SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 56
Descargar para leer sin conexión
1
บริษัทเชลล (Shell)
เสนอ
ดร.ดนัย เทียนพุฒ
จัดทําโดย
1.นางสาวขนิษฐา นุมนวล รหัสประจําตัว54221585
2.นาย จรินทร พริกนุน รหัสประจําตัว 54221593
3.นายบุญญา นาคเกลี้ยง รหัสประจําตัว 54221668
4.นางสาวเบญจมาศ หอมกระแจะ รหัสประจําตัว 54221676
5. นายภาคภูมิ นิยมไทย รหัสประจําตัว 54221700
6.นางสาวรัตนา เงินสีเหม รหัสประจําตัว 54221718
7.นางสาวอารมย โกงเหลง รหัสประจําตัว54221591
วิชาการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาองคการ MGT-623
ภาคการศึกษาที่ 3 ปการศึกษา 2555
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ
2
 
คํานํา
รายงานฉบับนี้เปนสวนหนึ่งของวิชาการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาองคการ ( MGT-623 )
มีจุดประสงคในการจัดทําขึ้น เพื่อศึกษาเกี่ยวกับบริษัทระดับโลก ซึ่งก็คือ บริษัทเชลล (Shell)
เปนบริษัทที่มีชื่อเสียงและเปนที่รูจักกันดี ในการประกอบธุรกิจน้ํามันและการใหบริการตางๆ
เกี่ยวกับยานพาหนะ ซึ่งภายในรายงานฉบับนี้ จะประกอบไปดวยประวัติความเปนมาของ
บริษัทเชลล วิวัฒนาการทางดานการดําเนินงานตางๆ ทฤษฎีที่เกี่ยวของ การวิเคราะหสวน
ประสมทางการตลาด 4’P วิเคราะห SWOT ANALYSIS เพื่อหาจุดแข็ง จุดออน โอกาสและอุปสรรค
วิเคราะหการเปลี่ยนแปลง 8 ขั้นตอนของ KOTTER วิเคราะห Five Force Model วิเคราะหโมเดล A-D-K-
A-R รวมถึงการวิเคราะหโซลูชั่นพรอมแผนปฏิบัติการของบริษัท Shell ที่สามารถนํามาใชกับ
ธุรกิจในประเทศไทย เพื่อเตรียมตัวเขาสู AEC
ผูจัดทําตองขอขอบคุณ ดร.ดนัย เทียนพุฒ ผูใหคําแนะนําปรึกษาในการทํา
รายงานครั้งนี้ ทางผูจัดทําหวังเปนอยางยิ่งวารายงานเลมนี้จะเปนประโยชนแกทานผูอาน
ทุกทาน หากมีความผิดพลาดประการใดขออภัยไว ณ ที่นี้
คณะผูจัดทํา
 
 
 
 
 
 
 
 
3
สารบัญ
เรื่อง หนา
บทที่ 1 บทนํา 1
บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรม 9
2.1 แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวของ
2.1.1 ทฤษฎีการขายไอดาส (AIDAS) 9
2.1.2 ทฤษฎี Peak Oil ดอยน้ํามัน 11
2.1.3 ทฤษฎีเชิงสถานการณ 13 
บทที่ 3 วิธีการศึกษา 17
3.1 การเก็บรวบรวมขอมูล 17
3.2 วิธีการวิเคราะหขอมูล 17
บทที่ 4 ผลการศึกษา 18
บทที่ 5 สรุปผล และขอเสนอแนะ 38
5.1 สรุปผลการศึกษา 38
5.2 ขอเสนอแนะ 38
ภาคผนวก 41
 
 
 
 
 
4
บทที่ 1
บทนํา
1.1 สภาพทั่วไปของบริษัท
ประวัติความเปนมา
Marcus Samuel
คําวา "เชลล" ปรากฏเปนครั้งแรกในป 1891 โดยใชเปนเครื่องหมายการคาสําหรับน้ํามันกาด ที่มาร
คัส ซามูเอล และบริษัททําการขนสงไปยังดินแดนตะวันออกไกล ธุรกิจเล็กๆ ในกรุงลอนดอนที่เริ่มตนจากการ
จําหนายวัตถุโบราณและเปลือกหอยแหงตะวันออก นับถอยหลังไปเมื่อกวา 100 ปกอนในป ค.ศ. 1897 บน
แผนดินของประเทศอังกฤษ Marcus Samuel ไดกอตั้งบริษัทเล็กๆ ที่ดําเนินงานเกี่ยวกับปโตรเคมีและการขนสง
โดยใชชื่อวา Shell Transport and Trading Company เปนการเริ่มตนกาวแรกของบริษัทน้ํามันตราหอยนาม
Shell คายผูผลิตน้ํามันเชื้อเพลิงและสารหลอลื่นเครื่องยนตชั้นนํา ที่อยูคูกับวงการอุตสาหกรรมรถยนต
รถจักรยานยนต เรือและอากาศยานมานานกวา 115 ป
ป1833 Marcus Samuel เปดรานขายเปลือกหอย Shell ในลอนดอน กอนที่ตอมารานนั้นจะเติบใหญ
ขึ้นเปนบริษัทนําเขาสงออก (Import-Export)
ป 1892 Shell ก็เริ่มสงออกน้ํามันกวา 4,000 ตันไปในเอเชีย เปนน้ํามันสําหรับหุงตมกับตะเกียง
ประเทศไทยและสิงคโปรเปนลูกคาใหญ ในขณะเดียวกันนั้นบริษัท Royal Dutch ก็ไดกอตั้งขึ้นในเนเธอรแลนด
สําหรับการทําบอน้ํามันในเอเชีย เนื่องจากทั้งสองบริษัท นั้นเปนคูแขงกันจึงตอสูกันอยางถึงพริกถึงขิง ผานไป
ไมนานก็คนพบวารวมกันนั้นดีกวาห้ําหั่นกัน ในป 1900 บริษัท Royal Dutch/Shell Group จึงไดเริ่มขึ้น
5
ตอจากนั้นบริษัทก็ไดขยายกิจการไปทั่วโลก ในปจจุบัน Royal Dutch/Shell Group นั้นมีบริษัทใน
เครือมากมาย แตที่เปนธุรกิจหลักนั้น มีอยู 5 อยาง
1. Shell Chemicals : ดูแลธุรกิจเกี่ยวกับ เคมีภัณฑทั้งหมด
2. Shell Exploration and Production : หาน้ํามันแลวก็ขุดเจาะออกมาใช รวมถึงสงไปยังโรง
กลั่นดวย
3. Shell Oil Products : ทํา Oil products ตางๆ เชน น้ํามันรถยนต น้ํามันเครื่องบิน
4. Shell Renewables : อนาคตอยูที่นี่ พลังงานที่นํากลับมาใชใหมได
5. Shell Gas& Power : กลั่นพลังงาน แกสธรรมชาติ โปรโมต และสงออกแกส กับไฟฟาไป
ทั่วโลก
นอกจากนี้ Royal Dutch/Shell Group ยังมีบริษัทกอสราง บริษัทที่ปรึกษาเทคโนโลยี บริษัท Trading
น้ํามัน และอีกหลายอยาง เปนบริษัทที่อยูในสิบอันดับแรก ของ Fortune 500 อยูเกือบตลอดเวลา ในไตรมาสที่
สามที่ผานมาของ 2003 ก็มีรายได สุทธิ 2.7 พันลานดอลลารสหรัฐ ซึ่งทําใหรายไดสุทธิของปนี้ขึ้นไปถึง 10.8
พันลานดอลลารสหรัฐ ขึ้นมาถึง 52% โลโกแรกที่ใชในป 1901 คือ หอยแมลงภู ในป 1904 มีการเปลี่ยนมาใช
หอยพัดหรือหอยเชลลซึ่งสื่อถึงชื่อบริษัทและแบรนดอยางชัดเจน
Shell พูดอยูเสมอวาทุกๆ 4 วินาที เครื่องบินสักลําจะตองถูกใหน้ํามันอยูโดย Shell ทุกๆ เวลาอยาง
นอยรถยนต 1,200 คัน ก็จะตองอยูในปมน้ํามัน Shell สักแหงในโลก มองดูแลวก็เปนบริษัทที่ประสบ
ความสําเร็จอยางสูงที่สุดแหงหนึ่งในโลก
ชื่อบริษัท "เชลล" และเรือบรรทุกน้ํามันของซามูเอลที่บรรทุกน้ํามันกาดไปยังดินแดนตะวันออก
กลาง ตั้งชื่อหลังจากใชเปลือกหอยหลายชนิด หอยเชลลนาจะมาจากธุรกิจครอบครัวของเพื่อน นายเกรแฮม ที่
เปนผูนําเขาน้ํามันกาดของซามูเอลเขาไปในอินเดีย และตอมากลายเปนผูอํานวยการบริษัทเชลลทรานสปอรต
แอนดเทรดดิ้ง หลังจากเดินทางไปยังซานดิเอโกเดคอมพอสเทลาในสเปน ครอบครัวของเกรแฮมไดเปลี่ยนมาใช
หอยเชลลเซนตเจมส หลายปตอมารูปสัญลักษณเชลลเปลี่ยนแปลงไปตามแนวโนมการออกแบบภาพกราฟก เรย
มอนด โลวี นักออกแบบสรางและเริ่มใชสัญลักษณเปลือกหอยเชลลในปจจุบัน
ในป 1915 บริษัทเชลลในแคลิฟอรเนียเริ่มเปดใหบริการสถานีบริการน้ํามันแหงแรก และตองการ
สรางความโดดเดนจากบริษัทคูแขง พวกเขาใชสีสันสดใสที่ทําใหชาวแคลิฟอรเนียพอใจ เนื่องจากมีการติดตอ
6
กับชาวสเปนในรัฐอยางแนนแฟน พวกเขาจึงเลือกสีแดงและเหลืองสีที่แทจริงไดถูกพัฒนามาตลอดหลายปที่
ผานมา ชวงที่โดดเดนที่สุดเกิดขึ้นในป 1995 เมื่อนําสีเหลืองและแดงที่สดใสมาใชในการเปดตัวกิจการคาปลีก
ใหมของเรา หอยเชลลยังคงเปนสัญลักษณแบรนดที่ยิ่งใหญที่สุดมาจนถึงศตวรรษที่ 21
ผลิตภัณฑของบริษัท Shell ทั้งน้ํามันเชื้อเพลิงเบนซินและดีเซล รวมถึงน้ํามันเครื่องที่ใชหลอลื่น
เครื่องยนตนานาชนิด ผานการคิดคนจากทีมผูเชี่ยวชาญ ที่ทุมเทการทํางานอยางตอเนื่องในศูนยวิจัยและ
สนามแขงรถทั่วโลก เพื่อคิดคนน้ํามันเชื้อเพลิง ที่สามารถตอบสนองความตองการของเครื่องยนต ดวย
เทคโนโลยีที่กาวล้ํา จากอดีตสูปจจุบัน กับการผันตัวเองเขารวมในวงการมอเตอรสปอรตระดับโลก เพื่อคิดคน
พัฒนาและวิจัยเชื้อเพลิงที่ดีที่สุดสําหรับเครื่องยนตหลากหลายชนิด ทําใหในแตละวันมีผูขับขี่รถยนต
รถจักรยานยนต เรือ และเครื่องบิน ไววางใจเลือกใชน้ํามันเชื้อเพลิงจาก Shell ผานสถานีบริการกวา 43,000 แหง
ใน 80 ประเทศทั่วโลก
การมาถึงของเครื่องยนตเผาไหมภายในในป 1886 ทําใหเกิดความตองการน้ํามันเชื้อเพลิงในภาคการ
ขนสง เพิ่มสูงขึ้นอยางมาก ดวยความเชี่ยวชาญดานการขนสง ตระกูล Samuel จึงเริ่มการขนสงน้ํามันโดยใชเรือ
บรรทุกน้ํามัน พวกเขาปฏิวัติการขนสงน้ํามัน โดยใชเรือบรรทุกน้ํามันรายแรกที่ชื่อมิวเร็กซ
ในป 1892 มิวเร็กซเปนเรือบรรทุกน้ํามันลําแรกที่เดินทางผานคลองซูเอซ พวกเขาตั้งชื่อบริษัทวา
Shell Transport and Trading Company (เชลลทรานสปอรตแอนดเทรดดิ้ง)
ในป 1897 และใชหอยแมลงภูเปนโลโกสัญลักษณที่สามารถจดจําไดอยางงายดาย กิจกรรมการ
ขนสงของบริษัท Shell ในตะวันออก และการคนหาแหลงน้ํามันใหมๆ เพื่อทดแทนแหลงน้ํามันในรัสเซีย ทําให
บริษัทไดมีโอกาสติดตอกับบริษัทโรยัล ดัทช ปโตรเลียม สองบริษัทควบรวมกัน
ในป 1903 เพื่อปกปองธุรกิจของตน จากการเขามามีบทบาทสําคัญของบริษัทสแตนดารดออยล พวก
เขาควบรวมกิจการกับกลุมบริษัทรอยัล ดัทช เชลล
ในป 1907 Shell เปลี่ยนโลโกเปนหอยพัดหรือหอยเชลล ซึ่งใชมาจนถึงปจจุบัน เมื่อสิ้นสุดทศวรรษ
1920 Shell ยังคงเปนบริษัทน้ํามันชั้นนําของโลก โดยสามารถผลิตน้ํามันดิบไดถึง 11% ของปริมาณน้ํามันดิบ
ของโลก และเปนเจาของเรือบรรทุกน้ํามัน 10% ของจํานวนเรือบรรทุกน้ํามันทั้งหมด
7
ในชวงทศวรรษ 1930 เปนชวงเวลาที่ยากลําบาก สินทรัพยของกลุมบริษัทในเม็กซิโก ถูกควบคุมและ
ถูกบังคับใหมอบแกรัฐบาลเวเนซุเอลา เมื่อรัฐบาลเรียกคืนการดําเนินการบอน้ํามันโดยภาครัฐ
เมื่อสงครามโลกครั้งที่สองยุติลง รถยนตเริ่มไดรับความนิยมอยางแพรหลายไปทั่วโลก บริษัท Shell ไดขยาย
กิจการเขาไปในแอฟริกาและอเมริกาใต เพื่อรองรับการขนสงที่เพิ่มจํานวนมากขึ้น และเริ่มมีบทบาทมากขึ้นใน
วงการอุตสาหกรรมยานยนต
ในป 1947 บริษัท Shell ขุดเจาะบอน้ํามันในทะเลเพื่อการพาณิชยเปนครั้งแรกในอาวเม็กซิโก ในป
1955 Shell มีบอน้ํามัน 300 แหง
ในป 1958 Shell เริ่มผลิตน้ํามันในไนจีเรีย ตามดวยการเขารวมเปนพันธมิตรกับ Ferrari ในชวงตน
ยุค 1960 ตอมาในทศวรรษ 1970 เปนชวงเวลาแหงการพัฒนาบอน้ํามันของ Shell ในทะเลเหนือและอเมริกาใต
ซึ่งเปนแหลงน้ํามันที่ยากตอการผลิตน้ํามันและมีคาใชจายสูง หากแตมีความสําคัญอยางยิ่ง ทั้งนี้เมื่อพิจารณาถึง
การจัดสงน้ํามันจากตะวันออกกลางที่ลดลง
ในป 1978 Shell สรางแทนขุดเจาะและผลิตน้ํามันในคอกแนกในอาวเม็กซิโกไดสําเร็จ ซึ่งเปนแทน
ที่สูงที่สุดในโลกที่ระดับ 1,100 ฟุต ตั้งแตกลางทศวรรษ 1990 การตรวจสอบอุตสาหกรรมน้ํามันอยางละเอียด
โดยภาครัฐ เกี่ยวกับปญหาสิ่งแวดลอมไดรับความสนใจอยางยิ่ง Shell ถูกวิพากษวิจารณแผนการกําจัดทิ้งแทน
ขุดเจาะเบรนทสปาร และประสบปญหาการดําเนินงานในไนจีเรีย หลังจากสหัสวรรษใหม Shell ขยายธุรกิจเขา
ไปในประเทศจีนและรัสเซีย
ในป 1998 (พ.ศ. 2541) ที่ฮองกง บริษัทผลิตน้ํามันเชื้อเพลิงยักษใหญของโลกรายนี้ ไดเปดตัว
เชื้อเพลิงรุนลาสุด Shell V Power เปนน้ํามันเชื้อเพลิงเบนซินเกรดสูงสุดที่พัฒนาขึ้นมาเพื่อตอบสนองตอความ
ตองการของเครื่องยนตเบนซินโดยเฉพาะ สําหรับประเทศไทยนั้น บริษัท Shell ไดเริ่มตนวางจําหนายน้ํามัน
เชื้อเพลิง Shell V Power Gasohol 95 ในป 2009 ซึ่งเปนน้ํามันเกรดพรีเมี่ยมรายแรกและรายเดียวในประเทศไทย
เชื้อเพลิงเบนซิน Shell V Power Gasohol 95 ถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่อเปนทางเลือกใหกับผูบริโภคที่ตองการเชื้อเพลิง
ที่ดี ที่สุดสําหรับรถยนต ตามดวยการเปดตัวผลิตภัณฑเชื้อเพลิงใหมลาสุด Shell V Power Nitro+Gasohol 95
จุดสูงสุดของการพัฒนาน้ํามันเชื้อเพลิงสําหรับเครื่องยนตเบนซินสมรรถนะสูงไป เมื่อวันที่ 8 มิถุนายนที่ผานมา
ที่เซนทรัลพระราม 9
8
ในป 2002 Shell ไดเปดตัว Shell V power Diesel น้ํามันดีเซลเกรดพรีเมี่ยมที่ประเทศ อิตาลี ซึ่ง
พัฒนาขึ้นเพื่อตอบสนองความตองการของผูบริโภคที่มองหาน้ํามันที่ชวยใหเครื่องยนตทํางานไดอยางเต็ม
ประสิทธิภาพ และความตองการนั้นก็ไดเพิ่มขึ้นในตลาด และเปดตัวครั้งแรกที่ประเทศไทย ป 2007 Shell คิดคน
และพัฒนาน้ํามันดีเซลรุนใหม Shell V Power Nitro+ Diesel น้ํามันดีเซลคุณภาพสูงเกรดพรีเมี่ยมจากเทคโนโลยี
ลาสุดของ Shellb พรอมจําหนายทั่วประเทศที่สถานีบริการน้ํามัน Shell 550 แหงทั่วประเทศ ที่มีสัญลักษณ Shell
V power Nitro+ Diesel
ในป 2005 Shell ยกเลิกโครงสรางบริษัทเดิมและปรับโครงสรางบริษัทใหม Shell ยังคงเปนหนึ่งใน
บริษัทผลิตน้ํามันและกาซรายใหญของโลก ที่มุงเนนการผลิตกาซธรรมชาติเหลวและผลิตภัณฑ ที่แปลงจากกาซ
เปนของเหลว บริษัท Shell พัฒนาน้ํามันเชื้อเพลิงชีวภาพอยางยั่งยืน และเขารวมในโครงการพลังงานลม เพื่อวิจัย
และพัฒนาพลังงานในอนาคตสําหรับมนุษยชาติ
เทคโนโลยี และนวัตกรรมของบริษัท Shell มีความแตกตางจากคูแขงดานการทุมเทเพื่อวิจัย ทดสอบ
พัฒนาเชื้อเพลิง ทีมวิศวกรใน PAE Lab Hamburg ชวยใหการดําเนินธุรกิจทั้งในปจจุบันและในอนาคตของ
Shell มีความมั่นคงจากทิศทางในการพัฒนาเชื้อเพลิงหลากหลายประเภท กวาหาปของศูนยทดสอบแหงนี้
บริษัท Shell ตองใชจายในการวิจัยและพัฒนา (R And D) เฉลี่ยมากกวา 1,000 ลานเหรียญยูเอสเปนประจําทุกป
มากกวาบริษัทน้ํามันระหวางประเทศอื่น ๆชนิดเทียบกันไมติด ใน Shell PAE Lab Hamburg ยังมีการพัฒนา
เทคโนโลยีเชื้อเพลิงระยะยาวสําหรับใชในอนาคต กระบวนการสรางสรรค ที่นักวิทยาศาสตรกับผูเชี่ยวชาญของ
Shell กําลังพัฒนาสูตรเชื้อเพลิงชนิดใหม นวัตกรรมของการผสมผสานเชื้อเพลิง ที่ผานการวิจัยอยางเขมขน เพื่อ
ชวยใหลูกคาไดรับประโยชนสูงสุดบนยานพาหนะหลังจากเติมเชื้อเพลิงของ Shell โดยปกติแลว ระหวางการ
วิจัยและพัฒนาซึ่งอาจใชเวลาหลายปในการผลิตเชื้อเพลิงรุนใหม ที่เหมาะสมกับเครื่องยนตในยุคนี้ เทคโนโลยี
ลาสุดที่ถูกคิดคนขึ้นมาใหมจะไดรับการประเมินและพรอมเต็มที่ เมื่อ Shell นําสูตรใหมออกสูตลาด เทคโนโลยี
Shell V-Power Nitro + เปนตัวอยางลาสุดของ Lap แหงนี้ ขั้นตอนการทดสอบและการวิจัยใหมที่ถูกนํามาใชใน
การพัฒนาเทคโนโลยีเชื้อเพลิง V-Power เปนสวนหนึ่งของความมุงมั่นจาก Shell ในการสงมอบเชื้อเพลิงที่ดีกวา
สําหรับลูกคาทั่วโลก
ศูนยเทคนิคของ Shell PAE ใน Hamburg ประกอบไปดวยหองปฏิบัติการทดสอบการทํางานของ
เครื่องยนตนับสิบหอง ทําหนาที่ทดลองและตรวจสอบการทํางานของเครื่องยนตเมื่อทําการเติมเชื้อเพลิง ของ
Shell เปรียบเทียบกับน้ํามันเชื้อเพลิงของบริษัทคูแขง รับหนาที่ในการวิจัยซึ่งครอบคลุมเชื้อเพลิงยานยนต
9
อุตสาหกรรมและสารหลอ ลื่นเครื่องยนตทุกชนิด รวมถึงเทคโนโลยีระบบเชื้อเพลิง การเผาไหม การฉีดจายของ
หัวฉีดแรงดันสูงในเครื่องยนตของยานพาหนะยุคใหม คําวา PAE หมายถึง "Produkte, Anwendung und
Entwicklung" หมายถึงผลิตภัณฑที่ไดรับการพัฒนาอยางไมหยุดยั้งจาก Shell โดยตั้งแตเริ่มเปดทําการในป 1956
วิศวกรนักวิทยาศาสตรและนักวิจัยใน Hamburg ไดชวยบุกเบิกและพัฒนาผลงานของ Shell ดานน้ํามันเชื้อเพลิง
ที่มีความแตกตางจากคูแขงเมื่อเปรียบเทียบ ผลิตภัณฑน้ํามันหลอลื่นและการบริการทางดานเทคนิคทั้งในการ
พัฒนาระบบใหมๆ และการปรับปรุงผลิตภัณฑที่มีอยูเดิม ทั้งหมดทั้งปวงมีการทํางานบนความสัมพันธกับ
บริษัทผูผลิตรถยนตชั้นนําของโลก ยนตกรรม เชน Ferrari , BMW , Audi , Volkswagen , Mercedes-Benz ,
Ducati , Porsche , GM , ZF , Bosch ฯลฯ ซึ่งยังหมายรวมถึงพันธมิตรทางธุรกิจอื่นๆ ทั้งในเยอรมนีเองและ
ตางประเทศทั่วโลกที่มีความสําคัญตอการสรางสรรคยานยนต พาหนะทุกประเภทบนการพัฒนาผลิตภัณฑอยาง
ไมหยุดยั้ง
ในสวนของความสัมพันธดานธุรกิจอันเหนียวแนนระหวางบริษัท Shell กับแบรนดรถสปอรตระดับ
Hi-end อยาง Ferrari เมื่อยอนเวลากลับไปกวา 60 ปกอน บริษัทผลิตรถสปอรตระดับโลกจากอิตาลีนาม Ferrari
ไดเขารวมกับบริษัทน้ํามัน Shell เพื่อทําใหรถสปอรตของคายมาลําพองที่มีประสิทธิภาพสูงทั้งในดาน
ประสิทธิภาพของเครื่องยนตและระบบสงกําลังอยูแลว สามารถแสดงสมรรถนะไดอยางเต็มเปยมเมื่อเติม
เชื้อเพลิงและสารหลอลื่นอัน ทรงประสิทธิภาพของ Shell ซึ่งยังหมายรวมไปถึงการสนับสนุนดานน้ํามัน
เชื้อเพลิงและน้ํามันหลอลื่นให กับรถแขงของทีม Ferrari สําหรับใชในการแขงขันรถยนตทางเรียบ Formula 1
รถสปอรตจากคาย Ferrari ทุกคัน เมื่อขับรถออกจากประตูโรงงานที่ Maranello ประเทศอิตาลีจะถูกขับเคลื่อน
และคุมครองปกปองเครื่องยนตโดยสารหลอลื่นกับ น้ํามันเชื้อเพลิงของ Shell เทานั้น ความสัมพันธของ Shell
กับ Enzo Ferrari เริ่มตนขึ้นในชวงปลายยุค 1920 เมื่อ Enzo Ferrari ผูกอตั้งแบรนด Ferrari ไดรับการสนับสนุน
เงินทุนตลอดจนน้ํามันเชื้อเพลิงและน้ํามันเครื่องจากบริษัท Shell เพื่อใชสําหรับการแขงขันรถยนตในทีมแขง
ของ Ferrari เอง ความเชื่อมั่นของ Enzo Ferrari ที่มีตอบริษัท Shell และผลิตภัณฑของ Shell ไดดําเนินมาเปน
ระยะเวลายาวนานกวา 60 ปแลว เปนหนึ่งในความสัมพันธอันแนบแนนที่พัฒนาขึ้นจนกลายเปนหนึ่งในการ
ยอมรับ มากที่สุดในประวัติศาสตรของวงการมอเตอรสปอรตระดับโลก บริษัท Shell ไดลงนามเซนสัญญากับ
แบรนด Ferrari ตั้งแตเริ่มมีการกอตั้งบริษัท Ferrari SpA ในป 1947 นับเปนจุดเริ่มตนของการเปนหุนสวนทาง
เทคนิคระหวาง Shell กับ Ferrari โดยที่เชื้อเพลิงและสารหลอลื่นของ Shell ถูกใชเติมลงไปในรถ Formula 1
ของ Ferrari ในยุคแรกเริ่มของการแขงขันรถแขง Ferrari รุน125S เลือกใชเชื้อเพลิงและน้ํามันเครื่องยนตของ
Shell จากเทคนิคของการวิจัยและพัฒนาที่ทันสมัย ซึ่งผลิตภัณฑของ Shell ดานมอเตอรสปอรตยังสามารถ
10
เพิ่มเติมกําลังของเครื่องยนตในดานแรงบิดและ อัตราเรงอันตอเนื่อง บริษัท Ferrari กับเชื้อเพลิงและน้ํามันเครื่อง
ของ Shell ไดรวมมือกันในการพัฒนาผลิตภัณฑเชื้อเพลิงสําหรับรถแขง สิ่งที่ตามมาคือชัยชนะเหนือรถแขงของ
ทีมแขงอื่นๆ ที่สนามแขงรถซิลเวอรสโตน ในป 1951
ในชวงตนยุค 1950 วิศวกรของ Shell ยังคงทํางานอยางมุงมั่นเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพเชื้อเพลิงที่
ใชสําหรับการแขงขันรถยนต Formula 1 สําหรับใชในการแขงขันของทีม Ferrari ในป 1950 ตอเนื่องไปจนถึงป
1960 บริษัท Shell รับหนาที่ในการพัฒนาระบบเชื้อเพลิงของรถแขง Ferrari ตามกฎระเบียบของการแขงขันที่ถูก
กําหนดขึ้นโดยสมาพันธยานยนตนานาชาติหรือ FIA ( Federation Internationale de l'Automobile ) ชวยสราง
รถแขงที่สามารถนําชัยชนะสู ทีมแขง Ferrari ซึ่งสามารถควาชัยในการแขงขันชิงแชมปโลกนับเปนครั้งแรกของ
แบรนด Ferrari หลังจากเขารวมเปนพันธมิตรกับ Shell ในการควาตําแหนงแชมปโลกรถแขงสูตร 1 และเมื่อ
Ferrari ตออายุการเปนหุนสวนทางเทคนิคกับบริษัท Shell ในป 1996 นับเปนชวงเวลาแหงการประสบ
ความสําเร็จมากที่สุดของ Ferarri ที่ดําเนินมาอยางยาวนานในประวัติศาสตรมอเตอรสปอรตระดับโลก
ความสําคัญของ Shell ที่เอื้อประโยชนและปจจัยตางๆ อันนํามาซึ่งความสําเร็จในดานการแขงขันรถยนต
Formula 1 ตราบจนถึงทุกวันนี้ หุนสวนทางเทคนิคของทั้งสองบริษัทยังคงแข็งแกรง ทีมนักวิทยาศาสตรของ
Shell ไดรวมเดินทางไปกับทีมแขงของมาลําพอง ในทุกๆสนามแขงรถทั่วโลก เพื่อดําเนินการแขงขันใหมีความ
สมบูรณสูงสุด สวนทีมวิจัยของ Shell ก็ยังคงทํางานอยางหนักในหองปฏิบัติการ เพื่อคนควาเชื้อเพลิงที่ดีที่สุด
สําหรับรถแขง Ferrari วิศวกรและชางทางเทคนิคของ Shell ทุมเททั้งมันสมองและแรงกาย เพื่อทดสอบและ
ประเมินผลการแขงขันซึ่งเชื้อเพลิงและน้ํามันหลอลื่นของ Shell มีสวนรวมมาตลอดระยะเวลากวา 60 ปที่ผานมา
ในขณะที่วิศวกรของ Ferrari อุทิศเวลาของตนเพื่อการพัฒนาระบบตางๆ บนตัวรถ Formula 1 บริษัท Shell ซึ่ง
เปนเปนพันธมิตรทางเทคนิคที่สําคัญ คิดคนเชื้อเพลิงอันทรงประสิทธิภาพ ที่สามารถทําใหเครื่องยนตสําแดง
พลังที่แทจริงของมันออกมา เปนการสรางผลิตภัณฑเชื้อเพลิงที่ทันสมัย โดยออกแบบมาเพื่อนําพา Ferrari ไปสู
ความสําเร็จสูงสุดในวงการมอเตอรสปอรต วิศวกรของ Shell ในโรงงาน Ferrari ที่ Maranello ยังคอยใหความ
ชวยเหลือดานวิทยาศาสตรและชางเทคนิค ในระหวางขั้นตอนของการพัฒนาบนผลิตภัณฑใหมๆ ซึ่งเปน
ซุปเปอรคารที่ไดรับความนิยม เพื่อใหแนใจวาการพัฒนาเชื้อเพลิงและน้ํามันหลอลื่น ไดรับการปรับใหมี
ประสิทธิภาพและมีความนาเชื่อถือสูงที่สุด สิ่งตางๆเหลานี้ไมไดเปนเพียงแคหนึ่งในความสําเร็จที่ Shell ทํางาน
รวมกับ Ferrari ในการดํารงอยูบนหัวแถวของนวัตกรรมเชื้อเพลิงเทานั้น ทีมแขงรถอื่นๆ ซึ่งเปนหุนสวนทาง
เทคนิคกับ Ferrari ที่มีชื่อเสียงดานรถแขงแบบ GT ยังไดรับประโยชนจากความเชี่ยวชาญของ Shell อีกดวย โดย
นับตั้งแตป 1940 เปนตนมา ผลิตภัณฑเชื้อเพลิงและน้ํามันหลอลื่นของ Shell กับการวิจัยและพัฒนาเครื่องยนต
11
ของรถ Ferrari สําหรับใชงานในการแขงรถแบบ Gran Turismo (GT) รวมถึงรถถนนของ Ferrari ที่แลนออกจาก
สายการผลิตในโรงงาน Maranello ทุกรุนทุกคัน ใชเชื้อเพลิง V-Power และหลอลื่นเครื่องยนตดวย Shell Helix
Ultra น้ํามันเชื้อเพลิงและน้ํามันหลอลื่นประสิทธิภาพสูงที่แนะนําโดย Ferrari ในเดือนมิถุนายนป 2007 และอีก
ครั้งในเดือนกรกฎาคมป 2010 บริษัท Shell ไดรับการยอมรับอยางกวางขวาง พรอมกับการควารางวัลพิเศษดาน
ความเปนเลิศทางวิชาการและนวัตกรรมโดย Ferrari รางวัล Podio Ferrari ถูกนําเสนอโดยบริษัท Ferrari ในแต
ละป ซึ่งรางวัลอันทรงเกียรติดังกลาวนี้ ยังหมายรวมถึงการยอมรับในผลิตภัณฑของ Shell มาตรฐานความเปน
เลิศดานนวัตกรรม เทคโนโลยี และการพัฒนาผลิตภัณฑใหแกหุนสวนทางเทคนิคดวยดีเสมอมา
1.2 วัตถุประสงค
1.2.1 ศึกษาและสังเคราะห การปรับเปลี่ยนหรือแปลงองคกร (Corporate Transformation) ตั้งแต
เริ่มกิจการจนถึงปจจุบัน
1.2.2 ศึกษาประเด็นของการเปลี่ยนแปลงในการดําเนินธุรกิจของ บริษัทเชลล
1.2.3 ศึกษาธุรกิจของบริษัทขามชาติที่ประสบความสําเร็จและยั่งยืน
1.3 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ
1.3.1 เพื่อทําใหทราบถึงการเปลี่ยนแปลงในการดําเนินธุรกิจของบริษัทเชลล
1.3.2 เพื่อใชเปนแผนปฏิบัติการในการนํามาปรับใชกับธุรกิจ ใหมีประสิทธิภาพและบรรลุ
ประสิทธิผล
1.3.3 เพื่อไดเห็นรูปแบบการดําเนินธุรกิจโดยเนนวัฒนธรรมองคกร ที่มีความรับผิดชอบตอสังคม
และสิ่งแวดลอมและมีจริยธรรมองคกรที่ชัดเจน
1.3.5 เพื่อใหทราบถึงกลยุทธทางการบริหาร การตลาดของเชลลที่นํามาใชกับธุรกิจ
12
บทที่ 2
การทบทวนวรรณกรรม
2.1 แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวของ
2.1.1 ทฤษฎีการขายไอดาส (AIDAS)
ในดานทฤษฎีการขายนั้นมีอยูหลายทฤษฎีดวยกันแตที่นิยมใชและพบบอยในธุรกิจการขาย ก็คือ
ทฤษฎีของ AIDAS (AIDAS Theory of Selling) เปนทฤษฎีการขายที่รูจักกันมากที่สุดทฤษฎีนี้จะเนนหนัก
ทางดานผูขาย (Seller Oriented) โดยเนนเกี่ยวกับการชักนําลูกคาตามหลักสําคัญในการซื้อซึ่งมีรายละเอียด
ดังตอไปนี้
ภาพทฤษฎี AIDAS
A = Attention หรือที่เรียกวา “แอทเท็นชั่น” (ความตั้งใจ) ขั้นแรกพนักงานขายตองหาโอกาสที่จะทํา
ใหผูคาดวาเปนลูกคาตื่นตัว พรอมที่จะรับฟงการเสนอขาย เชน การขอนัดพบลวงหนาหรือบอกเหตุผลในการมา
หรือขออภัยที่รบกวนเวลาเขาการที่จะทําใหเขาเกิดความเอาใจใสที่จะรับฟงการเสนอขายอาจเปนผลมาจาก
13
บุคลิกทาทางการแตงกายเรียบรอย การยิ้ม การพูดจาสุภาพนิ่มนวลพนักงานขายจะตองแนใจวาสามารถทําได
สําเร็จซึ่งเทากับเปนการเริ่มตนการขายที่มีประสิทธิภาพ และทําใหผานไปสูขั้นตอนอื่น ๆไดงายยิ่งขึ้น
I = Interest หรือที่เรียกวา “อินเทอเรส” (ความสนใจ)เมื่อเห็นวาลูกคาพรอมที่จะรับฟงการเสนอขาย
พนักงานขายก็ตองเริ่มสรางความสนใจมีวิธีการใหลูกคาเกิดความสนใจ กลาวถึงรายละเอียดของผลิตภัณฑโดย
อาจเสนอตัวอยางสินคา แคทตาลอก รูปภาพ หรืออื่น ๆมาชวยเรงเราความสนใจใหเกิดเร็วขึ้น หนักที่สําคัญก็คือ
พนักงานขายตองพยายามหาความตองการของลูกคา (ในดานทัศนคติและความรูสึก)โดยวิธีการตั้งคําถาม
ทดสอบความสนใจเพื่อทราบถึงความรูสึก ทัศนคติหรือทาทีซึ่งบางครั้งลูกคาอาจจะบอกมาเองก็ได
D = Desire หรือที่เรียกวา “ดีไซด” (ความปรารถนา)เปนขั้นที่พนักงานขายตองพยายามจูงใจให
ลูกคาเกิดความรูสึกอยากที่จะเปนเจาของผลิตภัณฑที่เสนอขายอยูขั้นนี้เปนระยะหัวเลี้ยวหัวตอของการขาย
เพราะลูกคามักจะตั้งขอตําหนิ ติเตียนสงสัย โตแยงตาง ๆ ซึ่งทําใหเปนอุปสรรคในการขายพนักงานขายตอง
เตรียมพรอมที่จะรับสถานการณ พยายามควบคุมสติอารมณปรับตัวใหเขากับลักษณะลูกคาแตละรายจนสามารถ
แกขอสงสัยตาง ๆ ไปไดโดยทําใหลูกคาเขาใจและยอมรับหรือพอใจในคําตอบบางครั้งจะเปนการประหยัดเวลา
ไดมากถานักงานขายจะกลาวถึงคําถามที่เขามักจะไดรับเสียเองโดยอาศัยประสพการณที่ผานมาและกอนที่จะ
ดําเนินการตอไปก็ควรสรุปสาระสําคัญ ๆที่ไดกลาวแลวเพื่อกระตุนเตือนความสนใจของลูกคา การตกลงใจที่จะ
ซื้อ (Action) หากการเสนอขายไดกระทําอยางถูกตองแลวยอมทําใหผูคาดวาจะเปนลูกคาพรอมที่จะตกลงซื้อ
อยางไรก็ตามการตกลงซื้อไมไดเกิดขึ้นโดยอัตโนมัติจะตองอาศัยการชี้ชวนของพนักงานขายดวยพนักงานขายที่
ดีจะปดการขายเมื่อเห็นแนนอนวาลูกคาเกิดความอยากซื้ออยาง แรงกลาโดยทั่วไปไมนิยมถามตรงๆ วาจะซื้อ
หรือไมซื้อ แตมักใชคําถามเลี่ยงๆเชนวาจะใหสงสินคามาเมื่อไหร จํานวนเทาไหร
A = Action หรือที่เรียกวา “แอคชั่น” (ความตกลงใจที่จะซื้อ)เปนขั้นตอนที่ลูกคาตกลงใจซื้อ
สินคาที่เสนอขายแตผูซื้ออาจจะไมสั่งซื้อทันทีการปดการขายจึงไมควรที่จะตั้งคําถามใหลูกคาตอบวา "ซื้อ" หรือ
"ไม"แตควรจะเลี่ยงดวยการถามวา "ตองการสีอะไร" "จะใหจัดสงเมื่อใด" "ตองการจายเปนเงินสดหรือใชบัตร
เครดิต" เปนตน
S = Satisfaction หรือที่เรียกวา “ซาตีสแฟคชั่น” (ความพึงพอใจ)พนักงานขายตองเสริมสรางความ
พอใจใหกับลูกคาโดยการแสดงความขอบคุณและแสดงใหลูกคารูสึกวา ไดตัดสินใจถูกตอง เหมาะสมที่สุดแลว
ทั้งใหลูกคาเกิดความประทับใจและพอใจที่ไดรับความชวยเหลือจากผูขายขั้นนี้ควรทําใหเร็วที่สุดหลังการขาย
พนักงานขายปลีกอาจจะเห็นวาในขั้นนี้อาจจะเสนอขายสินคาอื่นๆ เพิ่มไดอีกดวย
14
2.1.2 ทฤษฎี Peak Oil ดอยน้ํามัน
ทฤษฎีสําคัญที่เปนหัวใจของกําลังการผลิตน้ํามันของแหลงผลิตตาง ๆและของโลกเพราะเปนตัวชี้ที่
สําคัญวา Supply หรืออุปทานน้ํามันของโลกจะเปนอยางไร ทฤษฎีนี้มีชื่อเรียกกันงาย ๆวา Peak Oil หรือแปล
ตรง ๆวา “ดอยน้ํามัน” และผูที่คิดทฤษฎีนี้ก็คือดร. M. King Hubbert ซึ่งเปนนักธรณีวิทยาและเคยทํางานอยูกับ
บริษัท น้ํามัน Shell มานานกวา 20 ป อีกทั้งไดทํางานในฐานะของนักวิจัยใหกับหนวยงานการสํารวจทาง
ธรณีวิทยาของรัฐบาลสหรัฐกวา 12 ปและยังมีตําแหนงเปนศาสตราจารยที่มหาวิทยาลัยเบิรกเลยและ
สแตนฟอรดอีกตางหาก
Peak Oil คือทฤษฎีที่อธิบายวาทําไมแหลงน้ํามันตาง ๆนั้นในตอนเริ่มทําการผลิตกําลังการผลิตจะ
เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆจนถึงจุดหนึ่งก็จะเพิ่มถึงจุดสุดยอดซึ่งที่จุดนั้นก็คือจุดที่ไดมีการสูบน้ํามันออกมาจากบอแลว
ประมาณครึ่ง บอหลังจากถึงจุดที่มีกําลังการผลิตสูงสุดแลวกําลังการผลิตก็จะคอย ๆลดลงไปเรื่อยๆ อาจจะปละ
1-2 % หรือมากกวานั้นจนกระทั่งน้ํามันหมดบอถาดูเปนเสนกราฟของการผลิตก็จะเปนเหมือนรูประฆังคว่ําโดย
มีจุดสูงสุดอยูตรงกลาง คําอธิบายแบบงาย ๆวาทําไมจึงเปนอยางนั้นก็คือบอน้ํามันนั้นในชวงแรกที่มีการเจาะ
และสูบน้ํามันขึ้นมาการสูบหรือการไหลของน้ํามันจะเร็วมากเพราะวาน้ํามันยังอัดกันเต็มภายใตแรงดันในบอ
พอหลุมถูกเปดออกน้ํามันก็แทบจะทะลักขึ้นมาเองโดยไมตองทําอะไรกําลังการผลิตในชวงแรกๆ จึงสูงมาก
ตอมาเมื่อน้ํามันถูกดูดออกไปมากขึ้นเรื่อยๆ แรงดันภายในบอก็จะลดลงเรื่อย ๆหรือหมดไปน้ํามันก็ไหลออกมา
ยากขึ้นการสูบก็ยากขึ้นเพราะน้ํามันที่เหลือก็มักจะเปนน้ํามันที่ขนขึ้นเพราะน้ํามันที่ใสและดีถูกดูดออกไป
หมดแลวในขั้นตอนนี้เรายังจําเปนตองชวยโดยการอัดกาซเชนคารบอนไดออกไซดเขาไปในหลุมและ/หรืออัด
น้ําหรือสารเคมีที่จะทําใหน้ํามันดิบลดความขนลงเพื่อใหน้ํามันไหลงายขึ้นอยางไรก็ตามกําลังการผลิตของบอ
น้ํามันในชวงหลังจากจุดสุดยอดแลวก็จะคอย ๆลดลงไปเรื่อย ๆจนหมดในที่สุด
ใน ป 1956 หลังจากที่ ดร. Hubbert คิดทฤษฎี Peak Oil ขึ้นแลวเขาก็ใชสูตรนี้ทํานายวา
สหรัฐอเมริกาจะมีกําลังการผลิตน้ํามันถึงจุดสูงสุดในป 1970 ซึ่งทําใหเขาถูกหัวเราะเยาะจากผูเชี่ยวชาญใน
วงการน้ํามันทั้งหลายเพราะวาตั้งแตป 1956 อเมริกาสามารถผลิตน้ํามันไดเพิ่มขึ้นทุกปและไมมีทาทีวาจะลดลง
เลยแตแลวทุกคนก็ตองทึ่งเพราะหลังจากป 1971 เปนตนไป กําลังการผลิตน้ํามันของสหรัฐก็ลดลงทุกปจนถึง
ทุกวันนี้และในป 1975 สถาบันวิทยาศาสตรแหงชาติของสหรัฐก็ยอมรับวาการคํานวณของเขาเกี่ยวกับการ คอย
ๆหมดไปของน้ํามันและกาซธรรมชาตินั้นถูกตองไมใชเฉพาะที่อเมริกาเทานั้นที่เกิดปรากฏการณ Peak Oil ใน
แหลงน้ํามันตาง ๆ ทั่วโลกกําลังการผลิตน้ํามันตางก็ลดลงเมื่อมีการผลิตไปถึงจุดหนึ่งซึ่งตามทฤษฎีก็คือจุดยอด
ดอยหรือจุด Peak นั่นเองมีการพูดกันวาแมแตในกลุมโอเปกเองสมาชิกตางก็ผลิตไปจนถึงจุดสูงสุดกันเกือบ
15
หมดแลวยกเวนซาอุดิอาราเบียที่ยังมีกําลังการผลิตเหลืออยูบางแตก็ใกลยอดดอยเต็มทีนักวิชาการบางคนถึงกับ
พูดวาโลกเราเองก็มีกําลังการผลิตน้ํามันถึงจุดสูงสุดไปแลวเพราะกําลังการผลิตน้ํามันที่ประมาณ 85 ลานบารเรล
ตอวันที่เราใชอยูนี้ดูเหมือนจะเริ่มคงที่มาเปนเวลาพอสมควร แลวโอกาสที่จะผลิตไดเพิ่มอาจจะยากเพราะแมวา
ซาอุดิอาราเบียจะยังสามารถเพิ่มกําลังการผลิตไดบางแตประเทศผูผลิตน้ํามันอื่นในโลกก็เริ่มถึงจุดที่ผลิตได
นอยลงไปเรื่อย ๆ แลว ดังนั้นสิ่งที่ซาอุผลิตไดเพิ่มก็แคมาชดเชยกับผูผลิตอื่นที่ผลิตไดนอยลงเชนอินโดนีเซียที่
ตอนนี้แมแตจะผลิตใชในประเทศก็ไมพอไมตองพูดถึงแหลงผลิตในทะเลเหนือหรือแหลงผลิตอื่นที่กําลังการ
ผลิตถอยลงไป เรื่อยๆเพราะอยูในชวงขาลงแลว ตามการคาดการณของนักวิชาการกลุม Peak Oil ดูเหมือนวา
โลกเรากําลังจะขาดแคลนน้ํามันอยางหลีกเลี่ยงไมไดและนั่นเปนเหตุใหราคาน้ํามันปรับตัวเพิ่มขึ้นไมหยุดเพราะ
ปริมาณการผลิตนั้นไมสามารถเพิ่มขึ้นไดอีกและอาจจะใกลถึงจุดลดลงในขณะที่ความตองการน้ํามันของโลก
เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆอยางรวดเร็วโดยเฉพาะจากประเทศอยางจีนและอินเดียในอีกดานหนึ่งกําลังการผลิตน้ํามันจาก
แหลงน้ํามันใหม ๆก็มีนอยมากวาที่จริงการคนพบน้ํามันแหลงใหญ ๆ ของโลกนั้นเกิดขึ้นครั้งสุดทายก็ประมาณ
30-40 ปมาแลวและโอกาสที่จะเจอแหลงใหม ๆ ขนาดใหญก็ดูมืดมนและแมวาในขณะนี้จะมีการขุดเจาะน้ํามัน
กันมากเพราะราคาน้ํามันสูงจูงใจแตสิ่งที่พบนั้นดูเหมือนวาอยางมากก็แคประคองไมใหการผลิตน้ํามันของโลก
ลดลงเทานั้นดังนั้นถาคิดถึงการเติบโตของการใชน้ํามันที่จะเพิ่มขึ้นเฉพาะจากจีนเพียงประเทศ เดียวโอกาสที่
น้ํามันจะมีเพียงพอใหใชก็มีนอยมากวากันวาถาจะใหมีน้ํามันพอเราคงตองเจอบอน้ํามันขนาดเทากับของซาอุสัก
2- 3 ประเทศในชวง 20-30 ปขางหนาซึ่งดูแลวคงเปนไปไมได“ผูเชี่ยวชาญ” หลาย ๆ คนและในหลาย ๆ ประเทศ
ที่เปนผูผลิตน้ํามันตางก็พูดวาน้ํามันในโลกนั้นมีกําลังการผลิตเหลือเฟอราคาน้ํามันที่ขึ้นไปเปนเพราะการเก็ง
กําไรของนักลงทุนหรือเฮดกฟนดในตลาดสินคาโภคภัณฑลวงหนานี่เปนเรื่องจริงหรือเปลาก็คงจะตอบไดยาก
แตประเด็นที่จะตองคํานึงถึงก็คือคนเหลานั้นหลายคนมีผลประโยชนทับซอนอยางเชนในกลุมของโอเปกเองวา
กันวาตัวเลขกําลังการผลิตหรือปริมาณน้ํามันสํารองของแตละประเทศนั้นไมมีความโปรงใสเลยหลายประเทศดู
เหมือนจะพยายามบอกวาตนเองมีสํารองน้ํามันมากเหตุผลก็คือเวลาจัดสรรโควตาการผลิตน้ํามันเขาจะจัดกัน
ตามปริมาณสํารองที่แตละประเทศมี เพราะฉะนั้นแตละประเทศจึงมักบอกวาตนเองมีน้ํามันมากกวาความเปน
จริงเชนเดียวกันบริษัทน้ํามันขนาดใหญที่มีหุนจดทะเบียนในตลาดก็มักจะพยายามบอกวาตนเองมีสํารองน้ํามัน
มากเพื่อที่หุนของตนจะไดมีราคาสูงเหลานี้ทําใหตัวเลขน้ํามันสํารองของโลก “เพี้ยน” และไมนาเชื่อถือแตถาดู
ขอเท็จจริงของตัวเลขกําลังการผลิตที่ออกมาดูเหมือนวาสถานการณน้ํามันของโลกจะเปนไปในแนวทางของ
พวกที่เชื่อทฤษฎี Peak Oil มากกวาในฐานะของนักลงทุนเราคงตองติดตามดูไปเรื่อย ๆและตัดสินใจลงทุนดวย
ความรูและความเขาใจในเรื่องนี้สวนตัวผมเองนั้นคงยังไมเชี่ยวชาญพอที่จะเสี่ยงกับสิ่งที่ตนเองมีความรูนอยแต
16
นี่ก็คงจะชวยในการตัดสินใจเกี่ยวกับการลงทุนโดยรวมไดเพราะน้ํามันหรือวาที่จริงก็คือพลังงานนั้นมัน
เกี่ยวของกับชีวิตเราลึกซึ้งมากนักลงทุนตองรูเกี่ยวกับน้ํามันทั้ง ๆที่เขาอาจจะไมไดลงทุนในหุนน้ํามันเลย
2.1.3 ทฤษฎีเชิงสถานการณ Fiedler’s Leadership Contingency Theory
ในป 1967 Fred E. Fiedler ไดเสนอแนวความคิดการบริหารเชิงสถานการณ (Situational
Management Theory) หรือทฤษฎีอุบัติการณ (Contingency Theory) ซึ่งถือเปนทฤษฎีการบริหารที่ขึ้นอยูกับ
สภาพขอเท็จจริงดวยแนวคิดที่วาการเลือกทางออกที่จะไปสูการแกปญหาทางการบริหารถือวาไมมีวิธีใดที่ดีที่สุด
หากแตสถานการณตางหากที่จะเปนตัวกําหนดวาควรจะหยิบใชวิธีการบริหารแบบใดในสภาวการณนั้นๆ หลัก
คิดงายๆ ของการบริหารเชิงสถานการณนั้น ถือวาการบริหารจะดีหรือไมขึ้นอยูกับสถานการณสถานการณจะ
เปนตัวกําหนดการตัดสินใจ ในการเลือกรูปแบบการบริหารที่เหมาะสม ผูบริหารจะตองพยายามวิเคราะห
สถานการณใหดีที่สุด โดยเปนการผสมผสานแนวคิดระหวางระบบปดและระบบเปด ยอมรับหลักการของ
ทฤษฎีระบบวาทุกสวนของระบบจะตองสัมพันธ มีผลกระทบซึ่งกันและกัน คือมุงเนน ความสัมพันธระหวาง
องคการกับสภาพแวดลอมขององคการ สถานการณบางครั้งจะตองใชการตัดสินใจอยางเฉียบขาด บาง
สถานการณตองอาศัยการมีสวนรวมในการตัดสินใจ บางครั้งก็ตองคํานึงถึงหลักมนุษยและแรงจูงใจ บางครั้งก็
ตองคํานึงถึงเปาหมายหรือผลผลิตขององคกรเปนหลัก การบริหารจึงตองอาศัยสถานการณเปนตัวกําหนดในการ
ตัดสินใจ การบริหารเชิงสถานการณจะคํานึงถึงสิ่งแวดลอมและความตองการของบุคคลใน
หนวยงานเปนหลักมากกวาที่จะแสวงหาวิธีการอันดีเลิศมาใชในการทํางาน โดยใชปจจัยทางดานจิตวิทยาในการ
พิจารณาดวย โดยเนนใหผูบริหารรูจักใชการพิจารณาความแตกตางที่มีอยูในหนวยงาน เชน ความแตกตาง
ระหวางบุคคล ความแตกตางระหวางระเบียบกฎเกณฑ วิธีการ กระบวนการ และการควบคุมงาน ความแตกตาง
ระหวางความสัมพันธของบุคคลในองคกร หรือความแตกตางระหวางเปาหมายการดําเนินงานขององคการ เปน
ตน
หลักการของการบริหารเชิงสถานการณ
1. การบริหารจะดีหรือไมขึ้นอยูกับสถานการณ
2. ผูบริหารจะตองพยายามวิเคราะหสถานการณใหดีที่สุด
3. เปนการผสมผสานแนวคิดระหวางระบบปดและระบบเปด ยอมรับหลักการของทฤษฎีทุก
สวนของระบบจะตองสัมพันธ และมีผลกระทบซึ่งกันและกัน
17
4. สถานการณจะเปนตัวกําหนดการตัดสินใจ ในการเลือกรูปแบบการบริหารที่เหมาะสม
5. คํานึงถึงสิ่งแวดลอมและความตองการของบุคคลในหนวยงานเปนหลักมากกวาที่จะแสวงหา
วิธีการอันดีเลิศมาใชในการทํางาน โดยใชปจจัยทางดานจิตวิทยาในการพิจารณาดวย
6. เนนใหผูบริหารรูจักใชการพิจารณาความแตกตางที่มีอยูในหนวยงาน เชน
6.1 ความแตกตางระหวางบุคคล
6.2 ความแตกตางระหวางระเบียบกฎเกณฑ วิธีการ กระบวนการ และการควบคุมงาน
6.3 ความแตกตางระหวางความสัมพันธของบุคคลในองคกร
6.4 ความแตกตางระหวางเปาหมายการดําเนินงานขององคการ
แนวความคิดทางการบริหารเชิงสถานการณ ตามทฤษฎีของ Fiedler ประยุกตใชในสถานการณ
ปจจุบัน 2 ลักษณะดังนี้
1.การศึกษารูปแบบของผูนําที่มุงความสัมพันธ (Relationship-oriented leader) เปนผูนําที่มุง
ความสัมพันธกับเพื่อนรวมงาน ผูนําจะสรางความไววางใจ ความเคารพนับถือ และรับฟงความตองการของ
พนักงาน เปนผูนําที่คํานึงถึงผูอื่นเปนหลัก (Consideration)
2.ผูนําที่มุงงาน (Task -oriented leader) เปนผูนําที่มุงความสําเร็จในงาน ซึ่งจะกําหนดทิศทาง
และมาตรฐานในการทํางานไวอยางชัดเจน มีลักษณะคลายกับผูนําแบบที่คํานึงถึงตัวเองเปนหลัก (Initiating
structure style)
การบริหารเชิงสถานการณ สามารถใชทุกทฤษฎีมาประกอบกับประสบการณ เพื่อทําใหการ
ตัดสินใจดีที่สุด โดยเฉพาะในยุคที่มีการเปลี่ยนแปลงและการแขงขันสูงเชนปจจุบัน นับเปนความทาทายและ
โอกาสในการใชการบริหารเชิงสถานการณในมุมของผูบริหารที่จะพลิกวิกฤติเปนโอกาสใหได เปนการใช
ความรูความสามารถทั้งศาสตรและศิลปตางๆที่มีอยูในตัวผูนําทานนั้นใหประจักษออกมาใชไดอยางเต็ม
สมรรถภาพจริงๆที่เขามีอยู เพราะสถานการณแตละอยางแตกตางกัน ทฤษฎีกับบางสถานการณก็แตกตางกัน
แลวแตผูนําแตละทานจะเลือกใช ดังนั้นการบริหารเชิงสถานการณ นาจะเปนการใชความรูความสามารถทั้ง
ศาสตรและศิลป
18
Model Template Shell
พันธมิตรหลัก
1. ปมน้ํามัน
2. บริษัทขนสง
สินคาทั่วไป
3. บริษัทขนสง
น้ํามัน
4. ประเทศผู
สงออกน้ํามัน
5. บริษัทผลิต
อุปกรณที่เกี่ยวของ
กระบวนการหลัก
1. น้ํามัน
2. การตลาด
3. คุณภาพของ
น้ํามัน
4.การบริการที่
รวดเร็วทันใจ
คุณคาที่นําเสนอ
1. น้ํามันมีคุณภาพ
ไมกอใหเกิดความ
เสียหายกับรถ
2. สรางคุณคาและ
สรางความแตกตาง
ทางดานบริการ
ความสัมพันธกับ
ลูกคา
1. ใชระบบบริการ
ที่มีประสิทธิภาพ
2. Emotional
Marketing และ
Lifestyle
3. Brand Loyalty
4. โปรโมชั่น
กลุมลูกคา
1.บุคคลทั่วไป
ทุกเพศ ทุกวัย
ทุกระดับ
2.บริษัทตางๆ
ทรัพยากรหลัก
1. ทรัพยากรน้ํามัน
2.ทรัพยากรมนุษย
พนักงาน
2.ที่ดิน อาคาร
โรงงานตาง ๆ
รวมถึงเครื่องจักร
ชองทาง
1. การขายตรง
2. การขายสงให
เครือขายตางๆ
โครงสรางตนทุน
1. เงินเดือนพนักงาน
2. คาเชา
3. คาขนสง
4. คาโฆษณา
5. คาวัตถุดิบ
6. คาสาธารณูปโภค
สายธารรายได
1. ยอดขาย
2. จากการขายในรูปแบบของเครือขายที่มี
การขยายสาขาเพิ่ม
19
Model Template Shell
บทที่ 3
วิธีการศึกษา
3.1 การเก็บรวบรวมขอมูล
ทรัพยากรหลัก
1. ทรัพยากรน้ํามัน
2.ทรัพยากรมนุษย
พนักงาน
2.ที่ดิน อาคาร
โรงงานตาง ๆ
รวมถึงเครื่องจักร
พันธมิตรหลัก
1. ปมน้ํามัน
2.
บริษัทขนสงสินค
าทั่วไป
3.
บริษัทขนสงน้ํามั
น
4.
ประเทศผูสงออก
น้ํามัน
คุณคาที่นําเสนอ
1.
น้ํามันมีคุณภาพ
ไมกอใหเกิดควา
มเสียหายกับรถ
2.
สรางคุณคาและส
รางความแตกตาง
ทางดานบริการ
ความสัมพันธกับ
ลูกคา
1.
ใชระบบบริการที่
มีประสิทธิภาพ 2.
Emotional
Marketing และ
Lifestyle
3. Brand Loyalty
4. โปรโมชั่น
กลุมลูกคา
1.
บุคคลทั่วไป
ทุกเพศ ทุกวัย
ทุกระดับ
2.บริษัทตางๆ
กิจกรรมหลัก
1.น้ํามัน
ชองทาง
1. การขายตรง
2. รานคาปลีก-สง
โครงสรางตนทุน
1. เงินเดือนพนักงาน
2. คาเชา
3. คาขนสง
4. คาโฆษณาคาพรีเซ็นเตอร
5. คาวัตถุดิบ
6. คาสาธารณูปโภค
สายธารรายได
1. ยอดขาย
2.
จากการขายในรูปแบบของเครือขายที่มี
การขยายสาขาเพิ่ม
20
ทางคณะผูจัดทําไดทําการเก็บรวบรวมขอมูล มาจากอินเตอรเน็ต วารสารตางประเทศ เอกสารทาง
วิชาการ เพื่อที่จะนําขอมูลที่เกี่ยวของกับปรัชญา ความเชื่อ วัฒนธรรม วิถีขององคกรที่ถายทอดเปลี่ยนแปลง
จากรุนสูรุนขององคกรตั้งแตเริ่มตนจนถึงปจจุบัน
3.2 วิธีการวิเคราะหขอมูล
คณะผูจัดทําไดดําเนินการวิเคราะหขอมูลที่ไดมาจากการเก็บรวบรวมเอกสารที่เกี่ยวของทั้งหมดตั้งแต
เริ่มกอตั้งองคกรจนถึงปจจุบัน เพื่อ
ศึกษาประวัติความเปนมาของบริษัทตั้งแตเริ่มตนจนถึงปจจุบัน
ศึกษาโลโกของบริษัทในแตละยุคแตละสมัย
วิเคราะหสวนประสมทางการตลาด 4’P
วิเคราะห SWOT ANALYSIS เพื่อหาจุดแข็ง จุดออน โอกาสและอุปสรรค
วิเคราะหการเปลี่ยนแปลง 8 ขั้นตอนของ KOTTER
วิเคราะห Five Force Model ของบริษัทเชลล
วิเคราะหโมเดล A-D-K-A-R ของบริษัทเชลล
วิเคราะหโซลูชั่นพรอมแผนปฏิบัติการของบริษัท Shell สามารถนํามาใชกับธุรกิจในประเทศ
ไทย เพื่อเตรียมตัวเขาสู AEC
21
บทที่ 4
ผลการศึกษา
ป ค.ศ. 1833 Marcus Samuel เปดรานขายเปลือกหอย Shell ในลอนดอน กอนที่ตอมารานนั้นจะเติบ
ใหญขึ้นเปนบริษัทนําเขาสงออก (Import-Export)
ป ค.ศ. 1897 บนแผนดินของประเทศอังกฤษ Marcus Samuel ไดกอตั้งบริษัทเล็กๆ ที่ดําเนินงาน
เกี่ยวกับปโตรเคมีและการขนสง โดยใชชื่อวา Shell Transport and Trading Company เปนการเริ่มตนกาวแรก
ของบริษัทน้ํามันตราหอยนาม Shell
การเปลี่ยนแปลงในชวงแรก จะเปนการเปลี่ยนแปลงประเภทธุรกิจ เริ่มจากการทําธุรกิจขายของเกา
แลวเริ่มดําเนินธุรกิจขนสงน้ํามันโดยอาศัยความชํานาญในการติดตอซื้อขายเดิมเปนจุดเริ่มตน
ในป 1886 ความตองการน้ํามันเชื้อเพลิงในภาคการขนสง เพิ่มสูงขึ้นอยางมาก ดวยความเชี่ยวชาญ
ดานการขนสง ตระกูล Samuel จึงเริ่มการขนสงน้ํามันโดยใชเรือบรรทุกน้ํามัน พวกเขาปฏิวัติการขนสงน้ํามัน
โดยใชเรือบรรทุกน้ํามันรายแรกที่ชื่อมิวเร็กซ
ในป 1892 มิวเร็กซเปนเรือบรรทุกน้ํามันลําแรกที่เดินทางผานคลองซูเอซ พวกเขาตั้งชื่อบริษัทวา
Shell Transport and Trading Company (เชลลทรานสปอรตแอนดเทรดดิ้ง)
ในป 1897 และใชหอยแมลงภูเปนโลโกสัญลักษณที่สามารถจดจําไดอยางงายดาย กิจกรรมการ
ขนสงของบริษัท Shell ในตะวันออก และการคนหาแหลงน้ํามันใหมๆ เพื่อทดแทนแหลงน้ํามันในรัสเซีย ทําให
บริษัทไดมีโอกาสติดตอกับบริษัทโรยัล ดัทช ปโตรเลียม สองบริษัทควบรวมกันในป 1903 เพื่อปกปองธุรกิจ
22
ของตน จากการเขามามีบทบาทสําคัญของบริษัทสแตนดารดออยล พวกเขาควบรวมกิจการกับกลุมบริษัทรอยัล
ดัทช เชลล
ในป 1907 Shell เปลี่ยนโลโกเปนหอยพัดหรือหอยเชลล ซึ่งใชมาจนถึงปจจุบัน เมื่อสิ้นสุดทศวรรษ
1920 Shell ยังคงเปนบริษัทน้ํามันชั้นนําของโลก โดยสามารถผลิตน้ํามันดิบไดถึง 11% ของปริมาณน้ํามันดิบ
ของโลก และเปนเจาของเรือบรรทุกน้ํามัน 10% ของจํานวนเรือบรรทุกน้ํามันทั้งหมด ในชวงทศวรรษ 1930 เปน
ชวงเวลาที่ยากลําบาก สินทรัพยของกลุมบริษัทในเม็กซิโก ถูกควบคุมและถูกบังคับใหมอบแกรัฐบาลเวเนซุเอลา
เมื่อรัฐบาลเรียกคืนการดําเนินการบอน้ํามันโดยภาครัฐ
การปลี่ยนแปลงของเชลลเริ่มจากการที่มีการใชรถยนตเพิ่มขึ้น ซึ่งทําใหเชลลมองเห็นวามีความ
จําเปนที่จะตองใชพลังงานเพิ่มขึ้น โดยปรับเปลี่ยนการขนสงจากทางรถยนตเพิ่มเปนทางเรือเพื่อรองรับการ
ขยายตัวและมีการคนหาแหลงพลังงานเพิ่ม รวมถึงการติดตอกับบริษัทคูคาอื่น ๆ ที่ทําธุรกิจเดียวกัน เพื่อเพิ่ม
ชองทาง จนถึงมีการเปลี่ยนแปลง คือการควบรวมกิจการ เพื่อปกปองธุรกิจและสรางความแข็งแกรงในภาคธุรกิจ
เมื่อสงครามโลกครั้งที่สองยุติลง รถยนตเริ่มไดรับความนิยมอยางแพรหลายไปทั่วโลก บริษัท Shell
ไดขยายกิจการเขาไปในแอฟริกาและอเมริกาใต เพื่อรองรับการขนสงที่เพิ่มจํานวนมากขึ้น และเริ่มมีบทบาท
มากขึ้นในวงการอุตสาหกรรมยานยนต
ในป 1947 บริษัท Shell ขุดเจาะบอน้ํามันในทะเลเพื่อการพาณิชยเปนครั้งแรกในอาวเม็กซิโก ในป
1955 Shell มีบอน้ํามัน 300 แหง ในป 1958 Shell เริ่มผลิตน้ํามันในไนจีเรีย ตามดวยการเขารวมเปนพันธมิตรกับ
Ferrari ในชวงตนยุค 1960 ตอมาในทศวรรษ 1970 เปนชวงเวลาแหงการพัฒนาบอน้ํามันของ Shell ในทะเล
เหนือและอเมริกาใต ซึ่งเปนแหลงน้ํามันที่ยากตอการผลิตน้ํามันและมีคาใชจายสูง หากแตมีความสําคัญอยางยิ่ง
ทั้งนี้เมื่อพิจารณาถึงการจัดสงน้ํามันจากตะวันออกกลางที่ลดลง
รายงานการพัฒนาองค์กร กรณีศึกษาธุรกิจน้ำมัน
รายงานการพัฒนาองค์กร กรณีศึกษาธุรกิจน้ำมัน
รายงานการพัฒนาองค์กร กรณีศึกษาธุรกิจน้ำมัน
รายงานการพัฒนาองค์กร กรณีศึกษาธุรกิจน้ำมัน
รายงานการพัฒนาองค์กร กรณีศึกษาธุรกิจน้ำมัน
รายงานการพัฒนาองค์กร กรณีศึกษาธุรกิจน้ำมัน
รายงานการพัฒนาองค์กร กรณีศึกษาธุรกิจน้ำมัน
รายงานการพัฒนาองค์กร กรณีศึกษาธุรกิจน้ำมัน
รายงานการพัฒนาองค์กร กรณีศึกษาธุรกิจน้ำมัน
รายงานการพัฒนาองค์กร กรณีศึกษาธุรกิจน้ำมัน
รายงานการพัฒนาองค์กร กรณีศึกษาธุรกิจน้ำมัน
รายงานการพัฒนาองค์กร กรณีศึกษาธุรกิจน้ำมัน
รายงานการพัฒนาองค์กร กรณีศึกษาธุรกิจน้ำมัน
รายงานการพัฒนาองค์กร กรณีศึกษาธุรกิจน้ำมัน
รายงานการพัฒนาองค์กร กรณีศึกษาธุรกิจน้ำมัน
รายงานการพัฒนาองค์กร กรณีศึกษาธุรกิจน้ำมัน
รายงานการพัฒนาองค์กร กรณีศึกษาธุรกิจน้ำมัน
รายงานการพัฒนาองค์กร กรณีศึกษาธุรกิจน้ำมัน
รายงานการพัฒนาองค์กร กรณีศึกษาธุรกิจน้ำมัน
รายงานการพัฒนาองค์กร กรณีศึกษาธุรกิจน้ำมัน
รายงานการพัฒนาองค์กร กรณีศึกษาธุรกิจน้ำมัน
รายงานการพัฒนาองค์กร กรณีศึกษาธุรกิจน้ำมัน
รายงานการพัฒนาองค์กร กรณีศึกษาธุรกิจน้ำมัน
รายงานการพัฒนาองค์กร กรณีศึกษาธุรกิจน้ำมัน
รายงานการพัฒนาองค์กร กรณีศึกษาธุรกิจน้ำมัน
รายงานการพัฒนาองค์กร กรณีศึกษาธุรกิจน้ำมัน
รายงานการพัฒนาองค์กร กรณีศึกษาธุรกิจน้ำมัน
รายงานการพัฒนาองค์กร กรณีศึกษาธุรกิจน้ำมัน
รายงานการพัฒนาองค์กร กรณีศึกษาธุรกิจน้ำมัน
รายงานการพัฒนาองค์กร กรณีศึกษาธุรกิจน้ำมัน
รายงานการพัฒนาองค์กร กรณีศึกษาธุรกิจน้ำมัน
รายงานการพัฒนาองค์กร กรณีศึกษาธุรกิจน้ำมัน
รายงานการพัฒนาองค์กร กรณีศึกษาธุรกิจน้ำมัน
รายงานการพัฒนาองค์กร กรณีศึกษาธุรกิจน้ำมัน

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10Aon Narinchoti
 
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...ถูกต้อง ไม่จำเป็นต้องถูกใจ
 
การเขียนบทที่ 1 บทนำของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Introduction)
การเขียนบทที่ 1 บทนำของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Introduction)การเขียนบทที่ 1 บทนำของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Introduction)
การเขียนบทที่ 1 บทนำของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Introduction)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
คำกล่าวเปิดอบรมเขียนข่าว
คำกล่าวเปิดอบรมเขียนข่าวคำกล่าวเปิดอบรมเขียนข่าว
คำกล่าวเปิดอบรมเขียนข่าวJitiya Purksametanan
 
รายงานการเยี่ยมบ้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
รายงานการเยี่ยมบ้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนรายงานการเยี่ยมบ้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
รายงานการเยี่ยมบ้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนNontaporn Pilawut
 
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์Nonsawan Exschool
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาThongsawan Seeha
 
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศแบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศgchom
 
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูลใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูลThanawut Rattanadon
 
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิดสัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิดSani Satjachaliao
 
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความnurmedia
 
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมโครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมwangasom
 
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551คน ขี้เล่า
 
กระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อกระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อwisheskerdsilp
 
วิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพ
วิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพวิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพ
วิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพKamolthip Boonpo
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกChainarong Maharak
 
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านthkitiya
 

La actualidad más candente (20)

การออกแบบหน่วยการเรียนรู้
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้การออกแบบหน่วยการเรียนรู้
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...
 
การเขียนบทที่ 1 บทนำของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Introduction)
การเขียนบทที่ 1 บทนำของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Introduction)การเขียนบทที่ 1 บทนำของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Introduction)
การเขียนบทที่ 1 บทนำของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Introduction)
 
คำกล่าวเปิดอบรมเขียนข่าว
คำกล่าวเปิดอบรมเขียนข่าวคำกล่าวเปิดอบรมเขียนข่าว
คำกล่าวเปิดอบรมเขียนข่าว
 
รายงานการเยี่ยมบ้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
รายงานการเยี่ยมบ้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนรายงานการเยี่ยมบ้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
รายงานการเยี่ยมบ้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
 
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
เพลงนันทนาการ
เพลงนันทนาการเพลงนันทนาการ
เพลงนันทนาการ
 
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศแบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
 
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูลใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
 
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิดสัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
 
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
 
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมโครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
 
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
กระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อกระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อ
 
วิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพ
วิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพวิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพ
วิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพ
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
 
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
 

Destacado

คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำintira
 
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญPongpob Srisaman
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีrewat Chitthaing
 
แผนการเรียนรู้งานช่าง 4
แผนการเรียนรู้งานช่าง 4แผนการเรียนรู้งานช่าง 4
แผนการเรียนรู้งานช่าง 4Utsani Yotwilai
 

Destacado (6)

คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
 
แผนการเรียนรู้งานช่าง 4
แผนการเรียนรู้งานช่าง 4แผนการเรียนรู้งานช่าง 4
แผนการเรียนรู้งานช่าง 4
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 

Más de DrDanai Thienphut

Change for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management toolsChange for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management toolsDrDanai Thienphut
 
Postgraduate education @ sju PhD 27 08-17
Postgraduate education @ sju  PhD 27 08-17Postgraduate education @ sju  PhD 27 08-17
Postgraduate education @ sju PhD 27 08-17DrDanai Thienphut
 
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติDrDanai Thienphut
 
Result based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
Result based HRM ฺ : Dr.Danai ThienphutResult based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
Result based HRM ฺ : Dr.Danai ThienphutDrDanai Thienphut
 
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยังบทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยังDrDanai Thienphut
 
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชนท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชนDrDanai Thienphut
 
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง  กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง DrDanai Thienphut
 
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy) กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy) DrDanai Thienphut
 
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ 2559
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ  2559โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ  2559
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ 2559DrDanai Thienphut
 
Teaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategyTeaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategyDrDanai Thienphut
 
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธบทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธDrDanai Thienphut
 
Inter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
Inter Human Capital Management Seminar PhD. AssignmentInter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
Inter Human Capital Management Seminar PhD. AssignmentDrDanai Thienphut
 
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4DrDanai Thienphut
 
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58 คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58 DrDanai Thienphut
 

Más de DrDanai Thienphut (20)

Change for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management toolsChange for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management tools
 
PKRU Scenario 2040
PKRU Scenario 2040PKRU Scenario 2040
PKRU Scenario 2040
 
Planning with PDCA
Planning with PDCAPlanning with PDCA
Planning with PDCA
 
Postgraduate education @ sju PhD 27 08-17
Postgraduate education @ sju  PhD 27 08-17Postgraduate education @ sju  PhD 27 08-17
Postgraduate education @ sju PhD 27 08-17
 
Minimum wage 2018
Minimum wage 2018Minimum wage 2018
Minimum wage 2018
 
SMEs upscaling
SMEs upscaling SMEs upscaling
SMEs upscaling
 
Study trip at Angor Wat
Study trip at Angor WatStudy trip at Angor Wat
Study trip at Angor Wat
 
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
 
Result based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
Result based HRM ฺ : Dr.Danai ThienphutResult based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
Result based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
 
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยังบทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
 
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชนท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
 
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง  กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
 
Transformative HR 2016
Transformative HR 2016 Transformative HR 2016
Transformative HR 2016
 
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy) กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
 
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ 2559
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ  2559โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ  2559
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ 2559
 
Teaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategyTeaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategy
 
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธบทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
 
Inter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
Inter Human Capital Management Seminar PhD. AssignmentInter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
Inter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
 
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
 
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58 คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
 

รายงานการพัฒนาองค์กร กรณีศึกษาธุรกิจน้ำมัน

  • 1. 1 บริษัทเชลล (Shell) เสนอ ดร.ดนัย เทียนพุฒ จัดทําโดย 1.นางสาวขนิษฐา นุมนวล รหัสประจําตัว54221585 2.นาย จรินทร พริกนุน รหัสประจําตัว 54221593 3.นายบุญญา นาคเกลี้ยง รหัสประจําตัว 54221668 4.นางสาวเบญจมาศ หอมกระแจะ รหัสประจําตัว 54221676 5. นายภาคภูมิ นิยมไทย รหัสประจําตัว 54221700 6.นางสาวรัตนา เงินสีเหม รหัสประจําตัว 54221718 7.นางสาวอารมย โกงเหลง รหัสประจําตัว54221591 วิชาการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาองคการ MGT-623 ภาคการศึกษาที่ 3 ปการศึกษา 2555 มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ
  • 2. 2   คํานํา รายงานฉบับนี้เปนสวนหนึ่งของวิชาการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาองคการ ( MGT-623 ) มีจุดประสงคในการจัดทําขึ้น เพื่อศึกษาเกี่ยวกับบริษัทระดับโลก ซึ่งก็คือ บริษัทเชลล (Shell) เปนบริษัทที่มีชื่อเสียงและเปนที่รูจักกันดี ในการประกอบธุรกิจน้ํามันและการใหบริการตางๆ เกี่ยวกับยานพาหนะ ซึ่งภายในรายงานฉบับนี้ จะประกอบไปดวยประวัติความเปนมาของ บริษัทเชลล วิวัฒนาการทางดานการดําเนินงานตางๆ ทฤษฎีที่เกี่ยวของ การวิเคราะหสวน ประสมทางการตลาด 4’P วิเคราะห SWOT ANALYSIS เพื่อหาจุดแข็ง จุดออน โอกาสและอุปสรรค วิเคราะหการเปลี่ยนแปลง 8 ขั้นตอนของ KOTTER วิเคราะห Five Force Model วิเคราะหโมเดล A-D-K- A-R รวมถึงการวิเคราะหโซลูชั่นพรอมแผนปฏิบัติการของบริษัท Shell ที่สามารถนํามาใชกับ ธุรกิจในประเทศไทย เพื่อเตรียมตัวเขาสู AEC ผูจัดทําตองขอขอบคุณ ดร.ดนัย เทียนพุฒ ผูใหคําแนะนําปรึกษาในการทํา รายงานครั้งนี้ ทางผูจัดทําหวังเปนอยางยิ่งวารายงานเลมนี้จะเปนประโยชนแกทานผูอาน ทุกทาน หากมีความผิดพลาดประการใดขออภัยไว ณ ที่นี้ คณะผูจัดทํา                
  • 3. 3 สารบัญ เรื่อง หนา บทที่ 1 บทนํา 1 บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรม 9 2.1 แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวของ 2.1.1 ทฤษฎีการขายไอดาส (AIDAS) 9 2.1.2 ทฤษฎี Peak Oil ดอยน้ํามัน 11 2.1.3 ทฤษฎีเชิงสถานการณ 13  บทที่ 3 วิธีการศึกษา 17 3.1 การเก็บรวบรวมขอมูล 17 3.2 วิธีการวิเคราะหขอมูล 17 บทที่ 4 ผลการศึกษา 18 บทที่ 5 สรุปผล และขอเสนอแนะ 38 5.1 สรุปผลการศึกษา 38 5.2 ขอเสนอแนะ 38 ภาคผนวก 41          
  • 4. 4 บทที่ 1 บทนํา 1.1 สภาพทั่วไปของบริษัท ประวัติความเปนมา Marcus Samuel คําวา "เชลล" ปรากฏเปนครั้งแรกในป 1891 โดยใชเปนเครื่องหมายการคาสําหรับน้ํามันกาด ที่มาร คัส ซามูเอล และบริษัททําการขนสงไปยังดินแดนตะวันออกไกล ธุรกิจเล็กๆ ในกรุงลอนดอนที่เริ่มตนจากการ จําหนายวัตถุโบราณและเปลือกหอยแหงตะวันออก นับถอยหลังไปเมื่อกวา 100 ปกอนในป ค.ศ. 1897 บน แผนดินของประเทศอังกฤษ Marcus Samuel ไดกอตั้งบริษัทเล็กๆ ที่ดําเนินงานเกี่ยวกับปโตรเคมีและการขนสง โดยใชชื่อวา Shell Transport and Trading Company เปนการเริ่มตนกาวแรกของบริษัทน้ํามันตราหอยนาม Shell คายผูผลิตน้ํามันเชื้อเพลิงและสารหลอลื่นเครื่องยนตชั้นนํา ที่อยูคูกับวงการอุตสาหกรรมรถยนต รถจักรยานยนต เรือและอากาศยานมานานกวา 115 ป ป1833 Marcus Samuel เปดรานขายเปลือกหอย Shell ในลอนดอน กอนที่ตอมารานนั้นจะเติบใหญ ขึ้นเปนบริษัทนําเขาสงออก (Import-Export) ป 1892 Shell ก็เริ่มสงออกน้ํามันกวา 4,000 ตันไปในเอเชีย เปนน้ํามันสําหรับหุงตมกับตะเกียง ประเทศไทยและสิงคโปรเปนลูกคาใหญ ในขณะเดียวกันนั้นบริษัท Royal Dutch ก็ไดกอตั้งขึ้นในเนเธอรแลนด สําหรับการทําบอน้ํามันในเอเชีย เนื่องจากทั้งสองบริษัท นั้นเปนคูแขงกันจึงตอสูกันอยางถึงพริกถึงขิง ผานไป ไมนานก็คนพบวารวมกันนั้นดีกวาห้ําหั่นกัน ในป 1900 บริษัท Royal Dutch/Shell Group จึงไดเริ่มขึ้น
  • 5. 5 ตอจากนั้นบริษัทก็ไดขยายกิจการไปทั่วโลก ในปจจุบัน Royal Dutch/Shell Group นั้นมีบริษัทใน เครือมากมาย แตที่เปนธุรกิจหลักนั้น มีอยู 5 อยาง 1. Shell Chemicals : ดูแลธุรกิจเกี่ยวกับ เคมีภัณฑทั้งหมด 2. Shell Exploration and Production : หาน้ํามันแลวก็ขุดเจาะออกมาใช รวมถึงสงไปยังโรง กลั่นดวย 3. Shell Oil Products : ทํา Oil products ตางๆ เชน น้ํามันรถยนต น้ํามันเครื่องบิน 4. Shell Renewables : อนาคตอยูที่นี่ พลังงานที่นํากลับมาใชใหมได 5. Shell Gas& Power : กลั่นพลังงาน แกสธรรมชาติ โปรโมต และสงออกแกส กับไฟฟาไป ทั่วโลก นอกจากนี้ Royal Dutch/Shell Group ยังมีบริษัทกอสราง บริษัทที่ปรึกษาเทคโนโลยี บริษัท Trading น้ํามัน และอีกหลายอยาง เปนบริษัทที่อยูในสิบอันดับแรก ของ Fortune 500 อยูเกือบตลอดเวลา ในไตรมาสที่ สามที่ผานมาของ 2003 ก็มีรายได สุทธิ 2.7 พันลานดอลลารสหรัฐ ซึ่งทําใหรายไดสุทธิของปนี้ขึ้นไปถึง 10.8 พันลานดอลลารสหรัฐ ขึ้นมาถึง 52% โลโกแรกที่ใชในป 1901 คือ หอยแมลงภู ในป 1904 มีการเปลี่ยนมาใช หอยพัดหรือหอยเชลลซึ่งสื่อถึงชื่อบริษัทและแบรนดอยางชัดเจน Shell พูดอยูเสมอวาทุกๆ 4 วินาที เครื่องบินสักลําจะตองถูกใหน้ํามันอยูโดย Shell ทุกๆ เวลาอยาง นอยรถยนต 1,200 คัน ก็จะตองอยูในปมน้ํามัน Shell สักแหงในโลก มองดูแลวก็เปนบริษัทที่ประสบ ความสําเร็จอยางสูงที่สุดแหงหนึ่งในโลก ชื่อบริษัท "เชลล" และเรือบรรทุกน้ํามันของซามูเอลที่บรรทุกน้ํามันกาดไปยังดินแดนตะวันออก กลาง ตั้งชื่อหลังจากใชเปลือกหอยหลายชนิด หอยเชลลนาจะมาจากธุรกิจครอบครัวของเพื่อน นายเกรแฮม ที่ เปนผูนําเขาน้ํามันกาดของซามูเอลเขาไปในอินเดีย และตอมากลายเปนผูอํานวยการบริษัทเชลลทรานสปอรต แอนดเทรดดิ้ง หลังจากเดินทางไปยังซานดิเอโกเดคอมพอสเทลาในสเปน ครอบครัวของเกรแฮมไดเปลี่ยนมาใช หอยเชลลเซนตเจมส หลายปตอมารูปสัญลักษณเชลลเปลี่ยนแปลงไปตามแนวโนมการออกแบบภาพกราฟก เรย มอนด โลวี นักออกแบบสรางและเริ่มใชสัญลักษณเปลือกหอยเชลลในปจจุบัน ในป 1915 บริษัทเชลลในแคลิฟอรเนียเริ่มเปดใหบริการสถานีบริการน้ํามันแหงแรก และตองการ สรางความโดดเดนจากบริษัทคูแขง พวกเขาใชสีสันสดใสที่ทําใหชาวแคลิฟอรเนียพอใจ เนื่องจากมีการติดตอ
  • 6. 6 กับชาวสเปนในรัฐอยางแนนแฟน พวกเขาจึงเลือกสีแดงและเหลืองสีที่แทจริงไดถูกพัฒนามาตลอดหลายปที่ ผานมา ชวงที่โดดเดนที่สุดเกิดขึ้นในป 1995 เมื่อนําสีเหลืองและแดงที่สดใสมาใชในการเปดตัวกิจการคาปลีก ใหมของเรา หอยเชลลยังคงเปนสัญลักษณแบรนดที่ยิ่งใหญที่สุดมาจนถึงศตวรรษที่ 21 ผลิตภัณฑของบริษัท Shell ทั้งน้ํามันเชื้อเพลิงเบนซินและดีเซล รวมถึงน้ํามันเครื่องที่ใชหลอลื่น เครื่องยนตนานาชนิด ผานการคิดคนจากทีมผูเชี่ยวชาญ ที่ทุมเทการทํางานอยางตอเนื่องในศูนยวิจัยและ สนามแขงรถทั่วโลก เพื่อคิดคนน้ํามันเชื้อเพลิง ที่สามารถตอบสนองความตองการของเครื่องยนต ดวย เทคโนโลยีที่กาวล้ํา จากอดีตสูปจจุบัน กับการผันตัวเองเขารวมในวงการมอเตอรสปอรตระดับโลก เพื่อคิดคน พัฒนาและวิจัยเชื้อเพลิงที่ดีที่สุดสําหรับเครื่องยนตหลากหลายชนิด ทําใหในแตละวันมีผูขับขี่รถยนต รถจักรยานยนต เรือ และเครื่องบิน ไววางใจเลือกใชน้ํามันเชื้อเพลิงจาก Shell ผานสถานีบริการกวา 43,000 แหง ใน 80 ประเทศทั่วโลก การมาถึงของเครื่องยนตเผาไหมภายในในป 1886 ทําใหเกิดความตองการน้ํามันเชื้อเพลิงในภาคการ ขนสง เพิ่มสูงขึ้นอยางมาก ดวยความเชี่ยวชาญดานการขนสง ตระกูล Samuel จึงเริ่มการขนสงน้ํามันโดยใชเรือ บรรทุกน้ํามัน พวกเขาปฏิวัติการขนสงน้ํามัน โดยใชเรือบรรทุกน้ํามันรายแรกที่ชื่อมิวเร็กซ ในป 1892 มิวเร็กซเปนเรือบรรทุกน้ํามันลําแรกที่เดินทางผานคลองซูเอซ พวกเขาตั้งชื่อบริษัทวา Shell Transport and Trading Company (เชลลทรานสปอรตแอนดเทรดดิ้ง) ในป 1897 และใชหอยแมลงภูเปนโลโกสัญลักษณที่สามารถจดจําไดอยางงายดาย กิจกรรมการ ขนสงของบริษัท Shell ในตะวันออก และการคนหาแหลงน้ํามันใหมๆ เพื่อทดแทนแหลงน้ํามันในรัสเซีย ทําให บริษัทไดมีโอกาสติดตอกับบริษัทโรยัล ดัทช ปโตรเลียม สองบริษัทควบรวมกัน ในป 1903 เพื่อปกปองธุรกิจของตน จากการเขามามีบทบาทสําคัญของบริษัทสแตนดารดออยล พวก เขาควบรวมกิจการกับกลุมบริษัทรอยัล ดัทช เชลล ในป 1907 Shell เปลี่ยนโลโกเปนหอยพัดหรือหอยเชลล ซึ่งใชมาจนถึงปจจุบัน เมื่อสิ้นสุดทศวรรษ 1920 Shell ยังคงเปนบริษัทน้ํามันชั้นนําของโลก โดยสามารถผลิตน้ํามันดิบไดถึง 11% ของปริมาณน้ํามันดิบ ของโลก และเปนเจาของเรือบรรทุกน้ํามัน 10% ของจํานวนเรือบรรทุกน้ํามันทั้งหมด
  • 7. 7 ในชวงทศวรรษ 1930 เปนชวงเวลาที่ยากลําบาก สินทรัพยของกลุมบริษัทในเม็กซิโก ถูกควบคุมและ ถูกบังคับใหมอบแกรัฐบาลเวเนซุเอลา เมื่อรัฐบาลเรียกคืนการดําเนินการบอน้ํามันโดยภาครัฐ เมื่อสงครามโลกครั้งที่สองยุติลง รถยนตเริ่มไดรับความนิยมอยางแพรหลายไปทั่วโลก บริษัท Shell ไดขยาย กิจการเขาไปในแอฟริกาและอเมริกาใต เพื่อรองรับการขนสงที่เพิ่มจํานวนมากขึ้น และเริ่มมีบทบาทมากขึ้นใน วงการอุตสาหกรรมยานยนต ในป 1947 บริษัท Shell ขุดเจาะบอน้ํามันในทะเลเพื่อการพาณิชยเปนครั้งแรกในอาวเม็กซิโก ในป 1955 Shell มีบอน้ํามัน 300 แหง ในป 1958 Shell เริ่มผลิตน้ํามันในไนจีเรีย ตามดวยการเขารวมเปนพันธมิตรกับ Ferrari ในชวงตน ยุค 1960 ตอมาในทศวรรษ 1970 เปนชวงเวลาแหงการพัฒนาบอน้ํามันของ Shell ในทะเลเหนือและอเมริกาใต ซึ่งเปนแหลงน้ํามันที่ยากตอการผลิตน้ํามันและมีคาใชจายสูง หากแตมีความสําคัญอยางยิ่ง ทั้งนี้เมื่อพิจารณาถึง การจัดสงน้ํามันจากตะวันออกกลางที่ลดลง ในป 1978 Shell สรางแทนขุดเจาะและผลิตน้ํามันในคอกแนกในอาวเม็กซิโกไดสําเร็จ ซึ่งเปนแทน ที่สูงที่สุดในโลกที่ระดับ 1,100 ฟุต ตั้งแตกลางทศวรรษ 1990 การตรวจสอบอุตสาหกรรมน้ํามันอยางละเอียด โดยภาครัฐ เกี่ยวกับปญหาสิ่งแวดลอมไดรับความสนใจอยางยิ่ง Shell ถูกวิพากษวิจารณแผนการกําจัดทิ้งแทน ขุดเจาะเบรนทสปาร และประสบปญหาการดําเนินงานในไนจีเรีย หลังจากสหัสวรรษใหม Shell ขยายธุรกิจเขา ไปในประเทศจีนและรัสเซีย ในป 1998 (พ.ศ. 2541) ที่ฮองกง บริษัทผลิตน้ํามันเชื้อเพลิงยักษใหญของโลกรายนี้ ไดเปดตัว เชื้อเพลิงรุนลาสุด Shell V Power เปนน้ํามันเชื้อเพลิงเบนซินเกรดสูงสุดที่พัฒนาขึ้นมาเพื่อตอบสนองตอความ ตองการของเครื่องยนตเบนซินโดยเฉพาะ สําหรับประเทศไทยนั้น บริษัท Shell ไดเริ่มตนวางจําหนายน้ํามัน เชื้อเพลิง Shell V Power Gasohol 95 ในป 2009 ซึ่งเปนน้ํามันเกรดพรีเมี่ยมรายแรกและรายเดียวในประเทศไทย เชื้อเพลิงเบนซิน Shell V Power Gasohol 95 ถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่อเปนทางเลือกใหกับผูบริโภคที่ตองการเชื้อเพลิง ที่ดี ที่สุดสําหรับรถยนต ตามดวยการเปดตัวผลิตภัณฑเชื้อเพลิงใหมลาสุด Shell V Power Nitro+Gasohol 95 จุดสูงสุดของการพัฒนาน้ํามันเชื้อเพลิงสําหรับเครื่องยนตเบนซินสมรรถนะสูงไป เมื่อวันที่ 8 มิถุนายนที่ผานมา ที่เซนทรัลพระราม 9
  • 8. 8 ในป 2002 Shell ไดเปดตัว Shell V power Diesel น้ํามันดีเซลเกรดพรีเมี่ยมที่ประเทศ อิตาลี ซึ่ง พัฒนาขึ้นเพื่อตอบสนองความตองการของผูบริโภคที่มองหาน้ํามันที่ชวยใหเครื่องยนตทํางานไดอยางเต็ม ประสิทธิภาพ และความตองการนั้นก็ไดเพิ่มขึ้นในตลาด และเปดตัวครั้งแรกที่ประเทศไทย ป 2007 Shell คิดคน และพัฒนาน้ํามันดีเซลรุนใหม Shell V Power Nitro+ Diesel น้ํามันดีเซลคุณภาพสูงเกรดพรีเมี่ยมจากเทคโนโลยี ลาสุดของ Shellb พรอมจําหนายทั่วประเทศที่สถานีบริการน้ํามัน Shell 550 แหงทั่วประเทศ ที่มีสัญลักษณ Shell V power Nitro+ Diesel ในป 2005 Shell ยกเลิกโครงสรางบริษัทเดิมและปรับโครงสรางบริษัทใหม Shell ยังคงเปนหนึ่งใน บริษัทผลิตน้ํามันและกาซรายใหญของโลก ที่มุงเนนการผลิตกาซธรรมชาติเหลวและผลิตภัณฑ ที่แปลงจากกาซ เปนของเหลว บริษัท Shell พัฒนาน้ํามันเชื้อเพลิงชีวภาพอยางยั่งยืน และเขารวมในโครงการพลังงานลม เพื่อวิจัย และพัฒนาพลังงานในอนาคตสําหรับมนุษยชาติ เทคโนโลยี และนวัตกรรมของบริษัท Shell มีความแตกตางจากคูแขงดานการทุมเทเพื่อวิจัย ทดสอบ พัฒนาเชื้อเพลิง ทีมวิศวกรใน PAE Lab Hamburg ชวยใหการดําเนินธุรกิจทั้งในปจจุบันและในอนาคตของ Shell มีความมั่นคงจากทิศทางในการพัฒนาเชื้อเพลิงหลากหลายประเภท กวาหาปของศูนยทดสอบแหงนี้ บริษัท Shell ตองใชจายในการวิจัยและพัฒนา (R And D) เฉลี่ยมากกวา 1,000 ลานเหรียญยูเอสเปนประจําทุกป มากกวาบริษัทน้ํามันระหวางประเทศอื่น ๆชนิดเทียบกันไมติด ใน Shell PAE Lab Hamburg ยังมีการพัฒนา เทคโนโลยีเชื้อเพลิงระยะยาวสําหรับใชในอนาคต กระบวนการสรางสรรค ที่นักวิทยาศาสตรกับผูเชี่ยวชาญของ Shell กําลังพัฒนาสูตรเชื้อเพลิงชนิดใหม นวัตกรรมของการผสมผสานเชื้อเพลิง ที่ผานการวิจัยอยางเขมขน เพื่อ ชวยใหลูกคาไดรับประโยชนสูงสุดบนยานพาหนะหลังจากเติมเชื้อเพลิงของ Shell โดยปกติแลว ระหวางการ วิจัยและพัฒนาซึ่งอาจใชเวลาหลายปในการผลิตเชื้อเพลิงรุนใหม ที่เหมาะสมกับเครื่องยนตในยุคนี้ เทคโนโลยี ลาสุดที่ถูกคิดคนขึ้นมาใหมจะไดรับการประเมินและพรอมเต็มที่ เมื่อ Shell นําสูตรใหมออกสูตลาด เทคโนโลยี Shell V-Power Nitro + เปนตัวอยางลาสุดของ Lap แหงนี้ ขั้นตอนการทดสอบและการวิจัยใหมที่ถูกนํามาใชใน การพัฒนาเทคโนโลยีเชื้อเพลิง V-Power เปนสวนหนึ่งของความมุงมั่นจาก Shell ในการสงมอบเชื้อเพลิงที่ดีกวา สําหรับลูกคาทั่วโลก ศูนยเทคนิคของ Shell PAE ใน Hamburg ประกอบไปดวยหองปฏิบัติการทดสอบการทํางานของ เครื่องยนตนับสิบหอง ทําหนาที่ทดลองและตรวจสอบการทํางานของเครื่องยนตเมื่อทําการเติมเชื้อเพลิง ของ Shell เปรียบเทียบกับน้ํามันเชื้อเพลิงของบริษัทคูแขง รับหนาที่ในการวิจัยซึ่งครอบคลุมเชื้อเพลิงยานยนต
  • 9. 9 อุตสาหกรรมและสารหลอ ลื่นเครื่องยนตทุกชนิด รวมถึงเทคโนโลยีระบบเชื้อเพลิง การเผาไหม การฉีดจายของ หัวฉีดแรงดันสูงในเครื่องยนตของยานพาหนะยุคใหม คําวา PAE หมายถึง "Produkte, Anwendung und Entwicklung" หมายถึงผลิตภัณฑที่ไดรับการพัฒนาอยางไมหยุดยั้งจาก Shell โดยตั้งแตเริ่มเปดทําการในป 1956 วิศวกรนักวิทยาศาสตรและนักวิจัยใน Hamburg ไดชวยบุกเบิกและพัฒนาผลงานของ Shell ดานน้ํามันเชื้อเพลิง ที่มีความแตกตางจากคูแขงเมื่อเปรียบเทียบ ผลิตภัณฑน้ํามันหลอลื่นและการบริการทางดานเทคนิคทั้งในการ พัฒนาระบบใหมๆ และการปรับปรุงผลิตภัณฑที่มีอยูเดิม ทั้งหมดทั้งปวงมีการทํางานบนความสัมพันธกับ บริษัทผูผลิตรถยนตชั้นนําของโลก ยนตกรรม เชน Ferrari , BMW , Audi , Volkswagen , Mercedes-Benz , Ducati , Porsche , GM , ZF , Bosch ฯลฯ ซึ่งยังหมายรวมถึงพันธมิตรทางธุรกิจอื่นๆ ทั้งในเยอรมนีเองและ ตางประเทศทั่วโลกที่มีความสําคัญตอการสรางสรรคยานยนต พาหนะทุกประเภทบนการพัฒนาผลิตภัณฑอยาง ไมหยุดยั้ง ในสวนของความสัมพันธดานธุรกิจอันเหนียวแนนระหวางบริษัท Shell กับแบรนดรถสปอรตระดับ Hi-end อยาง Ferrari เมื่อยอนเวลากลับไปกวา 60 ปกอน บริษัทผลิตรถสปอรตระดับโลกจากอิตาลีนาม Ferrari ไดเขารวมกับบริษัทน้ํามัน Shell เพื่อทําใหรถสปอรตของคายมาลําพองที่มีประสิทธิภาพสูงทั้งในดาน ประสิทธิภาพของเครื่องยนตและระบบสงกําลังอยูแลว สามารถแสดงสมรรถนะไดอยางเต็มเปยมเมื่อเติม เชื้อเพลิงและสารหลอลื่นอัน ทรงประสิทธิภาพของ Shell ซึ่งยังหมายรวมไปถึงการสนับสนุนดานน้ํามัน เชื้อเพลิงและน้ํามันหลอลื่นให กับรถแขงของทีม Ferrari สําหรับใชในการแขงขันรถยนตทางเรียบ Formula 1 รถสปอรตจากคาย Ferrari ทุกคัน เมื่อขับรถออกจากประตูโรงงานที่ Maranello ประเทศอิตาลีจะถูกขับเคลื่อน และคุมครองปกปองเครื่องยนตโดยสารหลอลื่นกับ น้ํามันเชื้อเพลิงของ Shell เทานั้น ความสัมพันธของ Shell กับ Enzo Ferrari เริ่มตนขึ้นในชวงปลายยุค 1920 เมื่อ Enzo Ferrari ผูกอตั้งแบรนด Ferrari ไดรับการสนับสนุน เงินทุนตลอดจนน้ํามันเชื้อเพลิงและน้ํามันเครื่องจากบริษัท Shell เพื่อใชสําหรับการแขงขันรถยนตในทีมแขง ของ Ferrari เอง ความเชื่อมั่นของ Enzo Ferrari ที่มีตอบริษัท Shell และผลิตภัณฑของ Shell ไดดําเนินมาเปน ระยะเวลายาวนานกวา 60 ปแลว เปนหนึ่งในความสัมพันธอันแนบแนนที่พัฒนาขึ้นจนกลายเปนหนึ่งในการ ยอมรับ มากที่สุดในประวัติศาสตรของวงการมอเตอรสปอรตระดับโลก บริษัท Shell ไดลงนามเซนสัญญากับ แบรนด Ferrari ตั้งแตเริ่มมีการกอตั้งบริษัท Ferrari SpA ในป 1947 นับเปนจุดเริ่มตนของการเปนหุนสวนทาง เทคนิคระหวาง Shell กับ Ferrari โดยที่เชื้อเพลิงและสารหลอลื่นของ Shell ถูกใชเติมลงไปในรถ Formula 1 ของ Ferrari ในยุคแรกเริ่มของการแขงขันรถแขง Ferrari รุน125S เลือกใชเชื้อเพลิงและน้ํามันเครื่องยนตของ Shell จากเทคนิคของการวิจัยและพัฒนาที่ทันสมัย ซึ่งผลิตภัณฑของ Shell ดานมอเตอรสปอรตยังสามารถ
  • 10. 10 เพิ่มเติมกําลังของเครื่องยนตในดานแรงบิดและ อัตราเรงอันตอเนื่อง บริษัท Ferrari กับเชื้อเพลิงและน้ํามันเครื่อง ของ Shell ไดรวมมือกันในการพัฒนาผลิตภัณฑเชื้อเพลิงสําหรับรถแขง สิ่งที่ตามมาคือชัยชนะเหนือรถแขงของ ทีมแขงอื่นๆ ที่สนามแขงรถซิลเวอรสโตน ในป 1951 ในชวงตนยุค 1950 วิศวกรของ Shell ยังคงทํางานอยางมุงมั่นเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพเชื้อเพลิงที่ ใชสําหรับการแขงขันรถยนต Formula 1 สําหรับใชในการแขงขันของทีม Ferrari ในป 1950 ตอเนื่องไปจนถึงป 1960 บริษัท Shell รับหนาที่ในการพัฒนาระบบเชื้อเพลิงของรถแขง Ferrari ตามกฎระเบียบของการแขงขันที่ถูก กําหนดขึ้นโดยสมาพันธยานยนตนานาชาติหรือ FIA ( Federation Internationale de l'Automobile ) ชวยสราง รถแขงที่สามารถนําชัยชนะสู ทีมแขง Ferrari ซึ่งสามารถควาชัยในการแขงขันชิงแชมปโลกนับเปนครั้งแรกของ แบรนด Ferrari หลังจากเขารวมเปนพันธมิตรกับ Shell ในการควาตําแหนงแชมปโลกรถแขงสูตร 1 และเมื่อ Ferrari ตออายุการเปนหุนสวนทางเทคนิคกับบริษัท Shell ในป 1996 นับเปนชวงเวลาแหงการประสบ ความสําเร็จมากที่สุดของ Ferarri ที่ดําเนินมาอยางยาวนานในประวัติศาสตรมอเตอรสปอรตระดับโลก ความสําคัญของ Shell ที่เอื้อประโยชนและปจจัยตางๆ อันนํามาซึ่งความสําเร็จในดานการแขงขันรถยนต Formula 1 ตราบจนถึงทุกวันนี้ หุนสวนทางเทคนิคของทั้งสองบริษัทยังคงแข็งแกรง ทีมนักวิทยาศาสตรของ Shell ไดรวมเดินทางไปกับทีมแขงของมาลําพอง ในทุกๆสนามแขงรถทั่วโลก เพื่อดําเนินการแขงขันใหมีความ สมบูรณสูงสุด สวนทีมวิจัยของ Shell ก็ยังคงทํางานอยางหนักในหองปฏิบัติการ เพื่อคนควาเชื้อเพลิงที่ดีที่สุด สําหรับรถแขง Ferrari วิศวกรและชางทางเทคนิคของ Shell ทุมเททั้งมันสมองและแรงกาย เพื่อทดสอบและ ประเมินผลการแขงขันซึ่งเชื้อเพลิงและน้ํามันหลอลื่นของ Shell มีสวนรวมมาตลอดระยะเวลากวา 60 ปที่ผานมา ในขณะที่วิศวกรของ Ferrari อุทิศเวลาของตนเพื่อการพัฒนาระบบตางๆ บนตัวรถ Formula 1 บริษัท Shell ซึ่ง เปนเปนพันธมิตรทางเทคนิคที่สําคัญ คิดคนเชื้อเพลิงอันทรงประสิทธิภาพ ที่สามารถทําใหเครื่องยนตสําแดง พลังที่แทจริงของมันออกมา เปนการสรางผลิตภัณฑเชื้อเพลิงที่ทันสมัย โดยออกแบบมาเพื่อนําพา Ferrari ไปสู ความสําเร็จสูงสุดในวงการมอเตอรสปอรต วิศวกรของ Shell ในโรงงาน Ferrari ที่ Maranello ยังคอยใหความ ชวยเหลือดานวิทยาศาสตรและชางเทคนิค ในระหวางขั้นตอนของการพัฒนาบนผลิตภัณฑใหมๆ ซึ่งเปน ซุปเปอรคารที่ไดรับความนิยม เพื่อใหแนใจวาการพัฒนาเชื้อเพลิงและน้ํามันหลอลื่น ไดรับการปรับใหมี ประสิทธิภาพและมีความนาเชื่อถือสูงที่สุด สิ่งตางๆเหลานี้ไมไดเปนเพียงแคหนึ่งในความสําเร็จที่ Shell ทํางาน รวมกับ Ferrari ในการดํารงอยูบนหัวแถวของนวัตกรรมเชื้อเพลิงเทานั้น ทีมแขงรถอื่นๆ ซึ่งเปนหุนสวนทาง เทคนิคกับ Ferrari ที่มีชื่อเสียงดานรถแขงแบบ GT ยังไดรับประโยชนจากความเชี่ยวชาญของ Shell อีกดวย โดย นับตั้งแตป 1940 เปนตนมา ผลิตภัณฑเชื้อเพลิงและน้ํามันหลอลื่นของ Shell กับการวิจัยและพัฒนาเครื่องยนต
  • 11. 11 ของรถ Ferrari สําหรับใชงานในการแขงรถแบบ Gran Turismo (GT) รวมถึงรถถนนของ Ferrari ที่แลนออกจาก สายการผลิตในโรงงาน Maranello ทุกรุนทุกคัน ใชเชื้อเพลิง V-Power และหลอลื่นเครื่องยนตดวย Shell Helix Ultra น้ํามันเชื้อเพลิงและน้ํามันหลอลื่นประสิทธิภาพสูงที่แนะนําโดย Ferrari ในเดือนมิถุนายนป 2007 และอีก ครั้งในเดือนกรกฎาคมป 2010 บริษัท Shell ไดรับการยอมรับอยางกวางขวาง พรอมกับการควารางวัลพิเศษดาน ความเปนเลิศทางวิชาการและนวัตกรรมโดย Ferrari รางวัล Podio Ferrari ถูกนําเสนอโดยบริษัท Ferrari ในแต ละป ซึ่งรางวัลอันทรงเกียรติดังกลาวนี้ ยังหมายรวมถึงการยอมรับในผลิตภัณฑของ Shell มาตรฐานความเปน เลิศดานนวัตกรรม เทคโนโลยี และการพัฒนาผลิตภัณฑใหแกหุนสวนทางเทคนิคดวยดีเสมอมา 1.2 วัตถุประสงค 1.2.1 ศึกษาและสังเคราะห การปรับเปลี่ยนหรือแปลงองคกร (Corporate Transformation) ตั้งแต เริ่มกิจการจนถึงปจจุบัน 1.2.2 ศึกษาประเด็นของการเปลี่ยนแปลงในการดําเนินธุรกิจของ บริษัทเชลล 1.2.3 ศึกษาธุรกิจของบริษัทขามชาติที่ประสบความสําเร็จและยั่งยืน 1.3 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 1.3.1 เพื่อทําใหทราบถึงการเปลี่ยนแปลงในการดําเนินธุรกิจของบริษัทเชลล 1.3.2 เพื่อใชเปนแผนปฏิบัติการในการนํามาปรับใชกับธุรกิจ ใหมีประสิทธิภาพและบรรลุ ประสิทธิผล 1.3.3 เพื่อไดเห็นรูปแบบการดําเนินธุรกิจโดยเนนวัฒนธรรมองคกร ที่มีความรับผิดชอบตอสังคม และสิ่งแวดลอมและมีจริยธรรมองคกรที่ชัดเจน 1.3.5 เพื่อใหทราบถึงกลยุทธทางการบริหาร การตลาดของเชลลที่นํามาใชกับธุรกิจ
  • 12. 12 บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรม 2.1 แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวของ 2.1.1 ทฤษฎีการขายไอดาส (AIDAS) ในดานทฤษฎีการขายนั้นมีอยูหลายทฤษฎีดวยกันแตที่นิยมใชและพบบอยในธุรกิจการขาย ก็คือ ทฤษฎีของ AIDAS (AIDAS Theory of Selling) เปนทฤษฎีการขายที่รูจักกันมากที่สุดทฤษฎีนี้จะเนนหนัก ทางดานผูขาย (Seller Oriented) โดยเนนเกี่ยวกับการชักนําลูกคาตามหลักสําคัญในการซื้อซึ่งมีรายละเอียด ดังตอไปนี้ ภาพทฤษฎี AIDAS A = Attention หรือที่เรียกวา “แอทเท็นชั่น” (ความตั้งใจ) ขั้นแรกพนักงานขายตองหาโอกาสที่จะทํา ใหผูคาดวาเปนลูกคาตื่นตัว พรอมที่จะรับฟงการเสนอขาย เชน การขอนัดพบลวงหนาหรือบอกเหตุผลในการมา หรือขออภัยที่รบกวนเวลาเขาการที่จะทําใหเขาเกิดความเอาใจใสที่จะรับฟงการเสนอขายอาจเปนผลมาจาก
  • 13. 13 บุคลิกทาทางการแตงกายเรียบรอย การยิ้ม การพูดจาสุภาพนิ่มนวลพนักงานขายจะตองแนใจวาสามารถทําได สําเร็จซึ่งเทากับเปนการเริ่มตนการขายที่มีประสิทธิภาพ และทําใหผานไปสูขั้นตอนอื่น ๆไดงายยิ่งขึ้น I = Interest หรือที่เรียกวา “อินเทอเรส” (ความสนใจ)เมื่อเห็นวาลูกคาพรอมที่จะรับฟงการเสนอขาย พนักงานขายก็ตองเริ่มสรางความสนใจมีวิธีการใหลูกคาเกิดความสนใจ กลาวถึงรายละเอียดของผลิตภัณฑโดย อาจเสนอตัวอยางสินคา แคทตาลอก รูปภาพ หรืออื่น ๆมาชวยเรงเราความสนใจใหเกิดเร็วขึ้น หนักที่สําคัญก็คือ พนักงานขายตองพยายามหาความตองการของลูกคา (ในดานทัศนคติและความรูสึก)โดยวิธีการตั้งคําถาม ทดสอบความสนใจเพื่อทราบถึงความรูสึก ทัศนคติหรือทาทีซึ่งบางครั้งลูกคาอาจจะบอกมาเองก็ได D = Desire หรือที่เรียกวา “ดีไซด” (ความปรารถนา)เปนขั้นที่พนักงานขายตองพยายามจูงใจให ลูกคาเกิดความรูสึกอยากที่จะเปนเจาของผลิตภัณฑที่เสนอขายอยูขั้นนี้เปนระยะหัวเลี้ยวหัวตอของการขาย เพราะลูกคามักจะตั้งขอตําหนิ ติเตียนสงสัย โตแยงตาง ๆ ซึ่งทําใหเปนอุปสรรคในการขายพนักงานขายตอง เตรียมพรอมที่จะรับสถานการณ พยายามควบคุมสติอารมณปรับตัวใหเขากับลักษณะลูกคาแตละรายจนสามารถ แกขอสงสัยตาง ๆ ไปไดโดยทําใหลูกคาเขาใจและยอมรับหรือพอใจในคําตอบบางครั้งจะเปนการประหยัดเวลา ไดมากถานักงานขายจะกลาวถึงคําถามที่เขามักจะไดรับเสียเองโดยอาศัยประสพการณที่ผานมาและกอนที่จะ ดําเนินการตอไปก็ควรสรุปสาระสําคัญ ๆที่ไดกลาวแลวเพื่อกระตุนเตือนความสนใจของลูกคา การตกลงใจที่จะ ซื้อ (Action) หากการเสนอขายไดกระทําอยางถูกตองแลวยอมทําใหผูคาดวาจะเปนลูกคาพรอมที่จะตกลงซื้อ อยางไรก็ตามการตกลงซื้อไมไดเกิดขึ้นโดยอัตโนมัติจะตองอาศัยการชี้ชวนของพนักงานขายดวยพนักงานขายที่ ดีจะปดการขายเมื่อเห็นแนนอนวาลูกคาเกิดความอยากซื้ออยาง แรงกลาโดยทั่วไปไมนิยมถามตรงๆ วาจะซื้อ หรือไมซื้อ แตมักใชคําถามเลี่ยงๆเชนวาจะใหสงสินคามาเมื่อไหร จํานวนเทาไหร A = Action หรือที่เรียกวา “แอคชั่น” (ความตกลงใจที่จะซื้อ)เปนขั้นตอนที่ลูกคาตกลงใจซื้อ สินคาที่เสนอขายแตผูซื้ออาจจะไมสั่งซื้อทันทีการปดการขายจึงไมควรที่จะตั้งคําถามใหลูกคาตอบวา "ซื้อ" หรือ "ไม"แตควรจะเลี่ยงดวยการถามวา "ตองการสีอะไร" "จะใหจัดสงเมื่อใด" "ตองการจายเปนเงินสดหรือใชบัตร เครดิต" เปนตน S = Satisfaction หรือที่เรียกวา “ซาตีสแฟคชั่น” (ความพึงพอใจ)พนักงานขายตองเสริมสรางความ พอใจใหกับลูกคาโดยการแสดงความขอบคุณและแสดงใหลูกคารูสึกวา ไดตัดสินใจถูกตอง เหมาะสมที่สุดแลว ทั้งใหลูกคาเกิดความประทับใจและพอใจที่ไดรับความชวยเหลือจากผูขายขั้นนี้ควรทําใหเร็วที่สุดหลังการขาย พนักงานขายปลีกอาจจะเห็นวาในขั้นนี้อาจจะเสนอขายสินคาอื่นๆ เพิ่มไดอีกดวย
  • 14. 14 2.1.2 ทฤษฎี Peak Oil ดอยน้ํามัน ทฤษฎีสําคัญที่เปนหัวใจของกําลังการผลิตน้ํามันของแหลงผลิตตาง ๆและของโลกเพราะเปนตัวชี้ที่ สําคัญวา Supply หรืออุปทานน้ํามันของโลกจะเปนอยางไร ทฤษฎีนี้มีชื่อเรียกกันงาย ๆวา Peak Oil หรือแปล ตรง ๆวา “ดอยน้ํามัน” และผูที่คิดทฤษฎีนี้ก็คือดร. M. King Hubbert ซึ่งเปนนักธรณีวิทยาและเคยทํางานอยูกับ บริษัท น้ํามัน Shell มานานกวา 20 ป อีกทั้งไดทํางานในฐานะของนักวิจัยใหกับหนวยงานการสํารวจทาง ธรณีวิทยาของรัฐบาลสหรัฐกวา 12 ปและยังมีตําแหนงเปนศาสตราจารยที่มหาวิทยาลัยเบิรกเลยและ สแตนฟอรดอีกตางหาก Peak Oil คือทฤษฎีที่อธิบายวาทําไมแหลงน้ํามันตาง ๆนั้นในตอนเริ่มทําการผลิตกําลังการผลิตจะ เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆจนถึงจุดหนึ่งก็จะเพิ่มถึงจุดสุดยอดซึ่งที่จุดนั้นก็คือจุดที่ไดมีการสูบน้ํามันออกมาจากบอแลว ประมาณครึ่ง บอหลังจากถึงจุดที่มีกําลังการผลิตสูงสุดแลวกําลังการผลิตก็จะคอย ๆลดลงไปเรื่อยๆ อาจจะปละ 1-2 % หรือมากกวานั้นจนกระทั่งน้ํามันหมดบอถาดูเปนเสนกราฟของการผลิตก็จะเปนเหมือนรูประฆังคว่ําโดย มีจุดสูงสุดอยูตรงกลาง คําอธิบายแบบงาย ๆวาทําไมจึงเปนอยางนั้นก็คือบอน้ํามันนั้นในชวงแรกที่มีการเจาะ และสูบน้ํามันขึ้นมาการสูบหรือการไหลของน้ํามันจะเร็วมากเพราะวาน้ํามันยังอัดกันเต็มภายใตแรงดันในบอ พอหลุมถูกเปดออกน้ํามันก็แทบจะทะลักขึ้นมาเองโดยไมตองทําอะไรกําลังการผลิตในชวงแรกๆ จึงสูงมาก ตอมาเมื่อน้ํามันถูกดูดออกไปมากขึ้นเรื่อยๆ แรงดันภายในบอก็จะลดลงเรื่อย ๆหรือหมดไปน้ํามันก็ไหลออกมา ยากขึ้นการสูบก็ยากขึ้นเพราะน้ํามันที่เหลือก็มักจะเปนน้ํามันที่ขนขึ้นเพราะน้ํามันที่ใสและดีถูกดูดออกไป หมดแลวในขั้นตอนนี้เรายังจําเปนตองชวยโดยการอัดกาซเชนคารบอนไดออกไซดเขาไปในหลุมและ/หรืออัด น้ําหรือสารเคมีที่จะทําใหน้ํามันดิบลดความขนลงเพื่อใหน้ํามันไหลงายขึ้นอยางไรก็ตามกําลังการผลิตของบอ น้ํามันในชวงหลังจากจุดสุดยอดแลวก็จะคอย ๆลดลงไปเรื่อย ๆจนหมดในที่สุด ใน ป 1956 หลังจากที่ ดร. Hubbert คิดทฤษฎี Peak Oil ขึ้นแลวเขาก็ใชสูตรนี้ทํานายวา สหรัฐอเมริกาจะมีกําลังการผลิตน้ํามันถึงจุดสูงสุดในป 1970 ซึ่งทําใหเขาถูกหัวเราะเยาะจากผูเชี่ยวชาญใน วงการน้ํามันทั้งหลายเพราะวาตั้งแตป 1956 อเมริกาสามารถผลิตน้ํามันไดเพิ่มขึ้นทุกปและไมมีทาทีวาจะลดลง เลยแตแลวทุกคนก็ตองทึ่งเพราะหลังจากป 1971 เปนตนไป กําลังการผลิตน้ํามันของสหรัฐก็ลดลงทุกปจนถึง ทุกวันนี้และในป 1975 สถาบันวิทยาศาสตรแหงชาติของสหรัฐก็ยอมรับวาการคํานวณของเขาเกี่ยวกับการ คอย ๆหมดไปของน้ํามันและกาซธรรมชาตินั้นถูกตองไมใชเฉพาะที่อเมริกาเทานั้นที่เกิดปรากฏการณ Peak Oil ใน แหลงน้ํามันตาง ๆ ทั่วโลกกําลังการผลิตน้ํามันตางก็ลดลงเมื่อมีการผลิตไปถึงจุดหนึ่งซึ่งตามทฤษฎีก็คือจุดยอด ดอยหรือจุด Peak นั่นเองมีการพูดกันวาแมแตในกลุมโอเปกเองสมาชิกตางก็ผลิตไปจนถึงจุดสูงสุดกันเกือบ
  • 15. 15 หมดแลวยกเวนซาอุดิอาราเบียที่ยังมีกําลังการผลิตเหลืออยูบางแตก็ใกลยอดดอยเต็มทีนักวิชาการบางคนถึงกับ พูดวาโลกเราเองก็มีกําลังการผลิตน้ํามันถึงจุดสูงสุดไปแลวเพราะกําลังการผลิตน้ํามันที่ประมาณ 85 ลานบารเรล ตอวันที่เราใชอยูนี้ดูเหมือนจะเริ่มคงที่มาเปนเวลาพอสมควร แลวโอกาสที่จะผลิตไดเพิ่มอาจจะยากเพราะแมวา ซาอุดิอาราเบียจะยังสามารถเพิ่มกําลังการผลิตไดบางแตประเทศผูผลิตน้ํามันอื่นในโลกก็เริ่มถึงจุดที่ผลิตได นอยลงไปเรื่อย ๆ แลว ดังนั้นสิ่งที่ซาอุผลิตไดเพิ่มก็แคมาชดเชยกับผูผลิตอื่นที่ผลิตไดนอยลงเชนอินโดนีเซียที่ ตอนนี้แมแตจะผลิตใชในประเทศก็ไมพอไมตองพูดถึงแหลงผลิตในทะเลเหนือหรือแหลงผลิตอื่นที่กําลังการ ผลิตถอยลงไป เรื่อยๆเพราะอยูในชวงขาลงแลว ตามการคาดการณของนักวิชาการกลุม Peak Oil ดูเหมือนวา โลกเรากําลังจะขาดแคลนน้ํามันอยางหลีกเลี่ยงไมไดและนั่นเปนเหตุใหราคาน้ํามันปรับตัวเพิ่มขึ้นไมหยุดเพราะ ปริมาณการผลิตนั้นไมสามารถเพิ่มขึ้นไดอีกและอาจจะใกลถึงจุดลดลงในขณะที่ความตองการน้ํามันของโลก เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆอยางรวดเร็วโดยเฉพาะจากประเทศอยางจีนและอินเดียในอีกดานหนึ่งกําลังการผลิตน้ํามันจาก แหลงน้ํามันใหม ๆก็มีนอยมากวาที่จริงการคนพบน้ํามันแหลงใหญ ๆ ของโลกนั้นเกิดขึ้นครั้งสุดทายก็ประมาณ 30-40 ปมาแลวและโอกาสที่จะเจอแหลงใหม ๆ ขนาดใหญก็ดูมืดมนและแมวาในขณะนี้จะมีการขุดเจาะน้ํามัน กันมากเพราะราคาน้ํามันสูงจูงใจแตสิ่งที่พบนั้นดูเหมือนวาอยางมากก็แคประคองไมใหการผลิตน้ํามันของโลก ลดลงเทานั้นดังนั้นถาคิดถึงการเติบโตของการใชน้ํามันที่จะเพิ่มขึ้นเฉพาะจากจีนเพียงประเทศ เดียวโอกาสที่ น้ํามันจะมีเพียงพอใหใชก็มีนอยมากวากันวาถาจะใหมีน้ํามันพอเราคงตองเจอบอน้ํามันขนาดเทากับของซาอุสัก 2- 3 ประเทศในชวง 20-30 ปขางหนาซึ่งดูแลวคงเปนไปไมได“ผูเชี่ยวชาญ” หลาย ๆ คนและในหลาย ๆ ประเทศ ที่เปนผูผลิตน้ํามันตางก็พูดวาน้ํามันในโลกนั้นมีกําลังการผลิตเหลือเฟอราคาน้ํามันที่ขึ้นไปเปนเพราะการเก็ง กําไรของนักลงทุนหรือเฮดกฟนดในตลาดสินคาโภคภัณฑลวงหนานี่เปนเรื่องจริงหรือเปลาก็คงจะตอบไดยาก แตประเด็นที่จะตองคํานึงถึงก็คือคนเหลานั้นหลายคนมีผลประโยชนทับซอนอยางเชนในกลุมของโอเปกเองวา กันวาตัวเลขกําลังการผลิตหรือปริมาณน้ํามันสํารองของแตละประเทศนั้นไมมีความโปรงใสเลยหลายประเทศดู เหมือนจะพยายามบอกวาตนเองมีสํารองน้ํามันมากเหตุผลก็คือเวลาจัดสรรโควตาการผลิตน้ํามันเขาจะจัดกัน ตามปริมาณสํารองที่แตละประเทศมี เพราะฉะนั้นแตละประเทศจึงมักบอกวาตนเองมีน้ํามันมากกวาความเปน จริงเชนเดียวกันบริษัทน้ํามันขนาดใหญที่มีหุนจดทะเบียนในตลาดก็มักจะพยายามบอกวาตนเองมีสํารองน้ํามัน มากเพื่อที่หุนของตนจะไดมีราคาสูงเหลานี้ทําใหตัวเลขน้ํามันสํารองของโลก “เพี้ยน” และไมนาเชื่อถือแตถาดู ขอเท็จจริงของตัวเลขกําลังการผลิตที่ออกมาดูเหมือนวาสถานการณน้ํามันของโลกจะเปนไปในแนวทางของ พวกที่เชื่อทฤษฎี Peak Oil มากกวาในฐานะของนักลงทุนเราคงตองติดตามดูไปเรื่อย ๆและตัดสินใจลงทุนดวย ความรูและความเขาใจในเรื่องนี้สวนตัวผมเองนั้นคงยังไมเชี่ยวชาญพอที่จะเสี่ยงกับสิ่งที่ตนเองมีความรูนอยแต
  • 16. 16 นี่ก็คงจะชวยในการตัดสินใจเกี่ยวกับการลงทุนโดยรวมไดเพราะน้ํามันหรือวาที่จริงก็คือพลังงานนั้นมัน เกี่ยวของกับชีวิตเราลึกซึ้งมากนักลงทุนตองรูเกี่ยวกับน้ํามันทั้ง ๆที่เขาอาจจะไมไดลงทุนในหุนน้ํามันเลย 2.1.3 ทฤษฎีเชิงสถานการณ Fiedler’s Leadership Contingency Theory ในป 1967 Fred E. Fiedler ไดเสนอแนวความคิดการบริหารเชิงสถานการณ (Situational Management Theory) หรือทฤษฎีอุบัติการณ (Contingency Theory) ซึ่งถือเปนทฤษฎีการบริหารที่ขึ้นอยูกับ สภาพขอเท็จจริงดวยแนวคิดที่วาการเลือกทางออกที่จะไปสูการแกปญหาทางการบริหารถือวาไมมีวิธีใดที่ดีที่สุด หากแตสถานการณตางหากที่จะเปนตัวกําหนดวาควรจะหยิบใชวิธีการบริหารแบบใดในสภาวการณนั้นๆ หลัก คิดงายๆ ของการบริหารเชิงสถานการณนั้น ถือวาการบริหารจะดีหรือไมขึ้นอยูกับสถานการณสถานการณจะ เปนตัวกําหนดการตัดสินใจ ในการเลือกรูปแบบการบริหารที่เหมาะสม ผูบริหารจะตองพยายามวิเคราะห สถานการณใหดีที่สุด โดยเปนการผสมผสานแนวคิดระหวางระบบปดและระบบเปด ยอมรับหลักการของ ทฤษฎีระบบวาทุกสวนของระบบจะตองสัมพันธ มีผลกระทบซึ่งกันและกัน คือมุงเนน ความสัมพันธระหวาง องคการกับสภาพแวดลอมขององคการ สถานการณบางครั้งจะตองใชการตัดสินใจอยางเฉียบขาด บาง สถานการณตองอาศัยการมีสวนรวมในการตัดสินใจ บางครั้งก็ตองคํานึงถึงหลักมนุษยและแรงจูงใจ บางครั้งก็ ตองคํานึงถึงเปาหมายหรือผลผลิตขององคกรเปนหลัก การบริหารจึงตองอาศัยสถานการณเปนตัวกําหนดในการ ตัดสินใจ การบริหารเชิงสถานการณจะคํานึงถึงสิ่งแวดลอมและความตองการของบุคคลใน หนวยงานเปนหลักมากกวาที่จะแสวงหาวิธีการอันดีเลิศมาใชในการทํางาน โดยใชปจจัยทางดานจิตวิทยาในการ พิจารณาดวย โดยเนนใหผูบริหารรูจักใชการพิจารณาความแตกตางที่มีอยูในหนวยงาน เชน ความแตกตาง ระหวางบุคคล ความแตกตางระหวางระเบียบกฎเกณฑ วิธีการ กระบวนการ และการควบคุมงาน ความแตกตาง ระหวางความสัมพันธของบุคคลในองคกร หรือความแตกตางระหวางเปาหมายการดําเนินงานขององคการ เปน ตน หลักการของการบริหารเชิงสถานการณ 1. การบริหารจะดีหรือไมขึ้นอยูกับสถานการณ 2. ผูบริหารจะตองพยายามวิเคราะหสถานการณใหดีที่สุด 3. เปนการผสมผสานแนวคิดระหวางระบบปดและระบบเปด ยอมรับหลักการของทฤษฎีทุก สวนของระบบจะตองสัมพันธ และมีผลกระทบซึ่งกันและกัน
  • 17. 17 4. สถานการณจะเปนตัวกําหนดการตัดสินใจ ในการเลือกรูปแบบการบริหารที่เหมาะสม 5. คํานึงถึงสิ่งแวดลอมและความตองการของบุคคลในหนวยงานเปนหลักมากกวาที่จะแสวงหา วิธีการอันดีเลิศมาใชในการทํางาน โดยใชปจจัยทางดานจิตวิทยาในการพิจารณาดวย 6. เนนใหผูบริหารรูจักใชการพิจารณาความแตกตางที่มีอยูในหนวยงาน เชน 6.1 ความแตกตางระหวางบุคคล 6.2 ความแตกตางระหวางระเบียบกฎเกณฑ วิธีการ กระบวนการ และการควบคุมงาน 6.3 ความแตกตางระหวางความสัมพันธของบุคคลในองคกร 6.4 ความแตกตางระหวางเปาหมายการดําเนินงานขององคการ แนวความคิดทางการบริหารเชิงสถานการณ ตามทฤษฎีของ Fiedler ประยุกตใชในสถานการณ ปจจุบัน 2 ลักษณะดังนี้ 1.การศึกษารูปแบบของผูนําที่มุงความสัมพันธ (Relationship-oriented leader) เปนผูนําที่มุง ความสัมพันธกับเพื่อนรวมงาน ผูนําจะสรางความไววางใจ ความเคารพนับถือ และรับฟงความตองการของ พนักงาน เปนผูนําที่คํานึงถึงผูอื่นเปนหลัก (Consideration) 2.ผูนําที่มุงงาน (Task -oriented leader) เปนผูนําที่มุงความสําเร็จในงาน ซึ่งจะกําหนดทิศทาง และมาตรฐานในการทํางานไวอยางชัดเจน มีลักษณะคลายกับผูนําแบบที่คํานึงถึงตัวเองเปนหลัก (Initiating structure style) การบริหารเชิงสถานการณ สามารถใชทุกทฤษฎีมาประกอบกับประสบการณ เพื่อทําใหการ ตัดสินใจดีที่สุด โดยเฉพาะในยุคที่มีการเปลี่ยนแปลงและการแขงขันสูงเชนปจจุบัน นับเปนความทาทายและ โอกาสในการใชการบริหารเชิงสถานการณในมุมของผูบริหารที่จะพลิกวิกฤติเปนโอกาสใหได เปนการใช ความรูความสามารถทั้งศาสตรและศิลปตางๆที่มีอยูในตัวผูนําทานนั้นใหประจักษออกมาใชไดอยางเต็ม สมรรถภาพจริงๆที่เขามีอยู เพราะสถานการณแตละอยางแตกตางกัน ทฤษฎีกับบางสถานการณก็แตกตางกัน แลวแตผูนําแตละทานจะเลือกใช ดังนั้นการบริหารเชิงสถานการณ นาจะเปนการใชความรูความสามารถทั้ง ศาสตรและศิลป
  • 18. 18 Model Template Shell พันธมิตรหลัก 1. ปมน้ํามัน 2. บริษัทขนสง สินคาทั่วไป 3. บริษัทขนสง น้ํามัน 4. ประเทศผู สงออกน้ํามัน 5. บริษัทผลิต อุปกรณที่เกี่ยวของ กระบวนการหลัก 1. น้ํามัน 2. การตลาด 3. คุณภาพของ น้ํามัน 4.การบริการที่ รวดเร็วทันใจ คุณคาที่นําเสนอ 1. น้ํามันมีคุณภาพ ไมกอใหเกิดความ เสียหายกับรถ 2. สรางคุณคาและ สรางความแตกตาง ทางดานบริการ ความสัมพันธกับ ลูกคา 1. ใชระบบบริการ ที่มีประสิทธิภาพ 2. Emotional Marketing และ Lifestyle 3. Brand Loyalty 4. โปรโมชั่น กลุมลูกคา 1.บุคคลทั่วไป ทุกเพศ ทุกวัย ทุกระดับ 2.บริษัทตางๆ ทรัพยากรหลัก 1. ทรัพยากรน้ํามัน 2.ทรัพยากรมนุษย พนักงาน 2.ที่ดิน อาคาร โรงงานตาง ๆ รวมถึงเครื่องจักร ชองทาง 1. การขายตรง 2. การขายสงให เครือขายตางๆ โครงสรางตนทุน 1. เงินเดือนพนักงาน 2. คาเชา 3. คาขนสง 4. คาโฆษณา 5. คาวัตถุดิบ 6. คาสาธารณูปโภค สายธารรายได 1. ยอดขาย 2. จากการขายในรูปแบบของเครือขายที่มี การขยายสาขาเพิ่ม
  • 19. 19 Model Template Shell บทที่ 3 วิธีการศึกษา 3.1 การเก็บรวบรวมขอมูล ทรัพยากรหลัก 1. ทรัพยากรน้ํามัน 2.ทรัพยากรมนุษย พนักงาน 2.ที่ดิน อาคาร โรงงานตาง ๆ รวมถึงเครื่องจักร พันธมิตรหลัก 1. ปมน้ํามัน 2. บริษัทขนสงสินค าทั่วไป 3. บริษัทขนสงน้ํามั น 4. ประเทศผูสงออก น้ํามัน คุณคาที่นําเสนอ 1. น้ํามันมีคุณภาพ ไมกอใหเกิดควา มเสียหายกับรถ 2. สรางคุณคาและส รางความแตกตาง ทางดานบริการ ความสัมพันธกับ ลูกคา 1. ใชระบบบริการที่ มีประสิทธิภาพ 2. Emotional Marketing และ Lifestyle 3. Brand Loyalty 4. โปรโมชั่น กลุมลูกคา 1. บุคคลทั่วไป ทุกเพศ ทุกวัย ทุกระดับ 2.บริษัทตางๆ กิจกรรมหลัก 1.น้ํามัน ชองทาง 1. การขายตรง 2. รานคาปลีก-สง โครงสรางตนทุน 1. เงินเดือนพนักงาน 2. คาเชา 3. คาขนสง 4. คาโฆษณาคาพรีเซ็นเตอร 5. คาวัตถุดิบ 6. คาสาธารณูปโภค สายธารรายได 1. ยอดขาย 2. จากการขายในรูปแบบของเครือขายที่มี การขยายสาขาเพิ่ม
  • 20. 20 ทางคณะผูจัดทําไดทําการเก็บรวบรวมขอมูล มาจากอินเตอรเน็ต วารสารตางประเทศ เอกสารทาง วิชาการ เพื่อที่จะนําขอมูลที่เกี่ยวของกับปรัชญา ความเชื่อ วัฒนธรรม วิถีขององคกรที่ถายทอดเปลี่ยนแปลง จากรุนสูรุนขององคกรตั้งแตเริ่มตนจนถึงปจจุบัน 3.2 วิธีการวิเคราะหขอมูล คณะผูจัดทําไดดําเนินการวิเคราะหขอมูลที่ไดมาจากการเก็บรวบรวมเอกสารที่เกี่ยวของทั้งหมดตั้งแต เริ่มกอตั้งองคกรจนถึงปจจุบัน เพื่อ ศึกษาประวัติความเปนมาของบริษัทตั้งแตเริ่มตนจนถึงปจจุบัน ศึกษาโลโกของบริษัทในแตละยุคแตละสมัย วิเคราะหสวนประสมทางการตลาด 4’P วิเคราะห SWOT ANALYSIS เพื่อหาจุดแข็ง จุดออน โอกาสและอุปสรรค วิเคราะหการเปลี่ยนแปลง 8 ขั้นตอนของ KOTTER วิเคราะห Five Force Model ของบริษัทเชลล วิเคราะหโมเดล A-D-K-A-R ของบริษัทเชลล วิเคราะหโซลูชั่นพรอมแผนปฏิบัติการของบริษัท Shell สามารถนํามาใชกับธุรกิจในประเทศ ไทย เพื่อเตรียมตัวเขาสู AEC
  • 21. 21 บทที่ 4 ผลการศึกษา ป ค.ศ. 1833 Marcus Samuel เปดรานขายเปลือกหอย Shell ในลอนดอน กอนที่ตอมารานนั้นจะเติบ ใหญขึ้นเปนบริษัทนําเขาสงออก (Import-Export) ป ค.ศ. 1897 บนแผนดินของประเทศอังกฤษ Marcus Samuel ไดกอตั้งบริษัทเล็กๆ ที่ดําเนินงาน เกี่ยวกับปโตรเคมีและการขนสง โดยใชชื่อวา Shell Transport and Trading Company เปนการเริ่มตนกาวแรก ของบริษัทน้ํามันตราหอยนาม Shell การเปลี่ยนแปลงในชวงแรก จะเปนการเปลี่ยนแปลงประเภทธุรกิจ เริ่มจากการทําธุรกิจขายของเกา แลวเริ่มดําเนินธุรกิจขนสงน้ํามันโดยอาศัยความชํานาญในการติดตอซื้อขายเดิมเปนจุดเริ่มตน ในป 1886 ความตองการน้ํามันเชื้อเพลิงในภาคการขนสง เพิ่มสูงขึ้นอยางมาก ดวยความเชี่ยวชาญ ดานการขนสง ตระกูล Samuel จึงเริ่มการขนสงน้ํามันโดยใชเรือบรรทุกน้ํามัน พวกเขาปฏิวัติการขนสงน้ํามัน โดยใชเรือบรรทุกน้ํามันรายแรกที่ชื่อมิวเร็กซ ในป 1892 มิวเร็กซเปนเรือบรรทุกน้ํามันลําแรกที่เดินทางผานคลองซูเอซ พวกเขาตั้งชื่อบริษัทวา Shell Transport and Trading Company (เชลลทรานสปอรตแอนดเทรดดิ้ง) ในป 1897 และใชหอยแมลงภูเปนโลโกสัญลักษณที่สามารถจดจําไดอยางงายดาย กิจกรรมการ ขนสงของบริษัท Shell ในตะวันออก และการคนหาแหลงน้ํามันใหมๆ เพื่อทดแทนแหลงน้ํามันในรัสเซีย ทําให บริษัทไดมีโอกาสติดตอกับบริษัทโรยัล ดัทช ปโตรเลียม สองบริษัทควบรวมกันในป 1903 เพื่อปกปองธุรกิจ
  • 22. 22 ของตน จากการเขามามีบทบาทสําคัญของบริษัทสแตนดารดออยล พวกเขาควบรวมกิจการกับกลุมบริษัทรอยัล ดัทช เชลล ในป 1907 Shell เปลี่ยนโลโกเปนหอยพัดหรือหอยเชลล ซึ่งใชมาจนถึงปจจุบัน เมื่อสิ้นสุดทศวรรษ 1920 Shell ยังคงเปนบริษัทน้ํามันชั้นนําของโลก โดยสามารถผลิตน้ํามันดิบไดถึง 11% ของปริมาณน้ํามันดิบ ของโลก และเปนเจาของเรือบรรทุกน้ํามัน 10% ของจํานวนเรือบรรทุกน้ํามันทั้งหมด ในชวงทศวรรษ 1930 เปน ชวงเวลาที่ยากลําบาก สินทรัพยของกลุมบริษัทในเม็กซิโก ถูกควบคุมและถูกบังคับใหมอบแกรัฐบาลเวเนซุเอลา เมื่อรัฐบาลเรียกคืนการดําเนินการบอน้ํามันโดยภาครัฐ การปลี่ยนแปลงของเชลลเริ่มจากการที่มีการใชรถยนตเพิ่มขึ้น ซึ่งทําใหเชลลมองเห็นวามีความ จําเปนที่จะตองใชพลังงานเพิ่มขึ้น โดยปรับเปลี่ยนการขนสงจากทางรถยนตเพิ่มเปนทางเรือเพื่อรองรับการ ขยายตัวและมีการคนหาแหลงพลังงานเพิ่ม รวมถึงการติดตอกับบริษัทคูคาอื่น ๆ ที่ทําธุรกิจเดียวกัน เพื่อเพิ่ม ชองทาง จนถึงมีการเปลี่ยนแปลง คือการควบรวมกิจการ เพื่อปกปองธุรกิจและสรางความแข็งแกรงในภาคธุรกิจ เมื่อสงครามโลกครั้งที่สองยุติลง รถยนตเริ่มไดรับความนิยมอยางแพรหลายไปทั่วโลก บริษัท Shell ไดขยายกิจการเขาไปในแอฟริกาและอเมริกาใต เพื่อรองรับการขนสงที่เพิ่มจํานวนมากขึ้น และเริ่มมีบทบาท มากขึ้นในวงการอุตสาหกรรมยานยนต ในป 1947 บริษัท Shell ขุดเจาะบอน้ํามันในทะเลเพื่อการพาณิชยเปนครั้งแรกในอาวเม็กซิโก ในป 1955 Shell มีบอน้ํามัน 300 แหง ในป 1958 Shell เริ่มผลิตน้ํามันในไนจีเรีย ตามดวยการเขารวมเปนพันธมิตรกับ Ferrari ในชวงตนยุค 1960 ตอมาในทศวรรษ 1970 เปนชวงเวลาแหงการพัฒนาบอน้ํามันของ Shell ในทะเล เหนือและอเมริกาใต ซึ่งเปนแหลงน้ํามันที่ยากตอการผลิตน้ํามันและมีคาใชจายสูง หากแตมีความสําคัญอยางยิ่ง ทั้งนี้เมื่อพิจารณาถึงการจัดสงน้ํามันจากตะวันออกกลางที่ลดลง