการ 8 กลุ่มโรค
  • 149. กลุ่มที่ ๑ ยาแผนไทยหรือยาแผนโบราณ ๕๐ รายการ ๑.๑ ยารักษากลุ่มอาการทางระบบไหลเวียนโลหิต (แก้ลม) ๕ รายการ (๑) ยาหอมทิพโอสถ ยาเม็ด (๒) ยาหอมเทพจิตร ยาเม็ด (๓) ยาหอมนวโกฐ ยาเม็ด (๔) ยาหอมแก้ลมวิงเวียน ยาเม็ด (๕) ยาหอมอินทจักร์ ยาเม็ด
  • 150. ๑.๒ ยารักษากลุ่มอาการทางระบบทางเดินอาหาร ๑.๒.๑ กลุ่มยาขับลม บรรเทาอาการท้องอืด ทองเฟ้ อ๑๐ รายการ (๑) ยาธาตุบรรจบ ยาแคปซูล พิษ ac chr หนูขาว (๒) ยาธาตุอบเชย ยาน้า (๓) ยาเบญจกูล ยาแคปซูล (๔) ยาประสะกะเพรา ยาเม็ด (๕) ยาประสะกานพลู ยาแคปซูล
  • 151. (๖) ยาประสะเจตพังคี แคปซูล (๗) ยามันทธาตุ ยาเม็ด (๘) ยามหาจักรใหญ่ ยาเม็ด (๙) ยาวิสัมพยาใหญ่ ยาผง (๑๐) ยาอภัยสาลี ยาเม็ด
  • 152. ๑.๒.๔ กลุ่มยาบรรเทาริดสีดวงทวารหนัก ๒ รายการ (๑) ยาผสมเพชรสังฆาต แคปซูล วิจัย = daflon (๒) ยาริดสีดวงมหากาฬ ยาเม็ด
  • 153. ๑.๒.๒ กลุ่มยาบรรเทาอาการท้องผูก (๑) ยาถ่ายดีเกลือฝรั่ง (๒) ยาธรณีสันฑะฆาต ๑.๒.๓ กลุ่มยาบรรเทาอาการท้องเสีย (๑) ยาธาตุบรรจบ (๒) ยาเหลืองปิดสมุทร
  • 154. ๑.๒.๔ กลุ่มยาบรรเทาริดสีดวงทวารหนัก ๒ รายการ (๑) ยาผสมเพชรสังฆาต แคปซูล (๒) ยาริดสีดวงมหากาฬ ยาเม็ด
  • 155. ๑.๓ ยารักษากลุ่มอาการทางสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา ๖ รายการ (๑) ยาประสะไพล แคปซูล ๕ (๒) ยาปลูกไฟธาตุ แคปซูล (๓) ยาไฟประลัยกัลป์ แคปซูล (๔) ยาไฟห้ากอง แคปซูล (๕) ยาเลือดงาม แคปซูล (๖) ยาสตรีหลังคลอด ยาต้ม
  • 156. ๑.๔ ยาแก้ไข้ ๖ รายการ (๑) ยาเขียวหอม เม็ด (๒) ยาจันทน์ลีลา แคปซูล (๓) ยาประสะจันทน์แดง แคปซูล (๔) ยาประสะเปราะใหญ่ ยาเม็ด (๕) ยามหานิลแท่งทอง เม็ด (๖) ยาห้าราก แคปซูล
  • 157. ๑.๕ ยารักษากลุ่มอาการของระบบทางเดินหายใจ ๘ รายการ (๑) ยาแก้ไอผสมกานพลู ลูกกลอน (๒) ยาแก้ไอผสมมะขามป้อม น้า (๓) ยาแก้ไอผสมมะนาวดอง ลูกกลอน (๔) ยาแก้ไอพื้นบ้านอีสาน น้า (๕) ยาตรีผลา เม็ด (๖) ยาประสะมะแว้ง เม็ด (๗) ยาปราบชมพูทวีป แคปซูล (๘) ยาอามฤควาที ลูกกลอน
  • 159. ๑.๗ ยารักษากลุ่มอาการทางกล้ามเนื้อและกระดูก ๘ รายการ ๑) ยาสาหรับรับประทาน ๑ ยากษัยเส้น ลูกกลอน ๒ ยาแก้ลมอัมพฤกษ์ ผง ๓ ยาธรณีสันฑะฆาต แคปซูล ๔ ยาผสมโคคลาน ต้ม ชง ๕ ยาผสมเถาวัลย์เปรียง ลูกกลอน ๖ ยาสหัศธารา แคปซูล
  • 161. ๑.๘ ยาบารุงธาตุ ปรับธาตุ ๑ ยาตรีเกสรมาศ ๒ ยาตรีพิกัด ๓ ยาเบญจกูล ๔ ยาปลูกไฟธาตุ
  • 162. กลุ่มที่ ๒ ยาพัฒนาจากสมุนไพร ๒๑ รายการ ๒.๑ ยารักษากลุ่มอาการของระบบทางเดินอาหาร๖ รายการ (๑) ยากล้วย ยาผง (๒) ยาขมิ้นชัน แคปซูล dyspepsia = flatulace P.U. = Triple therapy ป้องกันยุง รักษาสิว ข้อเข่าเสื่อม OA = Ibuprofen
  • 163. (๓) ยาขิง แคปซูล (๔) ยาชุมเห็ดเทศ ยาชง ระบาย = Mist alba ใบสกัดรักษา กลากเกลื้อน (๕) ยาฟ้าทะลายโจรแคปซูล ไข้หวัด = Paracetamol ฟ้าทะลายโจร+Paracetamol ดีกว่า Paracetamol อย่างเดียว อุจจาระร่วง ดี (๖) ยามะขามแขก แคปซูล
  • 164. ๒.๓ ยารักษากลุ่มอาการทางระบบผิวหนัง ๕ รายการ (๑) ยาทิงเจอร์ทองพันชั่ง ทิงเจอร์ (๒) ยาทิงเจอร์พลู ทิงเจอร์ (๓) ยาบัวบก ยาครีม (๔) ยาเปลือกมังคุด ยาน้าใส (๕) ยาพญายอ ยาครีม
  • 166. ๒.๓ ยารักษากลุ่มอาการทางระบบผิวหนัง –๑ ยาทิงเจอร์ทองพันชั่ง ทิงเจอร์ –๒ ยาทิงเจอร์พลู ทิงเจอร์ –๓ ยาบัวบก ครีม –๔ ยาเปลือกมังคุด ยาน้าใส – ๕ ยาพญายอ ครีม Herpes virus = Acyclovir
  • 167. ๒.๔ ยารักษากลุ่มอาการทางกล้ามเนื้อและกระดูก ๑) ยาสาหรับรับประทาน ยาเถาวัลย์เปรียง ๒) ยาสาหรับใช้ภายนอก ๑ ยาพริก ยาเจล ๒ ยาครีมไพล ครีม ไพล ดีมากกว่า หลอก ๓ ยาน้ามันไพล น้ามัน