Se ha denunciado esta presentación.
Se está descargando tu SlideShare. ×

การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบางละมุง (Post

Anuncio
Anuncio
Anuncio
Anuncio
Anuncio
Anuncio
Anuncio
Anuncio
Anuncio
Anuncio
Anuncio
Anuncio
Próximo SlideShare
New thai hiv guideline 2010
New thai hiv guideline 2010
Cargando en…3
×

Eche un vistazo a continuación

1 de 1 Anuncio

การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบางละมุง (Post

Descargar para leer sin conexión

การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบางละมุง นำเสนอที่การประชุมวิชาการงานเฝ้าระวังความปลอดภัยจากการใช้ยา ประจำปี 2554 โดย สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบางละมุง นำเสนอที่การประชุมวิชาการงานเฝ้าระวังความปลอดภัยจากการใช้ยา ประจำปี 2554 โดย สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

Anuncio
Anuncio

Más Contenido Relacionado

A los espectadores también les gustó (20)

Similares a การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบางละมุง (Post (20)

Anuncio

Más de Rachanont Hiranwong (14)

Más reciente (20)

Anuncio

การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบางละมุง (Post

  1. 1. การเฝาระวังผลตอไตจากการใชยาเทโนโฟเวียรในผูปวยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบางละมุง รชานนท หิรัญวงษ กลุมงานเภสัชกรรม โรงพยาบาลบางละมุง จ.ชลบุรี บทนำ เทโนโฟเวียรเปนยาตานเชื้อไวรัสเอชไอวีที่มีการสั่งใชเพิ่มมากขึ้นในปจจุบัน ทั้งในผูปวยรายใหมและ รายเกาที่เกิดภาวะดื้อยาหรือเกิดผลขางเคียงจากยา เนื่องจากมีรายงานวายานี้มีผลทำใหไตทำงานไดลดลง และในบางรายอาจทำให เกิดภาวะไตลมเหลวเฉียบพลันได จึงจำเปนตองมีการเฝาระวังอยางเหมาะสม เพื่อลดผลกระทบตอผูปวย วัตถุประสงค เพื่อศึกษาการตรวจติดตามการทำงานของไต และผลตอไตในผูปวย ติดเชื้อเอชไอวีที่ไดรับยาเทโนโฟเวียร ในโรงพยาบาลบางละมุง วิธีการศึกษา เปนการศึกษาเชิงพรรณนาโดยการรวบรวมขอมูลยอนหลัง (retrospective descriptive study) กลุมตัวอยางที่ศึกษาไดแกผูปวยติดเชื้อเอชไอวีที่ไดรับยา เทโนโฟเวียรครั้งแรก ณ คลินิกผูติดเชื้อเอชไอวี รพ.บางละมุง ระหวางวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2552 ถึงวันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553 ตารางที่ 1 การตรวจทางหองปฏิบัติการที่แนะนำกอนและหลังจากการเริ่มรักษาดวยยาตานเอชไอวีจาก ThaiHIVGuideline 49-501 ตารางที่ 2 การตรวจทางหองปฏิบัติการที่แนะนำใหติดตามหลังใหการรักษาดวยยาตานไวรัสจาก ThaiHIVGuideline 532 ผลการศึกษา มีผูปวยที่ไดรับยาเทโนโฟเวียรจำนวน 105 ราย เปนผูหญิง 56 ราย (รอยละ 53) มีอายุเฉลี่ย 41.3 ป สวนใหญมีคา GFR เริ่มตนนอยกวา 90 (รอยละ 60) ในผูปวย 105 ราย มีผูที่ไดรับการตรวจติดตามการทำงานของ ไตทุก 6 เดือนตามคำแนะนำของแนวทางการตรวจวินิจฉัยและการดูแลรักษา ผูติดเชื้อเอชไอวีและผูปวยเอดส ระดับชาติ ป พ.ศ. 2553 เพียง 18 ราย (รอยละ 17) ซึ่งสวนใหญเปนผูที่ใชยามาแลว 6 - 11 เดือน (รอยละ 83) ที่ 6 เดือนหลังจากใชยามีผูปวยที่มีคาซีรัมครีเอตินินมากกวา 6 mg/dl และเพิ่มขึ้นมากกวา 1.5 เทาจำนวน 1 ราย (รอยละ 1) มีคา CrCl และ GFR ลดลงมากกวารอยละ 25 จากคาพื้นฐานจำนวน 2 ราย (รอยละ 3) และ 6 ราย (รอยละ 8) รายตามลำดับ ที่ 12 เดือนหลังจากใชยามีผูปวยที่มีคาซีรัมครีเอตินินเพิ่มขึ้นมากกวา 0.5 mg/dl จำนวน 2 ราย (รอยละ 3) ระหวาง 3 - 6 mg/dl จำนวน 1 ราย (รอยละ 1) และเพิ่มขึ้นมากกวา 1.5 เทาจำนวน 2 ราย (รอยละ 3) มีคา CrCl และ GFR ลดลงมากกวารอยละ 25 จากคาพื้นฐานจำนวน 3 ราย (รอยละ 4) และ 7 ราย (รอยละ 9) รายตามลำดับ ที่ 18 เดือนหลังจากใชยามีผูปวยที่มีคาซีรัมครีเอตินินเพิ่มขึ้นมากกวา 0.5 mg/dl จำนวน 2 ราย (รอยละ 3) ระหวาง 3 - 6 mg/dl จำนวน 1 ราย (รอยละ 1) มีคา CrCl และ GFR ลดลงมากกวารอยละ 25 จากคาพื้นฐาน จำนวน 2 ราย (รอยละ 3) และ 2 ราย (รอยละ 3) รายตามลำดับ เมื่อนำผลลัพธที่ไดมาวิเคราะหเปรียบเทียบตามตัวแปรที่สนใจ 4 ชนิดคือ น้ำหนัก คาดัชนีมวลกาย คา CrCl และ คา GFR พบวาที่ 6 เดือนหลังจากใชยา ผูปวยที่มีคา GFR เมื่อเริ่มตนใชยานอยกวา 90 จะมีคา GFR ลดลงมากกวา รอยละ 25 จากคาพื้นฐาน แตกตางกับผูปวยที่มีคา GFR เมื่อเริ่มตนใชยา มากกวาเทากับ 90 อยางมีนัยสำคัญทางสถิติ (p - value = 0.02) ลักษณะ คาเฉลี่ย ระยะเวลาการใชยาเทโนโฟเวียร (เดือน) อายุ (ป) จำนวนผูปวยเพศหญิง (%) CD4 cell count เมื่อเริ่มรับยา (no/uL) ระดับ Serum Creatinine (mg/dl) CrCl (Cockcroft-Gault Equation, ml/min) GFR (MDRD formular, ml/min/1.73 m ) จำนวนผูปวยที่มีคา GFR < 90 (%) น้ำหนัก BMI 14 41.3 56 (53%) 359 1.07 72 81 63 (60%) 54 21 2 ตารางที่ 3 ลักษณะกลุมตัวอยางจำนวน 105 รายที่ไดรับยาเทโนโฟเวียร ผูปวยที่ไมไดตรวจติดตามการทำงานของไตครบทุกครั้ง ผูปวยที่ไดตรวจติดตามการทำงานของไตครบทุกครั้ง จำนวน (ราย) 6 - 11 เดือน 12 - 17 เดือน 18 - 23 เดือน 24 - 29 เดือน แผนภูมิที่ 1 จำนวนผูที่ไดรับการตรวจติดตามการทำงานของไตแบงตามชวงระยะเวลาที่ใชยา ภาพที่ 1 แสดงการขนสง tenofovir ผาน renal proximal tubule สรุปและขอเสนอแนะ จากขอมูลบงชี้วาผูปวยสวนใหญยังไดรับการตรวจติดตามการทำงาน ของไตไมเหมาะสม โดยเฉพาะผูปวยที่ใชยานานกวา 11 เดือน เมื่อเทียบกับ คำแนะนำของแนวทางการตรวจวินิจฉัยและการดูแลรักษาผูติดเชื้อเอชไอวี และผูปวยเอดส ระดับชาติ ป พ.ศ. 2553 และมีความเหมาะสมนอยลงไปอีก เมื่อเทียบกับคำแนะนำของแนวทางการดูแลรักษาผูติดเชื้อเอชไอวีและผูปวย เอดสในประเทศไทย ป พ.ศ. 2549/2550 ซึ่งเปนแนวทางที่ออกมาในชวงเวลา ของการศึกษานี้ สิ่งที่เกิดขึ้นนี้อาจสงผลใหตรวจพบผลตอไตไดชาเกินไป ทำให ความเสียหายที่เกิดขึ้นกับไตของผูปวย อาจไมคุมกับคาใชจายในการตรวจ ติดตามการทำงานของไตที่ประหยัดได และจากขอมูลที่ไดจากการศึกษานี้บงชี้วา ผูปวยที่มีคา GFR เมื่อเริ่มตน ใชยานอยกวา 90 จะไดรับผลกระทบจากยาเทโนโฟเวียรมากกวาผูปวยที่มีคา GFR เมื่อเริ่มตนใชยามากกวาเทากับ 90 ผูปวยกลุมนี้จึงควรไดรับการตรวจ ติดตามการทำงานของไตที่เร็วกวา 6 เดือนหลังจากเริ่มใชยาและถี่กวาทุก 6 เดือน ซึ่งอาจจะเปนตรวจติดตามการทำงานของไตทุก 3 เดือนในชวงปแรก และตรวจติดตามทุก 6 เดือนในปตอๆ ไป เอกสารอางอิง 1. ศูนยพัฒนาระบบบริการยาตานไวรัสสำหรับผูติดเชื้อเอชไอวีและผูปวยเอดสในประเทศไทย. แนวทางการดูแลรักษาผูติดเชื้อเอชไอวีและผูปวยเอดสในประเทศไทย ป พ.ศ. 2549/2550. กรุงเทพ : โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทยจำกัด, 2550. 2. ศูนยพัฒนาระบบบริการยาตานไวรัสสำหรับผูติดเชื้อเอชไอวีและผูปวยเอดสในประเทศไทย. แนวทางการตรวจวินิจฉัยและการดูแลรักษาผูติดเชื้อเอชไอวี และผูปวยเอดส ระดับชาติ ป พ.ศ. 2553. กรุงเทพ : โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทยจำกัด, 2553. 3. Hall AM, Hendry BM, Nitsch D, Connolly JO. Tenofovir-Associated Kidney Toxicity in HIV-Infected Patients: A Review of the Evidence. Am J Kidney Dis. 2011 May;57(5):773-80. 3 Tenofovir เขาสู proximal tubular cells ทาง basolateral membrane ผาน organic anion transporters (OAT) ที่ถูก Didanosine แยงจับได และถูกขับออกผาน multidrug resistance transporter MRP4 ที่อยูทางฝง apical membrane สวน Ritonavir เปน substrate ของ MRP2 ที่ยังไมชัดเจนวาเกี่ยวของ กับการขับออกของ Tenofovir หรือเปลา สวน mitochondria ที่วางตัวอยูตลอดแนวของ basolateral membrane อยางหนาแนนนั้น มีหลักฐานบงชี้วาเปนเปาหมายจากการเกิดพิษของ Tenofovir และ การเกิด mitochondrial toxicity ใน proximal tubule จะนำไปสูความผิดปกติของการดูดกลับ low-molecular- weight-proteins และ สารอื่นๆ

×