SlideShare a Scribd company logo
1 of 161
1
The Heritage of World
Civilization
Dr. Warrachai Wiriyaromp
2
Topic : มนุษย์ก่อนประวัติศาสตร์
The Prehistoric People
3
4
ชน์ของการเรียนรู้ประวัติอารยธรรมของ
a. ทำาให้ผู้เรียนซึ่งมุ่งสู่ความเป็นบัณฑิตมี
ความรู้เพิ่มขึ้น กว้างขึ้น และลึกซึ้งขึ้น
b. เข้าใจประวัติความเป็นมาของสังคมมนุษย์
ดีขึ้น
c. เข้าใจและยอมรับในความหลากหลายของ
เชื้อชาติ ศาสนา เศรษฐกิจ สังคม
เทคโนโลยี
d. สามารถนำาไปประยุกต์ใช้ได้ในหลายด้าน
5
อักษรย่อเกี่ยวกับช่วงเวลาในอดีตที่
จำาเป็นต้องรู้ และใช้ในวิชามรดก
อารยธรรมโลก
B.C. : Before Christian Era
A.D. : anno domini (Latin): In the year of our lord, since
Christ was born.
B.P. : Before Present Time
ปัจจุบันคือปี ค.ศ. 2013 จึงเท่ากับ A.D.2013
M.Y.A. : Million years ago
C. : circa, โดยประมาณ
6
What is prehistory ?
ก่อนประวัติศาสตร์
(Prehistory) คือ ช่วงเวลาในอดีต
ก่อนหน้าสมัยประวัติศาสตร์(Historic
period) ในช่วงเวลาดังกล่าวมนุษย์
ยังไม่มีการบันทึกเรื่องราวของตนเอง
ไว้เป็นลายลักษณ์อักษร ด้วยยังไม่มี
ภาษาเขียน หรืออาจยังไม่มีความ
จำาเป็นจะต้องใช้ภาษาเขียนเพื่อการ
7
การแบ่งช่วงเวลาระหว่างก่อน
ประวัติศาสตร์กับประวัติศาสตร์
• แบ่งโดยใช้หลักฐานการมี
ภาษาเขียนในสังคมโบราณ
ในที่ต่างๆว่ามีแล้วหรือยัง
• ยังไม่มี = ก่อนประวัติศาสตร์
• มีแล้ว = ประวัติศาสตร์
8
• ภาษา
เขียนจึง
เป็นตัว
แบ่งช่วง
เวลาก่อน
ประวัติศา
สตร์ที่
สำาคัญ
9
Rosetta
Stone
10
ภาษาเขียนเกิดขึ้นมา
นานเท่าใดแล้ว
ภาษาพูดเกิด
ขึ้นเมื่อใด
11
ในวงการโบราณคดี
โลกถือเอาว่า ชาวซูเม
เรียน (Sumerian)
แห่งอาณาจักรซูเมอร์
ในดินแดนเมโสโปเต
เมีย และชาวอียิปต์
เป็นพวกแรกๆที่ใช้
ภาษาเขียน เมื่อราว
๕,๐๐๐ ปีมาแล้ว ดัง
นั้น ก่อน
ประวัติศาสตร์ของ
12
อะไรคือสาเหตุของการเกิดมีภาษา
เขียนขึ้น
13
14
ภาษาเขียนสมัยเริ่มแรก
ของมนุษย์
• ชาวซูเมเรียนใช้ตัวอักษรแบบ
คูนีฟอร์ม(Cuneiform)
• ชาวอียิปต์ใช้ตัวอักษรแบบเฮีย
โรกริฟฟิค(Hieroglyphic)
• ชาวจีนโบราณใช้ตัวอักษร
แบบอักษรภาพแบบจีน
(Pictograph)
15
• สมัยก่อนประวัติศาสตร์จึง
หมายถึงช่วงเวลา ตั้งแต่
เมื่อมีบรรพบุรุษของ
มนุษย์ปรากฏขึ้น เมื่อราว
4-5 ล้านปีที่แล้ว จนถึง
เมื่อมีการประดิษฐ์ภาษา
เขียนขึ้นเมื่อราว 5000 ปี
มาแล้ว
16
คือผู้ศึกษาเรื่องราวสมัยก่อนประวัติศาส
เนื่องจากเรื่องราวสมัยก่อน
ประวัติศาสตร์ไม่ได้ถูกบันทึกไว้
ด้วยภาษาเขียน
การศึกษาเรื่องราวสมัยดัง
กล่าวจึงทำาโดยการศึกษาจาก
หลักฐานประเภทโบราณวัตถุ
โบราณสถาน สภาพแวดล้อม
และหลักฐานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
ผู้ทำาหน้าที่ศึกษาหลักฐาน
ต่างๆ เหล่านี้เรียกว่า นัก
17
นักโบราณคดีศึกษาเรื่อง
ไดโนเสาร์ด้วยหรือไม่
• ผู้ที่ศึกษาเรื่องของไดโนเสาร์
คือนักโบราณชีววิทยาหรือนัก
18
นักโบราณคดีศึกษา
อดีตอย่างไร ?
นักโบราณคดีศึกษาอดีตของมนุษย์จากการ
รวบรวมข้อมูลที่เป็นหลักฐานหลากหลาย
ชนิด เช่นโบราณวัตถุได้แก่เศษภาชนะดิน
เผา กระดูกสัตว์ เปลือกหอย เครื่องมือหิน
ฯลฯ หรือหลักฐานประเภทโบราณสถาน และ
สิ่งแวดล้อม ได้แก่ เนินดิน คูนำ้า คันดิน ทาง
เดิน ลำานำ้า ซากอาคาร ฯลฯ
วิธีการรวบรวมข้อมูลที่เป็นลักษณะเด่น
เฉพาะตัวของนักโบราณคดี คือ การขุดค้น
19
21
22
23
24
25
26
นักโบราณคดีกำาหนดอายุของ
เหตุการณ์ในอดีตได้อย่างไร ?
การกำาหนดอายุของเหตุการณ์ในอดีต
สามารถทำาได้หลายวิธี คือ
-การกำาหนดอายุโดยการเปรียบ
เทียบลักษณะรูปแบบของโบราณ
สถาน โบราณวัตถุ
-การกำาหนดอายุโดยวิธีการทาง
วิทยาศาสตร์ ได้แก่Radiocarbon
dating (Carbon-14) คาร์บอน 14 และ
27
Half Life of Carbon 14
• C-14 half life = c. 5,500 years B.P.
28
กำาเนิดเผ่าพันธุ์
มนุษย์
* มนุษย์เป็นสิ่งมีชีวิต
ที่จัดอยู่ในกลุ่มสัตว์
เลี้ยงลูกด้วยนม
(Mammal) มีความ
สัมพันธ์ใกล้ชิดกับ
สัตว์ตระกูลไพรเมท
( Order Primate) หรือ
ลิง โดยเฉพาะอย่าง
ยิ่ง พวกวานร (Apes)
29
Apes ไพรเมทที่ใกล้ชิด
ของมนุษย์
• คำาตอบมีอยู่ในอดีตย้อนหลังไปเมื่อ
๖๕ ล้านปีมาแล้ว
31
* จุดหักเหสำาคัญที่
ทำาให้เกิดการ
วิวัฒนาการครั้งยิ่งใหญ่
ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
ซึ่งส่งผลมาสู่ไพรเมท
และมนุษย์ คือ การเกิด
การสูญพันธุ์ครั้งยิ่งใหญ่
(The Great Extinction) เมื่อ
๖๕ ล้านปีมาแล้วของ
32
33
การสิ้นสุดยุคของไดโนเสาร์ ส่งผล
ให้เกิดยุคของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
ซึ่งไพรเมทอยู่ในกลุ่มนี้
34
สายพันธ์ของ
ไพรเมท
Primate
บรรพบุรุษของไพรเมท
บรรพบุรุษของลิงบรรพบุรุษของคน
•ลิงดึกดำาบรรพ์
•ลิงโลกใหม่
•ลิงโลกเก่า
•วานร
- ชะนี
- อุรังอุตัง
-กอริลลา
- ชิมแพนซี
Australopithecus
Homo
•Homo habilis
•Homo erectus
•Homo sapiens neanderthalensis
•Homo sapiens sapiens
35
สภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลง ในยุค
ดึกดำาบรรพ์ทำาให้ไพรเมทพวกหนึ่ง
มีการปรับตัวลงจากต้นไม้ เพื่อมาหา
อาหารบนพื้นดิน และเริ่มใช้เครื่อง
มือเพื่อการดำารงชีวิต
36
สรุปวิวัฒนาการของมนุษย์
ยุคดึกดำาบรรพ์* บรรพบุรุษของมนุษย์ แยกตัวออกจาก
ไพรเมทชนิดอื่นเมื่อราว ๘-๙ ล้านปีมา
แล้วในทวีปแอฟริกา
* มีหลักฐานของบรรพบุรุษมนุษย์ ผู้ยืน
ตัวตรงและเดิน ๒ เท้า ในดินแดน
แอฟริกาตะวันออก เมื่อราวอย่างน้อย
๓. –๕ ๔ ล้านปีมาแล้ว
* พบว่ามีอย่างน้อย ๓ สายพันธุ์ ของ
37
การยืนตัวตรง เดินสองเท้าและรู้จักใช้
เครื่องมือน่าจะเป็นสาเหตุสำาคัญที่
ทำาให้เกิดมนุษย์ขึ้น
38
39
40
ตัวอย่างฟอสซิลมนุษย์
ดึกดำาบรรพ์ที่สำาคัญ
* ออสตราโลพิเธคัส อะฟาเรนซิส 4
m.y.a. (Australopithecus afarensis)
* ออสตราโลพิเธคัส อาฟริกานัส 3
m.y.a. (Australopithecus africanus)
* โฮโม ฮาบิลิส 2 m.y.a. (Homo habilis)
* โฮโม อีเรคตัส 1.5 m.y.a. (Homo erectus)
* โฮโม เซเปียนส์ 2 แสนปี (Homo sapiens)
41
42
•ผลจากการยืนตัวตรง
เดิน ๒ เท้า ส่งให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงในเผ่าพันธุ์
มนุษย์หลายประการ
•มนุษย์เริ่มสร้างเครื่องมือ
หินอย่างน้อย ๒ ล้านปีมา
แล้วในทวีปแอฟริกาโดย
พวกโฮโม ฮาบิลิส ใน
วัฒนธรรมที่มีชื่อว่า
Oldowan Culture และ
43
นุษย์แตกต่างจากสัตว์อย่างไร?
นักวิชาการหลายท่านกล่าว
ว่า “…humans are tool
makers and improvers that
differentiates them from
other animals.”
44
คุณสมบัติสำาคัญของมนุษย์ที่
แตกต่างจากสัตว์• ทำาเครื่องมือ ใช้และพัฒนา
เครื่องมืออย่างต่อเนื่อง
• ยืนตัวตรงเดินสองเท้าอย่าง
สมบูรณ์แบบ
• มีสมองขนาดใหญ่เมื่อเทียบ
กับขนาดของร่างกาย
• มีการมองแบบ มองตรงเห็น
ภาพซ้อน(Stereoscopic
vision)
• มีมือที่เป็นอิสระ และสามารถ
ใช้มือหยิบ จับ สิ่งของได้
อย่างง่ายดาย
45
46
47
ษย์สมัยก่อนประวัติศาสตร์คือใคร ?
* ในช่วงเวลาอันยาวนานของสมัยก่อน
ประวัติศาสตร์ นักวิชาการได้แบ่ง
มนุษย์ออกเป็น ๒ กลุ่มใหญ่ ๆ คือ
๑. มนุษย์ปัจจุบัน (Homo sapiens
sapiens) มีอายุตั้งแต่ราว ๒ แสนปีมาแล้ว
จนถึงปัจจุบัน
๒. บรรพบุรุษของมนุษย์ (Human
Ancestors) มีหลายกลุ่ม มีอายุตั้งแต่ราว
48
49
50
“Taung child”,
Australopithecus
africanus
51
or Handy Man
52
53
Peking Man :
54
55
56
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้กับมนุษย์
ดึกดำาบรรพ์
• เอเชียตะวันออกเฉียงใต้เป็นบริเวณหนึ่งที่พบ
ฟอสซิลของ โฮโม อีเรคตัสโดยพบที่ทริ
นิล(Trinil)บนเกาะชวาหรือเป็นที่รู้จักในชื่อ
มนุษย์ชวา(Java Man), มีอายุประมาณ 9 แสนปี
• ส่วนในประเทศไทยเคยได้รับความสนใจว่าอาจ
เป็นแหล่งรอยต่อที่สาปสูญ(Missing Link)ของ
มนุษย์ดึกดำาบรรพ์ และในปัจจุบันได้เริ่มพบหลัก
ฐานของมนุษย์โฮโม อีเรคตัส แล้วในจังหวัด
ลำาปาง มีอายุประมาณ 7 แสนปี
57
การค้นพบมนุษย์โบราณขนาดเล็ก
ในอินโดนีเซีย
• ในปีค.ศ.2003 ได้มีการขุดพบซากฟอสซิล
มนุษย์โบราณขนาดเล็กในถำ้าเลียงบัว(Liang
Bua cave) บนเกาะฟลอเรส ประเทศ
อินโดนีเซีย
• มนุษย์ดังกล่าวมีขนาดเพียงครึ่งเดียวของ
มนุษย์ปัจจุบัน ซึ่งคล้ายมนุษย์จิ๋วใน
ตำานาน(Hobbits) ผู้ค้นพบเชื่อว่าอาจเป็นสปีชี่
ส์ใหม่จึงตั้งชื่อวิทยาศาสตร์ให้ว่า Homo
florensiensis
• กำาหนดอายุได้ราว 95000-12000 ปีมาแล้ว
58
59
60
61
62
Homo sapiens sapiens
* มีกำาเนิดในทวีปอาฟริกาเมื่อราว
200,000 ปี มาแล้ว และอพยพ
ผ่านเอเชียตะวันออกกลาง แพร่
กระจายไปทั่วโลก โดยเริ่มจาก
เอเชีย , ยุโรป , อเมริกา และ
ผ่าพันธุ์มนุษย์ปัจจุบัน
63
ลักษณะทางกายภาพที่สำาคัญของ
โฮโม เซเปียนส์
• ยืนตัวตรง
• เดินสองเท้า มีมือเป็น
อิสระสามารถใช้
ประโยชน์ด้านอื่น
• รูปร่างค่อนข้างเพรียว
บาง
• มีหน้าผากตั้งตรง มีสันคิ้ว
ไม่ใหญ่นัก
• มีสมองขนาดประมาณ
๑,๒๕๐ ลบ.ซม.
64
การดำารงชีวิตและวัฒนธรรมของคนในสมัย
ก่อนประวัติศาสตร์
65
66
วัฒนธรรมของมนุษย์สมัยก่อนประวัติศาสตร์อาจแบ่งได้
ตามเทคโนโลยีได้แก่
วัฒนธรรมยุคหิน (Stone Age) และวัฒนธรรมยุคโลหะ
(Metal Age)ยุคหินแบ่งออกได้เป็น
•ยุคหินเก่า (Palaeolithic
Period)
•ยุคหินกลาง (Mesolithic
Period)
•ยุคหินใหม่ (Neolithic Period)
*Neolithic Revolution
*Green Revolution
67
เทคโนโลยีสมัยเริ่มแรกของมนุษย์
• เทคโนโลยีหิน
• เทคโนโลยีการใช้ไฟ
• เทคโนโลยีไม้, กระดูก, เปลือก
หอย
• เทคโนโลยีโลหะ
68
เครื่องมืออย่างแรก
ของมนุษย์ (ที่หลง
เหลือหลักฐาน)
คือ เครื่องมือหินแบบ
สับ – ตัด (chopper-
chopping tools) ของ
พวก Homo habilis
เมื่อราว ๒ ล้านปีมา
แล้วในทวีปอาฟริกา
เครื่องมือแบบนี้ใช้ต่อ
เนื่องกันมาราว ๑
ล้านปี ซึ่งมีหลักฐาน
69
70
71
• เทคโนโลยีการใช้ไฟปรากฏหลักฐานอย่าง
ชัดเจนในถำ้าZhoukoudian ประเทศจีน เมื่อ
ราว ๔๖๐,๐๐๐ปีมาแล้ว
72
• หลักฐานของไม้โบราณซึ่งมีร่องรอยการใช้งาน
อายุ๒๔๐,๐๐๐ปีมาแล้วพบที่Gesher Benot Ya’aqov
ในประเทศอิสราเอล
73
รูปแบบการดำารงชีวิต (Subsistence
Patterns)
• ในยุคหินเก่าและยุคหินกลางมนุษย์ดำารงชีวิต
ด้วยการล่าสัตว์และหาของป่า(Hunting and
Gathering society)มนุษย์ในสมัยนี้มี
ประชากรไม่มาก และมักย้ายที่อยู่ตามความ
อุดมสมบูรณ์ของอาหาร
• นับตั้งแต่ยุคหินใหม่เป็นต้นมามนุษย์จึงดำารง
ชีวิตด้วยการเพาะปลูกและเลี้ยงสัตว์
74
Hunting and Gathering society
76
77
สิ่งสำาคัญที่เราควรเข้าใจเกี่ยวกับการ
ดำารงชีวิตด้วยการล่าสัตว์หาของป่า
• เป็นการดำารงชีวิตแบบแรกของมนุษย์
• มนุษย์ดำารงชีวิตแบบนี้มาเป็นเวลานับ
ล้านปีต่อเนื่อง
• มนุษย์ใช้เครื่องมือง่ายๆช่วยในการ
ดำารงชีวิต
• เครื่องมือของมนุษย์สมัยเริ่มแรกที่ยัง
เหลือหลักฐานได้แก่เครื่องมือหินกะเทาะ
78
ลักษณะของการดำารงชีวิตด้วย
การล่าสัตว์และหาของป่า
• อยู่กันเป็นสังคมขนาดเล็กมีประชากรราว 20-50
คน
• ใช้เทคโนโลยีอย่างง่ายในการดำารงชีวิต
• ยังไม่มีการเกษตรกรรม
• ไม่อยู่ติดที่ถาวรแต่จะอพยพโยกย้ายไปตามการ
หาอาหารและฤดูกาล
• ไม่มีความแตกต่างทางชนชั้นและอาชีพ
• แบ่งแรงงานโดยอาศัยความแตกต่างทาง
กายภาพ
79
ข้อเท็จจริงบางอย่างของวิถีชีวิตแบบ
ล่าสัตว์หาของป่า
• สังคมล่าสัตว์หาของป่าอาจไม่ได้ดำารงชีวิตอยู่
ด้วยความยากลำาบากอย่างที่คนในปัจจุบันคิด
• นักวิชาการบางท่านขนานนามสังคมแบบนี้ว่า
“The Affluent Society”
• ก่อนสมัยเกษตรกรรมสังคมเหล่านี้มักดำารง
ชีวิตอยู่ในเขตพื้นที่อุดมสมบูรณ์ไม่ใช่แบบที่
เรามักเห็นและเข้าใจในปัจจุบัน
80
รูปแบบการตั้งถิ่นฐาน (Settlement
Patterns)
• ยุคหินเก่าและยุคหินกลาง อยู่กันเป็นก
ลุ่ม กลุ่มละประมาณ25-50 คน และอยู่
อาศัยไม่ติดที่แบบเร่ร่อน เพื่อการหาของ
ป่าและล่าสัตว์
• ยุคหินใหม่และยุคโลหะเป็นแบบอยู่กัน
เป็นหมู่บ้านถาวร มีจำานวนประชากร
มากพอควร
• ยุคที่มีอารยธรรมแล้ว อยู่กันเป็นเมือง
81
ร่องรอยของ
วัฒนธรรมยุคเริ่ม
แรก
82
The Neanderthals : Homo sapiens neanderthalensis
• มนุษย์ดึกดำาบรรพ์พวกหนึ่ง มีชีวิตอยู่ระหว่าง
120,000 – 35,000 ปีมาแล้ว ซึ่งเป็นช่วงเวลา
ของยุคนำ้าแข็ง โดยพบเฉพาะที่ทวีปยุโรปและ
ดินแดนเอเชียตะวันออกใกล้
• ปัจจุบันนักวิชาการเชื่อกันว่า มนุษย์นี
แอนเดอธัล เป็นอีกสายพันธ์หนึ่งซึ่งแยกต่าง
หากจากมนุษย์ปัจจุบัน
83
84
85
Venus Figurine, Goddess of Fertility
86
87
การเปลี่ยนแปลงครั้งยิ่งใหญ่ในสมัย
ก่อนประวัติศาสตร์
• การเปลี่ยนแปลงในสมัยยุคหินใหม่, การ
ปฏิวัติสมัยยุคหินใหม่ คือการเปลี่ยนแปลง
ลักษณะการดำารงชีวิตพื้นฐานจากการล่าสัตว์
หาของป่ามาเป็นการเพาะปลูกและเลี้ยงสัตว์
88
เหตุใดมนุษย์จึงต้องเปลี่ยนรูป
แบบการดำารงชีวิตจากการล่า
สัตว์หาของป่ามาเป็นการ
เกษตรกรรม
• ปรากฏการณ์ดังกล่าวเกิดขึ้นในหลาย
พื้นที่ของโลกในระยะเวลาใกล้เคียงกัน
คือราว ๑๐,๐๐๐ ปีมาแล้ว
• นักวิชาการเชื่อว่าเหตุการณ์ดังกล่าว
เป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงของ
สภาพภูมิอากาศครั้งใหญ่ในช่วงของ
การสิ้นสุดยุคนำ้าแข็ง(Ice Age)ครั้งล่าสุด
• ยุคนำ้าแข็งคืออะไร ?
89
Agriculture Society
: Foundation of the
Civilizationสังคมเกษตรกรรม คือสังคมที่คนใน
สังคมยังชีพด้วยการปลูกพืช โดยใช้
ระบบการเพาะปลูกแบบที่ต้องอาศัยการ
บำารุงที่ดิน การจัดระบบชลประทาน การ
ใช้แรงงานสัตว์ การใช้เครื่องมือ และ
อุปกรณ์การเกษตรที่ค่อนข้างซับซ้อน
โดยทำาการเกษตรดังกล่าวในพื้นดินอัน
90
ลักษณะสำาคัญของสังคม
เกษตรกรรมในฐานะที่เป็นส่วน
สำาคัญของอารยธรรมมนุษย์a. มีจำานวนประชากรมาก
b. ตั้งถิ่นฐานถาวร
c. ผลผลิตหลักได้มาจากการเกษตรกรรม
d. มีการพึ่งพาปัจจัยต่างๆจากภายนอก
e. มีระบบการปกครองแบบเป็นส่วนหนึ่งของ
สังคมรัฐ
f. มีลำาดับชั้นทางสังคม และมีความหลาก
หลายทางด้านอาชีพ
91
๙. ความสำาคัญในระบบเครือ
ญาติมีน้อยลง
๑๐. มีศาสนาหลัก มีพระ มี
นักบวช
๑๑. มีการกำาหนดเขตแดนและ
สงคราม
๑๒. มีการแบ่งออกได้เป็นสังคม
92
93
ตัวอย่างของสังคม
เกษตรกรรมแบบ
Intensive Agriculture
ในยุคแรกๆ ได้แก่
•Mesopotamia
•Egypt
•Indus Civilization
•North China
•Aztec Maya Inca
94
Early
Agriculture
in East Asia
• บริเวณลุ่มแม่นำ้า
แยงซีเกียงทาง
จีนใต้
• ในประเทศไทย
เคยมีผู้พยายาม
หาแหล่งกำาเนิด
เกษตรกรรม
เช่นกัน ตามข้อ
สมมติฐานของ
Carl Sauer นัก
ภูมิศาสตร์คน
96
97
98
99
าเนิดพืชสำาคัญที่มีการเพาะปลูกเป็นค
ทวีปเอเชีย
Rice 8,000 y.a.
Soy Bean 3,000 y.a.
Banana 2,000 y.a.
ะวันออกกลาง
Barley 10,500 y.a.
Wheat 10,500 y.a.
Apple 3,000 y.a.
100
มดิเตอร์เรเนียน
Asparagus 2,200
y.a.
Broccoli 1,900
y.a.
Cabbage 2,000
y.a.
Olive 5,000
y.a.
อาฟริกา
Millet 4,000 y.a.
Coffee ?
101
ปอเมริกาใต้ & เม็กซิโก
Potato 4,000 y.a.
Peanut 4,000 y.a.
Tobacco ?
Papaya ?
Pineapple ?
Caschew ?
Chili 4,500 y.a.
Manioc 4,000 y.a.
Cacao 1,500 y.a.
Maize 4,500 y.a.
Tomato ?
102
103
104
105
พัฒนาการทางวัฒนธรรมในสมัยก่อน
ประวัติศาสตร์
• ในสมัยก่อนประวัติศาสตร์หลังจากที่สังคม
มนุษย์เข้าสู่สังคมเกษตรกรรมแล้ว มนุษย์ได้มี
การพัฒนาทางด้านเทคโนโลยีมากขึ้นเรื่อยๆ
และมีการประดิษฐ์คิดค้นที่สำาคัญเป็นจำานวน
มาก
• การประดิษฐ์คิดค้นที่สำาคัญมากที่สุดอย่าง
หนึ่งคือ การค้นพบเทคโนโลยีโลหะ ซึ่งใน
เวลาต่อมาทำาให้มนุษย์ก้าวเข้าสู่ยุคโลหะคือ
ยุคทองแดง(The Copper Age) ยุคสำาริด(The
Bronze Age)และต่อมาคือยุคเหล็ก( The Iron
106
ยุคโลหะแบ่งออกได้
เป็น
•ยุคทองแดง : 5,000 B.C
•ยุคสำาริด : 2,000 B.C.
•ยุคเหล็ก : 1,000 B.C.
จากนั้นจึงเข้าสู่สมัย
ประวัติศาสตร์
107
The Bronze Human faces age 2,000 B.C. from The
Sanxingdui site, Ancient Shu Kingdom, China
108
การเปลี่ยนแปลงที่สำาคัญ
ในยุคนี้
• มีการเพิ่มขึ้นของจำานวนประชากรอย่างต่อเนื่อง
• มีการแพร่กระจายการตั้งถิ่นฐานของประชากรออก
สู่พื้นที่ต่างๆของโลก
• การเพาะปลูกและเลี้ยงสัตว์ทวีความสำาคัญมากยิ่ง
ขึ้นแม้ว่าการล่าสัตว์หาของป่าจะยังคงมีอยู่ก็ตาม
• เริ่มปรากฏรูปแบบการดำารงชีวิตของมนุษย์แบบ
เมืองเป็นครั้งแรก อันเป็นผลมาจาก การมีรูปแบบ
การปกครองแบบใหม่ คือ การมีรัฐ และอาณาจักร
กับการมีวัฒนธรรมแบบใหม่ซึ่งปรากฏให้เห็นใน
รูปของสิ่งก่อสร้างทางพิธีกรรมขนาดใหญ่ และ
109
ค์ประกอบสำาคัญของการเกิดสังคมเมือ
a. มีพื้นที่ดินเหมาะสมต่อการเพาะปลูกพืช
อาหารเพื่อใช้เลี้ยงประชากรจำานวน
มากได้
b. อยู่ใกล้แหล่งที่สามารถการจัดทำาระบบ
ชลประทานได้
c. มีสิ่งก่อสร้างทางศาสนาขนาดใหญ่
d. มีความแตกต่างทางชนชั้นทางสังคม
e. มีเทคโนโลยีทางด้านการคมนาคมและ
110
King, Emperor,Pharoah,กษัตริย์
ขุนนาง, ผู้ใกล้ชิดกษัตริย์,
พระชั้นผู้ใหญ่, ขุนศึก
ช่างฝีมือ, พ่อค้า
ชาวนา
แรงงาน
ระบบสังคมของสังคมรัฐมีรูปร่างแบบปิรามิด คือมีคนจำานวน
เล็กน้อยเท่านั้นที่เป็นผู้ปกครอง โดยได้รับการสนับสนุนจาก
ชนชั้นขุนนาง ช่างฝีมือ และพ่อค้าบนฐานของชนชั้นแรงงาน
111
Origin of the Civilization
• Hydraulic civilization model
• Innovation model
• Environmental stress model
• Coercion & warfare model
112
นธรรมต่างกับ อารยธรรมอย่างไร ?
นับตั้งแต่มนุษย์มีวิวัฒนาการมาสู่
ลักษณะของสัตว์ที่ยืนตัวตรง เดิน
สองเท้าแล้ว มนุษย์มีการพัฒนา
วัฒนธรรมของตนเองต่อไปอย่าง
มิหยุดยั้ง ดูได้จากการมีเครื่องมือ
เครื่องใช้ที่ซับซ้อนหลากหลาย
113
ปัจจัยที่ทำาให้เกิดการแพร่
กระจายของประชากร
a. เพื่อแสวงหาอาหาร
b. การเปลี่ยนแปลงของ
สภาพแวดล้อม
a. สภาพภูมิอากาศ
b. สภาพภูมิประเทศ
114
๓.การรุกรานจากศัตรู
๔.การติดต่อสัมพันธ์ต่างถิ่น
๕.การเพิ่มขึ้นของจำานวน
ประชากร
๖. การแสวงหาโชคลาภ
๗. สาเหตุทางประวัติศาสตร์
และสังคมอื่นๆ
115
Hunting & Gathering Society
Agriculture & Pastoralism Society
Human Society Change !
US
116
117
อารยธรรมสำาคัญของเมโสโปเตเมีย
1. Sumer
อารยธรรมซูเมอร์มี
ลักษณะสำาคัญ คือ
a. เป็นแหล่งกำาเนิด
ภาษาเขียนที่เก่า
แก่ที่สุด คือ ตัว
อักษรแบบคูนิ
ฟอร์ม มีอายุราว
5,500 B.P.
b. การจัดระบบ
ชลประทาน ได้แก่
118
๓) การทำาโลหะ
ขึ้นใช้เป็นพวก
แรกๆ ของโลก คือ
สำาริด
๔) ระบบการ
สังเกตฤดูกาล
ดาราศาสตร์ ที่มี
ความสัมพันธ์กับ
การเพาะปลูก
๕) การคำานวณ
เลขใช้หลัก ๖๐
119
งสำาคัญของอาณาจักรซูเมอร์
ออร์ (Ur)
เรค (Ereck)
อริดู (Eridu)
ากาช (Lagash)
บเปอร์ (Nippur)
120
2. Babylon
อารยธรรมของชาวบาบิโลเนียน
เป็นของชนเผ่า อามอไรท์
(Amorite) มีลักษณะสำาคัญคือ
การจัดทำากฎหมายฉบับเก่าแก่
ที่สุดของโลก เรียกว่า กฎหมาย
ของพระเจ้าฮัมมูราบี “The Code
of Hammurabi” มีอายุราว 3,700
121
3. Hittite
อารยธรรมของชาวฮิตไทท์เป็น
ของชนเผ่าอินโดยูโรเปียน มี
ลักษณะสำาคัญ คือ การรู้จักใช้
เหล็กทำาเครื่องมือแทนทองแดง4. Assyria
อารยธรรมอัสซีเรียนเป็นของ
ชนเผ่าเซมิติกที่ชำานาญการรบ
122
5. Persia
อารยธรรมของชนเผ่าเปอร์
เซียนเป็นพวกอินโดยุโรเปียน
มีลักษณะสำาคัญ คือ
a.ระบบอาณาจักรแบบ
จักรวรรดิ (Empire)
b.ระบบศาสนาลัทธิโซโรอัส
123
ารยธรรมลุ่มแม่นำ้าไนล์
อียิปต์
อารยธรรมอียิปต์
เกิดขึ้นจากการ
รวมตัวของคนที่
อาศัยอยู่อย่าง
หนาแน่นตามริม
ฝั่งแม่นำ้าไนล์ ซึ่ง
ขนาบข้างด้วย
พื้นที่แห้งแล้ง
ของทะเลทราย
124
125
ารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีก
คือ อารยธรรมยุค
แรกเริ่มของทวีป
ยุโรปซึ่งถือได้ว่าเป็น
แม่แบบให้แก่
อารยธรรมตะวันตก
ต่อมา
อารยธรรมกรีก
มีรากฐานมาจาก
อารยธรรมโบราณ
126
• As far as we know, the Greeks were the first
of the ancient peoples to devise ways of
seeking truth by sustained and sophisticated
reasoning truth about the nature of the
universe, about the best ways for human
individuals and societies to live.
• The ancient Greeks philosophers have made
a great deal of contribution to the culture
and political system of the West.
127
าคัญของอารยธรรมกรีก
a.ความเป็นต้นแบบของ
อารยธรรมตะวันตก
b.ระบบความคิดที่มองคนใน
ฐานะปัจเจกชนในสังคม ซึ่ง
เป็นพื้นฐานของระบบ
ประชาธิปไตย
128
๔. ระบบประชาธิปไตย
๕. ระบบการแพทย์
๖. ระบบการแข่งขันกีฬาโอลิมปิค
๗. การละคร มหากาพย์
๘. ศิลปะ สถาปัตยกรรม
129
ารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันมีศูนย์กลาง
อยู่ ณ ดินแดนอิตาลี มีพื้น
ฐานมาจากอารยธรรมกรีก
แต่ได้พัฒนาขึ้นมาเป็นแบบ
ของตน และได้ขยาย
อาณาจักรของตนเองออกไป
130
สำาคัญของอารยธรรมโรมัน
a.กฎหมายที่ยึดหลัก
เสรีภาพ ซึ่งมีอิทธิพลต่อ
กฎหมายของยุโรปใน
เวลาต่อมา
b.การปกครองระบบ
สาธารณรัฐ
131
ยธรรมตะวันออกยุคโบราณ
แหล่งกำาเนิดอารยธรรมตะวัน
ออกยุคโบราณมี ๒ บริเวณ
คือ
a.อารยธรรมอินเดีย
b.อารยธรรมจีน
132
ทั้ง ๒ อารยธรรมดังกล่าวมีอิทธิพล
ต่อประเทศไทยมาตั้งแต่โบราณ
อย่างลึกซึ้ง โดยอารยธรรม
อินเดียจะให้ในด้านความคิด
ความเชื่อ ภาษา แนวทางการ
ปกครอง ส่วนอารยธรรมจีนจะ
ให้ในด้านการดำาเนินชีวิต
ประจำาวัน การค้าขาย
133
อินเดีย หรือ ดินแดนภารตะ
เป็นอนุทวีป ที่มีสภาพแวดล้อม
เป็นเอกเทศมาแต่โบราณ จึงก่อ
ให้เกิดการสร้างสรรค์ และสั่งสม
อารยธรรมของตนเองอย่างมี
เอกลักษณ์มาเป็นระยะเวลา
ยาวนาน
134
ารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียมีต้นกำาเนิดมาจาก
อารยธรรมลุ่มแม่นำ้าสินธุ (Indus
Civilization) โดยมีหลักฐานความ
เจริญรุ่งเรืองมาตั้งแต่ราว 3,000 B.C.
(ร่วมสมัยกับอารยธรรมเมโสโปเต
เมีย) ณ เมืองฮารัปปา (Harappa)
และเมืองโมเฮนโจดาโร (Mohenjo-
daro) ซึ่งปัจจุบันอยู่ในประเทศ
135
อารยธรรมลุ่มแม่นำ้าสินธุเป็นของพวกชาว
ดราวิเดียน ซึ่งเป็นคนพื้นเมืองเดิมก่อนหน้า
ชาวอารยัน
ลักษณะพิเศษที่พบในอารยธรรมลุ่มแม่นำ้า
สินธุ คืออารยธรรมสังคมเมือง(Urban
Civilization)แตกต่างจากอารยธรรมโบราณ
อื่นๆ อาทิ
-การวางผังเมืองเป็นระบบตาราง (Grid
System)
-สิ่งก่อสร้างสาธารณะของประชาชน
136
อารยธรรมอินเดียสมัยที่ชาว
อารยันได้เข้ามาแทนที่พวก
ดราวิเดียน
ชาวอารยันเดิมเป็นพวกเร่ร่อน พูดภาษา
ตระกูลอินโดยูโรเปียน อาศัยอยู่ทางแถบ
เอเชียกลางทางตอนเหนือของอินเดีย พวก
นี้ได้อพยพเข้ามาในอินเดียตั้งแต่ราว 2,500
B.C.
สิ่งสำาคัญที่พวกอารยันได้สร้างขึ้นมา คือ
ระบบทางสังคม และระบบความเชื่อ
137
บทางสังคมของอารยธรรมอินเดีย
ระบบวรรณะ (Caste System)
พวกอารยันเดิมมี ๓ วรรณะ คือ
a. พราหมณ์ : นักบวช,ผู้ประกอบ
พิธีกรรม , ผู้สามารถติดต่อกับเทพเจ้า
b. กษัตริย์ : ผู้ปกป้องประชาชน , รักษา
ผืนแผ่นดิน , นักรบ
c. แพศย์ : ชาวบ้าน , ค้าขาย ผลิต
อาหาร
138
แต่ต่อมาเมื่อเข้ามาสู่อินเดียแล้ว
ได้มีวรรณะเพิ่มขึ้น วรรณะศูทร
คือ พวกชาวพื้นเมือง ทำาหน้าที่ใช้
แรงงาน , รับใช้ , ไม่มีสิทธิ์ศึกษา
คัมภีร์พระเวทจัดเป็นวรรณะตำ่าสุด
139
บบความเชื่อของอารยธรรมอินเดีย
อินเดียเป็นดินแดนต้น
กำาเนิดระบบความเชื่อ
สำาคัญหลายระบบ คือ
a.พราหมณ์
b.พุทธ
c.เชน
140
พวกอารยันมีระบบความเชื่อของตนอัน
เก่าแก่ในเรื่องเทพเจ้าหลายองค์
(Polytheism) ดังปรากฏในคัมภีร์พระเวท
ซึ่งแบ่งเป็น ฤคเวท , ยธุรเวท , สามเวท
เรียกว่าศาสนาพราหมณ์ ซึ่งต่อมาได้ถูก
กระแสของระบบความเชื่อใหม่ คือ พุทธ
และเชน เข้ามากระทบ ทำาให้ต้องปฏิรูป
ศาสนาไปสู่ศาสนาฮินดู ซึ่งมีผู้นิยม
นับถือสืบมาจนถึงปัจจุบัน
141
ศาสนาฮินดูในปัจจุบันแบ่ง
ออกได้เป็น ๒ นิกาย
ใหญ่ๆ คือ
a.ไศวนิกาย นับถือพระศิวะ
หรือ พระอิศวร
b.ไวศณพนิกาย นับถือพระ
วิษณุ หรือ พระนารายณ์
142
ทธิพลของอารยธรรมอินเดียต่อไทย
บความเชื่อ ประเพณี
าสนาพุทธ
–าสนาพราหมณ์ ฮินดู
า
ปกครอง : หลักกฎหมาย มนูธรรมศาส
143
๔. ศิลปะ
๔.๑ สถาปัตยกรรม
๔.๒ ประติมากรรม
๕. วรรณคดี
๕.๑ รามยณะ รามเกียรติ์
๕.๒ มหาภารตะ
144
อารยธรรมจีน
จีน ดินแดนตะวันออกสุดของ
ทวีปเอเชีย (Far East) เป็นดิน
แดนที่มีขนาดใหญ่ และอยู่ห่าง
ไกลจากอารยธรรมโบราณอื่นๆ
145
ารยธรรมจีนยุคโบราณ
เริ่มต้นที่ราชวงศ์ชาง เมื่อราว
1,500 B.C. ที่เริ่มมีอำานาจเป็น
นครรัฐอย่างชัดเจน และมี
ลักษณะเป็นสังคมทาส มีการ
สังเวยชีวิตมนุษย์ต่อสิ่งศักดิ์สิทธิ์
146
สิ่งที่แสดงความรุ่งเรืองของ
อารยธรรมจีนยุคโบราณ คือ
a. อักษรจีน มีมาตั้งแต่ 1,500 B.C.
และต่อมาได้กลายเป็นเป็นพื้นฐาน
ของอักษรญี่ปุ่น เกาหลี
b. เครื่องมือ เครื่องใช้สำาริด
c. กำาแพงเมืองจีน ถือเป็นสิ่งก่อสร้าง
ยิ่งใหญ่ที่สุดของมนุษย์อย่างหนึ่ง
147
ภาชนะดินเผาแบบจีน เครื่องลายครา
ผ้าไหม
การพิมพ์
. การเดินเรือ
อาหารจีน
. ศิลปะจีน
148
บบความเชื่อของจีน
a.ลัทธิขงจื๊อ หรือลัทธิหยู ซึ่ง
หมายถึงนักศึกษา เป็นลัทธิที่มี
อิทธิพลต่อชาวจีนมานับแต่
โบราณโดยมีใจความเน้นเรื่อง
คุณธรรมที่อยู่บนพื้นฐานของ
หลักแห่งเมตตา การดำารงชีวิต
ของมนุษย์จะต้องยึดมั่นใน
149
ขงจื้อไม่พูดถึงเรื่องโชคชะตา
ภูตผี หรือชาติหน้า แต่สอนให้
รู้จักชีวิตปัจจุบันให้ดีเสียก่อน
นอกจากนั้นลัทธิขงจื้อยัง
สอนให้ทุกคนจะต้องเรียน
หนังสือไปตลอดชีวิต ไม่ว่าจะอยู่
ในอาชีพใด
150
๒. ลัทธิเต๋า มีที่มาจากคำาสอนของ
เล่าจื๊อ นักปรัชญาพเนจรที่เน้น
การกลับคืนสู่ธรรมชาติ ใช้ชีวิต
เรียบง่าย มีเสรีภาพ
๓. ลัทธิบูชาบรรพบุรุษ เป็น
ระบบความเชื่อที่สืบทอดมาแต่ยุค
โบราณโดยถือว่าบิดาเป็นประมุข
ของครอบครัว ยึดถือระบบกตัญญู
151
พลของอารยธรรมจีนที่มีต่อไทย
อิทธิพลของอารยธรรมจีนที่มีต่อ
ไทยส่วนใหญ่จะมีลักษณะของ
การติดต่อค้าขายระหว่างกันมา
เป็นเวลาช้านาน จึงมักอยู่ในรูป
ของการดำารงชีวิต ข้าวของ
เครื่องใช้ อาหาร และเทคโนโลยี
ต่างๆ เสียมากกว่า ส่วนที่เป็น
152
จนในสมัยรัตนโกสินทร์ที่มีคน
จีนอพยพเข้ามาอยู่ในเมืองไทย
มากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งจีน
แต้จิ๋ว จึงทำาให้มีการผสมผสาน
วัฒนธรรม ประเพณีของจีนกับ
ไทยมากขึ้น
153
การแบ่งช่วงเวลาในสมัยก่อน
ประวัติศาสตร์
• ในทางโบราณคดีมีการแบ่งช่วงเวลาอัน
ยาวนานในอดีตออกได้ดังนี้
ยุคหินเก่า
ยุคหินกลาง
ยุคหินใหม่
ยุคสำาริด
ยุคเหล็ก
154
๒. แบบที่เรียกว่าผลิต
อาหารได้เอง (food
Producing Society)
ได้แก่ การเพาะปลูก
(Agriculture) การเลี้ยง
สัตว์ (Animal
Husbandry, Animals
Pastoralism)
155
ณะของการผลิตอาหารของมนุษย์
นับตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน มนุษย์มี
ลักษณะการผลิตอาหารออกได้เป็น ๒
แบบใหญ่ๆ คือ๑. แบบที่ไม่สามารถผลิตอาหารได้
เอง แต่หาเอาจากธรรมชาติ (Food
Gathering Society) ได้แก่ลักษณะที่
เรียกว่า การล่าสัตว์ (Hunting) การ
หาของป่า
156
๓) การเพาะปลูก
แบบซับ
ซ้อน(Agriculture)
๔) การเลี้ยงสัตว์
(Pastoralism)
๕) การอุตสาหกรรม
(Industry)
157
The New Discovery of Mystery hominid in Flores, Indonesia
• In 2003 the new discovery of ancient hominid has been
undertaken at Liang Bua cave (cool cave) in the Flores
island of Indonesia.
• These mystery hominid have only half size of body
when compare to modern human and same size of brain
with the australopithecine. The researchers believed
that this is the discovery of new species of tiny people,
“Hobbits” so they called them Homo florensiensis
• Dating around 95,000-12,000 B.P.
• Some scholars believed that these tiny hominids are not
the new species in genus Homo but possibly the
modern human with the symptom of severe blood
disorder or abnormal hormone in isolated island.
158
ทำาไมเราจึงต้องรู้เรื่อง มรดก
อารยธรรมโลกa. สังคมโลกมีการเปลี่ยนแปลง
อยู่ตลอดเวลา
b. เราลืมอดีตและไม่ทราบที่มา
ของสิ่งต่างๆในปัจจุบัน
c. ความเข้าใจที่ถูกต้องและรู้
ข้อมูลอย่างเพียงพอเกี่ยวกับ
ความเป็นไปในโลกมี
ประโยชน์ต่อการดำารงชีวิต
ของมนุษย์ปัจจุบัน
159
160
ทราบหรือไม่ว่า มรดกอารยธรรมโลกจัด
เป็นทรัพยากรทางวัฒนธรรมที่สำาคัญต่อ
ระบบเศรษฐกิจของหลายประเทศ
• แหล่งท่องเที่ยวที่สำาคัญระดับโลก และมีคน
จำานวนมากต้องการไปชมล้วนเป็นแหล่ง
อารยธรรมโลกทั้งสี้น อาทิ
ปิรามิด แห่ง อียิปต์
โคลอสเซียม แห่ง อิตาลี
สโตนเฮนส์ แห่ง อังกฤษ
นครวัด แห่ง กัมพูชา
บุโรพุทโธ แห่ง อินโดนีเซีย
……….แห่ง ประเทศไทย
161
162
ลักษณะของการเปลี่ยนแปลงที่สำาคัญที่
ทำาให้มนุษย์แตกต่างจากสัตว์ชนิดอื่นอย่าง
เห็นได้ชัด
* การเปลี่ยนลักษณะการยืนและ
การเคลื่อนไหวมาเป็นการยืนตัว
ตรง เดิน ๒ เท้า (Erect Bipedal
Posture)
* สมองมีขนาดใหญ่ขึ้น
* รู้จักทำาเครื่องมือตั้งแต่ราว ๒
ล้านปีมาแล้ว โดยทำาเป็นเครื่อง
มือหินกะเทาะแบบง่ายๆ แบบที่
เรียกว่า วัฒนธรรมโอลดูวัน
(Oldouwan Culture) เทคนิคการ
ทำาเครื่องมือแบบนี้ใช้สืบเนื่องกัน
มาอีกราว ๑ ล้านปี

More Related Content

What's hot

หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันหน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
โครงสร้างรายวิชาสังคมศึกษา ๖ รหัสวิชา ส๒๓๑๐๓
โครงสร้างรายวิชาสังคมศึกษา ๖ รหัสวิชา  ส๒๓๑๐๓โครงสร้างรายวิชาสังคมศึกษา ๖ รหัสวิชา  ส๒๓๑๐๓
โครงสร้างรายวิชาสังคมศึกษา ๖ รหัสวิชา ส๒๓๑๐๓ไพบููลย์ หัดรัดชัย
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1Omm Suwannavisut
 
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนงานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
8 3 สังคมและวัฒนธรรมไทย
8 3  สังคมและวัฒนธรรมไทย8 3  สังคมและวัฒนธรรมไทย
8 3 สังคมและวัฒนธรรมไทยMint NutniCha
 
บทบาทของพระสงฆ์กับการพัฒนาการศึกษา
บทบาทของพระสงฆ์กับการพัฒนาการศึกษาบทบาทของพระสงฆ์กับการพัฒนาการศึกษา
บทบาทของพระสงฆ์กับการพัฒนาการศึกษาพระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์Padvee Academy
 
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น copy
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น   copy1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น   copy
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น copyKunlaya Kamwut
 
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทยม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทยทศวรรษ โตเสือ
 
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)พัน พัน
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียKran Sirikran
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยPadvee Academy
 
ใบความรู้ศาสนาคริสต์
ใบความรู้ศาสนาคริสต์ใบความรู้ศาสนาคริสต์
ใบความรู้ศาสนาคริสต์Proud N. Boonrak
 
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรมบทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรมpop Jaturong
 
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาแผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะบทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะอุษณีษ์ ศรีสม
 

What's hot (20)

หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันหน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
 
โครงสร้างรายวิชาสังคมศึกษา ๖ รหัสวิชา ส๒๓๑๐๓
โครงสร้างรายวิชาสังคมศึกษา ๖ รหัสวิชา  ส๒๓๑๐๓โครงสร้างรายวิชาสังคมศึกษา ๖ รหัสวิชา  ส๒๓๑๐๓
โครงสร้างรายวิชาสังคมศึกษา ๖ รหัสวิชา ส๒๓๑๐๓
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
 
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนงานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
 
8 3 สังคมและวัฒนธรรมไทย
8 3  สังคมและวัฒนธรรมไทย8 3  สังคมและวัฒนธรรมไทย
8 3 สังคมและวัฒนธรรมไทย
 
บทบาทของพระสงฆ์กับการพัฒนาการศึกษา
บทบาทของพระสงฆ์กับการพัฒนาการศึกษาบทบาทของพระสงฆ์กับการพัฒนาการศึกษา
บทบาทของพระสงฆ์กับการพัฒนาการศึกษา
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
 
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น copy
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น   copy1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น   copy
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น copy
 
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทยม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
 
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
 
หน่วย 3
หน่วย 3 หน่วย 3
หน่วย 3
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
 
ใบความรู้ศาสนาคริสต์
ใบความรู้ศาสนาคริสต์ใบความรู้ศาสนาคริสต์
ใบความรู้ศาสนาคริสต์
 
การโต้วาที
การโต้วาทีการโต้วาที
การโต้วาที
 
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรมบทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
 
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาแผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
 
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
 
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะบทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
 

Similar to มรดกอารยธรรมโลก

Evolution human
Evolution humanEvolution human
Evolution humanBio Teach
 
9789740332800
97897403328009789740332800
9789740332800CUPress
 
ยุโรป วารสาร v1.2 [37 หน้า]
ยุโรป  วารสาร v1.2 [37 หน้า]ยุโรป  วารสาร v1.2 [37 หน้า]
ยุโรป วารสาร v1.2 [37 หน้า]ssuserd22157
 
แหล่งกำเนิดและการเคลื่อนย้ายของมนุษย์ (1)
แหล่งกำเนิดและการเคลื่อนย้ายของมนุษย์ (1)แหล่งกำเนิดและการเคลื่อนย้ายของมนุษย์ (1)
แหล่งกำเนิดและการเคลื่อนย้ายของมนุษย์ (1)Nakhon Pathom Rajabhat University
 
วัฒนธรรม
วัฒนธรรมวัฒนธรรม
วัฒนธรรมthnaporn999
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10mintmint2540
 
สังคม ม.6.7 เลขที่4,10
สังคม ม.6.7 เลขที่4,10สังคม ม.6.7 เลขที่4,10
สังคม ม.6.7 เลขที่4,10mintmint2540
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10mintmint2540
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10mintmint2540
 
Chapter 1 ความหมายและองค์ประกอบของปัญญาชน
Chapter 1 ความหมายและองค์ประกอบของปัญญาชนChapter 1 ความหมายและองค์ประกอบของปัญญาชน
Chapter 1 ความหมายและองค์ประกอบของปัญญาชนjirawat_r
 
วิวัฒนาการชนชั้นของสังคม
วิวัฒนาการชนชั้นของสังคมวิวัฒนาการชนชั้นของสังคม
วิวัฒนาการชนชั้นของสังคมnoonam2538
 
อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์sangworn
 
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...krunrita
 
%Ba%b7%b7%d5%e8 2
%Ba%b7%b7%d5%e8 2%Ba%b7%b7%d5%e8 2
%Ba%b7%b7%d5%e8 2guidena
 

Similar to มรดกอารยธรรมโลก (20)

Evolution human
Evolution humanEvolution human
Evolution human
 
มนุษย์ สังคม วัฒนธรรม
มนุษย์ สังคม วัฒนธรรมมนุษย์ สังคม วัฒนธรรม
มนุษย์ สังคม วัฒนธรรม
 
10 intro-taxonomy
10 intro-taxonomy10 intro-taxonomy
10 intro-taxonomy
 
แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.2
แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.2แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.2
แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.2
 
9789740332800
97897403328009789740332800
9789740332800
 
ยุโรป วารสาร v1.2 [37 หน้า]
ยุโรป  วารสาร v1.2 [37 หน้า]ยุโรป  วารสาร v1.2 [37 หน้า]
ยุโรป วารสาร v1.2 [37 หน้า]
 
แหล่งกำเนิดและการเคลื่อนย้ายของมนุษย์ (1)
แหล่งกำเนิดและการเคลื่อนย้ายของมนุษย์ (1)แหล่งกำเนิดและการเคลื่อนย้ายของมนุษย์ (1)
แหล่งกำเนิดและการเคลื่อนย้ายของมนุษย์ (1)
 
วัฒนธรรม
วัฒนธรรมวัฒนธรรม
วัฒนธรรม
 
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
 
สังคม ม.6.7 เลขที่4,10
สังคม ม.6.7 เลขที่4,10สังคม ม.6.7 เลขที่4,10
สังคม ม.6.7 เลขที่4,10
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
 
Chapter 1 ความหมายและองค์ประกอบของปัญญาชน
Chapter 1 ความหมายและองค์ประกอบของปัญญาชนChapter 1 ความหมายและองค์ประกอบของปัญญาชน
Chapter 1 ความหมายและองค์ประกอบของปัญญาชน
 
วิวัฒนาการชนชั้นของสังคม
วิวัฒนาการชนชั้นของสังคมวิวัฒนาการชนชั้นของสังคม
วิวัฒนาการชนชั้นของสังคม
 
Unit2 การสร้างสรรค์อารยธรรม
Unit2 การสร้างสรรค์อารยธรรมUnit2 การสร้างสรรค์อารยธรรม
Unit2 การสร้างสรรค์อารยธรรม
 
อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์
 
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...
 
%Ba%b7%b7%d5%e8 2
%Ba%b7%b7%d5%e8 2%Ba%b7%b7%d5%e8 2
%Ba%b7%b7%d5%e8 2
 
%Ba%b7%b7%d5%e8 2
%Ba%b7%b7%d5%e8 2%Ba%b7%b7%d5%e8 2
%Ba%b7%b7%d5%e8 2
 

More from Heritagecivil Kasetsart

ศิลปะตะวันออก lol
ศิลปะตะวันออก lolศิลปะตะวันออก lol
ศิลปะตะวันออก lolHeritagecivil Kasetsart
 
มรดกอารยธรรมโลก(อ.ไพรินทร์)
มรดกอารยธรรมโลก(อ.ไพรินทร์) มรดกอารยธรรมโลก(อ.ไพรินทร์)
มรดกอารยธรรมโลก(อ.ไพรินทร์) Heritagecivil Kasetsart
 
มรดกอารยธรรมโลก
มรดกอารยธรรมโลกมรดกอารยธรรมโลก
มรดกอารยธรรมโลกHeritagecivil Kasetsart
 
มรดกอารยธรรมโลกเพิ่มเติม ปี 2557
มรดกอารยธรรมโลกเพิ่มเติม ปี 2557มรดกอารยธรรมโลกเพิ่มเติม ปี 2557
มรดกอารยธรรมโลกเพิ่มเติม ปี 2557Heritagecivil Kasetsart
 
ยุคปัจจุบัน(อัพเดท2557)
ยุคปัจจุบัน(อัพเดท2557)ยุคปัจจุบัน(อัพเดท2557)
ยุคปัจจุบัน(อัพเดท2557)Heritagecivil Kasetsart
 

More from Heritagecivil Kasetsart (20)

ศิลปะตะวันออก lol
ศิลปะตะวันออก lolศิลปะตะวันออก lol
ศิลปะตะวันออก lol
 
The heritages of world civilization
The heritages of world civilization The heritages of world civilization
The heritages of world civilization
 
01999031 western music romantic
01999031 western music romantic01999031 western music romantic
01999031 western music romantic
 
01999031 western music baroque.
01999031 western music baroque.01999031 western music baroque.
01999031 western music baroque.
 
01999031 western music classical.
01999031 western music classical.01999031 western music classical.
01999031 western music classical.
 
Man lg
Man lgMan lg
Man lg
 
Man lg handout s
Man lg handout sMan lg handout s
Man lg handout s
 
Man lg eng hndout
Man lg eng hndoutMan lg eng hndout
Man lg eng hndout
 
World history
World historyWorld history
World history
 
World major religion
World major religionWorld major religion
World major religion
 
Reasoning
ReasoningReasoning
Reasoning
 
Philosophy history
Philosophy historyPhilosophy history
Philosophy history
 
Philosophy and religion
Philosophy and religionPhilosophy and religion
Philosophy and religion
 
Introduction of philosophy
Introduction of philosophyIntroduction of philosophy
Introduction of philosophy
 
Philosophy and religion
Philosophy and religionPhilosophy and religion
Philosophy and religion
 
Introduction of philosophy
Introduction of philosophyIntroduction of philosophy
Introduction of philosophy
 
มรดกอารยธรรมโลก(อ.ไพรินทร์)
มรดกอารยธรรมโลก(อ.ไพรินทร์) มรดกอารยธรรมโลก(อ.ไพรินทร์)
มรดกอารยธรรมโลก(อ.ไพรินทร์)
 
มรดกอารยธรรมโลก
มรดกอารยธรรมโลกมรดกอารยธรรมโลก
มรดกอารยธรรมโลก
 
มรดกอารยธรรมโลกเพิ่มเติม ปี 2557
มรดกอารยธรรมโลกเพิ่มเติม ปี 2557มรดกอารยธรรมโลกเพิ่มเติม ปี 2557
มรดกอารยธรรมโลกเพิ่มเติม ปี 2557
 
ยุคปัจจุบัน(อัพเดท2557)
ยุคปัจจุบัน(อัพเดท2557)ยุคปัจจุบัน(อัพเดท2557)
ยุคปัจจุบัน(อัพเดท2557)
 

มรดกอารยธรรมโลก