SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
ก้าวสู่ยุค AI ทั่วโลกใช้งานแพร่หลายเปลี่ยนไลฟ์สไตล์มนุษย์ ในอนาคตอาจฉลาดกว่าคน
แวดวงธุรกิจไทยตื่นตัวเร่งสร้าง AI ใช้งานทุกภาคส่วน ภาคการศึกษาตื่นรับจับหลักสูตร
ปูพื้น AI สอนตั้งแต่ระดับมัธยม แต่อย่างไรยังมีข้อกังวลด้านจริยธรรมที่ต้องให้ความ
สำคัญ
ไทยขานรับใช้งานพัฒนาต่อยอด
photo:freepik.com
SPECIAL REPORT | IT TRENDS 11
photo : freepik.com
1. เน้นการท�าวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี AI ทั้งนี้สหรัฐอเมริกาได้ก�าหนด
ให้เป็นยุทธศาสตร์ส�าคัญอันดับสองรองจากด้านความมั่นคงของ
ประเทศ
2. เร่งพัฒนาทรัพยากรด้าน AI ทั้งเรื่องข้อมูล ระบบประมวลผล และ
อัลกอริทึมต่างๆ เพื่อให้ผู้เชี่ยวชาญและภาคอุตสาหกรรม
สามารถประยุกต์ใช้ AI ได้อย่างรวดเร็ว
3. เร่งก�าหนดมาตรฐานกลางด้านต่างๆ ของ AI
4. เร่งพัฒนาบุคลากรด้าน AI โดยเตรียมก�าลังคน
ให้พร้อมและมีทักษะการใช้ AI เพื่องานในอนาคต
รวมทั้งสนับสนุนการศึกษา STEM (วิทยาศาสตร์,
เทคโนโลยี, วิศวกรรม และคณิตศาสตร์) ในภาค
การศึกษา
5. ส่งเสริมความร่วมมือกับนานาชาติในด้านการ
วิจัยและพัฒนาทางด้าน AI โดยในขณะเดียวกัน
ก็ต้องปกป้องความได้เปรียบด้านเทคโนโลยี AI
ของสหรัฐอเมริกาให้คงอยู่ท่ามกลางการ
แข่งขันหรือภัยคุกคามจากประเทศอื่น
American AI Initiative
จุดเริ่มต้นของปัญญาประดิษฐ์ หรือ AI เกิดจากข้อมูลขนาดใหญ่
ที่สามารถน�ามาวิเคราะห์เพื่อหาความสัมพันธ์ด้วยการใช้เครื่องมือ
โดยการก�าหนดอัลกอริทึมเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามโจทย์ที่ต้องการAIมีการ
เรียนรู้ได้ด้วยตนเองจากข้อมูลจ�านวนมาก เมื่อน�ามาใช้ในเชิงธุรกิจ
จะสามารถเพิ่มประสิทธิภาพให้แก่องค์กร ช่วยลดโอกาสที่จะเกิด
ข้อผิดพลาด อีกทั้งยังเป็นเครื่องมือส�าคัญในการทรานฟอร์มธุรกิจ และ
สร้างความได้เปรียบในการแข่งขันอีกด้วย
ปัจจุบันปฏิเสธไม่ได้ว่าเทคโนโลยี AI เข้ามามีบทบาทในชีวิต
ประจ�าวันของผู้คนอย่างมาก ทั้งเรื่องใกล้ตัวและไกลตัว จนในบางครั้ง
อาจไม่ทันได้คิดว่าก�าลังปฏิสัมพันธ์อยู่กับ AI ที่ท�างานแทนมนุษย์
AI เปลี่ยนโลก
ในอนาคตAIจะกลายเป็นเรื่องธรรมดาในชีวิตประจ�าวันไม่ว่าจะ
เป็นรถยนต์ที่ขับเคลื่อนด้วยตัวเอง การพยากรณ์อากาศที่แม่นย�ายิ่งขึ้น
การส�ารวจอวกาศโดยหุ่นยนต์ รวมถึงเครื่องมือที่ใช้เพื่อป้องกันการ
ก่อการร้ายทางไซเบอร์ที่สามารถเรียนรู้ความผิดปกติที่เกิดขึ้นได้เอง
รู้วิธีฉ้อโกงการช�าระเงินและแจ้งเตือนอัตโนมัติ อีกทั้งยังพบว่าเป็น
เครื่องมือในการดูแลสุขภาพขั้นก้าวหน้า โดย AI มีความสามารถในการ
วิเคราะห์ข้อมูลจีโนมจ�านวนมหาศาลซึ่งน�าไปสู่การป้องกันและรักษาโรค
ที่ถูกต้องมากขึ้นของในแต่ละบุคคล
บทความในนิตยสาร Gigabit กล่าวถึงวิวัฒนาการในอนาคตของ
AI ที่อาจจะได้เห็นในอีก 15-20 ปีข้างหน้า โดยมี 7 ขั้นตอน คือ
ขั้นตอนที่ 1 Rule Based Systems AI จะอยู่รอบตัวเราตั้งแต่
เครื่องใช้ภายในบ้านไปจนถึงเครื่องบินอัตโนมัติ และในโลกของการ
ท�างานยังมี RPA (Robotic Process Automation) เครื่องมือที่ช่วย
ท�างานแทนคน ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพและท�างานได้รวดเร็วขึ้น
ขั้นตอนที่2ContextAwarenessandRetentionอัลกอริทึม
จะสร้างเนื้อหาของข้อมูลในเรื่องนั้นๆ และเรียนรู้จากความรู้และ
ประสบการณ์ของมนุษย์ ยกตัวอย่างการท�างานของ Chatbots ซึ่งจะ
จัดการการสอบถามจากลูกค้า ตอบค�าถาม และแนะน�าให้ลูกค้า เช่น
ให้ค�าแนะน�าด้านการลงทุน เป็นต้น
ขั้นที่ 3 Domain Specific Expertise ระบบสามารถพัฒนา
ความเชี่ยวชาญที่มากกว่าความสามารถของมนุษย์เนื่องจากเข้าถึง
ปริมาณข้อมูลจ�านวนมากตัวอย่างเช่นแอปพลิเคชันส�าหรับการวินิจฉัย
โรคมะเร็งที่มีความแม่นย�าสูงและAlphaGoของGoogleDeepMind
ที่เรียนรู้การเล่นหมากล้อมและสอนตัวเองว่าจะเล่นอย่างไรให้ชนะ
คู่แข่งขัน ซึ่งในเดือนมีนาคม 2559 นั้น AlphaGo เอาชนะแชมป์โลก
ได้หลายเกมกล่าวได้ว่าแอปพลิเคชันดังกล่าวเป็นตัวอย่างของความเป็น
ไปได้ที่เครื่องจักรสามารถรับข้อมูลได้ระดับเดียวกับมนุษย์
ขั้นตอนที่ 4 Reasoning Machinesความพยายามในการสร้าง
ให้อัลกอริทึมมีการคิดและสามารถใช้ตรรกะในการคิดจากความรู้ที่มีอยู่
ซึ่งจะท�าให้AIสามารถให้เหตุผลในการเจรจาและโต้ตอบกับมนุษย์หรือ
โต้ตอบกับเครื่องจักรอื่นๆ ได้ โดยคาดว่าจะได้เห็นแอปพลิเคชัน
เชิงพาณิชย์ออกมาในอีกไม่กี่ปีข้างหน้า
ขั้นตอนที่ 5 Self Aware Systems / Artificial General
Intelligence(AGI)ระบบการรับรู้ด้วยตนเองของAIที่ได้รับการพัฒนา
ให้มีความสามารถสูงขึ้นอีกระดับโดยจะมีความฉลาดใกล้เคียงกับมนุษย์
แม้วันนี้อาจยังไม่มีการใช้งาน แต่เชื่อว่าในอีก 5 ปีข้างหน้าจะเกิดขึ้น
photo : freepik.com
IT TRENDS | SPECIAL REPORT12
ปักหมุด AI ชูเป็นยุทธศาสตร์ชาติ
หลายประเทศก�าหนดให้เทคโนโลยี AI เป็นยุทธศาสตร์ชาติ
มีการวางแผน วางนโยบาย และงบประมาณที่ชัดเจนต่อเนื่องหลายปี
เพื่อปลุกปั้นให้ AI เกิดขึ้นในประเทศ ตั้งแต่การวิจัยและพัฒนา
การพัฒนาบุคลากร การสร้างนวัตกรรม การผลักดันสนับสนุนให้ใช้งาน
ซึ่งล้วนแต่เป็นสิ่งส�าคัญยิ่งยวด โดยวิสัยทัศน์ของแต่ละประเทศต่างมองเห็น
โอกาสใหม่ ขุมทรัพย์ใหม่ ที่หากใครเป็นผู้น�าในอนาคตจะมีชัยในเชิง
การแข่งขันในทุกๆ ด้าน
รศ.ดร.ธนชาติ นุ่มนนท์ ผู้อ�านวยการสถาบันไอเอ็มซี ได้หยิบยก
นโยบายของประเทศผู้น�าด้าน AI มากล่าวถึง โดยระบุว่า สหรัฐอเมริกา
และจีน เป็นสองประเทศที่ชิงความเป็นหนึ่งด้าน AI โดยล่าสุดเมื่อเดือน
กุมภาพันธ์ที่ผ่านมา ประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ ได้ลงนามในค�าสั่ง
พิเศษของผู้บริหารเพื่อกระตุ้นการพัฒนาและกฎระเบียบของเทคโนโลยี
AI ในชื่อ “American AI Initiative” ซึ่งรัฐบาลกลางให้ความส�าคัญกับ
เทคโนโลยีAIโดยค�าสั่งมีองค์ประกอบหลักอยู่5ด้านดังในภาพประกอบ1
ในขณะที่จีนได้ประกาศยุทธศาสตร์ เรียกว่า “New Generation
ArtificialIntelligenceDevelopmentPlan”โดยจีนต้องการจะสร้าง
อุตสาหกรรมนี้ให้มีมูลค่าถึง 150 ล้านล้านดอลลาร์ในปี 2030 ซึ่งได้
ก�าหนดเป้าหมายไว้ 3 ขั้น ดังในภาพประกอบ 2
ที่มา: https://www.gigabitmagazine.com/ai/evolution-ai-seven-stages-leading-smarter-world
ภาพประกอบ 1
สิ่งที่จะเกิดขึ้นในปี
2021-2025
• 70-90% ของการโต้ตอบกับลูกค้า มีแนวโน้มที่จะ
ด�าเนินการหรือจัดการโดย AI
• การพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้หลากหลายสาขา ตั้งแต่
สินค้าแฟชั่นและสินค้าอุปโภคบริโภค ไปจนถึง
อุปกรณ์การผลิต สามารถด�าเนินการทดสอบโดย
AI มากขึ้น
• บุคคลจะสามารถออกแบบผลิตภัณฑ์และบริการส่วน
บุคคลได้ตามที่ต้องการ ตั้งแต่การเดินทาง ไปจนถึง
การออมทรัพย์กับธนาคาร และการประกันภัย
• เทคโนโลยีมีแนวโน้มว่าจะถูกน�าไปใช้กับหน่วยงาน
ภาครัฐและระบบกฎหมายทั้งหมด มีเพียงกรณีที่
ซับซ้อนเท่านั้นที่ต้องใช้ผู้พิพากษาที่เป็นมนุษย์
• ยานพาหนะอัตโนมัติจะเริ่มปรากฏในหลายๆ เมือง
ทั่วโลก
• ผู้ช่วยอัจฉริยะของเราสามารถจัดการชีวิตส่วนใหญ่
ของเราได้ ตั้งแต่การวางแผนการเดินทาง ไปจนถึง
การรวบรวมข้อมูลที่เราต้องการก่อนการประชุม
สิ่งที่จะเกิดขึ้นในปี
2026-2035+
• ปัญญาประดิษฐ์มีแนวโน้มที่จะเจาะเข้าสู่ทุกภาคส่วน
ของการค้า
• วิวัฒนาการของ AI จะได้เห็นการเกิดขึ้นของธุรกิจ
อัตโนมัติ เช่น ธนาคาร ตัวแทนการท่องเที่ยว และ
บริษัทประกันภัย
• ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ช่วยให้เราสามารถ
พัฒนาสัตว์ประดิษฐ์และระบบนิเวศปัญญา
• การเกิดขึ้นของระบบซอฟต์แวร์และหุ่นยนต์ที่รู้ตัว
และเลียนแบบตัวเอง
• มีความเป็นไปได้ที่สมเหตุสมผลในการบรรลุปัญญา
ประดิษฐ์ทั่วไป (Artificial General Intelligence)
• มีโอกาสเล็กน้อยในการสร้างปัญญาประดิษฐ์ขั้นสูง
(Artificial SuperIntelligence)
• ความแปลกประหลาดยังคงเป็นไปได้ยากในช่วง
เวลานี้
สิ่งที่จะเกิดขึ้นในปี
2020
• เมื่อมีข้อมูลเข้ามาระบบจะแปลทันที
• เครื่องเซนเซอร์และวัตถุที่อยู่รอบตัวคนจะมีความ
ฉลาด
• ซอฟต์แวร์สามารถแก้ไขตัวเองได้
• มีองค์กรอิสระแบบกระจายอ�านาจอัตโนมัติ (DAO:
Decentralized Autonomous Organization)
และมีองค์กรอัจฉริยะที่ไม่มีพนักงาน
• บริษัทส่วนใหญ่จะใช้ AI ทั้งที่เจตนาและไม่เจตนา
• อุปกรณ์ส่วนบุคคลจะจัดการชีวิต และปกป้องข้อมูล
ของเรา เช่น Siri เป็นต้น
• หุ่นยนต์จะรวมตัวกันท�างานให้ส�าเร็จ เช่น การ
ท�าความสะอาดสิ่งแวดล้อม การซ่อมแซมสะพาน
หรือการก่อสร้างอาคาร
ขั้นที่ 6 Artificial SuperIntelligence (ASI) ปัญญาประดิษฐ์
ขั้นสูง โดยมีแนวคิดของการพัฒนาอัลกอริทึม AI ที่มีประสิทธิภาพสูง
หรือฉลาดกว่ามนุษย์ ASI จะสามารถแก้ไขปัญหาโลกในปัจจุบัน เช่น
ความหิวโหยและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่เป็นอันตรายระบบ
ดังกล่าวอาจคิดค้นวิทยาศาสตร์สาขาใหม่ๆ ออกแบบระบบเศรษฐกิจ
ใหม่และพัฒนารูปแบบการปกครองแบบใหม่ทั้งหมดก็เป็นได้
ขั้นที่ 7 Singularity and Transcendence ASI อาจน�าไปสู่
การขยายตัวครั้งใหญ่ในความสามารถของมนุษย์ วันหนึ่งเราอาจได้รับ
การพัฒนาให้มนุษย์สามารถเชื่อมต่อสมองของเราเข้าด้วยกัน ในเรื่องนี้
Ray Kurzweil ผู้อ�านวยการฝ่ายวิศวกรรมของ Google บอกว่าเรา
สามารถเห็นภาวะนี้เกิดขึ้นภายในปี 2045 อันเป็นผลมาจากอัตรา
ความก้าวหน้าในสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่หลากหลาย
สิ่งที่จะเกิดขึ้นชัดเจนในอีก 15-20 ปีข้างหน้า โลกเรามีแนวโน้ม
ที่จะพบกับการเปลี่ยนแปลงพื้นฐานหลายด้าน เช่น การปฏิวัติ
อุตสาหกรรมครั้งที่สี่ที่ขับเคลื่อนโดยเครื่องจักรอัจฉริยะที่สัมผัสได้
กับทุกชาติบนโลกนี้
ที่มา: https://www.gigabitmagazine.com/ai/evolution-ai-seven-stages-leading-smarter-world
SPECIAL REPORT | IT TRENDS 13
“นอกจากสหรัฐอเมริกาและจีนแล้วหลายๆประเทศในโลกอย่าง
เกาหลีใต้ ฝรั่งเศส แคนาดา สหราชอาณาจักร หรือแม้แต่เคนย่า ต่างก็
ประกาศยุทธศาสตร์ชาติด้านเทคโนโลยีAIเพราะตระหนักว่าการปฏิวัติ
อุตสาหกรรม4.0จะมีผลผลิตที่เติบโตขึ้นจากการน�าหุ่นยนต์และปัญญา
ประดิษฐ์มาใช้ท�าให้ใขณะนี้แต่ละประเทศมุ่งเน้นการท�าวิจัยและพัฒนา
เพื่อมุ่งสู่การสร้างนวัตกรรม” รศ.ดร.ธนชาติ กล่าว
ยุทธศาสตร์AIของหลายประเทศมีการก�าหนดงบประมาณจ�านวน
มากเพื่องานวิจัยและการพัฒนาบุคลากรเช่นประเทศจีนตั้งงบประมาณ
ไว้ถึง 7 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ แบ่งเงิน 2.1 พันล้านดอลลาร์ในการตั้ง
เอไอพาร์คที่นครปักกิ่งขณะที่เกาหลีใต้ใช้งบประมาณจ�านวน2พันล้าน
ดอลลาร์ในแผนงาน AI จนถึงปี 2022 ส่วนรัฐบาลฝรั่งเศสได้ตั้งงบ
ประมาณไว้ 1.5 พันล้านยูโรจนถึงปี 2022 ด้วยงบประมาณจ�านวน
มหาศาลจะท�าให้สถาบันการศึกษาและวิจัยของประเทศต่างๆ เหล่านี้
มุ่งเน้นมาท�าวิจัยและการสอนทางด้าน AI และดึงบุคลากรเก่งๆ จากทั่ว
โลกมาศึกษาและท�างาน
New Generation Artificial Intelligence Development Plan
1. ในช่วงแรกจนถึงปี 2020 เน้นเรื่องความชาญฉลาดด้าน Big Data และทฤษฎีพื้นฐานด้าน AI
2. ช่วงที่สอง ปี 2025 มีเป้าหมายมุ่งเน้นประยุกต์ใช้งาน AI ในด้านต่างๆ ทั้งการแพทย์
เมืองอัจฉริยะ โรงงานอุตสาหกรรม เกษตรกรรม รวมถึงการป้องกันประเทศ
3. ช่วงสุดท้ายภายในปี 2030 จะเป็นผู้น�าของโลกทางด้าน AI
ภาพประกอบ 3
ภาพประกอบ 2
นอกจากนี้ยังมียุทธศาสตร์ AI ที่เป็นความร่วมมือของนานาชาติ
เช่น สหภาพยุโรปมีแผนที่จะระดมเงินงบประมาณทางด้านนี้
20,000 ล้านยูโร และได้จัดสรรงบประมาณวิจัยปีละ 1.5 พันล้านยูโร
จนถึงปี 2020
ส�าหรับประเทศไทยแม้จะยังไม่ได้มีการก�าหนดยุทธศาสตร์หลัก
ด้าน AI แต่เมื่อเร็วๆ นี้มีการจัดตั้งสถาบันวิจัยปัญญาประดิษฐ์
แห่งประเทศไทย (AI Research Institute of Thailand) นับเป็น
สัญญาณที่ดีที่จะเกิดการพัฒนาในอนาคต ซึ่งประเทศไทยควร
จะดึงจุดเด่นด้านการท่องเที่ยว การเกษตร และเน้นการพัฒนา AI
ในด้านภาษาไทยและท้องถิ่น รวมทั้งควรเน้นใช้ความร่วมมือ
ระหว่างภาครัฐกับภาคเอกชน และส�าคัญที่สุด คือต้องลงทุน
กับการศึกษาทางด้านนี้ ทั้งการพัฒนาบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญ
ตลอดจนพัฒนาประชาชนให้มีทักษะการใช้ AI เพื่องานในอนาคต
ต่อไป
photo : freepik.com
ที่มา : https://medium.com/politics-ai/an-overview-of-national-ai-strategies-2a70ec6edfd
IT TRENDS | SPECIAL REPORT14
photo : vectorpouch
ภาคธุรกิจไทยใช้ AI
รศ.ดร.ธนชาติ กล่าวถึงการใช้ AI ในภาคธุรกิจของประเทศไทยว่า
เริ่มแพร่หลายมากขึ้น หากแบ่งตามสาขาของ AI กลุ่มที่พบมากที่สุด
คือ Machine Learning โดยใช้อัลกอริทึมท�าให้คอมพิวเตอร์เรียนรู้
ด้วยตัวเองในงานงานหนึ่งจากการป้อนข้อมูลจ�านวนมาก เช่น การ
วิเคราะห์พฤติกรรมลูกค้า ท�าการแนะน�าสินค้าให้กับลูกค้า ตรวจสอบ
การฉ้อโกงทางการเงิน มีการสร้างโปรแกรมแนะน�าการลงทุนในสถาบัน
การเงินหรือที่เรียกว่า Robo-advisor รวมไปถึงการวิเคราะห์ข้อมูล
ทางการแพทย์เป็นต้นภาคธุรกิจที่พบว่ามีการใช้อย่างมากได้แก่ธนาคาร
โทรคมนาคม ธุรกิจค้าปลีก การแพทย์ การบริการ และอุตสาหกรรม
การผลิต
ยกตัวอย่างใช้ Chatbot ในการโต้ตอบกับลูกค้า พบมากใน
สื่อออนไลน์ขายสินค้าจะใช้ระบบอัตโนมัติตอบค�าถามลูกค้าที่มักเป็น
ค�าถามซ�้าๆ และหลายหน่วยงานน�ามาใช้แทนพนักงานคอลล์เซ็นเตอร์
นอกจากนี้ปัจจุบันประเทศไทยเริ่มมีการใช้AIด้านNaturalLanguage
Processing(NLP)แพร่หลายมากขึ้นเป็นกระบวนการประมวลผลทาง
ภาษาที่ช่วยให้คอมพิวเตอร์เข้าใจหรือตีความภาษามนุษย์ได้
Machine Vision อีกสาขาหนึ่งของเทคโนโลยี AI ในด้านการ
มองเห็น หรือการจดจ�าใบหน้า (Facial Recognition) ที่กล่าวกันว่า
ทุกวันนี้คอมพิวเตอร์สามารถแยกแยะใบหน้าผู้คนได้ดีกว่ามนุษย์จึงเป็น
หนึ่งในวิธีที่ถูกน�ามาใช้ในการพิสูจน์ตัวตนของหลายหน่วยงานใน
ประเทศไทย โดยเฉพาะสถาบันการเงินที่เริ่มใช้ในการเปิดบัญชี หรือท�า
ธุรกรรมทางการเงินต่างๆ
AIในด้านRoboticProcessAutomation(RPA)เป็นซอฟต์แวร์
ช่วยบันทึกหรือคีย์ข้อมูลเข้าระบบอัตโนมัติ RPA จะช่วยลดเวลาท�างาน
กระบวนการซ�้าๆ และสามารถท�างานได้อย่างรวดเร็วโดยไม่ต้องใช้คน
เพราะเป็นการสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์กับคอมพิวเตอร์โดยตรงและ
ไม่มีข้อผิดพลาดจึงท�าให้องค์กรที่มีธุรกรรมจ�านวนมากเริ่มน�ามาใช้งาน
ได้แก่ สถาบันการเงิน สายการบิน รวมไปถึงบริษัทขนาดใหญ่
ด้าน ศ.ดร.ธนารักษ์ ธีระมั่นคง นายกสมาคมปัญญาประดิษฐ์
ประเทศไทย ให้สัมภาษณ์ประเด็นการใช้ AI ในภาคธุรกิจว่า ปัจจุบันมี
การใช้งานในธุรกิจหลายประเภท เช่น ธุรกิจบริการ บริการคอลล์
เซ็นเตอร์ด้วย Chatbot, อุตสาหกรรมการผลิต ใช้หุ่นยนต์ในสายการ
ผลิต, การแพทย์ ใช้หุ่นยนต์ดูแลผู้สูงอายุที่มีความสามารถในการติดต่อ
แจ้งเตือนความผิดปกติ เป็นต้น
โดยเฉพาะในภาคอุตสาหกรรมการผลิตของไทย มีการใช้ AI
อย่างแพร่หลาย อีกทั้งยังมีความพยายามที่จะสร้างให้เป็นเครื่องตรวจ
วัดความสึกหรอของเครื่องจักรกล และเครื่องยนต์ ให้สามารถประเมิน
ได้ว่าควรจะต้องซ่อมบ�ารุง หรือเปลี่ยนอะไหล่เมื่อใด ซึ่งหากมีเครื่อง
ตรวจวัดและประเมินความสึกหรอดังกล่าว จะช่วยให้ลดดาวน์ไทม์ของ
เครื่องจักรกลและเครื่องยนต์ภายในโรงงาน ลดความเสียหายที่จะเกิด
กับความต่อเนื่องในการผลิตโดยเครื่องตรวจวัดดังกล่าวจะตรวจจับแรง
สั่นสะเทือนของเครื่องจักรเพื่อวิเคราะห์ประเมินว่าควรจะเปลี่ยนอะไหล่
ในอีกกี่วันต่อจากนี้ ซึ่งจะท�าให้บริหารจัดการเชิงต้นทุนได้ดียิ่งขึ้น
และเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต
SPECIAL REPORT | IT TRENDS 15
AI Research Institute of Thailand
สถาบันวิจัยปัญญาประดิษฐ์แห่งประเทศไทย จัดตั้งขึ้นโดยส�านักงานส่งเสริม
เศรษฐกิจดิจิทัล หรือดีป้า ร่วมมือกับสถาบันวิทยสิริเมธี (VISTEC) ลงนาม
ในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือในการจัดตั้งสถาบันวิจัยปัญญาประดิษฐ์แห่ง
ประเทศไทย เพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านนวัตกรรมดิจิทัล ต่อยอดให้
เกิดการประยุกต์ใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีด้านวิทยาการข้อมูล หรือ Data
Science และปัญญาประดิษฐ์
ทั้งนี้เพื่อเป็นศูนย์กลางการให้บริการ และให้ค�าปรึกษาส�าหรับพัฒนา
อุตสาหกรรมและนวัตกรรมด้านปัญญาประดิษฐ์ ทั้งการให้บริการด้าน
อุปกรณ์ เครื่องมือ เพื่อการศึกษาเรียนรู้ ทดลองและทดสอบ ส�าหรับการ
ศึกษาวิจัยและแลกเปลี่ยนความรู้เกี่ยวกับปัญญาประดิษฐ์
นอกจากนั้นยังจัดให้เป็นสถานที่ส�าหรับการจัดอบรมถ่ายทอดองค์ความรู้ใน
ด้านปัญญาประดิษฐ์วิทยาการข้อมูลและไอโอที โดยได้รวบรวมคณะอาจารย์
และผู้ฝึกอบรมที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญด้าน AI ชั้นน�าในระดับประเทศ
รวมถึงการเป็นพื้นที่ส�าหรับการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ด้านงานวิจัย
ทางด้านเทคโนโลยีส�าหรับผู้สนใจเพื่อเพิ่มศักยภาพทางด้านวิทยาการข้อมูล
และปัญญาประดิษฐ์ให้แก่ก�าลังคนภายในประเทศ ทั้งกลุ่มนักศึกษาและ
กลุ่มบุคลากรด้านเทคโนโลยีเพื่อป้อนเข้าสู่อุตสาหกรรมดิจิทัล
“เช่นเดียวกันกับรถยนต์ ช่างเก่งๆ จะมีความสามารถในการฟัง
เสียงเครื่องยนต์แล้วทราบความผิดปกติว่าเกิดจากส่วนใด ซึ่งหากน�าAI
เข้ามาใช้กับการตรวจจับเสียงเครื่องยนต์ก็จะท�าให้แก้ไขซ่อมแซมได้ตรง
กับสาเหตุ ขณะนี้มีความพยายามที่จะสร้าง AI ขึ้นมาตรวจจับความผิด
ปกติดังกล่าว “ศ.ดร.ธนารักษ์ กล่าวเสริมว่า ในขณะที่วงการประกันภัย
กล่าวถึงการสร้าง AI เพื่อท�าหน้าที่ประเมินสภาพความเสียหายของ
รถยนต์เมื่อเกิดอุบัติเหตุโดยใช้ImageProcessingประเมินและค�านวณ
ราคาในการเคลมประกัน
คุณก�าพล โชคสุนทสุทธิ์ นายกสมาคมไทยไอโอที กล่าวในงาน
สัมมนา Working Group AIoT ถึงการผลักดันเทคโนโลยี AI ว่า สมาคมฯ
ได้เข้าร่วมการทดสอบระบบ 5G ที่ฉะเชิงเทราเพื่อให้เกิดการใช้งานจริง
รวมทั้งก่อนหน้านี้มีความพยายามที่จะสร้างก�าลังคนด้านดิจิทัลเพื่อแก้
ปัญหาการขาดแคลน แต่เนื่องจากไม่สามารถสร้างคนได้ทัน จึงเปลี่ยน
แนวคิดไปสร้างผู้วางระบบ หรือเอสไอแทน เนื่องจากเอสไอจะสามารถ
รับงานได้ครั้งละหลายโครงการซึ่งจะช่วยบรรเทาความขาดแคลนคนลง
ไปได้บ้าง รวมทั้งมีแนวคิดที่จะขอให้สภาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
แห่งประเทศไทยออกใบรองรับหรือ Certificate ให้แก่เอสไอด้วย
ล่าสุดภายในงานสหกรุ๊ปแฟร์ ครั้งที่ 23 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 27-30
มิถุนายนที่ผ่านมานี้ เครือสหพัฒน์ได้ใช้เทคโนโลยี AI น�าเสนอบริการ
ใหม่สร้างประสบการณ์ที่ทันสมัยในการจับจ่ายเลือกซื้อสินค้าในบูธ
His & Her Smart Shop “ร้านค้าอัจฉริยะไร้พนักงาน” เป็นโซลูชัน
ล�้าสมัยให้ลูกค้าซื้อสินค้าและจ่ายเงินเองง่ายๆ ผ่านสมาร์ทเพย์เมนต์
โดยไม่มีพนักงานขาย (Unmanned Shop) ซึ่งรายงานข่าวแจ้งว่า ด้าน
การบริการนับจากนี้ เครือสหพัฒน์จะมุ่งเน้นการน�าเทคโนโลยีดิจิทัล
เช่น AI, Big Data หรือ IoT มาใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการแก่
ผู้บริโภค ดังเช่น การสร้างร้านค้าอัจฉริยะไร้พนักงาน ที่ได้ร่วมกับ
ทรู คอร์ปอเรชั่น พัฒนาขึ้นโดยใช้เทคโนโลยี AI ซึ่งสินค้า บริการ และ
วัฒนธรรมที่จะเป็นเส้นทางสู่อนาคตของเครือสหพัฒน์
เครือสหพัฒน์จะทยอยน�าระบบ “ร้านค้าอัจฉริยะไร้พนักงาน”
ไปใช้งานจริงที่บางสาขา เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริการ โดยโซลูชัน
ดังกล่าวได้ร่วมกับกลุ่มทรู คอร์ปอเรชัน พัฒนาขึ้นให้สอดคล้องกับ
ไลฟ์สไตล์ของคนยุคดิจิทัลที่ชอบความสะดวกสบายและรวดเร็วซึ่งการ
จับจ่ายสินค้าในร้านค้าอัจฉริยะนี้ จะท�าการลงทะเบียนเมื่อเดินเข้า
ด้วยเทคโนโลยี Face Recognition ระบบกล้องจดจ�าใบหน้า จากนั้น
ดาวน์โหลดแอปของร้านและกรอกข้อมูล ในระหว่างเลือกซื้อสินค้า
ระบบจะเก็บข้อมูลการแวะตามชั้นสินค้าต่างๆ เพื่อน�าไปวิเคราะห์และ
ออกแบบการจัดวางสินค้าในอนาคต และเมื่อลูกค้าเลือกสินค้าเสร็จ
เรียบร้อย ไปยังจุดช�าระค่าสินค้า เพียงวางตะกร้าที่เคาน์เตอร์ช�าระเงิน
ระบบจะท�าการค�านวณราคาสินค้าจากRFIDtagให้ทั้งหมดและลูกค้า
สามารถช�าระเงินผ่านระบบAutoPaymentผ่านบัญชีหรือบัตรเครดิต
ที่ผูกไว้ในแอปด้วย QR Payment ไม่จ�าเป็นต้องถือเงินสด สินค้าต่างๆ
ที่ซื้อจะถูกเก็บข้อมูลไว้เพื่อน�าไปประมวลผลและจัดท�าโปรโมชัน
ต่อไป
ก่อนหน้านี้เมื่อปลายปี 2561 ธนาคารไทยพาณิชย์ ร่วมกับ
สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจ ศศินทร์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ได้เปิดตัวร้าน Sasin Scan N'Go Powered by SCB ร้านค้าอัจฉริยะ
ไร้พนักงานแห่งแรกของเมืองไทยอย่างเป็นทางการซึ่งหนึ่งในเป้าหมาย
ของศศินทร์ คือการเติบโตไปสู่สังคมไร้เงินสด (Cashless Society)
ผศ.ดร. พีรพล เวทีกูล อาจารย์ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวในงานสัมมนา Working Group AIoT
ที่จัดโดยสมาคมไอโอทีว่าปัจจุบันโลกก�าลังก้าวเข้าสู่ยุค Autonomous
Things โดย AI มีความฉลาดที่สามารถคุยกันได้เอง ตัวอย่างเช่น
การใช้โดรนจ�านวนมากในการแปรอักษร โดรนแต่ละเครื่องจะต้องรู้ว่า
อยู่ที่ใด ห่างจากอีกเครื่องเท่าไร และจะต้องเปลี่ยนที่เปลี่ยนต�าแหน่ง
ช่วงใดเวลาใด ซึ่งต้องมีความพร้อมเพรียงกัน
IT TRENDS | SPECIAL REPORT16
“ส�าหรับการใช้งานในภาครัฐของไทย ล่าสุดกรมธนารักษ์พยายาม
ถอดตรรกะของวิธีคิดในการประเมินราคาที่ดินจากนักประเมินราคาที่ดิน
เพื่อสร้างให้ AI ท�าหน้าที่ประเมินราคาที่ดิน ลดรอบในการประเมินให้
สั้นลงจากเดิมที่ต้องรอถึง 4 ปี ซึ่งเป็นระยะเวลาที่นาน เนื่องจากมี
บุคลากรอยู่จ�านวนน้อย รวมทั้งยังพบว่าผู้ประเมินแต่ละคนอาจจะ
ประเมินราคาออกมาไม่เท่ากันด้วย” ผศ.ดร.พีรพล เสริม
ภาคการศึกษาตื่นตัว
สอดคล้องกับภาคธุรกิจของประเทศไทย ปัจจุบันสถาบันการ
ศึกษาหลายแห่งตื่นตัวรับกับเทคโนโลยีใหม่ได้มีการเรียนการสอนAIที่
นอกจากในระดับอุดมศึกษาซึ่งมีการเรียนการสอนแล้ว ในระดับมัธยม
ยังมีโรงเรียนหลายแห่งที่เริ่มน�าองค์ความรู้ด้านนี้เข้าไปสอน
ศ.ดร.ธนารักษ์ กล่าวว่า สมาคมฯ ได้รับเกียรติให้จัดท�าและสอน
หลักสูตรคอมพิวติ้งให้แก่โรงเรียนปัญญาประทีปซึ่งเป็นองค์ความรู้หนึ่ง
ของเทคโนโลยี AI ปัจจุบันสอนในระดับมัธยมต้น เพื่อสร้างรากฐาน
ความรู้ให้นักเรียนอันจะเป็นพื้นฐานส�าคัญในสาย AI
ระบบอัจฉริยะหรือAIใกล้ตัวมีให้ใช้หลายประเภทไม่ว่าจะเป็นด้านเสียงภาพข้อมูลที่สามารถ
คาดการณ์หรือท�านายสิ่งที่ยังมาไม่ถึงได้ รศ.ดร.ธนชาติ กล่าวถึงตัวอย่าง ดังนี้
ในขณะที่โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒ จะมี
การเรียนการสอนเกี่ยวกับเทคโนโลยีAIในเทอมหน้าส่วนโรงเรียนสาธิต
แห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ อยู่ระหว่างเตรียมการเรียนการสอน
เช่นกัน
โดยบทบาทหนึ่งของสมาคมฯ คือ ส่งเสริมด้านการเรียนรู้ ซึ่งที่
ผ่านมาได้เปิดหลักสูตรอบรมให้แก่ครูอาจารย์ราว 400 คน ในจังหวัดที่
อยู่ภายใต้ EEC หรือระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (Eastern
Economic Corridor) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ครูอาจารย์น�าไปสอน
ให้กับนักเรียนนักศึกษา และต่อยอดความรู้ต่อไป
AI ใกล้ตัว
Google Map นอกจากบอกเส้นทางแล้ว ยังสามารถ
คาดการณ์เวลาที่จะถึงที่หมายให้ และแนะน�าเส้นทางอื่นให้ใน
กรณีที่การจราจรติดขัด หรือหากต้องการหาโรงแรมที่พัก
ร้านอาหารในบริเวณใกล้เคียง ก็มีบริการให้ใช้ได้ทันที
โดยไม่ต้องสืบค้นจากแอป Google
นอกจากนี้ยังมี Google Assistant หรือ Siri ที่อยู่ในสมาร์ทโฟน สามารถใช้ค�าสั่ง
ด้วยเสียงพร้อมโต้ตอบกับคนได้ในกรณีที่อยากทราบว่าวันนี้ฝนจะตกหรือไม่เมื่อถามไป
Siri ก็จะตอบเสมือนว่าเราก�าลังพูดกับเพื่อน
ในยามที่เดินทางไปต่างประเทศ มี Google Translator
ช่วยแปลภาษาทั้งแปลตัวหนังสือจากภาพถ่าย หรือแปลจาก
เสียงพูดแบบเรียลไทม์ที่ท�าให้คนสองคนโต้ตอบกันได้แม้จะ
พูดกันคนละภาษาก็ตาม รวมถึงปฏิทินออนไลน์ ที่สามารถ
เลือกวันเวลานัดหมายที่คนทุกคนว่างพร้อมกัน
สิ่งที่ท�าให้การท�างานง่ายยิ่งขึ้นเมื่อต้องการพิมพ์เอกสารสามารถใช้เสียงพูดแล้วระบบจะ
ท�าการพิมพ์ตัวหนังสือให้โดยอัตโนมัติ โดยการใช้ผ่านโปรแกรม Google doc และหาก
ต้องการทราบว่ารูปภาพนี้คืออะไร ก็ง่ายนิดเดียว เพียงใช้ Google Lens โปรแกรมจะ
ค้นหาค�าตอบให้ทันที
ทั้งหมดนี้คือการท�างานของเทคโนโลยีAIที่อยู่ใกล้ตัวเราซึ่งจะรวมไปถึงอุปกรณ์อัจฉริยะ
ภายในบ้าน (Smart Home) ระบบแจ้งเตือน ตรวจจับกันขโมยต่างๆ ที่ส่งสัญญาณทันที
ที่มีการเคลื่อนไหวภายในบ้านในขณะที่ไม่มีคนอยู่
สมาคมฯ มีความมุ่งมั่นสร้างคนรุ่นใหม่
ให้เข้าสู่ตลาดดิจิทัลมากขึ้น โดยให้การ
สนับสนุนด้านความรู้ AI และ IoT
ให้แก่นักศึกษาเพื่อให้สามารถทำงานได้
ทันทีที่จบการศึกษา
SPECIAL REPORT | IT TRENDS 17
นอกจากนี้ คุณก�าพล นายกสมาคมไทยไอโอที ได้กล่าวว่า
สมาคมฯ มีความมุ่งมั่นสร้างคนรุ่นใหม่ให้เข้าสู่ตลาดดิจิทัลมากขึ้น
โดยให้การสนับสนุนด้านความรู้ AI และ IoT ให้แก่นักศึกษาเพื่อ
ให้สามารถท�างานได้ทันทีที่จบการศึกษาซึ่งก่อนหน้านี้ได้น�าเสนอหลักสูตร
ให้แก่มหาวิทยาลัยแล้วสองแห่ง และจะขยายผลต่อไป รวมทั้งมีการเชิญ
นักลงทุนจาก 10 ประเทศเข้าร่วมประชุมทางวิชาการและเปิดโอกาสให้
นักศึกษาได้เข้าพรีเซนต์ผลงาน ซึ่งหวังผลให้เกิดธุรกิจต่อไปในอนาคต
AI ในมุมจริยธรรม
ด้วยความอัจฉริยะของAIที่ถูกสร้างให้สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง
น�าไปสู่การใช้งานที่บางกรณีมีการตัดสินใจแทนคน การตัดสินใจเหล่านั้น
เกิดจากการออกแบบอัลกอริทึมดังนั้นนับจากนี้ไปการออกแบบจึงควรจะ
ต้องค�านึงถึงความปลอดภัย จริยธรรม และความเป็นส่วนตัว
ด้านความปลอดภัย พบข้อมูลจากต่างประเทศมีการยกตัวอย่าง
เรื่องรถยนต์ไร้คนขับที่หลบหลีกจักรยานบนท้องถนน แต่กลับชนคนที่
อยู่บนทางเท้า สิ่งที่เกิดขึ้นเป็นการตัดสินใจที่ถูกหรือผิด? ยังคงเป็น
ค�าถามอยู่ และกรณีเช่นนี้จะเอาผิดจากใคร
ด้านจริยธรรมเพราะมนุษย์ทุกคนไม่ได้เป็นกลางในทุกเรื่องท�าให้
การเลือกหรือการตัดสินใจในบางครั้งใช้อารมณ์และความรู้สึกมากกว่า
การใช้เหตุผล ใช้หลักความจริง หรือใช้ความเป็นธรรม ซึ่งหาก AI
ถูกออกแบบมาให้เป็นเช่นนั้นก็จะท�าให้ AI ตัดสินใจโดยไม่เป็นธรรม
เกิดความล�าเอียงตามที่ออกแบบมา ตัวอย่างเช่น หากใช้ AI เลือก
ใบสมัครงานจ�านวนมากAIอาจจะไม่ได้เลือกที่ประสบการณ์การท�างาน
แต่เลือกเพราะว่าเป็นคนผิวขาว ในขณะที่คนผิวด�าอาจจะมีคุณสมบัติ
และประสบการณ์ที่เหนือกว่าก็ได้ ซึ่งนั่นเป็นเพราะการออกแบบ AI ที่
มีประเด็นเรื่องสีผิวเข้ามาเกี่ยวข้อง
ด้านความเป็นส่วนตัว การเก็บข้อมูลการเดินทาง ข้อมูลสุขภาพ
ข้อมูลในโซเชียลมีเดีย แล้วน�าข้อมูลต่างๆ เหล่านั้นมาวิเคราะห์หา
พฤติกรรมของคนคนหนึ่งหากมองในเชิงลึกบางครั้งอาจจะละเมิดความ
เป็นส่วนตัวก็ได้
ประเด็นต่างๆเหล่านี้ถูกกล่าวถึงในเวทีระดับโลกซึ่งต่างเห็นพ้อง
ต้องกันว่า ควรจะมีมาตรการในการก�าหนดกฎระเบียบ มีการสร้าง
จรรยาบรรณและกรอบหรือแนวทางในการใช้ AI ในเชิงสร้างสรรค์
เพื่อรองรับการใช้งาน AI ที่จะเติบโตขึ้นอย่างมากในอีกไม่กี่ปี
ข้างหน้า
ท่านผู้อ่านสามารถติดตามผลส�ารวจเกี่ยวกับประเด็นเรื่อง
จริยธรรมที่ได้เผยแพร่แล้วเมื่อเร็วๆ นี้ในคอลัมน์ Survey
photo : freepik.com
การใช้งานที่บางกรณีมีการตัดสินใจแทนคน
การตัดสินใจเหล่านั้นเกิดจากการออกแบบ
อัลกอริทึม ดังนั้นนับจากนี้ไปการออกแบบ
จึงควรจะต้องคำนึงถึงความปลอดภัย จริยธรรม
และความเป็นส่วนตัว
IT TRENDS | SPECIAL REPORT18
Big Data Cerrficaron Course
: 120
18.00-21.00 .
9.00-17.00 . 12 2019
Instructor: Dr. Thanachart Numnonda
and Team
Dr.Thanachart Mr. Aekanun Mr. Santisook Mr. Anapat

More Related Content

What's hot

อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)
อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)
อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ข้อดีข้อเสีย search engine
ข้อดีข้อเสีย search engineข้อดีข้อเสีย search engine
ข้อดีข้อเสีย search enginejarunee thitiphanawan
 
Chapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementChapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementTeetut Tresirichod
 
กระบวนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์
กระบวนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์กระบวนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์
กระบวนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์Net Thanagon
 
ความปลอดภัยการใช้งานดิจิทัลและกฎหมายเบื้องต้น (Digital Safety and Laws)
ความปลอดภัยการใช้งานดิจิทัลและกฎหมายเบื้องต้น (Digital Safety and Laws)ความปลอดภัยการใช้งานดิจิทัลและกฎหมายเบื้องต้น (Digital Safety and Laws)
ความปลอดภัยการใช้งานดิจิทัลและกฎหมายเบื้องต้น (Digital Safety and Laws)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีBoonlert Aroonpiboon
 
powerpoint บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อกาารเรียนรู้
powerpoint บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อกาารเรียนรู้powerpoint บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อกาารเรียนรู้
powerpoint บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อกาารเรียนรู้Kanatip Sriwarom
 
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัยอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัยtechno UCH
 
Digital Disruption กับการเปลี่ยนแปลงยุค Next Normal
Digital Disruption  กับการเปลี่ยนแปลงยุค Next NormalDigital Disruption  กับการเปลี่ยนแปลงยุค Next Normal
Digital Disruption กับการเปลี่ยนแปลงยุค Next NormalDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์peter dontoom
 
[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศdevilp Nnop
 
เรื่องที่ 6 โมเมนตัม
เรื่องที่ 6 โมเมนตัมเรื่องที่ 6 โมเมนตัม
เรื่องที่ 6 โมเมนตัมthanakit553
 
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาลAR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาลDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การเตรียมตัวขึ้นสอบโปรเจค
การเตรียมตัวขึ้นสอบโปรเจคการเตรียมตัวขึ้นสอบโปรเจค
การเตรียมตัวขึ้นสอบโปรเจคrubtumproject.com
 
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนSatapon Yosakonkun
 
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverseการสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial MetaverseDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 

What's hot (20)

อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)
อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)
อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)
 
ข้อดีข้อเสีย search engine
ข้อดีข้อเสีย search engineข้อดีข้อเสีย search engine
ข้อดีข้อเสีย search engine
 
Chapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementChapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation management
 
กระบวนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์
กระบวนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์กระบวนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์
กระบวนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์
 
ความปลอดภัยการใช้งานดิจิทัลและกฎหมายเบื้องต้น (Digital Safety and Laws)
ความปลอดภัยการใช้งานดิจิทัลและกฎหมายเบื้องต้น (Digital Safety and Laws)ความปลอดภัยการใช้งานดิจิทัลและกฎหมายเบื้องต้น (Digital Safety and Laws)
ความปลอดภัยการใช้งานดิจิทัลและกฎหมายเบื้องต้น (Digital Safety and Laws)
 
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
 
powerpoint บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อกาารเรียนรู้
powerpoint บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อกาารเรียนรู้powerpoint บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อกาารเรียนรู้
powerpoint บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อกาารเรียนรู้
 
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัยอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
 
Digital Disruption กับการเปลี่ยนแปลงยุค Next Normal
Digital Disruption  กับการเปลี่ยนแปลงยุค Next NormalDigital Disruption  กับการเปลี่ยนแปลงยุค Next Normal
Digital Disruption กับการเปลี่ยนแปลงยุค Next Normal
 
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์
 
S-Curve
S-CurveS-Curve
S-Curve
 
[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เรื่องที่ 6 โมเมนตัม
เรื่องที่ 6 โมเมนตัมเรื่องที่ 6 โมเมนตัม
เรื่องที่ 6 โมเมนตัม
 
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาลAR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
 
การเตรียมตัวขึ้นสอบโปรเจค
การเตรียมตัวขึ้นสอบโปรเจคการเตรียมตัวขึ้นสอบโปรเจค
การเตรียมตัวขึ้นสอบโปรเจค
 
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
 
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverseการสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 
Pp excellence
Pp excellencePp excellence
Pp excellence
 

Similar to บทความ The evolution of AI

การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศยุคใหม่ และผลกระทบกับองค์กร
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศยุคใหม่ และผลกระทบกับองค์กรการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศยุคใหม่ และผลกระทบกับองค์กร
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศยุคใหม่ และผลกระทบกับองค์กรSoftware Park Thailand
 
02 passakon-prathombutr-royin-20190831
02 passakon-prathombutr-royin-2019083102 passakon-prathombutr-royin-20190831
02 passakon-prathombutr-royin-20190831thanaruk theeramunkong
 
มูลค่าตลาดดิจิทัลไทย 3 อุตสาหกรรม
มูลค่าตลาดดิจิทัลไทย 3 อุตสาหกรรมมูลค่าตลาดดิจิทัลไทย 3 อุตสาหกรรม
มูลค่าตลาดดิจิทัลไทย 3 อุตสาหกรรมIMC Institute
 
สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy
สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy
สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy IMC Institute
 
Trends and Services in Modern Library
Trends and Services in Modern LibraryTrends and Services in Modern Library
Trends and Services in Modern LibraryMaykin Likitboonyalit
 
นิตยสาร IT Trends ของ IMC Institute Vol. 3 No 8 ฉบับเดือนมกราคม - เมษายน 2018
นิตยสาร IT Trends ของ  IMC Institute  Vol. 3 No 8 ฉบับเดือนมกราคม - เมษายน 2018นิตยสาร IT Trends ของ  IMC Institute  Vol. 3 No 8 ฉบับเดือนมกราคม - เมษายน 2018
นิตยสาร IT Trends ของ IMC Institute Vol. 3 No 8 ฉบับเดือนมกราคม - เมษายน 2018IMC Institute
 
Internet of Things เทรนอนาคต ที่ต้องรู้
Internet of Things เทรนอนาคต ที่ต้องรู้Internet of Things เทรนอนาคต ที่ต้องรู้
Internet of Things เทรนอนาคต ที่ต้องรู้Adun Nanthakaew
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องChalita Vitamilkz
 
Slide งานแถลงข่าวของ IMC Institute และ Optimus (Thailand) เรื่อง IT Trends 2018
Slide  งานแถลงข่าวของ IMC Institute และ Optimus (Thailand) เรื่อง IT Trends 2018Slide  งานแถลงข่าวของ IMC Institute และ Optimus (Thailand) เรื่อง IT Trends 2018
Slide งานแถลงข่าวของ IMC Institute และ Optimus (Thailand) เรื่อง IT Trends 2018IMC Institute
 
มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์
มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์
มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์KruKaiNui
 
Digital Thailand magazine vol.2 : Infrastructure
Digital Thailand magazine vol.2 : Infrastructure Digital Thailand magazine vol.2 : Infrastructure
Digital Thailand magazine vol.2 : Infrastructure Thanakitt Kayangarnnavy
 
Augmented reality
Augmented reality Augmented reality
Augmented reality Ferin Bell
 
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยSoftware Park Thailand
 
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย Thanachart Numnonda
 
IMC Institute Press release in Thai
IMC Institute Press release in ThaiIMC Institute Press release in Thai
IMC Institute Press release in ThaiIMC Institute
 

Similar to บทความ The evolution of AI (20)

การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศยุคใหม่ และผลกระทบกับองค์กร
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศยุคใหม่ และผลกระทบกับองค์กรการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศยุคใหม่ และผลกระทบกับองค์กร
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศยุคใหม่ และผลกระทบกับองค์กร
 
Smart industry vol32
Smart industry vol32 Smart industry vol32
Smart industry vol32
 
IT4Life-RUS-rwasukri-24may2019_dr.arnut
IT4Life-RUS-rwasukri-24may2019_dr.arnutIT4Life-RUS-rwasukri-24may2019_dr.arnut
IT4Life-RUS-rwasukri-24may2019_dr.arnut
 
02 passakon-prathombutr-royin-20190831
02 passakon-prathombutr-royin-2019083102 passakon-prathombutr-royin-20190831
02 passakon-prathombutr-royin-20190831
 
RUN-DC#10@NaresuanUniv20190315
RUN-DC#10@NaresuanUniv20190315RUN-DC#10@NaresuanUniv20190315
RUN-DC#10@NaresuanUniv20190315
 
มูลค่าตลาดดิจิทัลไทย 3 อุตสาหกรรม
มูลค่าตลาดดิจิทัลไทย 3 อุตสาหกรรมมูลค่าตลาดดิจิทัลไทย 3 อุตสาหกรรม
มูลค่าตลาดดิจิทัลไทย 3 อุตสาหกรรม
 
สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy
สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy
สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy
 
Trends and Services in Modern Library
Trends and Services in Modern LibraryTrends and Services in Modern Library
Trends and Services in Modern Library
 
นิตยสาร IT Trends ของ IMC Institute Vol. 3 No 8 ฉบับเดือนมกราคม - เมษายน 2018
นิตยสาร IT Trends ของ  IMC Institute  Vol. 3 No 8 ฉบับเดือนมกราคม - เมษายน 2018นิตยสาร IT Trends ของ  IMC Institute  Vol. 3 No 8 ฉบับเดือนมกราคม - เมษายน 2018
นิตยสาร IT Trends ของ IMC Institute Vol. 3 No 8 ฉบับเดือนมกราคม - เมษายน 2018
 
Internet of Things เทรนอนาคต ที่ต้องรู้
Internet of Things เทรนอนาคต ที่ต้องรู้Internet of Things เทรนอนาคต ที่ต้องรู้
Internet of Things เทรนอนาคต ที่ต้องรู้
 
Test1
Test1Test1
Test1
 
Smart industry Vol.35/2562
Smart industry Vol.35/2562Smart industry Vol.35/2562
Smart industry Vol.35/2562
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
Slide งานแถลงข่าวของ IMC Institute และ Optimus (Thailand) เรื่อง IT Trends 2018
Slide  งานแถลงข่าวของ IMC Institute และ Optimus (Thailand) เรื่อง IT Trends 2018Slide  งานแถลงข่าวของ IMC Institute และ Optimus (Thailand) เรื่อง IT Trends 2018
Slide งานแถลงข่าวของ IMC Institute และ Optimus (Thailand) เรื่อง IT Trends 2018
 
มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์
มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์
มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์
 
Digital Thailand magazine vol.2 : Infrastructure
Digital Thailand magazine vol.2 : Infrastructure Digital Thailand magazine vol.2 : Infrastructure
Digital Thailand magazine vol.2 : Infrastructure
 
Augmented reality
Augmented reality Augmented reality
Augmented reality
 
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
 
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
 
IMC Institute Press release in Thai
IMC Institute Press release in ThaiIMC Institute Press release in Thai
IMC Institute Press release in Thai
 

More from IMC Institute

นิตยสาร Digital Trends ฉบับที่ 14
นิตยสาร Digital Trends ฉบับที่ 14นิตยสาร Digital Trends ฉบับที่ 14
นิตยสาร Digital Trends ฉบับที่ 14IMC Institute
 
Digital trends Vol 4 No. 13 Sep-Dec 2019
Digital trends Vol 4 No. 13  Sep-Dec 2019Digital trends Vol 4 No. 13  Sep-Dec 2019
Digital trends Vol 4 No. 13 Sep-Dec 2019IMC Institute
 
IT Trends eMagazine Vol 4. No.12
IT Trends eMagazine  Vol 4. No.12IT Trends eMagazine  Vol 4. No.12
IT Trends eMagazine Vol 4. No.12IMC Institute
 
เพราะเหตุใด Digitization ไม่ตอบโจทย์ Digital Transformation
เพราะเหตุใด Digitization ไม่ตอบโจทย์ Digital Transformationเพราะเหตุใด Digitization ไม่ตอบโจทย์ Digital Transformation
เพราะเหตุใด Digitization ไม่ตอบโจทย์ Digital TransformationIMC Institute
 
IT Trends 2019: Putting Digital Transformation to Work
IT Trends 2019: Putting Digital Transformation to WorkIT Trends 2019: Putting Digital Transformation to Work
IT Trends 2019: Putting Digital Transformation to WorkIMC Institute
 
IT Trends eMagazine Vol 4. No.11
IT Trends eMagazine  Vol 4. No.11IT Trends eMagazine  Vol 4. No.11
IT Trends eMagazine Vol 4. No.11IMC Institute
 
แนวทางการทำ Digital transformation
แนวทางการทำ Digital transformationแนวทางการทำ Digital transformation
แนวทางการทำ Digital transformationIMC Institute
 
บทความ The New Silicon Valley
บทความ The New Silicon Valleyบทความ The New Silicon Valley
บทความ The New Silicon ValleyIMC Institute
 
นิตยสาร IT Trends ของ IMC Institute ฉบับที่ 10
นิตยสาร IT Trends ของ  IMC Institute  ฉบับที่ 10นิตยสาร IT Trends ของ  IMC Institute  ฉบับที่ 10
นิตยสาร IT Trends ของ IMC Institute ฉบับที่ 10IMC Institute
 
แนวทางการทำ Digital transformation
แนวทางการทำ Digital transformationแนวทางการทำ Digital transformation
แนวทางการทำ Digital transformationIMC Institute
 
The Power of Big Data for a new economy (Sample)
The Power of Big Data for a new economy (Sample)The Power of Big Data for a new economy (Sample)
The Power of Big Data for a new economy (Sample)IMC Institute
 
บทความ Robotics แนวโน้มใหม่สู่บริการเฉพาะทาง
บทความ Robotics แนวโน้มใหม่สู่บริการเฉพาะทาง บทความ Robotics แนวโน้มใหม่สู่บริการเฉพาะทาง
บทความ Robotics แนวโน้มใหม่สู่บริการเฉพาะทาง IMC Institute
 
IT Trends eMagazine Vol 3. No.9
IT Trends eMagazine  Vol 3. No.9 IT Trends eMagazine  Vol 3. No.9
IT Trends eMagazine Vol 3. No.9 IMC Institute
 
Thailand software & software market survey 2016
Thailand software & software market survey 2016Thailand software & software market survey 2016
Thailand software & software market survey 2016IMC Institute
 
Developing Business Blockchain Applications on Hyperledger
Developing Business  Blockchain Applications on Hyperledger Developing Business  Blockchain Applications on Hyperledger
Developing Business Blockchain Applications on Hyperledger IMC Institute
 
Digital transformation @thanachart.org
Digital transformation @thanachart.orgDigital transformation @thanachart.org
Digital transformation @thanachart.orgIMC Institute
 
บทความ Big Data จากบล็อก thanachart.org
บทความ Big Data จากบล็อก thanachart.orgบทความ Big Data จากบล็อก thanachart.org
บทความ Big Data จากบล็อก thanachart.orgIMC Institute
 
กลยุทธ์ 5 ด้านกับการทำ Digital Transformation
กลยุทธ์ 5 ด้านกับการทำ Digital Transformationกลยุทธ์ 5 ด้านกับการทำ Digital Transformation
กลยุทธ์ 5 ด้านกับการทำ Digital TransformationIMC Institute
 
Thailand 4.0 Reality or Hype
Thailand 4.0 Reality or HypeThailand 4.0 Reality or Hype
Thailand 4.0 Reality or HypeIMC Institute
 
IT Trends: Special Report (IMC Institute)
IT Trends: Special Report (IMC Institute)IT Trends: Special Report (IMC Institute)
IT Trends: Special Report (IMC Institute)IMC Institute
 

More from IMC Institute (20)

นิตยสาร Digital Trends ฉบับที่ 14
นิตยสาร Digital Trends ฉบับที่ 14นิตยสาร Digital Trends ฉบับที่ 14
นิตยสาร Digital Trends ฉบับที่ 14
 
Digital trends Vol 4 No. 13 Sep-Dec 2019
Digital trends Vol 4 No. 13  Sep-Dec 2019Digital trends Vol 4 No. 13  Sep-Dec 2019
Digital trends Vol 4 No. 13 Sep-Dec 2019
 
IT Trends eMagazine Vol 4. No.12
IT Trends eMagazine  Vol 4. No.12IT Trends eMagazine  Vol 4. No.12
IT Trends eMagazine Vol 4. No.12
 
เพราะเหตุใด Digitization ไม่ตอบโจทย์ Digital Transformation
เพราะเหตุใด Digitization ไม่ตอบโจทย์ Digital Transformationเพราะเหตุใด Digitization ไม่ตอบโจทย์ Digital Transformation
เพราะเหตุใด Digitization ไม่ตอบโจทย์ Digital Transformation
 
IT Trends 2019: Putting Digital Transformation to Work
IT Trends 2019: Putting Digital Transformation to WorkIT Trends 2019: Putting Digital Transformation to Work
IT Trends 2019: Putting Digital Transformation to Work
 
IT Trends eMagazine Vol 4. No.11
IT Trends eMagazine  Vol 4. No.11IT Trends eMagazine  Vol 4. No.11
IT Trends eMagazine Vol 4. No.11
 
แนวทางการทำ Digital transformation
แนวทางการทำ Digital transformationแนวทางการทำ Digital transformation
แนวทางการทำ Digital transformation
 
บทความ The New Silicon Valley
บทความ The New Silicon Valleyบทความ The New Silicon Valley
บทความ The New Silicon Valley
 
นิตยสาร IT Trends ของ IMC Institute ฉบับที่ 10
นิตยสาร IT Trends ของ  IMC Institute  ฉบับที่ 10นิตยสาร IT Trends ของ  IMC Institute  ฉบับที่ 10
นิตยสาร IT Trends ของ IMC Institute ฉบับที่ 10
 
แนวทางการทำ Digital transformation
แนวทางการทำ Digital transformationแนวทางการทำ Digital transformation
แนวทางการทำ Digital transformation
 
The Power of Big Data for a new economy (Sample)
The Power of Big Data for a new economy (Sample)The Power of Big Data for a new economy (Sample)
The Power of Big Data for a new economy (Sample)
 
บทความ Robotics แนวโน้มใหม่สู่บริการเฉพาะทาง
บทความ Robotics แนวโน้มใหม่สู่บริการเฉพาะทาง บทความ Robotics แนวโน้มใหม่สู่บริการเฉพาะทาง
บทความ Robotics แนวโน้มใหม่สู่บริการเฉพาะทาง
 
IT Trends eMagazine Vol 3. No.9
IT Trends eMagazine  Vol 3. No.9 IT Trends eMagazine  Vol 3. No.9
IT Trends eMagazine Vol 3. No.9
 
Thailand software & software market survey 2016
Thailand software & software market survey 2016Thailand software & software market survey 2016
Thailand software & software market survey 2016
 
Developing Business Blockchain Applications on Hyperledger
Developing Business  Blockchain Applications on Hyperledger Developing Business  Blockchain Applications on Hyperledger
Developing Business Blockchain Applications on Hyperledger
 
Digital transformation @thanachart.org
Digital transformation @thanachart.orgDigital transformation @thanachart.org
Digital transformation @thanachart.org
 
บทความ Big Data จากบล็อก thanachart.org
บทความ Big Data จากบล็อก thanachart.orgบทความ Big Data จากบล็อก thanachart.org
บทความ Big Data จากบล็อก thanachart.org
 
กลยุทธ์ 5 ด้านกับการทำ Digital Transformation
กลยุทธ์ 5 ด้านกับการทำ Digital Transformationกลยุทธ์ 5 ด้านกับการทำ Digital Transformation
กลยุทธ์ 5 ด้านกับการทำ Digital Transformation
 
Thailand 4.0 Reality or Hype
Thailand 4.0 Reality or HypeThailand 4.0 Reality or Hype
Thailand 4.0 Reality or Hype
 
IT Trends: Special Report (IMC Institute)
IT Trends: Special Report (IMC Institute)IT Trends: Special Report (IMC Institute)
IT Trends: Special Report (IMC Institute)
 

บทความ The evolution of AI

  • 1. ก้าวสู่ยุค AI ทั่วโลกใช้งานแพร่หลายเปลี่ยนไลฟ์สไตล์มนุษย์ ในอนาคตอาจฉลาดกว่าคน แวดวงธุรกิจไทยตื่นตัวเร่งสร้าง AI ใช้งานทุกภาคส่วน ภาคการศึกษาตื่นรับจับหลักสูตร ปูพื้น AI สอนตั้งแต่ระดับมัธยม แต่อย่างไรยังมีข้อกังวลด้านจริยธรรมที่ต้องให้ความ สำคัญ ไทยขานรับใช้งานพัฒนาต่อยอด photo:freepik.com SPECIAL REPORT | IT TRENDS 11
  • 2. photo : freepik.com 1. เน้นการท�าวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี AI ทั้งนี้สหรัฐอเมริกาได้ก�าหนด ให้เป็นยุทธศาสตร์ส�าคัญอันดับสองรองจากด้านความมั่นคงของ ประเทศ 2. เร่งพัฒนาทรัพยากรด้าน AI ทั้งเรื่องข้อมูล ระบบประมวลผล และ อัลกอริทึมต่างๆ เพื่อให้ผู้เชี่ยวชาญและภาคอุตสาหกรรม สามารถประยุกต์ใช้ AI ได้อย่างรวดเร็ว 3. เร่งก�าหนดมาตรฐานกลางด้านต่างๆ ของ AI 4. เร่งพัฒนาบุคลากรด้าน AI โดยเตรียมก�าลังคน ให้พร้อมและมีทักษะการใช้ AI เพื่องานในอนาคต รวมทั้งสนับสนุนการศึกษา STEM (วิทยาศาสตร์, เทคโนโลยี, วิศวกรรม และคณิตศาสตร์) ในภาค การศึกษา 5. ส่งเสริมความร่วมมือกับนานาชาติในด้านการ วิจัยและพัฒนาทางด้าน AI โดยในขณะเดียวกัน ก็ต้องปกป้องความได้เปรียบด้านเทคโนโลยี AI ของสหรัฐอเมริกาให้คงอยู่ท่ามกลางการ แข่งขันหรือภัยคุกคามจากประเทศอื่น American AI Initiative จุดเริ่มต้นของปัญญาประดิษฐ์ หรือ AI เกิดจากข้อมูลขนาดใหญ่ ที่สามารถน�ามาวิเคราะห์เพื่อหาความสัมพันธ์ด้วยการใช้เครื่องมือ โดยการก�าหนดอัลกอริทึมเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามโจทย์ที่ต้องการAIมีการ เรียนรู้ได้ด้วยตนเองจากข้อมูลจ�านวนมาก เมื่อน�ามาใช้ในเชิงธุรกิจ จะสามารถเพิ่มประสิทธิภาพให้แก่องค์กร ช่วยลดโอกาสที่จะเกิด ข้อผิดพลาด อีกทั้งยังเป็นเครื่องมือส�าคัญในการทรานฟอร์มธุรกิจ และ สร้างความได้เปรียบในการแข่งขันอีกด้วย ปัจจุบันปฏิเสธไม่ได้ว่าเทคโนโลยี AI เข้ามามีบทบาทในชีวิต ประจ�าวันของผู้คนอย่างมาก ทั้งเรื่องใกล้ตัวและไกลตัว จนในบางครั้ง อาจไม่ทันได้คิดว่าก�าลังปฏิสัมพันธ์อยู่กับ AI ที่ท�างานแทนมนุษย์ AI เปลี่ยนโลก ในอนาคตAIจะกลายเป็นเรื่องธรรมดาในชีวิตประจ�าวันไม่ว่าจะ เป็นรถยนต์ที่ขับเคลื่อนด้วยตัวเอง การพยากรณ์อากาศที่แม่นย�ายิ่งขึ้น การส�ารวจอวกาศโดยหุ่นยนต์ รวมถึงเครื่องมือที่ใช้เพื่อป้องกันการ ก่อการร้ายทางไซเบอร์ที่สามารถเรียนรู้ความผิดปกติที่เกิดขึ้นได้เอง รู้วิธีฉ้อโกงการช�าระเงินและแจ้งเตือนอัตโนมัติ อีกทั้งยังพบว่าเป็น เครื่องมือในการดูแลสุขภาพขั้นก้าวหน้า โดย AI มีความสามารถในการ วิเคราะห์ข้อมูลจีโนมจ�านวนมหาศาลซึ่งน�าไปสู่การป้องกันและรักษาโรค ที่ถูกต้องมากขึ้นของในแต่ละบุคคล บทความในนิตยสาร Gigabit กล่าวถึงวิวัฒนาการในอนาคตของ AI ที่อาจจะได้เห็นในอีก 15-20 ปีข้างหน้า โดยมี 7 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 Rule Based Systems AI จะอยู่รอบตัวเราตั้งแต่ เครื่องใช้ภายในบ้านไปจนถึงเครื่องบินอัตโนมัติ และในโลกของการ ท�างานยังมี RPA (Robotic Process Automation) เครื่องมือที่ช่วย ท�างานแทนคน ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพและท�างานได้รวดเร็วขึ้น ขั้นตอนที่2ContextAwarenessandRetentionอัลกอริทึม จะสร้างเนื้อหาของข้อมูลในเรื่องนั้นๆ และเรียนรู้จากความรู้และ ประสบการณ์ของมนุษย์ ยกตัวอย่างการท�างานของ Chatbots ซึ่งจะ จัดการการสอบถามจากลูกค้า ตอบค�าถาม และแนะน�าให้ลูกค้า เช่น ให้ค�าแนะน�าด้านการลงทุน เป็นต้น ขั้นที่ 3 Domain Specific Expertise ระบบสามารถพัฒนา ความเชี่ยวชาญที่มากกว่าความสามารถของมนุษย์เนื่องจากเข้าถึง ปริมาณข้อมูลจ�านวนมากตัวอย่างเช่นแอปพลิเคชันส�าหรับการวินิจฉัย โรคมะเร็งที่มีความแม่นย�าสูงและAlphaGoของGoogleDeepMind ที่เรียนรู้การเล่นหมากล้อมและสอนตัวเองว่าจะเล่นอย่างไรให้ชนะ คู่แข่งขัน ซึ่งในเดือนมีนาคม 2559 นั้น AlphaGo เอาชนะแชมป์โลก ได้หลายเกมกล่าวได้ว่าแอปพลิเคชันดังกล่าวเป็นตัวอย่างของความเป็น ไปได้ที่เครื่องจักรสามารถรับข้อมูลได้ระดับเดียวกับมนุษย์ ขั้นตอนที่ 4 Reasoning Machinesความพยายามในการสร้าง ให้อัลกอริทึมมีการคิดและสามารถใช้ตรรกะในการคิดจากความรู้ที่มีอยู่ ซึ่งจะท�าให้AIสามารถให้เหตุผลในการเจรจาและโต้ตอบกับมนุษย์หรือ โต้ตอบกับเครื่องจักรอื่นๆ ได้ โดยคาดว่าจะได้เห็นแอปพลิเคชัน เชิงพาณิชย์ออกมาในอีกไม่กี่ปีข้างหน้า ขั้นตอนที่ 5 Self Aware Systems / Artificial General Intelligence(AGI)ระบบการรับรู้ด้วยตนเองของAIที่ได้รับการพัฒนา ให้มีความสามารถสูงขึ้นอีกระดับโดยจะมีความฉลาดใกล้เคียงกับมนุษย์ แม้วันนี้อาจยังไม่มีการใช้งาน แต่เชื่อว่าในอีก 5 ปีข้างหน้าจะเกิดขึ้น photo : freepik.com IT TRENDS | SPECIAL REPORT12
  • 3. ปักหมุด AI ชูเป็นยุทธศาสตร์ชาติ หลายประเทศก�าหนดให้เทคโนโลยี AI เป็นยุทธศาสตร์ชาติ มีการวางแผน วางนโยบาย และงบประมาณที่ชัดเจนต่อเนื่องหลายปี เพื่อปลุกปั้นให้ AI เกิดขึ้นในประเทศ ตั้งแต่การวิจัยและพัฒนา การพัฒนาบุคลากร การสร้างนวัตกรรม การผลักดันสนับสนุนให้ใช้งาน ซึ่งล้วนแต่เป็นสิ่งส�าคัญยิ่งยวด โดยวิสัยทัศน์ของแต่ละประเทศต่างมองเห็น โอกาสใหม่ ขุมทรัพย์ใหม่ ที่หากใครเป็นผู้น�าในอนาคตจะมีชัยในเชิง การแข่งขันในทุกๆ ด้าน รศ.ดร.ธนชาติ นุ่มนนท์ ผู้อ�านวยการสถาบันไอเอ็มซี ได้หยิบยก นโยบายของประเทศผู้น�าด้าน AI มากล่าวถึง โดยระบุว่า สหรัฐอเมริกา และจีน เป็นสองประเทศที่ชิงความเป็นหนึ่งด้าน AI โดยล่าสุดเมื่อเดือน กุมภาพันธ์ที่ผ่านมา ประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ ได้ลงนามในค�าสั่ง พิเศษของผู้บริหารเพื่อกระตุ้นการพัฒนาและกฎระเบียบของเทคโนโลยี AI ในชื่อ “American AI Initiative” ซึ่งรัฐบาลกลางให้ความส�าคัญกับ เทคโนโลยีAIโดยค�าสั่งมีองค์ประกอบหลักอยู่5ด้านดังในภาพประกอบ1 ในขณะที่จีนได้ประกาศยุทธศาสตร์ เรียกว่า “New Generation ArtificialIntelligenceDevelopmentPlan”โดยจีนต้องการจะสร้าง อุตสาหกรรมนี้ให้มีมูลค่าถึง 150 ล้านล้านดอลลาร์ในปี 2030 ซึ่งได้ ก�าหนดเป้าหมายไว้ 3 ขั้น ดังในภาพประกอบ 2 ที่มา: https://www.gigabitmagazine.com/ai/evolution-ai-seven-stages-leading-smarter-world ภาพประกอบ 1 สิ่งที่จะเกิดขึ้นในปี 2021-2025 • 70-90% ของการโต้ตอบกับลูกค้า มีแนวโน้มที่จะ ด�าเนินการหรือจัดการโดย AI • การพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้หลากหลายสาขา ตั้งแต่ สินค้าแฟชั่นและสินค้าอุปโภคบริโภค ไปจนถึง อุปกรณ์การผลิต สามารถด�าเนินการทดสอบโดย AI มากขึ้น • บุคคลจะสามารถออกแบบผลิตภัณฑ์และบริการส่วน บุคคลได้ตามที่ต้องการ ตั้งแต่การเดินทาง ไปจนถึง การออมทรัพย์กับธนาคาร และการประกันภัย • เทคโนโลยีมีแนวโน้มว่าจะถูกน�าไปใช้กับหน่วยงาน ภาครัฐและระบบกฎหมายทั้งหมด มีเพียงกรณีที่ ซับซ้อนเท่านั้นที่ต้องใช้ผู้พิพากษาที่เป็นมนุษย์ • ยานพาหนะอัตโนมัติจะเริ่มปรากฏในหลายๆ เมือง ทั่วโลก • ผู้ช่วยอัจฉริยะของเราสามารถจัดการชีวิตส่วนใหญ่ ของเราได้ ตั้งแต่การวางแผนการเดินทาง ไปจนถึง การรวบรวมข้อมูลที่เราต้องการก่อนการประชุม สิ่งที่จะเกิดขึ้นในปี 2026-2035+ • ปัญญาประดิษฐ์มีแนวโน้มที่จะเจาะเข้าสู่ทุกภาคส่วน ของการค้า • วิวัฒนาการของ AI จะได้เห็นการเกิดขึ้นของธุรกิจ อัตโนมัติ เช่น ธนาคาร ตัวแทนการท่องเที่ยว และ บริษัทประกันภัย • ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ช่วยให้เราสามารถ พัฒนาสัตว์ประดิษฐ์และระบบนิเวศปัญญา • การเกิดขึ้นของระบบซอฟต์แวร์และหุ่นยนต์ที่รู้ตัว และเลียนแบบตัวเอง • มีความเป็นไปได้ที่สมเหตุสมผลในการบรรลุปัญญา ประดิษฐ์ทั่วไป (Artificial General Intelligence) • มีโอกาสเล็กน้อยในการสร้างปัญญาประดิษฐ์ขั้นสูง (Artificial SuperIntelligence) • ความแปลกประหลาดยังคงเป็นไปได้ยากในช่วง เวลานี้ สิ่งที่จะเกิดขึ้นในปี 2020 • เมื่อมีข้อมูลเข้ามาระบบจะแปลทันที • เครื่องเซนเซอร์และวัตถุที่อยู่รอบตัวคนจะมีความ ฉลาด • ซอฟต์แวร์สามารถแก้ไขตัวเองได้ • มีองค์กรอิสระแบบกระจายอ�านาจอัตโนมัติ (DAO: Decentralized Autonomous Organization) และมีองค์กรอัจฉริยะที่ไม่มีพนักงาน • บริษัทส่วนใหญ่จะใช้ AI ทั้งที่เจตนาและไม่เจตนา • อุปกรณ์ส่วนบุคคลจะจัดการชีวิต และปกป้องข้อมูล ของเรา เช่น Siri เป็นต้น • หุ่นยนต์จะรวมตัวกันท�างานให้ส�าเร็จ เช่น การ ท�าความสะอาดสิ่งแวดล้อม การซ่อมแซมสะพาน หรือการก่อสร้างอาคาร ขั้นที่ 6 Artificial SuperIntelligence (ASI) ปัญญาประดิษฐ์ ขั้นสูง โดยมีแนวคิดของการพัฒนาอัลกอริทึม AI ที่มีประสิทธิภาพสูง หรือฉลาดกว่ามนุษย์ ASI จะสามารถแก้ไขปัญหาโลกในปัจจุบัน เช่น ความหิวโหยและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่เป็นอันตรายระบบ ดังกล่าวอาจคิดค้นวิทยาศาสตร์สาขาใหม่ๆ ออกแบบระบบเศรษฐกิจ ใหม่และพัฒนารูปแบบการปกครองแบบใหม่ทั้งหมดก็เป็นได้ ขั้นที่ 7 Singularity and Transcendence ASI อาจน�าไปสู่ การขยายตัวครั้งใหญ่ในความสามารถของมนุษย์ วันหนึ่งเราอาจได้รับ การพัฒนาให้มนุษย์สามารถเชื่อมต่อสมองของเราเข้าด้วยกัน ในเรื่องนี้ Ray Kurzweil ผู้อ�านวยการฝ่ายวิศวกรรมของ Google บอกว่าเรา สามารถเห็นภาวะนี้เกิดขึ้นภายในปี 2045 อันเป็นผลมาจากอัตรา ความก้าวหน้าในสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่หลากหลาย สิ่งที่จะเกิดขึ้นชัดเจนในอีก 15-20 ปีข้างหน้า โลกเรามีแนวโน้ม ที่จะพบกับการเปลี่ยนแปลงพื้นฐานหลายด้าน เช่น การปฏิวัติ อุตสาหกรรมครั้งที่สี่ที่ขับเคลื่อนโดยเครื่องจักรอัจฉริยะที่สัมผัสได้ กับทุกชาติบนโลกนี้ ที่มา: https://www.gigabitmagazine.com/ai/evolution-ai-seven-stages-leading-smarter-world SPECIAL REPORT | IT TRENDS 13
  • 4. “นอกจากสหรัฐอเมริกาและจีนแล้วหลายๆประเทศในโลกอย่าง เกาหลีใต้ ฝรั่งเศส แคนาดา สหราชอาณาจักร หรือแม้แต่เคนย่า ต่างก็ ประกาศยุทธศาสตร์ชาติด้านเทคโนโลยีAIเพราะตระหนักว่าการปฏิวัติ อุตสาหกรรม4.0จะมีผลผลิตที่เติบโตขึ้นจากการน�าหุ่นยนต์และปัญญา ประดิษฐ์มาใช้ท�าให้ใขณะนี้แต่ละประเทศมุ่งเน้นการท�าวิจัยและพัฒนา เพื่อมุ่งสู่การสร้างนวัตกรรม” รศ.ดร.ธนชาติ กล่าว ยุทธศาสตร์AIของหลายประเทศมีการก�าหนดงบประมาณจ�านวน มากเพื่องานวิจัยและการพัฒนาบุคลากรเช่นประเทศจีนตั้งงบประมาณ ไว้ถึง 7 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ แบ่งเงิน 2.1 พันล้านดอลลาร์ในการตั้ง เอไอพาร์คที่นครปักกิ่งขณะที่เกาหลีใต้ใช้งบประมาณจ�านวน2พันล้าน ดอลลาร์ในแผนงาน AI จนถึงปี 2022 ส่วนรัฐบาลฝรั่งเศสได้ตั้งงบ ประมาณไว้ 1.5 พันล้านยูโรจนถึงปี 2022 ด้วยงบประมาณจ�านวน มหาศาลจะท�าให้สถาบันการศึกษาและวิจัยของประเทศต่างๆ เหล่านี้ มุ่งเน้นมาท�าวิจัยและการสอนทางด้าน AI และดึงบุคลากรเก่งๆ จากทั่ว โลกมาศึกษาและท�างาน New Generation Artificial Intelligence Development Plan 1. ในช่วงแรกจนถึงปี 2020 เน้นเรื่องความชาญฉลาดด้าน Big Data และทฤษฎีพื้นฐานด้าน AI 2. ช่วงที่สอง ปี 2025 มีเป้าหมายมุ่งเน้นประยุกต์ใช้งาน AI ในด้านต่างๆ ทั้งการแพทย์ เมืองอัจฉริยะ โรงงานอุตสาหกรรม เกษตรกรรม รวมถึงการป้องกันประเทศ 3. ช่วงสุดท้ายภายในปี 2030 จะเป็นผู้น�าของโลกทางด้าน AI ภาพประกอบ 3 ภาพประกอบ 2 นอกจากนี้ยังมียุทธศาสตร์ AI ที่เป็นความร่วมมือของนานาชาติ เช่น สหภาพยุโรปมีแผนที่จะระดมเงินงบประมาณทางด้านนี้ 20,000 ล้านยูโร และได้จัดสรรงบประมาณวิจัยปีละ 1.5 พันล้านยูโร จนถึงปี 2020 ส�าหรับประเทศไทยแม้จะยังไม่ได้มีการก�าหนดยุทธศาสตร์หลัก ด้าน AI แต่เมื่อเร็วๆ นี้มีการจัดตั้งสถาบันวิจัยปัญญาประดิษฐ์ แห่งประเทศไทย (AI Research Institute of Thailand) นับเป็น สัญญาณที่ดีที่จะเกิดการพัฒนาในอนาคต ซึ่งประเทศไทยควร จะดึงจุดเด่นด้านการท่องเที่ยว การเกษตร และเน้นการพัฒนา AI ในด้านภาษาไทยและท้องถิ่น รวมทั้งควรเน้นใช้ความร่วมมือ ระหว่างภาครัฐกับภาคเอกชน และส�าคัญที่สุด คือต้องลงทุน กับการศึกษาทางด้านนี้ ทั้งการพัฒนาบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญ ตลอดจนพัฒนาประชาชนให้มีทักษะการใช้ AI เพื่องานในอนาคต ต่อไป photo : freepik.com ที่มา : https://medium.com/politics-ai/an-overview-of-national-ai-strategies-2a70ec6edfd IT TRENDS | SPECIAL REPORT14
  • 5. photo : vectorpouch ภาคธุรกิจไทยใช้ AI รศ.ดร.ธนชาติ กล่าวถึงการใช้ AI ในภาคธุรกิจของประเทศไทยว่า เริ่มแพร่หลายมากขึ้น หากแบ่งตามสาขาของ AI กลุ่มที่พบมากที่สุด คือ Machine Learning โดยใช้อัลกอริทึมท�าให้คอมพิวเตอร์เรียนรู้ ด้วยตัวเองในงานงานหนึ่งจากการป้อนข้อมูลจ�านวนมาก เช่น การ วิเคราะห์พฤติกรรมลูกค้า ท�าการแนะน�าสินค้าให้กับลูกค้า ตรวจสอบ การฉ้อโกงทางการเงิน มีการสร้างโปรแกรมแนะน�าการลงทุนในสถาบัน การเงินหรือที่เรียกว่า Robo-advisor รวมไปถึงการวิเคราะห์ข้อมูล ทางการแพทย์เป็นต้นภาคธุรกิจที่พบว่ามีการใช้อย่างมากได้แก่ธนาคาร โทรคมนาคม ธุรกิจค้าปลีก การแพทย์ การบริการ และอุตสาหกรรม การผลิต ยกตัวอย่างใช้ Chatbot ในการโต้ตอบกับลูกค้า พบมากใน สื่อออนไลน์ขายสินค้าจะใช้ระบบอัตโนมัติตอบค�าถามลูกค้าที่มักเป็น ค�าถามซ�้าๆ และหลายหน่วยงานน�ามาใช้แทนพนักงานคอลล์เซ็นเตอร์ นอกจากนี้ปัจจุบันประเทศไทยเริ่มมีการใช้AIด้านNaturalLanguage Processing(NLP)แพร่หลายมากขึ้นเป็นกระบวนการประมวลผลทาง ภาษาที่ช่วยให้คอมพิวเตอร์เข้าใจหรือตีความภาษามนุษย์ได้ Machine Vision อีกสาขาหนึ่งของเทคโนโลยี AI ในด้านการ มองเห็น หรือการจดจ�าใบหน้า (Facial Recognition) ที่กล่าวกันว่า ทุกวันนี้คอมพิวเตอร์สามารถแยกแยะใบหน้าผู้คนได้ดีกว่ามนุษย์จึงเป็น หนึ่งในวิธีที่ถูกน�ามาใช้ในการพิสูจน์ตัวตนของหลายหน่วยงานใน ประเทศไทย โดยเฉพาะสถาบันการเงินที่เริ่มใช้ในการเปิดบัญชี หรือท�า ธุรกรรมทางการเงินต่างๆ AIในด้านRoboticProcessAutomation(RPA)เป็นซอฟต์แวร์ ช่วยบันทึกหรือคีย์ข้อมูลเข้าระบบอัตโนมัติ RPA จะช่วยลดเวลาท�างาน กระบวนการซ�้าๆ และสามารถท�างานได้อย่างรวดเร็วโดยไม่ต้องใช้คน เพราะเป็นการสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์กับคอมพิวเตอร์โดยตรงและ ไม่มีข้อผิดพลาดจึงท�าให้องค์กรที่มีธุรกรรมจ�านวนมากเริ่มน�ามาใช้งาน ได้แก่ สถาบันการเงิน สายการบิน รวมไปถึงบริษัทขนาดใหญ่ ด้าน ศ.ดร.ธนารักษ์ ธีระมั่นคง นายกสมาคมปัญญาประดิษฐ์ ประเทศไทย ให้สัมภาษณ์ประเด็นการใช้ AI ในภาคธุรกิจว่า ปัจจุบันมี การใช้งานในธุรกิจหลายประเภท เช่น ธุรกิจบริการ บริการคอลล์ เซ็นเตอร์ด้วย Chatbot, อุตสาหกรรมการผลิต ใช้หุ่นยนต์ในสายการ ผลิต, การแพทย์ ใช้หุ่นยนต์ดูแลผู้สูงอายุที่มีความสามารถในการติดต่อ แจ้งเตือนความผิดปกติ เป็นต้น โดยเฉพาะในภาคอุตสาหกรรมการผลิตของไทย มีการใช้ AI อย่างแพร่หลาย อีกทั้งยังมีความพยายามที่จะสร้างให้เป็นเครื่องตรวจ วัดความสึกหรอของเครื่องจักรกล และเครื่องยนต์ ให้สามารถประเมิน ได้ว่าควรจะต้องซ่อมบ�ารุง หรือเปลี่ยนอะไหล่เมื่อใด ซึ่งหากมีเครื่อง ตรวจวัดและประเมินความสึกหรอดังกล่าว จะช่วยให้ลดดาวน์ไทม์ของ เครื่องจักรกลและเครื่องยนต์ภายในโรงงาน ลดความเสียหายที่จะเกิด กับความต่อเนื่องในการผลิตโดยเครื่องตรวจวัดดังกล่าวจะตรวจจับแรง สั่นสะเทือนของเครื่องจักรเพื่อวิเคราะห์ประเมินว่าควรจะเปลี่ยนอะไหล่ ในอีกกี่วันต่อจากนี้ ซึ่งจะท�าให้บริหารจัดการเชิงต้นทุนได้ดียิ่งขึ้น และเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต SPECIAL REPORT | IT TRENDS 15
  • 6. AI Research Institute of Thailand สถาบันวิจัยปัญญาประดิษฐ์แห่งประเทศไทย จัดตั้งขึ้นโดยส�านักงานส่งเสริม เศรษฐกิจดิจิทัล หรือดีป้า ร่วมมือกับสถาบันวิทยสิริเมธี (VISTEC) ลงนาม ในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือในการจัดตั้งสถาบันวิจัยปัญญาประดิษฐ์แห่ง ประเทศไทย เพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านนวัตกรรมดิจิทัล ต่อยอดให้ เกิดการประยุกต์ใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีด้านวิทยาการข้อมูล หรือ Data Science และปัญญาประดิษฐ์ ทั้งนี้เพื่อเป็นศูนย์กลางการให้บริการ และให้ค�าปรึกษาส�าหรับพัฒนา อุตสาหกรรมและนวัตกรรมด้านปัญญาประดิษฐ์ ทั้งการให้บริการด้าน อุปกรณ์ เครื่องมือ เพื่อการศึกษาเรียนรู้ ทดลองและทดสอบ ส�าหรับการ ศึกษาวิจัยและแลกเปลี่ยนความรู้เกี่ยวกับปัญญาประดิษฐ์ นอกจากนั้นยังจัดให้เป็นสถานที่ส�าหรับการจัดอบรมถ่ายทอดองค์ความรู้ใน ด้านปัญญาประดิษฐ์วิทยาการข้อมูลและไอโอที โดยได้รวบรวมคณะอาจารย์ และผู้ฝึกอบรมที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญด้าน AI ชั้นน�าในระดับประเทศ รวมถึงการเป็นพื้นที่ส�าหรับการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ด้านงานวิจัย ทางด้านเทคโนโลยีส�าหรับผู้สนใจเพื่อเพิ่มศักยภาพทางด้านวิทยาการข้อมูล และปัญญาประดิษฐ์ให้แก่ก�าลังคนภายในประเทศ ทั้งกลุ่มนักศึกษาและ กลุ่มบุคลากรด้านเทคโนโลยีเพื่อป้อนเข้าสู่อุตสาหกรรมดิจิทัล “เช่นเดียวกันกับรถยนต์ ช่างเก่งๆ จะมีความสามารถในการฟัง เสียงเครื่องยนต์แล้วทราบความผิดปกติว่าเกิดจากส่วนใด ซึ่งหากน�าAI เข้ามาใช้กับการตรวจจับเสียงเครื่องยนต์ก็จะท�าให้แก้ไขซ่อมแซมได้ตรง กับสาเหตุ ขณะนี้มีความพยายามที่จะสร้าง AI ขึ้นมาตรวจจับความผิด ปกติดังกล่าว “ศ.ดร.ธนารักษ์ กล่าวเสริมว่า ในขณะที่วงการประกันภัย กล่าวถึงการสร้าง AI เพื่อท�าหน้าที่ประเมินสภาพความเสียหายของ รถยนต์เมื่อเกิดอุบัติเหตุโดยใช้ImageProcessingประเมินและค�านวณ ราคาในการเคลมประกัน คุณก�าพล โชคสุนทสุทธิ์ นายกสมาคมไทยไอโอที กล่าวในงาน สัมมนา Working Group AIoT ถึงการผลักดันเทคโนโลยี AI ว่า สมาคมฯ ได้เข้าร่วมการทดสอบระบบ 5G ที่ฉะเชิงเทราเพื่อให้เกิดการใช้งานจริง รวมทั้งก่อนหน้านี้มีความพยายามที่จะสร้างก�าลังคนด้านดิจิทัลเพื่อแก้ ปัญหาการขาดแคลน แต่เนื่องจากไม่สามารถสร้างคนได้ทัน จึงเปลี่ยน แนวคิดไปสร้างผู้วางระบบ หรือเอสไอแทน เนื่องจากเอสไอจะสามารถ รับงานได้ครั้งละหลายโครงการซึ่งจะช่วยบรรเทาความขาดแคลนคนลง ไปได้บ้าง รวมทั้งมีแนวคิดที่จะขอให้สภาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม แห่งประเทศไทยออกใบรองรับหรือ Certificate ให้แก่เอสไอด้วย ล่าสุดภายในงานสหกรุ๊ปแฟร์ ครั้งที่ 23 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 27-30 มิถุนายนที่ผ่านมานี้ เครือสหพัฒน์ได้ใช้เทคโนโลยี AI น�าเสนอบริการ ใหม่สร้างประสบการณ์ที่ทันสมัยในการจับจ่ายเลือกซื้อสินค้าในบูธ His & Her Smart Shop “ร้านค้าอัจฉริยะไร้พนักงาน” เป็นโซลูชัน ล�้าสมัยให้ลูกค้าซื้อสินค้าและจ่ายเงินเองง่ายๆ ผ่านสมาร์ทเพย์เมนต์ โดยไม่มีพนักงานขาย (Unmanned Shop) ซึ่งรายงานข่าวแจ้งว่า ด้าน การบริการนับจากนี้ เครือสหพัฒน์จะมุ่งเน้นการน�าเทคโนโลยีดิจิทัล เช่น AI, Big Data หรือ IoT มาใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการแก่ ผู้บริโภค ดังเช่น การสร้างร้านค้าอัจฉริยะไร้พนักงาน ที่ได้ร่วมกับ ทรู คอร์ปอเรชั่น พัฒนาขึ้นโดยใช้เทคโนโลยี AI ซึ่งสินค้า บริการ และ วัฒนธรรมที่จะเป็นเส้นทางสู่อนาคตของเครือสหพัฒน์ เครือสหพัฒน์จะทยอยน�าระบบ “ร้านค้าอัจฉริยะไร้พนักงาน” ไปใช้งานจริงที่บางสาขา เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริการ โดยโซลูชัน ดังกล่าวได้ร่วมกับกลุ่มทรู คอร์ปอเรชัน พัฒนาขึ้นให้สอดคล้องกับ ไลฟ์สไตล์ของคนยุคดิจิทัลที่ชอบความสะดวกสบายและรวดเร็วซึ่งการ จับจ่ายสินค้าในร้านค้าอัจฉริยะนี้ จะท�าการลงทะเบียนเมื่อเดินเข้า ด้วยเทคโนโลยี Face Recognition ระบบกล้องจดจ�าใบหน้า จากนั้น ดาวน์โหลดแอปของร้านและกรอกข้อมูล ในระหว่างเลือกซื้อสินค้า ระบบจะเก็บข้อมูลการแวะตามชั้นสินค้าต่างๆ เพื่อน�าไปวิเคราะห์และ ออกแบบการจัดวางสินค้าในอนาคต และเมื่อลูกค้าเลือกสินค้าเสร็จ เรียบร้อย ไปยังจุดช�าระค่าสินค้า เพียงวางตะกร้าที่เคาน์เตอร์ช�าระเงิน ระบบจะท�าการค�านวณราคาสินค้าจากRFIDtagให้ทั้งหมดและลูกค้า สามารถช�าระเงินผ่านระบบAutoPaymentผ่านบัญชีหรือบัตรเครดิต ที่ผูกไว้ในแอปด้วย QR Payment ไม่จ�าเป็นต้องถือเงินสด สินค้าต่างๆ ที่ซื้อจะถูกเก็บข้อมูลไว้เพื่อน�าไปประมวลผลและจัดท�าโปรโมชัน ต่อไป ก่อนหน้านี้เมื่อปลายปี 2561 ธนาคารไทยพาณิชย์ ร่วมกับ สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจ ศศินทร์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้เปิดตัวร้าน Sasin Scan N'Go Powered by SCB ร้านค้าอัจฉริยะ ไร้พนักงานแห่งแรกของเมืองไทยอย่างเป็นทางการซึ่งหนึ่งในเป้าหมาย ของศศินทร์ คือการเติบโตไปสู่สังคมไร้เงินสด (Cashless Society) ผศ.ดร. พีรพล เวทีกูล อาจารย์ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวในงานสัมมนา Working Group AIoT ที่จัดโดยสมาคมไอโอทีว่าปัจจุบันโลกก�าลังก้าวเข้าสู่ยุค Autonomous Things โดย AI มีความฉลาดที่สามารถคุยกันได้เอง ตัวอย่างเช่น การใช้โดรนจ�านวนมากในการแปรอักษร โดรนแต่ละเครื่องจะต้องรู้ว่า อยู่ที่ใด ห่างจากอีกเครื่องเท่าไร และจะต้องเปลี่ยนที่เปลี่ยนต�าแหน่ง ช่วงใดเวลาใด ซึ่งต้องมีความพร้อมเพรียงกัน IT TRENDS | SPECIAL REPORT16
  • 7. “ส�าหรับการใช้งานในภาครัฐของไทย ล่าสุดกรมธนารักษ์พยายาม ถอดตรรกะของวิธีคิดในการประเมินราคาที่ดินจากนักประเมินราคาที่ดิน เพื่อสร้างให้ AI ท�าหน้าที่ประเมินราคาที่ดิน ลดรอบในการประเมินให้ สั้นลงจากเดิมที่ต้องรอถึง 4 ปี ซึ่งเป็นระยะเวลาที่นาน เนื่องจากมี บุคลากรอยู่จ�านวนน้อย รวมทั้งยังพบว่าผู้ประเมินแต่ละคนอาจจะ ประเมินราคาออกมาไม่เท่ากันด้วย” ผศ.ดร.พีรพล เสริม ภาคการศึกษาตื่นตัว สอดคล้องกับภาคธุรกิจของประเทศไทย ปัจจุบันสถาบันการ ศึกษาหลายแห่งตื่นตัวรับกับเทคโนโลยีใหม่ได้มีการเรียนการสอนAIที่ นอกจากในระดับอุดมศึกษาซึ่งมีการเรียนการสอนแล้ว ในระดับมัธยม ยังมีโรงเรียนหลายแห่งที่เริ่มน�าองค์ความรู้ด้านนี้เข้าไปสอน ศ.ดร.ธนารักษ์ กล่าวว่า สมาคมฯ ได้รับเกียรติให้จัดท�าและสอน หลักสูตรคอมพิวติ้งให้แก่โรงเรียนปัญญาประทีปซึ่งเป็นองค์ความรู้หนึ่ง ของเทคโนโลยี AI ปัจจุบันสอนในระดับมัธยมต้น เพื่อสร้างรากฐาน ความรู้ให้นักเรียนอันจะเป็นพื้นฐานส�าคัญในสาย AI ระบบอัจฉริยะหรือAIใกล้ตัวมีให้ใช้หลายประเภทไม่ว่าจะเป็นด้านเสียงภาพข้อมูลที่สามารถ คาดการณ์หรือท�านายสิ่งที่ยังมาไม่ถึงได้ รศ.ดร.ธนชาติ กล่าวถึงตัวอย่าง ดังนี้ ในขณะที่โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒ จะมี การเรียนการสอนเกี่ยวกับเทคโนโลยีAIในเทอมหน้าส่วนโรงเรียนสาธิต แห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ อยู่ระหว่างเตรียมการเรียนการสอน เช่นกัน โดยบทบาทหนึ่งของสมาคมฯ คือ ส่งเสริมด้านการเรียนรู้ ซึ่งที่ ผ่านมาได้เปิดหลักสูตรอบรมให้แก่ครูอาจารย์ราว 400 คน ในจังหวัดที่ อยู่ภายใต้ EEC หรือระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ครูอาจารย์น�าไปสอน ให้กับนักเรียนนักศึกษา และต่อยอดความรู้ต่อไป AI ใกล้ตัว Google Map นอกจากบอกเส้นทางแล้ว ยังสามารถ คาดการณ์เวลาที่จะถึงที่หมายให้ และแนะน�าเส้นทางอื่นให้ใน กรณีที่การจราจรติดขัด หรือหากต้องการหาโรงแรมที่พัก ร้านอาหารในบริเวณใกล้เคียง ก็มีบริการให้ใช้ได้ทันที โดยไม่ต้องสืบค้นจากแอป Google นอกจากนี้ยังมี Google Assistant หรือ Siri ที่อยู่ในสมาร์ทโฟน สามารถใช้ค�าสั่ง ด้วยเสียงพร้อมโต้ตอบกับคนได้ในกรณีที่อยากทราบว่าวันนี้ฝนจะตกหรือไม่เมื่อถามไป Siri ก็จะตอบเสมือนว่าเราก�าลังพูดกับเพื่อน ในยามที่เดินทางไปต่างประเทศ มี Google Translator ช่วยแปลภาษาทั้งแปลตัวหนังสือจากภาพถ่าย หรือแปลจาก เสียงพูดแบบเรียลไทม์ที่ท�าให้คนสองคนโต้ตอบกันได้แม้จะ พูดกันคนละภาษาก็ตาม รวมถึงปฏิทินออนไลน์ ที่สามารถ เลือกวันเวลานัดหมายที่คนทุกคนว่างพร้อมกัน สิ่งที่ท�าให้การท�างานง่ายยิ่งขึ้นเมื่อต้องการพิมพ์เอกสารสามารถใช้เสียงพูดแล้วระบบจะ ท�าการพิมพ์ตัวหนังสือให้โดยอัตโนมัติ โดยการใช้ผ่านโปรแกรม Google doc และหาก ต้องการทราบว่ารูปภาพนี้คืออะไร ก็ง่ายนิดเดียว เพียงใช้ Google Lens โปรแกรมจะ ค้นหาค�าตอบให้ทันที ทั้งหมดนี้คือการท�างานของเทคโนโลยีAIที่อยู่ใกล้ตัวเราซึ่งจะรวมไปถึงอุปกรณ์อัจฉริยะ ภายในบ้าน (Smart Home) ระบบแจ้งเตือน ตรวจจับกันขโมยต่างๆ ที่ส่งสัญญาณทันที ที่มีการเคลื่อนไหวภายในบ้านในขณะที่ไม่มีคนอยู่ สมาคมฯ มีความมุ่งมั่นสร้างคนรุ่นใหม่ ให้เข้าสู่ตลาดดิจิทัลมากขึ้น โดยให้การ สนับสนุนด้านความรู้ AI และ IoT ให้แก่นักศึกษาเพื่อให้สามารถทำงานได้ ทันทีที่จบการศึกษา SPECIAL REPORT | IT TRENDS 17
  • 8. นอกจากนี้ คุณก�าพล นายกสมาคมไทยไอโอที ได้กล่าวว่า สมาคมฯ มีความมุ่งมั่นสร้างคนรุ่นใหม่ให้เข้าสู่ตลาดดิจิทัลมากขึ้น โดยให้การสนับสนุนด้านความรู้ AI และ IoT ให้แก่นักศึกษาเพื่อ ให้สามารถท�างานได้ทันทีที่จบการศึกษาซึ่งก่อนหน้านี้ได้น�าเสนอหลักสูตร ให้แก่มหาวิทยาลัยแล้วสองแห่ง และจะขยายผลต่อไป รวมทั้งมีการเชิญ นักลงทุนจาก 10 ประเทศเข้าร่วมประชุมทางวิชาการและเปิดโอกาสให้ นักศึกษาได้เข้าพรีเซนต์ผลงาน ซึ่งหวังผลให้เกิดธุรกิจต่อไปในอนาคต AI ในมุมจริยธรรม ด้วยความอัจฉริยะของAIที่ถูกสร้างให้สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง น�าไปสู่การใช้งานที่บางกรณีมีการตัดสินใจแทนคน การตัดสินใจเหล่านั้น เกิดจากการออกแบบอัลกอริทึมดังนั้นนับจากนี้ไปการออกแบบจึงควรจะ ต้องค�านึงถึงความปลอดภัย จริยธรรม และความเป็นส่วนตัว ด้านความปลอดภัย พบข้อมูลจากต่างประเทศมีการยกตัวอย่าง เรื่องรถยนต์ไร้คนขับที่หลบหลีกจักรยานบนท้องถนน แต่กลับชนคนที่ อยู่บนทางเท้า สิ่งที่เกิดขึ้นเป็นการตัดสินใจที่ถูกหรือผิด? ยังคงเป็น ค�าถามอยู่ และกรณีเช่นนี้จะเอาผิดจากใคร ด้านจริยธรรมเพราะมนุษย์ทุกคนไม่ได้เป็นกลางในทุกเรื่องท�าให้ การเลือกหรือการตัดสินใจในบางครั้งใช้อารมณ์และความรู้สึกมากกว่า การใช้เหตุผล ใช้หลักความจริง หรือใช้ความเป็นธรรม ซึ่งหาก AI ถูกออกแบบมาให้เป็นเช่นนั้นก็จะท�าให้ AI ตัดสินใจโดยไม่เป็นธรรม เกิดความล�าเอียงตามที่ออกแบบมา ตัวอย่างเช่น หากใช้ AI เลือก ใบสมัครงานจ�านวนมากAIอาจจะไม่ได้เลือกที่ประสบการณ์การท�างาน แต่เลือกเพราะว่าเป็นคนผิวขาว ในขณะที่คนผิวด�าอาจจะมีคุณสมบัติ และประสบการณ์ที่เหนือกว่าก็ได้ ซึ่งนั่นเป็นเพราะการออกแบบ AI ที่ มีประเด็นเรื่องสีผิวเข้ามาเกี่ยวข้อง ด้านความเป็นส่วนตัว การเก็บข้อมูลการเดินทาง ข้อมูลสุขภาพ ข้อมูลในโซเชียลมีเดีย แล้วน�าข้อมูลต่างๆ เหล่านั้นมาวิเคราะห์หา พฤติกรรมของคนคนหนึ่งหากมองในเชิงลึกบางครั้งอาจจะละเมิดความ เป็นส่วนตัวก็ได้ ประเด็นต่างๆเหล่านี้ถูกกล่าวถึงในเวทีระดับโลกซึ่งต่างเห็นพ้อง ต้องกันว่า ควรจะมีมาตรการในการก�าหนดกฎระเบียบ มีการสร้าง จรรยาบรรณและกรอบหรือแนวทางในการใช้ AI ในเชิงสร้างสรรค์ เพื่อรองรับการใช้งาน AI ที่จะเติบโตขึ้นอย่างมากในอีกไม่กี่ปี ข้างหน้า ท่านผู้อ่านสามารถติดตามผลส�ารวจเกี่ยวกับประเด็นเรื่อง จริยธรรมที่ได้เผยแพร่แล้วเมื่อเร็วๆ นี้ในคอลัมน์ Survey photo : freepik.com การใช้งานที่บางกรณีมีการตัดสินใจแทนคน การตัดสินใจเหล่านั้นเกิดจากการออกแบบ อัลกอริทึม ดังนั้นนับจากนี้ไปการออกแบบ จึงควรจะต้องคำนึงถึงความปลอดภัย จริยธรรม และความเป็นส่วนตัว IT TRENDS | SPECIAL REPORT18
  • 9. Big Data Cerrficaron Course : 120 18.00-21.00 . 9.00-17.00 . 12 2019 Instructor: Dr. Thanachart Numnonda and Team
  • 10. Dr.Thanachart Mr. Aekanun Mr. Santisook Mr. Anapat