SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 1
Descargar para leer sin conexión
การพัฒนาระบบติดตามและใหขอมูลขนาดยาในผูปวยในที่มีการทำงานของไตลดลง
ภก.รชานนท หิรัญวงษ เภสัชกรปฏิบัติการ ฝายเภสัชกรรม โรงพยาบาลบางละมุง
หลักการและเหตุผล
จากการเฝาระวังโรคไมติดตอเรื้อรังระหวางปพ.ศ. 2549 – 2553 พบวาคนไทยมีอัตราปวยเปนโรคความดันโลหิตสูงมากที่สุด
รองลงมาเปนโรคเบาหวาน โรคเริ้อรังทางเดินหายใจสวนลาง โรคหัวใจขาดเลือด และโรคหลอดเลือดสมอง โดยมีอัตราปวยมากที่สุด
ในผูปวยกลุมอายุมากกวาหรือเทากับ 60 ปขึ้นไป ซึ่งภาวะแทรกซอนจากโรคเหลานี้ รวมกับอายุที่มากของผูปวยมักสงผลใหผูปวยกลุมนี้
มีการทำงานของไตที่ลดนอยลง ทำใหยาบางชนิดที่ถูกขับออกทางไตมีการสะสมมากเกินจนอาจทำใหเกิดอาการไมพึงประสงคจากยา
และอาจทำใหเกิดภาวะไตลมเหลวเฉียบพลันได การเขาไปมีสวนรวมของเภสัชกรในการติดตาม ดูแลและใหขอมูลขนาดยาที่เหมาะสม
กับผูปวยกลุมนี้ สามารถลดการเกิดอาการไมพึงประสงคจากการใชยา ลดการนอนโรงพยาบาลอันเนื่องมาจากปญหาเกี่ยวกับการใชยา
และลดอุบัติการณเกิดภาวะไตลมเหลวเฉียบพลันได
วัตถุประสงค
1. เพื่อใหผูปวยในที่มีการทำงานของไตลดลงไดรับขนาดยาที่เหมาะสมกับการทำงานของไตไมนอยกวารอยละ 80
2. เพื่อศึกษาคาใชจายทางตรงที่สามารถประหยัดไดจากการปรับขนาดยาใหเหมาะสมกับการทำงานของไต
ขั้นตอนการดำเนินงาน
รวบรวมขอมูลขนาดยาที่เหมาะสมกับการทำงานของไตที่ลดลง
ของยาทุกตัวในโรงพยาบาลและจัดทำเปนคูมือสำหรับใหขอมูลกับแพทย
สืบคนสูตรสำหรับคำนวณคาการทำงานของไตที่มีความเหมาะสม
พรอมกับสรางเครื่องมือชวยคำนวณ
สรางแบบบันทึกสำหรับใชในการติดตามการสั่งใชยา ติดตามคาการทำงาน
ของไตของผูปวย และกำหนดแนวทางการติดตาม การใหขอมูล
และอบรมเภสัชกรประจำงานบริบาลทางเภสัชกรรมผูปวยใน
ติดตามการสั่งใชยาในผูปวยในทุกรายที่มีอายุมากกวา 35 ป หรือมีคาซีรัมครีเอตินินมากกวา 1.0
เมื่อพบการสั่งใชยาที่ตองมีการปรับขนาดยา จึงดำเนินการใหขอมูลและปรึกษาแพทยเพื่อปรับขนาดยาใหเหมาะสม
กับการทำงานของไตที่ลดลง และดำเนินการติดตามตอเนื่องจนผูปวยถูกจำหนายออกจากโรงพยาบาล
ผลการดำเนินงาน
85
246
279
291 297
255 249
258
295
316
283 280
262
23
59 58
84
62 66
55 56 52
63
41 44 45
0
50
100
150
200
250
300
350
กค 54 สค 54 กย 54 ตค 54 พย 54 ธค 54 มค 55 กพ 55 มีค 55 เมย 55 พค 55 มิย 55 กค 55
ผูปวยที่ไดรับการติดตาม ผูปวยที่จำเปนตองไดรับการปรับขนาดยาใหเหมาะสม
จำนวนผูปวย (ราย)
แผนภูมิที่ 1 จำนวนผูปวยที่ไดรับการติดตาม และผูปวยที่จำเปนตองไดรับการปรับขนาดยาใหเหมาะสม
แผนภูมิที่ 2 รอยละของผูปวยไดรับขนาดยาที่เหมาะสมกอนและหลังใหขอมูลขนาดยา
57
42
36
60
39 38
33 34
44
38
29
27
31
86
81 82
77
74 75
80
85
83
85
73
76
0
10
20
30
40
50
60
70
80
90
100
กค 54 สค 54 กย 54 ตค 54 พย 54 ธค 54 มค 55 กพ 55 มีค 55 เมย 55 พค 55 มิย 55 กค 55
กอนใหขอมูล
หลังใหขอมูล
หลังการดำเนินงานตั้งแตเดือนสิงหาคม 2554 ถึงเดือนกรกฎาคม 2555
เปนระยะเวลา 12 เดือนพบวามีผูปวยที่ไดรับการติดตามการสั่งใชยา
จำนวน 3,311 ราย มีผูปวยที่จำเปนตองไดรับการปรับขนาดยาใหเหมาะสม
กับการทำงานของไตที่ลดลงจำนวน 685 ราย (รอยละ 21)
มีผูปวยที่ไดรับการปรับขนาดยาใหเหมาะสมกับการทำงานของไต
ที่ลดลงแลวจำนวน 267 ราย มีผูปวยที่ยังไมไดรับการปรับขนาดยา
ใหเหมาะสมกับการทำงานของไตที่ลดลงแลวจำนวน 418 ราย
จากผูปวยจำนวน 418 ราย ไดทำการใหขอมูลขนาดยา และปรึกษา
แพทยจำนวน 323 ราย โดยแพทยเห็นดวยกับคำปรึกษาจำนวน 280 ราย
ไมเห็นดวยกับคำปรึกษาจำนวน 43 ราย คิดเปนอัตราการยอมรับคำปรึกษา
(Acceptance rate) รอยละ 87 คิดเปนสัดสวนของการไดรับขนาดยา
ที่เหมาะสมกอนและหลังใหขอมูลขนาดยา และปรึกษาแพทยเทากับ
รอยละ 38 และ รอยละ 80 ตามลำดับ โดยมีผูปวยในที่มีการทำงานของไต
ลดลงไดรับขนาดยาที่เหมาะสมกับการทำงานของไตไมนอยกวารอยละ 80
ตามที่ตั้งเปาหมายไว
จากขอมูลในเดือนสิงหาคม 2554 เมื่อคิดคาใชจายทางตรงคือ
ราคายาหลังจากการปรึกษาแพทยเพื่อ พิจารณาปรับขนาดยาในผูปวย
25 ราย พบวาสามารถประหยัดคายาได 16,235.5 บาทตอ 1 เดือน
เมื่ออนุมานเปนคาใชจายที่ประหยัดไดตอ 1 ปจะไดประมาณ 194,826 บาท
เมื่อคิดชั่วโมงทำงานของเภสัชกรที่ทำงานนี้ 22 วัน * 4 ชั่วโมง
= 88 ชั่วโมง/เดือน จะไดคาใชจายทางตรงที่ประหยัดไดเมื่อเทียบกับ
ชั่วโมงทำงานของเภสัชกรเทากับ 184.5 บาท/ชั่วโมง
เปาหมาย

Más contenido relacionado

Destacado

ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58Junee Sara
 
หลักเกณฑ์ และแนวทาง การเปิดเผยราคากลางของหน่วยงาน
หลักเกณฑ์ และแนวทาง การเปิดเผยราคากลางของหน่วยงานหลักเกณฑ์ และแนวทาง การเปิดเผยราคากลางของหน่วยงาน
หลักเกณฑ์ และแนวทาง การเปิดเผยราคากลางของหน่วยงานRachanont Hiranwong
 
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...Rachanont Hiranwong
 
Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)
Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)
Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)saowaluk2556
 
คู่มือการใช้งานระบบคลังยา
คู่มือการใช้งานระบบคลังยาคู่มือการใช้งานระบบคลังยา
คู่มือการใช้งานระบบคลังยาamy69
 
การให้บัตรแพ้ยา
การให้บัตรแพ้ยาการให้บัตรแพ้ยา
การให้บัตรแพ้ยาRachanont Hiranwong
 
Medication Reconciliation
Medication ReconciliationMedication Reconciliation
Medication ReconciliationPAFP
 
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...Rachanont Hiranwong
 
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรมระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรมRachanont Hiranwong
 
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShareSlideShare
 
What to Upload to SlideShare
What to Upload to SlideShareWhat to Upload to SlideShare
What to Upload to SlideShareSlideShare
 
Getting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShareGetting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShareSlideShare
 

Destacado (18)

ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58
 
หลักเกณฑ์ และแนวทาง การเปิดเผยราคากลางของหน่วยงาน
หลักเกณฑ์ และแนวทาง การเปิดเผยราคากลางของหน่วยงานหลักเกณฑ์ และแนวทาง การเปิดเผยราคากลางของหน่วยงาน
หลักเกณฑ์ และแนวทาง การเปิดเผยราคากลางของหน่วยงาน
 
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
 
Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)
Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)
Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)
 
Integrated pharmaceutical care
Integrated pharmaceutical careIntegrated pharmaceutical care
Integrated pharmaceutical care
 
คู่มือการใช้งานระบบคลังยา
คู่มือการใช้งานระบบคลังยาคู่มือการใช้งานระบบคลังยา
คู่มือการใช้งานระบบคลังยา
 
Medication reconciliation slide
Medication reconciliation slideMedication reconciliation slide
Medication reconciliation slide
 
การให้บัตรแพ้ยา
การให้บัตรแพ้ยาการให้บัตรแพ้ยา
การให้บัตรแพ้ยา
 
Medication Reconciliation
Medication ReconciliationMedication Reconciliation
Medication Reconciliation
 
RDU in Banglamung Hospital
RDU in Banglamung HospitalRDU in Banglamung Hospital
RDU in Banglamung Hospital
 
ระบบยา
ระบบยาระบบยา
ระบบยา
 
Ppt. HAD
Ppt. HADPpt. HAD
Ppt. HAD
 
Adverse drug reaction 09
Adverse drug reaction 09Adverse drug reaction 09
Adverse drug reaction 09
 
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
 
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรมระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
 
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare
 
What to Upload to SlideShare
What to Upload to SlideShareWhat to Upload to SlideShare
What to Upload to SlideShare
 
Getting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShareGetting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShare
 

Similar a การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenaldosing55

โครงการคัดกรองโรคทางหลอดเลือดและสุขภาพจิต ปี ๒๕๕๘
โครงการคัดกรองโรคทางหลอดเลือดและสุขภาพจิต ปี ๒๕๕๘โครงการคัดกรองโรคทางหลอดเลือดและสุขภาพจิต ปี ๒๕๕๘
โครงการคัดกรองโรคทางหลอดเลือดและสุขภาพจิต ปี ๒๕๕๘Fah Chimchaiyaphum
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตTuang Thidarat Apinya
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไตUtai Sukviwatsirikul
 
Ckd เขต 4 เมาายน 2559
Ckd เขต 4 เมาายน 2559Ckd เขต 4 เมาายน 2559
Ckd เขต 4 เมาายน 2559CAPD AngThong
 
โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)
โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)
โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)Wan Ngamwongwan
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน โรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน 54321_
 
เรื่องโรคเบาหวาน
เรื่องโรคเบาหวานเรื่องโรคเบาหวาน
เรื่องโรคเบาหวาน54321_
 
แนวทางเวชปฏิบัติในการรักษาผู้ป่วยมาลาเรียในประเทศไทย พ.ศ.2557
แนวทางเวชปฏิบัติในการรักษาผู้ป่วยมาลาเรียในประเทศไทย พ.ศ.2557แนวทางเวชปฏิบัติในการรักษาผู้ป่วยมาลาเรียในประเทศไทย พ.ศ.2557
แนวทางเวชปฏิบัติในการรักษาผู้ป่วยมาลาเรียในประเทศไทย พ.ศ.2557Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2559
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2559แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2559
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2559Utai Sukviwatsirikul
 
Thailand practice hep c guideline 2016
Thailand practice hep c guideline 2016Thailand practice hep c guideline 2016
Thailand practice hep c guideline 2016Utai Sukviwatsirikul
 
Cpg thalassemia 2014-content 2
Cpg thalassemia 2014-content 2Cpg thalassemia 2014-content 2
Cpg thalassemia 2014-content 2Phatchara Chanosot
 

Similar a การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenaldosing55 (20)

โครงการคัดกรองโรคทางหลอดเลือดและสุขภาพจิต ปี ๒๕๕๘
โครงการคัดกรองโรคทางหลอดเลือดและสุขภาพจิต ปี ๒๕๕๘โครงการคัดกรองโรคทางหลอดเลือดและสุขภาพจิต ปี ๒๕๕๘
โครงการคัดกรองโรคทางหลอดเลือดและสุขภาพจิต ปี ๒๕๕๘
 
การรักษามะเร็งตับ
การรักษามะเร็งตับการรักษามะเร็งตับ
การรักษามะเร็งตับ
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไต
 
Sars
Sars Sars
Sars
 
Ckd เขต 4 เมาายน 2559
Ckd เขต 4 เมาายน 2559Ckd เขต 4 เมาายน 2559
Ckd เขต 4 เมาายน 2559
 
โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)
โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)
โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)
 
Breast cancer
Breast cancerBreast cancer
Breast cancer
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน โรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน
 
เรื่องโรคเบาหวาน
เรื่องโรคเบาหวานเรื่องโรคเบาหวาน
เรื่องโรคเบาหวาน
 
แนวทางเวชปฏิบัติในการรักษาผู้ป่วยมาลาเรียในประเทศไทย พ.ศ.2557
แนวทางเวชปฏิบัติในการรักษาผู้ป่วยมาลาเรียในประเทศไทย พ.ศ.2557แนวทางเวชปฏิบัติในการรักษาผู้ป่วยมาลาเรียในประเทศไทย พ.ศ.2557
แนวทางเวชปฏิบัติในการรักษาผู้ป่วยมาลาเรียในประเทศไทย พ.ศ.2557
 
Cpg เบาหวาน 2560
Cpg เบาหวาน 2560Cpg เบาหวาน 2560
Cpg เบาหวาน 2560
 
Pah guideline 2013
Pah guideline 2013Pah guideline 2013
Pah guideline 2013
 
Hep c guideline 2016
Hep c guideline 2016Hep c guideline 2016
Hep c guideline 2016
 
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2559
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2559แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2559
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2559
 
Thailand practice hep c guideline 2016
Thailand practice hep c guideline 2016Thailand practice hep c guideline 2016
Thailand practice hep c guideline 2016
 
Cpg thalassemia 2014
Cpg thalassemia 2014Cpg thalassemia 2014
Cpg thalassemia 2014
 
Cpg thalassemia 2014-content 2
Cpg thalassemia 2014-content 2Cpg thalassemia 2014-content 2
Cpg thalassemia 2014-content 2
 
Cpg thalassemia 2014-content
Cpg thalassemia 2014-contentCpg thalassemia 2014-content
Cpg thalassemia 2014-content
 

Más de Rachanont Hiranwong

การดูแลการใช้ยาในผู้ป่วยโรคตับ
การดูแลการใช้ยาในผู้ป่วยโรคตับการดูแลการใช้ยาในผู้ป่วยโรคตับ
การดูแลการใช้ยาในผู้ป่วยโรคตับRachanont Hiranwong
 
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุง
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุงการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุง
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุงRachanont Hiranwong
 
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...Rachanont Hiranwong
 
การพัฒนาระบบยา 2558
การพัฒนาระบบยา 2558การพัฒนาระบบยา 2558
การพัฒนาระบบยา 2558Rachanont Hiranwong
 
ผลลัพธ์ต่อการควบคุมโรคหืดหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรม
ผลลัพธ์ต่อการควบคุมโรคหืดหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรมผลลัพธ์ต่อการควบคุมโรคหืดหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรม
ผลลัพธ์ต่อการควบคุมโรคหืดหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรมRachanont Hiranwong
 
ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555Rachanont Hiranwong
 
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยาการจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยาRachanont Hiranwong
 

Más de Rachanont Hiranwong (12)

การดูแลการใช้ยาในผู้ป่วยโรคตับ
การดูแลการใช้ยาในผู้ป่วยโรคตับการดูแลการใช้ยาในผู้ป่วยโรคตับ
การดูแลการใช้ยาในผู้ป่วยโรคตับ
 
Pharmcare in TB/HIV patient
Pharmcare in TB/HIV patientPharmcare in TB/HIV patient
Pharmcare in TB/HIV patient
 
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุง
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุงการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุง
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุง
 
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
 
การพัฒนาระบบยา 2558
การพัฒนาระบบยา 2558การพัฒนาระบบยา 2558
การพัฒนาระบบยา 2558
 
ผลลัพธ์ต่อการควบคุมโรคหืดหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรม
ผลลัพธ์ต่อการควบคุมโรคหืดหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรมผลลัพธ์ต่อการควบคุมโรคหืดหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรม
ผลลัพธ์ต่อการควบคุมโรคหืดหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรม
 
ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555
 
Adr assessment and monitoring
Adr assessment and monitoringAdr assessment and monitoring
Adr assessment and monitoring
 
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยาการจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
 
Acutecare(webversion)
Acutecare(webversion)Acutecare(webversion)
Acutecare(webversion)
 
Food allergy slide2
Food allergy slide2Food allergy slide2
Food allergy slide2
 
Food allergy slide
Food allergy slideFood allergy slide
Food allergy slide
 

การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenaldosing55

  • 1. การพัฒนาระบบติดตามและใหขอมูลขนาดยาในผูปวยในที่มีการทำงานของไตลดลง ภก.รชานนท หิรัญวงษ เภสัชกรปฏิบัติการ ฝายเภสัชกรรม โรงพยาบาลบางละมุง หลักการและเหตุผล จากการเฝาระวังโรคไมติดตอเรื้อรังระหวางปพ.ศ. 2549 – 2553 พบวาคนไทยมีอัตราปวยเปนโรคความดันโลหิตสูงมากที่สุด รองลงมาเปนโรคเบาหวาน โรคเริ้อรังทางเดินหายใจสวนลาง โรคหัวใจขาดเลือด และโรคหลอดเลือดสมอง โดยมีอัตราปวยมากที่สุด ในผูปวยกลุมอายุมากกวาหรือเทากับ 60 ปขึ้นไป ซึ่งภาวะแทรกซอนจากโรคเหลานี้ รวมกับอายุที่มากของผูปวยมักสงผลใหผูปวยกลุมนี้ มีการทำงานของไตที่ลดนอยลง ทำใหยาบางชนิดที่ถูกขับออกทางไตมีการสะสมมากเกินจนอาจทำใหเกิดอาการไมพึงประสงคจากยา และอาจทำใหเกิดภาวะไตลมเหลวเฉียบพลันได การเขาไปมีสวนรวมของเภสัชกรในการติดตาม ดูแลและใหขอมูลขนาดยาที่เหมาะสม กับผูปวยกลุมนี้ สามารถลดการเกิดอาการไมพึงประสงคจากการใชยา ลดการนอนโรงพยาบาลอันเนื่องมาจากปญหาเกี่ยวกับการใชยา และลดอุบัติการณเกิดภาวะไตลมเหลวเฉียบพลันได วัตถุประสงค 1. เพื่อใหผูปวยในที่มีการทำงานของไตลดลงไดรับขนาดยาที่เหมาะสมกับการทำงานของไตไมนอยกวารอยละ 80 2. เพื่อศึกษาคาใชจายทางตรงที่สามารถประหยัดไดจากการปรับขนาดยาใหเหมาะสมกับการทำงานของไต ขั้นตอนการดำเนินงาน รวบรวมขอมูลขนาดยาที่เหมาะสมกับการทำงานของไตที่ลดลง ของยาทุกตัวในโรงพยาบาลและจัดทำเปนคูมือสำหรับใหขอมูลกับแพทย สืบคนสูตรสำหรับคำนวณคาการทำงานของไตที่มีความเหมาะสม พรอมกับสรางเครื่องมือชวยคำนวณ สรางแบบบันทึกสำหรับใชในการติดตามการสั่งใชยา ติดตามคาการทำงาน ของไตของผูปวย และกำหนดแนวทางการติดตาม การใหขอมูล และอบรมเภสัชกรประจำงานบริบาลทางเภสัชกรรมผูปวยใน ติดตามการสั่งใชยาในผูปวยในทุกรายที่มีอายุมากกวา 35 ป หรือมีคาซีรัมครีเอตินินมากกวา 1.0 เมื่อพบการสั่งใชยาที่ตองมีการปรับขนาดยา จึงดำเนินการใหขอมูลและปรึกษาแพทยเพื่อปรับขนาดยาใหเหมาะสม กับการทำงานของไตที่ลดลง และดำเนินการติดตามตอเนื่องจนผูปวยถูกจำหนายออกจากโรงพยาบาล ผลการดำเนินงาน 85 246 279 291 297 255 249 258 295 316 283 280 262 23 59 58 84 62 66 55 56 52 63 41 44 45 0 50 100 150 200 250 300 350 กค 54 สค 54 กย 54 ตค 54 พย 54 ธค 54 มค 55 กพ 55 มีค 55 เมย 55 พค 55 มิย 55 กค 55 ผูปวยที่ไดรับการติดตาม ผูปวยที่จำเปนตองไดรับการปรับขนาดยาใหเหมาะสม จำนวนผูปวย (ราย) แผนภูมิที่ 1 จำนวนผูปวยที่ไดรับการติดตาม และผูปวยที่จำเปนตองไดรับการปรับขนาดยาใหเหมาะสม แผนภูมิที่ 2 รอยละของผูปวยไดรับขนาดยาที่เหมาะสมกอนและหลังใหขอมูลขนาดยา 57 42 36 60 39 38 33 34 44 38 29 27 31 86 81 82 77 74 75 80 85 83 85 73 76 0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100 กค 54 สค 54 กย 54 ตค 54 พย 54 ธค 54 มค 55 กพ 55 มีค 55 เมย 55 พค 55 มิย 55 กค 55 กอนใหขอมูล หลังใหขอมูล หลังการดำเนินงานตั้งแตเดือนสิงหาคม 2554 ถึงเดือนกรกฎาคม 2555 เปนระยะเวลา 12 เดือนพบวามีผูปวยที่ไดรับการติดตามการสั่งใชยา จำนวน 3,311 ราย มีผูปวยที่จำเปนตองไดรับการปรับขนาดยาใหเหมาะสม กับการทำงานของไตที่ลดลงจำนวน 685 ราย (รอยละ 21) มีผูปวยที่ไดรับการปรับขนาดยาใหเหมาะสมกับการทำงานของไต ที่ลดลงแลวจำนวน 267 ราย มีผูปวยที่ยังไมไดรับการปรับขนาดยา ใหเหมาะสมกับการทำงานของไตที่ลดลงแลวจำนวน 418 ราย จากผูปวยจำนวน 418 ราย ไดทำการใหขอมูลขนาดยา และปรึกษา แพทยจำนวน 323 ราย โดยแพทยเห็นดวยกับคำปรึกษาจำนวน 280 ราย ไมเห็นดวยกับคำปรึกษาจำนวน 43 ราย คิดเปนอัตราการยอมรับคำปรึกษา (Acceptance rate) รอยละ 87 คิดเปนสัดสวนของการไดรับขนาดยา ที่เหมาะสมกอนและหลังใหขอมูลขนาดยา และปรึกษาแพทยเทากับ รอยละ 38 และ รอยละ 80 ตามลำดับ โดยมีผูปวยในที่มีการทำงานของไต ลดลงไดรับขนาดยาที่เหมาะสมกับการทำงานของไตไมนอยกวารอยละ 80 ตามที่ตั้งเปาหมายไว จากขอมูลในเดือนสิงหาคม 2554 เมื่อคิดคาใชจายทางตรงคือ ราคายาหลังจากการปรึกษาแพทยเพื่อ พิจารณาปรับขนาดยาในผูปวย 25 ราย พบวาสามารถประหยัดคายาได 16,235.5 บาทตอ 1 เดือน เมื่ออนุมานเปนคาใชจายที่ประหยัดไดตอ 1 ปจะไดประมาณ 194,826 บาท เมื่อคิดชั่วโมงทำงานของเภสัชกรที่ทำงานนี้ 22 วัน * 4 ชั่วโมง = 88 ชั่วโมง/เดือน จะไดคาใชจายทางตรงที่ประหยัดไดเมื่อเทียบกับ ชั่วโมงทำงานของเภสัชกรเทากับ 184.5 บาท/ชั่วโมง เปาหมาย