SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
ธุรกิจอัญมณีและเครื่องประดับ : เสนทางสูอนาคตดวย CBL
บรรดาเครื่องประดับทองและเพชรหรือในภาษธุรกิจเรียกกันวา ธุรกิจอัญมณีและ
เครื่องประดับเปนสินคาที่ผูคนหากมีเงินเหลือใชหรือตองการแสดงฐานะ “ทองและเพชร” จะเปนสิ่งที่ทกคน
ุ
นึกถึงทันที
ยิ่งในภาวะปจจุบันราคาทองดิ่งลงมาจนเรียกไดวาถูก คืออยูในประมาณบาทละ 18,000
บาท(บวก/ลบ) แตเวลาไปซือก็ใชวาจะถูกเสียทีเดียว เพราะรานคาก็บวกโนนบวกนี่รวมแลวก็ใกลๆ
้
20,000 บาท (ทั้งทองรูปพรรณและทองแทง) สวนความบริสุทธิ์ก็เปนเรื่องของความเชื่อถือที่ผูซื้อตองชั่งใจ
เอาเอง
 แนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับ

ตามแผนแมบทการพัฒนาอุตสาหกรรมไทย พ.ศ.2555- 2574 สําหรับอุตสาหกรรมอัญ
มณีและเครื่องประดับในอนาคตมีทิศทางและเปาหมาย เชน
 การเปน “ศูนยอัญมณีและเครื่องประดับโลกภายในป พ.ศ.2557”
 เนนการพัฒนาสินคาระดับกลางถึงระดับบนที่ใหความสําคัญกับการใชความประณีต
และมีเอกลักษณเฉพาะตัว
 สงเสริมและประชาสัมพันธใหผูผลิตสินคาอัญมณีและเครื่องประดับขนาดใหญมาตัง
้
ฐานการผลิตในประเทศไทย
 ไทยจะมีตราสินคาที่เปนเอกลักษณของประเทศ
 พัฒนาใหเปนผูที่สามารถออกแบบสินคาใหมีเอกลักษณเฉพาะตัวและสามารถกําหนด
แนวโนมการเปลี่ยนแปลงของแฟชันได
่
 มีโครงสรางพืนฐานดานตางๆ เชน ระบบภาษีศุลกากรและระบบโลจิสติกสที่สามารถ
้
รองรับการเปนแหลงสินคาเสรีอัญมณีและเครื่องประกับไดในอนาคต
ขณะเดียวกันในการศึกษาเมือเดือน กรกฎาคม ของนักศึกษาสถาบันพระปกเกลา
่
หลักสูตรประกาศนียบัตรการบริหารสําหรับนักบริหารระดับกลางของกระทรวงอุตสาหกรรม รุนที่ 25-26 ป
ธุรกิจอัญมณีและเครื่องประดับ : เสนทางสูอนาคตดวยCBL
 

ดร.ดนัย เทียนพุฒ : สงวนลิขสิทธิ์ 2556

                      
พ.ศ.2556 กลุมที่ 7 ไดสัมภาษณผูประกอบการในอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับ ตาม แรงผลัก 5

ประการ (5 Forces Model) พบวา
สภาพการแขงขันในปจจุบัน
แรงผลักดันจากคูแขงในอุตสาหกรรม
- ภาวการณแขงขันรุนแรงเนืองจากกําลังซือในตลาดโลกลดลง จึงตองปรับตัวโดยการลดตนทุน
่
้
และหันไปแขงในตลาดสินคาระดับคุณภาพมากกวาการแขงขันดานราคา ซึงคูแขงทีสําคัญไดแก
่
่
จีน อินเดียและศรีลังกา
- ผูประกอบการไทยขาดเงินทุนในการทําตลาดและการสรางแบรนดสนคาของตัวเอง
ิ
- ศักยภาพในการแขงขันมีความแตกตางกันสูงระหวางธุรกิจขนาดใหญกับขนาดเล็ก
- การสนับสนุนจากภาครัฐในการวิจยและพัฒนาดานเทคโนโลยีการผลิตใหมๆ การออกแบบ
ั
การตลาดและการพัฒนาบุคลากรยังมีนอยในขณะที่คูแขงมีการสงเสริมอยางจริงจัง
- สินคาในระดับเดียวกันไทยไดเปรียบเรื่องคุณภาพฝมือแรงงาน
อํานาจตอรองของผูจําหนายปจจัยการผลิต
- ตองพึ่งพาการนําเขาวัตถุจาพวกพลอย ขณะที่เพชรซึ่งคุมตลาดโดย De Beers และโลหะมีคาซึง
ํ
่
ตองใชมาตรฐานเดียวกันทั่วโลกประเทศคูแขงตองนําเขาเชนเดียวกัน

- ผูประกอบการไทยสวนใหญมีความรูและภูมิปญญา มีความชํานาญและประสบการณสูงดานการ
เพิ่มมูลคาของพลอยดวยการเผาและชางเจียระไนพลอยมีความสามารถในการเจียระไน
- ผูประกอบการไทยมีศักยภาพในการแสวงหาวัตถุดิบประเภทอัญมณีในตางประเทศเพื่อจัดปอน
ตลาดในประเทศ

อํานาจตอรองของผูซื้อ/ลูกคา
- การผลิตโดยสวนใหญเปนการผลิตตามคําสั่งซื้อ (OEM) เพราะฉะนันผูซื้อมีอํานาจตอรองเปนผู
้ 
กําหนดทิศทางแฟชัน ซึ่งอาจไมเลือกซื้อจากไทยถาผลิตไมไดตามแบบ ไมทนตามกําหนด ไมได
่
ั
คุณภาพที่ตองการหรือสินคามีราคาสูงขึน
้
- ไทยเปนศูนยกลางการคาอัญมณีของโลก

ธุรกิจอัญมณีและเครื่องประดับ : เสนทางสูอนาคตดวยCBL
 

ดร.ดนัย เทียนพุฒ : สงวนลิขสิทธิ์ 2556

                      
 CBL ของทองกับธีมทําอยางไรแพรนดาจึงกาวสูความเปน “The Architecture of

Craftsmanship”
คราวกอนไดเลาเรื่องราวที่ผเู ขียนเขาไปเกียวของโดยการเปนผูนาสัมมนา “Vision 10 ป
่
ํ
ของฐานการผลิตแพรนดา” โดยมุงที่ธมหลัก...ทําอยางไรจึงกาวสูความเปน “The Architecture of
ี
Craftsmanship” หรือ “ศิลปะแหงสยาม”
ผูเขียนนํา “การเรียนรูบนความทาทาย (CBL: Challenge based Learning)” มาเปน
วิธีการคิดไอเดียใหมตามธีมหลักขางตน ซี่งมีลาดับดังนี้
ํ
(1) ไอเดียที่ยิ่งใหญ (Big Idea): เราจะใหความหมาย The Architecture of Craftsmanship ในการปฏิบัติงานอยางไร?
รูปที่ 1 การเริมตนดวย Big Idea ในวิธีการของ CBL
่

ธุรกิจอัญมณีและเครื่องประดับ : เสนทางสูอนาคตดวยCBL
 

ดร.ดนัย เทียนพุฒ : สงวนลิขสิทธิ์ 2556

                      
 
 

 

วิธีการของ CBL คือ Big Idea นั้นเปนความคิดที่ยงใหญโดยกําหนดเปน ความคิดหลัก
ิ่

ของตรงกลางในแผนที่ความคิด (Mind Map)
ตัวอยาง Bid Idea ที่ไดจากการระดมความคิด

ในการนําเสนอสวนนี้สามารถสรุปไดถึงแนวคิดของผูบริหารในลักษณะของ 1)
ความหมายของ Craftsmanship 2) ความหมายในการปฏิบัติงาน และ 3) บทบาทของบริษทในการเปน
ั
“The Architecture of Craftsmanship”
(2) คําถามสําคัญ จากความหมายที่ไดขางตน เรามีคําถามอะไรที่เกี่ยวกับการพัฒนา
แพรนดาใหกาวสูความเปน “The Architecture of Craftsmanship”

ธุรกิจอัญมณีและเครื่องประดับ : เสนทางสูอนาคตดวยCBL
 

ดร.ดนัย เทียนพุฒ : สงวนลิขสิทธิ์ 2556

                      
 

 

ตัวอยางที่ 1 คําถามสําคัญ
 ทําอยางไรจึงจะสรางความภาคภูมิใจใหเกิดขึ้นกับบุคลากร
 จะใชเครื่องมืออะไรที่จะพัฒนาบุคลากร
 ทําอยางไรทีจะรักษาพนักงานใหอยูกับองคกร
่

 มีวิธีการอยางไรใหบุคลากรในแพรนดามีความเปนครอบครัวเดียวกันจากรุนสูรน
ุ
 ทําอยางไรใหคูคา ลูกคาเชือมั่นในแพรนดา
่
ตัวอยางที่ 2 จากการคิดไอเดียของผูบริหาร เชน
 ทําอยางไรใหพนักงานมี DNA เปน Craftsmanship
 ทําอยางไรใหพนักงานทํางานดวยใจ
 ทําอยางไรใหพนักงานมีความสุข ความภาคภูมิใจในงานทีทํา
่
 ทําอยางไรใหบุคคลทั่วไปรับรูวาเราเปน Craftsmanship
(3) ความทาทายคืออะไร
“กระบวนการพัฒนาและสรางความเปน “Craftsmanship”
ตัวอยางเชน
 ดานคนจะสรรหาและรักษาอยางไร
 ใหเกิดการรับรู (Perception) ในอุตสาหกรรมจิวเวลรี่
 การปรับตัว (Flexibility) ตอการเปลี่ยนแปลง
 การสื่อสาร Craftsmanship ไปยังหุนสวนธุรกิจ
(4) โซลูชั่น-การปฏิบัติ ประกอบดวยแนวทางดําเนินกิจกรรม แนวทางใชทรัพยากรและ
การวัดความเขาใจพรอมความภาคภูมิใจอะไรที่อยากเผยแพร
ธุรกิจอัญมณีและเครื่องประดับ : เสนทางสูอนาคตดวยCBL
 

ดร.ดนัย เทียนพุฒ : สงวนลิขสิทธิ์ 2556

                      
ตัวอยาง โซลูชั่น-การปฏิบัติ
โซลูชั่น
1) Job Expectation
2) Career Path
3) Quality Control ใน
กระบวนการทํางาน

แนวทางดําเนินกิจกรรม
เลือกบุคลากรใหตรงกับ
ความสามารถในงาน
มีแผนงานดานการเติบโตใน
สายอาชีพ
การทํา ISO เพื่อควบคุม
คุณภาพทุกขั้นตอน

แนวทางการใชทรัพยากร
การวัดความสําเร็จ
มีการตรวจสอบประวัติ
อัตราการลาออกที่ต่ําลง
ทดสอบความสามารถ
การฝกอบรมและการพัฒนา อัตราการลาออกที่ต่ําลง
ฝมือ
มีการอบรมสรางความ
วัดความพึงพอใจของลูกคา
เขาใจ ปลูกจิตสํานึกวาไมใช
เปนหนาที่ (แตเปนวินัยแหง
คุณภาพ)

โดยสรุปแลว ธุรกิจอัญมณีและเครื่องประดับที่ไดนําเสนอทิศทางของแผนการพัฒนา
อุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับ กับการวิเคราะหสภาพการแขงขันของอุตสาหกรรมฯ ดวย Five
Forces Model จะพบวา มีสภาพการแขงขันที่สงและอุตสาหกรรมนี้ตองปรับตัวอยางมาก เมือผูเขียน
ู
่
เสนอแนวทางการปรับตัวสําหรับการรองรับการเติบโตในอนาคตจากกลุมบริษัทแพรนดาดวยวิธีการเรียนรู
บนความทาทาย (CBL) พรอมตัวอยางการปรับตัวกาวสูการเปน The Architecture of Craftsmanship

ของแพรนดา (เปนตัวอยางเพื่อการศึกษา)
นาจะเปนตัวอยางที่ควรแกการศึกษาและประยุกตใชเปนอยางยิ่งสําหรับผูบริหารธุรกิจ
และผูที่สนใจในการเปลียนแปลงธุรกิจใหรองรับการแขงขันสูอนาคต
่

ธุรกิจอัญมณีและเครื่องประดับ : เสนทางสูอนาคตดวยCBL
 

ดร.ดนัย เทียนพุฒ : สงวนลิขสิทธิ์ 2556

                      

More Related Content

More from DrDanai Thienphut

บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยังบทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
DrDanai Thienphut
 

More from DrDanai Thienphut (20)

Postgraduate education @ sju PhD 27 08-17
Postgraduate education @ sju  PhD 27 08-17Postgraduate education @ sju  PhD 27 08-17
Postgraduate education @ sju PhD 27 08-17
 
Minimum wage 2018
Minimum wage 2018Minimum wage 2018
Minimum wage 2018
 
SMEs upscaling
SMEs upscaling SMEs upscaling
SMEs upscaling
 
Study trip at Angor Wat
Study trip at Angor WatStudy trip at Angor Wat
Study trip at Angor Wat
 
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
 
Result based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
Result based HRM ฺ : Dr.Danai ThienphutResult based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
Result based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
 
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยังบทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
 
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชนท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
 
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง  กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
 
Transformative HR 2016
Transformative HR 2016 Transformative HR 2016
Transformative HR 2016
 
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy) กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
 
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ 2559
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ  2559โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ  2559
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ 2559
 
Teaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategyTeaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategy
 
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธบทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
 
Inter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
Inter Human Capital Management Seminar PhD. AssignmentInter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
Inter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
 
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
 
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58 คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
 
Charismatic marketing 2
Charismatic marketing 2Charismatic marketing 2
Charismatic marketing 2
 
Charismatic marketing tzu chi
Charismatic marketing tzu chiCharismatic marketing tzu chi
Charismatic marketing tzu chi
 
CEL module 3- CG
CEL module 3- CGCEL module 3- CG
CEL module 3- CG
 

ธุรกิจอัญมณีและเครื่องประดับ ..เส้นทางสู่อนาคตด้วย CBL

  • 1. ธุรกิจอัญมณีและเครื่องประดับ : เสนทางสูอนาคตดวย CBL บรรดาเครื่องประดับทองและเพชรหรือในภาษธุรกิจเรียกกันวา ธุรกิจอัญมณีและ เครื่องประดับเปนสินคาที่ผูคนหากมีเงินเหลือใชหรือตองการแสดงฐานะ “ทองและเพชร” จะเปนสิ่งที่ทกคน ุ นึกถึงทันที ยิ่งในภาวะปจจุบันราคาทองดิ่งลงมาจนเรียกไดวาถูก คืออยูในประมาณบาทละ 18,000 บาท(บวก/ลบ) แตเวลาไปซือก็ใชวาจะถูกเสียทีเดียว เพราะรานคาก็บวกโนนบวกนี่รวมแลวก็ใกลๆ ้ 20,000 บาท (ทั้งทองรูปพรรณและทองแทง) สวนความบริสุทธิ์ก็เปนเรื่องของความเชื่อถือที่ผูซื้อตองชั่งใจ เอาเอง  แนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับ ตามแผนแมบทการพัฒนาอุตสาหกรรมไทย พ.ศ.2555- 2574 สําหรับอุตสาหกรรมอัญ มณีและเครื่องประดับในอนาคตมีทิศทางและเปาหมาย เชน  การเปน “ศูนยอัญมณีและเครื่องประดับโลกภายในป พ.ศ.2557”  เนนการพัฒนาสินคาระดับกลางถึงระดับบนที่ใหความสําคัญกับการใชความประณีต และมีเอกลักษณเฉพาะตัว  สงเสริมและประชาสัมพันธใหผูผลิตสินคาอัญมณีและเครื่องประดับขนาดใหญมาตัง ้ ฐานการผลิตในประเทศไทย  ไทยจะมีตราสินคาที่เปนเอกลักษณของประเทศ  พัฒนาใหเปนผูที่สามารถออกแบบสินคาใหมีเอกลักษณเฉพาะตัวและสามารถกําหนด แนวโนมการเปลี่ยนแปลงของแฟชันได ่  มีโครงสรางพืนฐานดานตางๆ เชน ระบบภาษีศุลกากรและระบบโลจิสติกสที่สามารถ ้ รองรับการเปนแหลงสินคาเสรีอัญมณีและเครื่องประกับไดในอนาคต ขณะเดียวกันในการศึกษาเมือเดือน กรกฎาคม ของนักศึกษาสถาบันพระปกเกลา ่ หลักสูตรประกาศนียบัตรการบริหารสําหรับนักบริหารระดับกลางของกระทรวงอุตสาหกรรม รุนที่ 25-26 ป ธุรกิจอัญมณีและเครื่องประดับ : เสนทางสูอนาคตดวยCBL   ดร.ดนัย เทียนพุฒ : สงวนลิขสิทธิ์ 2556                       
  • 2. พ.ศ.2556 กลุมที่ 7 ไดสัมภาษณผูประกอบการในอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับ ตาม แรงผลัก 5  ประการ (5 Forces Model) พบวา สภาพการแขงขันในปจจุบัน แรงผลักดันจากคูแขงในอุตสาหกรรม - ภาวการณแขงขันรุนแรงเนืองจากกําลังซือในตลาดโลกลดลง จึงตองปรับตัวโดยการลดตนทุน ่ ้ และหันไปแขงในตลาดสินคาระดับคุณภาพมากกวาการแขงขันดานราคา ซึงคูแขงทีสําคัญไดแก ่ ่ จีน อินเดียและศรีลังกา - ผูประกอบการไทยขาดเงินทุนในการทําตลาดและการสรางแบรนดสนคาของตัวเอง ิ - ศักยภาพในการแขงขันมีความแตกตางกันสูงระหวางธุรกิจขนาดใหญกับขนาดเล็ก - การสนับสนุนจากภาครัฐในการวิจยและพัฒนาดานเทคโนโลยีการผลิตใหมๆ การออกแบบ ั การตลาดและการพัฒนาบุคลากรยังมีนอยในขณะที่คูแขงมีการสงเสริมอยางจริงจัง - สินคาในระดับเดียวกันไทยไดเปรียบเรื่องคุณภาพฝมือแรงงาน อํานาจตอรองของผูจําหนายปจจัยการผลิต - ตองพึ่งพาการนําเขาวัตถุจาพวกพลอย ขณะที่เพชรซึ่งคุมตลาดโดย De Beers และโลหะมีคาซึง ํ ่ ตองใชมาตรฐานเดียวกันทั่วโลกประเทศคูแขงตองนําเขาเชนเดียวกัน  - ผูประกอบการไทยสวนใหญมีความรูและภูมิปญญา มีความชํานาญและประสบการณสูงดานการ เพิ่มมูลคาของพลอยดวยการเผาและชางเจียระไนพลอยมีความสามารถในการเจียระไน - ผูประกอบการไทยมีศักยภาพในการแสวงหาวัตถุดิบประเภทอัญมณีในตางประเทศเพื่อจัดปอน ตลาดในประเทศ อํานาจตอรองของผูซื้อ/ลูกคา - การผลิตโดยสวนใหญเปนการผลิตตามคําสั่งซื้อ (OEM) เพราะฉะนันผูซื้อมีอํานาจตอรองเปนผู ้  กําหนดทิศทางแฟชัน ซึ่งอาจไมเลือกซื้อจากไทยถาผลิตไมไดตามแบบ ไมทนตามกําหนด ไมได ่ ั คุณภาพที่ตองการหรือสินคามีราคาสูงขึน ้ - ไทยเปนศูนยกลางการคาอัญมณีของโลก ธุรกิจอัญมณีและเครื่องประดับ : เสนทางสูอนาคตดวยCBL   ดร.ดนัย เทียนพุฒ : สงวนลิขสิทธิ์ 2556                       
  • 3.  CBL ของทองกับธีมทําอยางไรแพรนดาจึงกาวสูความเปน “The Architecture of Craftsmanship” คราวกอนไดเลาเรื่องราวที่ผเู ขียนเขาไปเกียวของโดยการเปนผูนาสัมมนา “Vision 10 ป ่ ํ ของฐานการผลิตแพรนดา” โดยมุงที่ธมหลัก...ทําอยางไรจึงกาวสูความเปน “The Architecture of ี Craftsmanship” หรือ “ศิลปะแหงสยาม” ผูเขียนนํา “การเรียนรูบนความทาทาย (CBL: Challenge based Learning)” มาเปน วิธีการคิดไอเดียใหมตามธีมหลักขางตน ซี่งมีลาดับดังนี้ ํ (1) ไอเดียที่ยิ่งใหญ (Big Idea): เราจะใหความหมาย The Architecture of Craftsmanship ในการปฏิบัติงานอยางไร? รูปที่ 1 การเริมตนดวย Big Idea ในวิธีการของ CBL ่ ธุรกิจอัญมณีและเครื่องประดับ : เสนทางสูอนาคตดวยCBL   ดร.ดนัย เทียนพุฒ : สงวนลิขสิทธิ์ 2556                       
  • 4.       วิธีการของ CBL คือ Big Idea นั้นเปนความคิดที่ยงใหญโดยกําหนดเปน ความคิดหลัก ิ่ ของตรงกลางในแผนที่ความคิด (Mind Map) ตัวอยาง Bid Idea ที่ไดจากการระดมความคิด ในการนําเสนอสวนนี้สามารถสรุปไดถึงแนวคิดของผูบริหารในลักษณะของ 1) ความหมายของ Craftsmanship 2) ความหมายในการปฏิบัติงาน และ 3) บทบาทของบริษทในการเปน ั “The Architecture of Craftsmanship” (2) คําถามสําคัญ จากความหมายที่ไดขางตน เรามีคําถามอะไรที่เกี่ยวกับการพัฒนา แพรนดาใหกาวสูความเปน “The Architecture of Craftsmanship” ธุรกิจอัญมณีและเครื่องประดับ : เสนทางสูอนาคตดวยCBL   ดร.ดนัย เทียนพุฒ : สงวนลิขสิทธิ์ 2556                       
  • 5.     ตัวอยางที่ 1 คําถามสําคัญ  ทําอยางไรจึงจะสรางความภาคภูมิใจใหเกิดขึ้นกับบุคลากร  จะใชเครื่องมืออะไรที่จะพัฒนาบุคลากร  ทําอยางไรทีจะรักษาพนักงานใหอยูกับองคกร ่   มีวิธีการอยางไรใหบุคลากรในแพรนดามีความเปนครอบครัวเดียวกันจากรุนสูรน ุ  ทําอยางไรใหคูคา ลูกคาเชือมั่นในแพรนดา ่ ตัวอยางที่ 2 จากการคิดไอเดียของผูบริหาร เชน  ทําอยางไรใหพนักงานมี DNA เปน Craftsmanship  ทําอยางไรใหพนักงานทํางานดวยใจ  ทําอยางไรใหพนักงานมีความสุข ความภาคภูมิใจในงานทีทํา ่  ทําอยางไรใหบุคคลทั่วไปรับรูวาเราเปน Craftsmanship (3) ความทาทายคืออะไร “กระบวนการพัฒนาและสรางความเปน “Craftsmanship” ตัวอยางเชน  ดานคนจะสรรหาและรักษาอยางไร  ใหเกิดการรับรู (Perception) ในอุตสาหกรรมจิวเวลรี่  การปรับตัว (Flexibility) ตอการเปลี่ยนแปลง  การสื่อสาร Craftsmanship ไปยังหุนสวนธุรกิจ (4) โซลูชั่น-การปฏิบัติ ประกอบดวยแนวทางดําเนินกิจกรรม แนวทางใชทรัพยากรและ การวัดความเขาใจพรอมความภาคภูมิใจอะไรที่อยากเผยแพร ธุรกิจอัญมณีและเครื่องประดับ : เสนทางสูอนาคตดวยCBL   ดร.ดนัย เทียนพุฒ : สงวนลิขสิทธิ์ 2556                       
  • 6. ตัวอยาง โซลูชั่น-การปฏิบัติ โซลูชั่น 1) Job Expectation 2) Career Path 3) Quality Control ใน กระบวนการทํางาน แนวทางดําเนินกิจกรรม เลือกบุคลากรใหตรงกับ ความสามารถในงาน มีแผนงานดานการเติบโตใน สายอาชีพ การทํา ISO เพื่อควบคุม คุณภาพทุกขั้นตอน แนวทางการใชทรัพยากร การวัดความสําเร็จ มีการตรวจสอบประวัติ อัตราการลาออกที่ต่ําลง ทดสอบความสามารถ การฝกอบรมและการพัฒนา อัตราการลาออกที่ต่ําลง ฝมือ มีการอบรมสรางความ วัดความพึงพอใจของลูกคา เขาใจ ปลูกจิตสํานึกวาไมใช เปนหนาที่ (แตเปนวินัยแหง คุณภาพ) โดยสรุปแลว ธุรกิจอัญมณีและเครื่องประดับที่ไดนําเสนอทิศทางของแผนการพัฒนา อุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับ กับการวิเคราะหสภาพการแขงขันของอุตสาหกรรมฯ ดวย Five Forces Model จะพบวา มีสภาพการแขงขันที่สงและอุตสาหกรรมนี้ตองปรับตัวอยางมาก เมือผูเขียน ู ่ เสนอแนวทางการปรับตัวสําหรับการรองรับการเติบโตในอนาคตจากกลุมบริษัทแพรนดาดวยวิธีการเรียนรู บนความทาทาย (CBL) พรอมตัวอยางการปรับตัวกาวสูการเปน The Architecture of Craftsmanship  ของแพรนดา (เปนตัวอยางเพื่อการศึกษา) นาจะเปนตัวอยางที่ควรแกการศึกษาและประยุกตใชเปนอยางยิ่งสําหรับผูบริหารธุรกิจ และผูที่สนใจในการเปลียนแปลงธุรกิจใหรองรับการแขงขันสูอนาคต ่ ธุรกิจอัญมณีและเครื่องประดับ : เสนทางสูอนาคตดวยCBL   ดร.ดนัย เทียนพุฒ : สงวนลิขสิทธิ์ 2556