SlideShare a Scribd company logo
1 of 23
Download to read offline
ลักษณะคำประพันธ์
แผนผังโคลงสี่สุภาพ
ตัวอย่างโคลงสี่สุภาพ
                                        คาสร้อย

    เสียงลือเสียงเล่าอ้าง   อันใด พี่เอย
เสียงย่อมยอยศใคร            ทั่วหล้า      คาสร้อย
สองเขือพี่หลับใหล           ลืมตื่น ฤๅพี่
สองพี่คิดเองอ้า             อย่าได้ถามเผือ
                                     ลิลิตพระลอ
ตัวอย่างโคลงสี่สุภาพ
                   คาสร้อย


                   คาสร้อย
ฉันทลักษณ์
       โคลง     คือ คำประพันธ์ซึ่งมีวิธีเรียงร้อยถ้อยคำเข้ำ
คณะ มี ก ำหนดเอกโทและสั ม ผั ส โคลงมี ลั ก ษณะบั ง คั บ
๖ อย่ำง ได้แก่
      - คณะ
      - พยำงค์
       - สัมผัส
      - คำเอก คำโท
      - คำเป็น คำตำย
      - คำสร้อย
ฉันทลักษณ์
        คำ “สุภาพ” ในโคลงนั้น อำจำรย์กำชัย ทองหล่อ ได้
อธิบำยไว้ว่ำ มีควำมหมำยเป็น ๒ อย่ำง คือ
             ๑. หมำยถึงคำที่ไม่มีเครื่องหมำยวรรณยุกต์เอกโท
(คือ คำธรรมดำที่ไม่กำหนดเอกโทจะมี หรือไม่มีก็ได้)
             ๒. หมำยถึงกำรบังคับคณะและสัมผัสอย่ำงเรียบ ๆ
ไม่โลดโผน
             ลักษณะบังคับของโคลง มีดังนี้
ฉันทลักษณ์
        ๑. คณะ          คื อ ข้ อ ก ำหนดเกี่ ย วกั บ รู ป แบบของค ำ
ประพั น ธ์ แ ต่ ล ะชนิ ด ว่ ำ จะต้ อ งประกอบด้ ว ย ส่ ว นย่ อ ย ๆ
อะไรบ้ำง
         คำที่เป็นลักษณะบังคับข้อนี้สำคัญมำก คำประพันธ์ทุก
ชนิดจะต้องมีคณะ ถ้ำไม่มีก็ไม่เป็นคำประพันธ์ คณะที่เป็นสิ่งที่
ช่วยกำหนดรูปแบบของคำประพันธ์แต่ละชนิดให้เป็นระเบียบ
เพื่อใช้เป็นหลักในกำรแต่งต่อไป
ฉันทลักษณ์
         ๒. พยางค์ คือเสียงที่เปล่งออกมำครั้งหนึ่ง ๆ บำงทีก็
มีควำมหมำย เช่น เมือง ไทย นี้ ดี บำงทีก็ไม่มีควำมหมำย แต่
เป็นส่วนหนึ่งของคำ เช่น ภิ ใน คา อภินิหาร ยุ ในคา ยุวชน
กระ ในคา กระถาง
       เนื่องจำกคำไทยเรำแต่เดิมมีพยำงค์เดียวโดยมำก ฉะนั้น
ในกำรแต่ ง ค ำประพั น ธ์ เ รำถื อ ว่ ำ พยำงค์ ก็ คื อ ค ำนั่ น เอง ในค ำ
ประพันธ์ แต่ละชนิดมีกำรกำหนดพยำงค์ (คำ) ไว้ แน่นอน ว่ ำ
วรรคหนึ่งมีกี่พยำงค์ (คำ)
ฉันทลักษณ์



          ๓. สัมผัส คือลักษณะที่บังคับให้ใช้คาคล้องจอง
กั น สั ม ผั ส เป็ น ลั ก ษณะที่ ส ำคั ญ ที่ สุ ด ในค ำประพั น ธ์ ข องไทย
คำประพันธ์ทุกชนิดจำเป็นต้องมีสัมผัสสระและสัมผัสพยัญชนะ
ฉันทลักษณ์
          ๔. ค าเอก ค าโท หม ำ ยถึ ง พย ำ งค์ ที่ บั ง คั บด้ ว ย
รู ป วรรณยุ ก ต์ เ อก และรู ป วรรณยุ ก ต์ โ ท ส ำหรั บ ใช้ กั บ ค ำประพั น ธ์
ประเภทโคลงเท่ำนั้น มีข้อกำหนดดังนี้
         คาเอก ได้แก่ พยำงค์ที่มีไม้เอกบังคับทั้งหมด เช่น จ่า ปี่ ขี่
ส่อ น่า คี่ และพยำงค์ที่เป็นคำตำยทั้งหมดจะมีเสียงวรรณยุกต์ใดก็ได้
เช่น กาก บอก มาก โชค คิด รัก
ฉันทลักษณ์
     คาตาย สะกดด้วยแม่ กก กบ กด
กก     ก ข         ค      ฆ คร
     ปาก เลข สามัคคี เมฆ สมัคร
กบ     บ       ป     ฟ           ภ
       จบ บาป กราฟ ยีราฟ ลาภ
กด    ด ต ช ฐ ถ ท ธ ฑ ฒ ส ศ ษ ซจ
มด ชาติ ราช รัฐ รถ บาท อาวุธ ครุฑ วัฒนะ โอกาส
อากาศ เศษ อนาถ ปัจจัย สุวัจน์
ฉันทลักษณ์
          คาเอกโทษ          คือคำที่ไม่เคยใช้ไม้เอกแต่เอำมำแปลงใช้โดย
เปลี่ ย นวรรณยุ ก ต์ เป็ น เอกเพื่ อ ให้ ไ ด้ เ สี ย งตำมบั ง คั บ เช่ น เสี้ ย ม
เปลี่ยนเป็น เซี่ยม, สร้าง เปลี่ยนเป็น ซ่าง คำเช่นนี้ อนุโลมให้เป็น
คำเอกได้
          คาโท ได้แก่พยำงค์ที่มีไม้โทบังคับทั้งหมด เช่น ถ้า ป้า น้า
น้อย ป้อม ยิ้ม
ฉันทลักษณ์
       คาโทโทษ คือคำที่ไม่เคยใช้ไม้โท แต่เอำแปลงใช้โดย
เปลี่ยนวรรณยุกต์เป็นโท เพื่อได้เสียงโทตำมบังคับ เช่น
        เล่น เปลี่ยนเป็น เหล้น,
        ช่วย เปลี่ยนเป็น ฉ้วย
คำเช่นนี้อนุโลมให้เป็นคำโทได้
ฉันทลักษณ์
๕. คาเป็น คาตาย
         คาเป็น ได้แก่พยำงค์ที่ผสมด้วยสระเสียงยำวในมำตรำ
แม่ ก กำ เช่น มำ ขี่ ถือ เมีย กับพยำงค์ที่ผสมด้วยสระ อำ
ไอ ใอ เอำ เช่น ทำ ไป ไม่ เขำ และพยำงค์ที่สะกดด้วย
มำตรำแม่ กง กน กม เกย เกอว เช่น สั่ง ถ่ำน ล้ม ตำย เร็ว
อิ อุ เอะ แอะ โอะ อึ เออะ เอำะ อะ
อี อู เอ แอ โอ อือ เออ ออ อำ
เอีย เอือ อัว
ฉันทลักษณ์
                 คำเป็น                             คำตำย
๑. แม่ ก กา เสียงยาว                    ๑. แม่ ก กา เสียงสัน
                                                           ้
 นี่ คือ ตูด เกย์ เคย โดน แต่ ว่า ชอบ   ๒. มาตาราเสียงตัวสะกด กบด
 อี อือ อู เอ เออ โอ แอ อา ออ           กก สุก เลข สามัคคี เมฆ สมัคร
 เมีย เบื่อ ผัว                         กบ พบ บาป ลาภ ภพ
เอีย เอือ อัว                           กด ด ต ช ซ ส ษ ศ ท ธ ฑ ธ ฒ จ ถ ฐ
๒. มาตาราเสียงตัวสะกด นมยวง                    ฎฏ
กน กม เกย เกอว กง
สัญญาณ กาฬ มาร ชม สวย ลาว มอง

อิ อุ เอะ แอะ โอะ อึ เออะ เอำะ อะ
อี อู เอ แอ โอ อือ เออ ออ อำ
เอีย เอือ อัว
ฉันทลักษณ์
๕. คาเป็น คาตาย
     ค าตาย ได้ แ ก่ พ ยำงค์ ที่ ผ สมด้ ว ยสระเสี ย งสั้ น ใน
มำตรำแม่ ก กำ เช่น จะ ติ และพยำงค์ที่สะกดด้วยมำตรำ
แม่ กก กด กบ เช่น ปัก นาค คิด มือ เก็บ สาป คำตำย
นี้ใช้แทนคำเอกในโคลงได้
ฉันทลักษณ์
๖. คาสร้อย
        คือคำที่ใช้เติมลงท้ำยวรรค ท้ำยบำท หรือท้ำยบท เพื่อควำม
ไพเรำะหรือเพื่อให้ครบจำนวนคำตำมลักษณะบังคับ บำงแห่งก็ใช้เป็น
คำถำม หรือใช้ย้ำควำม คำสร้อยนี้ใช้เฉพำะในโคลงและร่ำย และ
มักจะเป็นคำเป็น เช่น แลนา พี่เอย ฤๅพี่ ฤๅพ่อ แม่แล น้องเฮย
หนึ่งรา
ฉันทลักษณ์
กฎ :
๑. คณะ มีดังนี้
 - โคลงสี่สุภำพบทหนึ่งมี ๔ บำท
 - บำทหนึ่งมี ๒ วรรค คือวรรคหน้ำกับวรรคหลัง
 - วรรคหน้ำของทุกบำทมีวรรคละ ๕ คำ
 - วรรคหลังของบำทที่ ๑, ๒ และ ๓ มีวรรคละ ๒ คำ
    ส่วนของบำทที่ ๔ มี ๔ คำ
 - รวมโคลงสี่สุภำพ บทหนึ่งมี ๓๐ คำ
ฉันทลักษณ์
     กฎ :
๒. สัมผัส มีดังนี้
     คำที่ ๗ ของบำทที่ ๑ สัมผัสกับคำที่ ๕ ของบำทที่ ๒ และ ๓
     คำที่ ๗ ของบำทที่ ๒ สัมผัสกับคำที่ ๕ ของบำทที่ ๔
         ถ้ำจะให้โคลงที่แต่งไพเรำะยิ่งขึ้น ควรมีสัมผัสใน และ
สัมผัสอักษรระหว่ำงวรรคด้วย
         กล่ำวคือ ควรให้คำสุดท้ำยของวรรคหน้ำ สัมผัสอักษรกับ
คำหน้ำของวรรคหลัง จำกตัวอย่ำงในโคลงได้แก่คำ “อ้าง” กับ
“อัน” “ใหล” กับ “ลืม”
ฉันทลักษณ์
     กฎ :
       ๓. คาเอกคาโทและคาเป็นคาตาย มีดังนี้

        ๑. บังคับคำเอก ๗ แห่ง และคำโท ๔ แห่ง ตำมตำแหน่งที่
เขียนไว้ในแผนผังภูมิ
        ๒. ตำแหน่งคำเอกและโท ในบำทที่ ๑ อำจสลับที่กันได้ คือ
นำคำเอกไปไว้ในคำที่ ๕ และนำคำโทมำไว้ในคำที่ ๔
ฉันทลักษณ์
     กฎ :
      ๓. คาเอกคาโทและคาเป็นคาตาย มีดังนี้

        ๓. คำที่ ๗ ของบำทที่ ๑ และคำที่ ๕ ของบำทที่ ๒ และ ๓
ห้ำมใช้คำที่มีรูปวรรณยุกต์
        ๔. ห้ำมใช้คำตำยที่ผันด้วยวรรณยุกต์โท ในตำแหน่งโท
ฉันทลักษณ์
     กฎ :
       ๓. คาเอกคาโทและคาเป็นคาตาย มีดังนี้

        ๕. ค ำสุ ด ท้ ำ ยของบท ห้ ำ มใช้ ค ำตำย และค ำที่ มี รู ป
วรรณยุกต์ และเสียงที่นิยมกันว่ำไพเรำะ คือเสียงจัตวำไม่มีรูป หรือ
จะใช้เสียงสำมัญก็ได้เพรำะเป็นคำจบ จะต้องอ่ำนเอื้อนเสียงยำว
เสียงลือเสียงเล่าอ้าง   อันใด พี่เอย
เสียงย่อมยอยศใคร           ทั่วหล้า
สองเขือพี่หลับใหล          ลืมตื่น ฤๅพี่
สองพี่คิดเองอ้า            อย่าได้ถามเผือ
                               (ลิลตพระลอ)
                                   ิ

More Related Content

What's hot

แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิSurapong Klamboot
 
คำสมาส สนธิ
คำสมาส สนธิ คำสมาส สนธิ
คำสมาส สนธิ Rodchana Pattha
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาkrudow14
 
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]Nongkran_Jarurnphong
 
ประโยคสามัญ ประโยคซ้อน ประโยครวม
ประโยคสามัญ ประโยคซ้อน ประโยครวมประโยคสามัญ ประโยคซ้อน ประโยครวม
ประโยคสามัญ ประโยคซ้อน ประโยครวมthinnakornsripho
 
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพเฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพกึม จันทิภา
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนพัน พัน
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙Nongkran Jarurnphong
 
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์bambookruble
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4Sasiprapha Srisaeng
 
ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2ssuser456899
 

What's hot (20)

แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
 
คำสมาส สนธิ
คำสมาส สนธิ คำสมาส สนธิ
คำสมาส สนธิ
 
คำนาม
คำนามคำนาม
คำนาม
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธา
 
คำไทยแท้
คำไทยแท้คำไทยแท้
คำไทยแท้
 
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
 
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
 
ประโยคสามัญ ประโยคซ้อน ประโยครวม
ประโยคสามัญ ประโยคซ้อน ประโยครวมประโยคสามัญ ประโยคซ้อน ประโยครวม
ประโยคสามัญ ประโยคซ้อน ประโยครวม
 
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพเฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อน
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
 
คำสรรพนาม
คำสรรพนามคำสรรพนาม
คำสรรพนาม
 
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
 
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
 
โวหาร
โวหารโวหาร
โวหาร
 
ใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมายใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมาย
 
ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2
 
เล่มที่ 6 คำอุทาน
เล่มที่ 6 คำอุทานเล่มที่ 6 คำอุทาน
เล่มที่ 6 คำอุทาน
 

Viewers also liked

Microsoft word แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อย
Microsoft word   แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อยMicrosoft word   แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อย
Microsoft word แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อยนิตยา ทองดียิ่ง
 
Microsoft power point หลัการการวิจารณ์วรรณคดี
Microsoft power point   หลัการการวิจารณ์วรรณคดีMicrosoft power point   หลัการการวิจารณ์วรรณคดี
Microsoft power point หลัการการวิจารณ์วรรณคดีนิตยา ทองดียิ่ง
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์jupjiptogether
 
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมWatcharapol Wiboolyasarin
 
วิเคราะห์คำประพันธ์
วิเคราะห์คำประพันธ์วิเคราะห์คำประพันธ์
วิเคราะห์คำประพันธ์kwanboonpaitoon
 
Microsoft word ข้อสอบปลายภาคที่ 1 มอหกปี2555
Microsoft word   ข้อสอบปลายภาคที่  1 มอหกปี2555Microsoft word   ข้อสอบปลายภาคที่  1 มอหกปี2555
Microsoft word ข้อสอบปลายภาคที่ 1 มอหกปี2555นิตยา ทองดียิ่ง
 
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากข่าว
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากข่าวแบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากข่าว
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากข่าวนิตยา ทองดียิ่ง
 
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]นิตยา ทองดียิ่ง
 

Viewers also liked (16)

Microsoft word แบบฝึกตำรา
Microsoft word   แบบฝึกตำราMicrosoft word   แบบฝึกตำรา
Microsoft word แบบฝึกตำรา
 
บทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอนบทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอน
 
Microsoft word แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อย
Microsoft word   แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อยMicrosoft word   แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อย
Microsoft word แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อย
 
Microsoft word หนึ่งแสนครูดี
Microsoft word   หนึ่งแสนครูดีMicrosoft word   หนึ่งแสนครูดี
Microsoft word หนึ่งแสนครูดี
 
Microsoft power point หลัการการวิจารณ์วรรณคดี
Microsoft power point   หลัการการวิจารณ์วรรณคดีMicrosoft power point   หลัการการวิจารณ์วรรณคดี
Microsoft power point หลัการการวิจารณ์วรรณคดี
 
๔. สำนวน สุภาษิต คำพังเพย[1]
๔. สำนวน สุภาษิต คำพังเพย[1]๔. สำนวน สุภาษิต คำพังเพย[1]
๔. สำนวน สุภาษิต คำพังเพย[1]
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
 
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
 
วิเคราะห์คำประพันธ์
วิเคราะห์คำประพันธ์วิเคราะห์คำประพันธ์
วิเคราะห์คำประพันธ์
 
ปก
ปกปก
ปก
 
Microsoft word ข้อสอบปลายภาคที่ 1 มอหกปี2555
Microsoft word   ข้อสอบปลายภาคที่  1 มอหกปี2555Microsoft word   ข้อสอบปลายภาคที่  1 มอหกปี2555
Microsoft word ข้อสอบปลายภาคที่ 1 มอหกปี2555
 
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากข่าว
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากข่าวแบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากข่าว
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากข่าว
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
 
โคลนติดล้อ (สอน Ppt)[1]
โคลนติดล้อ (สอน Ppt)[1]โคลนติดล้อ (สอน Ppt)[1]
โคลนติดล้อ (สอน Ppt)[1]
 
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
 
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
 

Similar to ๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]

อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์Kalasom Mad-adam
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์Kalasom Mad-adam
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรองMong Chawdon
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรองPairor Singwong
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรองNimnoi Kamkiew
 
ลักษณะของคำภาษาไทย
ลักษณะของคำภาษาไทยลักษณะของคำภาษาไทย
ลักษณะของคำภาษาไทยSiraporn Boonyarit
 
ครั้ง๗
ครั้ง๗ครั้ง๗
ครั้ง๗vp12052499
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทยvp12052499
 

Similar to ๑. ลักษณะคำประพันธ์[1] (20)

อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ลักษณะของคำภาษาไทย
ลักษณะของคำภาษาไทยลักษณะของคำภาษาไทย
ลักษณะของคำภาษาไทย
 
ครั้ง๗
ครั้ง๗ครั้ง๗
ครั้ง๗
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
Intro computer
Intro  computerIntro  computer
Intro computer
 
คำสมาส
คำสมาสคำสมาส
คำสมาส
 

More from จุฑารัตน์ ใจบุญ

ข้อมูลสารสนเทศรัษฎานุประดิษฐ์56
ข้อมูลสารสนเทศรัษฎานุประดิษฐ์56ข้อมูลสารสนเทศรัษฎานุประดิษฐ์56
ข้อมูลสารสนเทศรัษฎานุประดิษฐ์56จุฑารัตน์ ใจบุญ
 
ข้อมูลสารสนเทศรัษฎานุประดิษฐ์55
ข้อมูลสารสนเทศรัษฎานุประดิษฐ์55ข้อมูลสารสนเทศรัษฎานุประดิษฐ์55
ข้อมูลสารสนเทศรัษฎานุประดิษฐ์55จุฑารัตน์ ใจบุญ
 
ตัวอย่างข้อมูลสารสนเทศรัษฎานุประดิษฐ์55
ตัวอย่างข้อมูลสารสนเทศรัษฎานุประดิษฐ์55ตัวอย่างข้อมูลสารสนเทศรัษฎานุประดิษฐ์55
ตัวอย่างข้อมูลสารสนเทศรัษฎานุประดิษฐ์55จุฑารัตน์ ใจบุญ
 

More from จุฑารัตน์ ใจบุญ (20)

Rattiyakorn 5 2 24
Rattiyakorn 5 2 24Rattiyakorn 5 2 24
Rattiyakorn 5 2 24
 
Tipsumon5 2 23
Tipsumon5 2 23Tipsumon5 2 23
Tipsumon5 2 23
 
Tipsumon5 2 23
Tipsumon5 2 23Tipsumon5 2 23
Tipsumon5 2 23
 
ตัวอย่างไวนิล
ตัวอย่างไวนิลตัวอย่างไวนิล
ตัวอย่างไวนิล
 
คู่มือการสร้าง Blog ด้วย wordpress
คู่มือการสร้าง Blog ด้วย wordpressคู่มือการสร้าง Blog ด้วย wordpress
คู่มือการสร้าง Blog ด้วย wordpress
 
คู่มือการสร้าง Blog ด้วย wordpress
คู่มือการสร้าง Blog ด้วย wordpressคู่มือการสร้าง Blog ด้วย wordpress
คู่มือการสร้าง Blog ด้วย wordpress
 
คู่มือการสร้าง Blog ด้วย wordpress
คู่มือการสร้าง Blog ด้วย wordpressคู่มือการสร้าง Blog ด้วย wordpress
คู่มือการสร้าง Blog ด้วย wordpress
 
ศุภชัย
ศุภชัยศุภชัย
ศุภชัย
 
คู่มือการสร้าง Blog ด้วย wordpress
คู่มือการสร้าง Blog ด้วย wordpressคู่มือการสร้าง Blog ด้วย wordpress
คู่มือการสร้าง Blog ด้วย wordpress
 
ตัวอย่างไวนิล
ตัวอย่างไวนิลตัวอย่างไวนิล
ตัวอย่างไวนิล
 
Doc1
Doc1Doc1
Doc1
 
แผ่นพับโครงงาน
แผ่นพับโครงงานแผ่นพับโครงงาน
แผ่นพับโครงงาน
 
ข้อมูลสารสนเทศรัษฎานุประดิษฐ์56
ข้อมูลสารสนเทศรัษฎานุประดิษฐ์56ข้อมูลสารสนเทศรัษฎานุประดิษฐ์56
ข้อมูลสารสนเทศรัษฎานุประดิษฐ์56
 
Ssr jum55
Ssr jum55Ssr jum55
Ssr jum55
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
2
22
2
 
1
11
1
 
ข้อมูลสารสนเทศรัษฎานุประดิษฐ์55
ข้อมูลสารสนเทศรัษฎานุประดิษฐ์55ข้อมูลสารสนเทศรัษฎานุประดิษฐ์55
ข้อมูลสารสนเทศรัษฎานุประดิษฐ์55
 
ตัวอย่างข้อมูลสารสนเทศรัษฎานุประดิษฐ์55
ตัวอย่างข้อมูลสารสนเทศรัษฎานุประดิษฐ์55ตัวอย่างข้อมูลสารสนเทศรัษฎานุประดิษฐ์55
ตัวอย่างข้อมูลสารสนเทศรัษฎานุประดิษฐ์55
 
Internetsearch
InternetsearchInternetsearch
Internetsearch
 

๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]

  • 3. ตัวอย่างโคลงสี่สุภาพ คาสร้อย เสียงลือเสียงเล่าอ้าง อันใด พี่เอย เสียงย่อมยอยศใคร ทั่วหล้า คาสร้อย สองเขือพี่หลับใหล ลืมตื่น ฤๅพี่ สองพี่คิดเองอ้า อย่าได้ถามเผือ ลิลิตพระลอ
  • 4. ตัวอย่างโคลงสี่สุภาพ คาสร้อย คาสร้อย
  • 5. ฉันทลักษณ์ โคลง คือ คำประพันธ์ซึ่งมีวิธีเรียงร้อยถ้อยคำเข้ำ คณะ มี ก ำหนดเอกโทและสั ม ผั ส โคลงมี ลั ก ษณะบั ง คั บ ๖ อย่ำง ได้แก่ - คณะ - พยำงค์ - สัมผัส - คำเอก คำโท - คำเป็น คำตำย - คำสร้อย
  • 6. ฉันทลักษณ์ คำ “สุภาพ” ในโคลงนั้น อำจำรย์กำชัย ทองหล่อ ได้ อธิบำยไว้ว่ำ มีควำมหมำยเป็น ๒ อย่ำง คือ ๑. หมำยถึงคำที่ไม่มีเครื่องหมำยวรรณยุกต์เอกโท (คือ คำธรรมดำที่ไม่กำหนดเอกโทจะมี หรือไม่มีก็ได้) ๒. หมำยถึงกำรบังคับคณะและสัมผัสอย่ำงเรียบ ๆ ไม่โลดโผน ลักษณะบังคับของโคลง มีดังนี้
  • 7. ฉันทลักษณ์ ๑. คณะ คื อ ข้ อ ก ำหนดเกี่ ย วกั บ รู ป แบบของค ำ ประพั น ธ์ แ ต่ ล ะชนิ ด ว่ ำ จะต้ อ งประกอบด้ ว ย ส่ ว นย่ อ ย ๆ อะไรบ้ำง คำที่เป็นลักษณะบังคับข้อนี้สำคัญมำก คำประพันธ์ทุก ชนิดจะต้องมีคณะ ถ้ำไม่มีก็ไม่เป็นคำประพันธ์ คณะที่เป็นสิ่งที่ ช่วยกำหนดรูปแบบของคำประพันธ์แต่ละชนิดให้เป็นระเบียบ เพื่อใช้เป็นหลักในกำรแต่งต่อไป
  • 8. ฉันทลักษณ์ ๒. พยางค์ คือเสียงที่เปล่งออกมำครั้งหนึ่ง ๆ บำงทีก็ มีควำมหมำย เช่น เมือง ไทย นี้ ดี บำงทีก็ไม่มีควำมหมำย แต่ เป็นส่วนหนึ่งของคำ เช่น ภิ ใน คา อภินิหาร ยุ ในคา ยุวชน กระ ในคา กระถาง เนื่องจำกคำไทยเรำแต่เดิมมีพยำงค์เดียวโดยมำก ฉะนั้น ในกำรแต่ ง ค ำประพั น ธ์ เ รำถื อ ว่ ำ พยำงค์ ก็ คื อ ค ำนั่ น เอง ในค ำ ประพันธ์ แต่ละชนิดมีกำรกำหนดพยำงค์ (คำ) ไว้ แน่นอน ว่ ำ วรรคหนึ่งมีกี่พยำงค์ (คำ)
  • 9. ฉันทลักษณ์ ๓. สัมผัส คือลักษณะที่บังคับให้ใช้คาคล้องจอง กั น สั ม ผั ส เป็ น ลั ก ษณะที่ ส ำคั ญ ที่ สุ ด ในค ำประพั น ธ์ ข องไทย คำประพันธ์ทุกชนิดจำเป็นต้องมีสัมผัสสระและสัมผัสพยัญชนะ
  • 10. ฉันทลักษณ์ ๔. ค าเอก ค าโท หม ำ ยถึ ง พย ำ งค์ ที่ บั ง คั บด้ ว ย รู ป วรรณยุ ก ต์ เ อก และรู ป วรรณยุ ก ต์ โ ท ส ำหรั บ ใช้ กั บ ค ำประพั น ธ์ ประเภทโคลงเท่ำนั้น มีข้อกำหนดดังนี้ คาเอก ได้แก่ พยำงค์ที่มีไม้เอกบังคับทั้งหมด เช่น จ่า ปี่ ขี่ ส่อ น่า คี่ และพยำงค์ที่เป็นคำตำยทั้งหมดจะมีเสียงวรรณยุกต์ใดก็ได้ เช่น กาก บอก มาก โชค คิด รัก
  • 11. ฉันทลักษณ์ คาตาย สะกดด้วยแม่ กก กบ กด กก ก ข ค ฆ คร ปาก เลข สามัคคี เมฆ สมัคร กบ บ ป ฟ ภ จบ บาป กราฟ ยีราฟ ลาภ กด ด ต ช ฐ ถ ท ธ ฑ ฒ ส ศ ษ ซจ มด ชาติ ราช รัฐ รถ บาท อาวุธ ครุฑ วัฒนะ โอกาส อากาศ เศษ อนาถ ปัจจัย สุวัจน์
  • 12. ฉันทลักษณ์ คาเอกโทษ คือคำที่ไม่เคยใช้ไม้เอกแต่เอำมำแปลงใช้โดย เปลี่ ย นวรรณยุ ก ต์ เป็ น เอกเพื่ อ ให้ ไ ด้ เ สี ย งตำมบั ง คั บ เช่ น เสี้ ย ม เปลี่ยนเป็น เซี่ยม, สร้าง เปลี่ยนเป็น ซ่าง คำเช่นนี้ อนุโลมให้เป็น คำเอกได้ คาโท ได้แก่พยำงค์ที่มีไม้โทบังคับทั้งหมด เช่น ถ้า ป้า น้า น้อย ป้อม ยิ้ม
  • 13. ฉันทลักษณ์ คาโทโทษ คือคำที่ไม่เคยใช้ไม้โท แต่เอำแปลงใช้โดย เปลี่ยนวรรณยุกต์เป็นโท เพื่อได้เสียงโทตำมบังคับ เช่น เล่น เปลี่ยนเป็น เหล้น, ช่วย เปลี่ยนเป็น ฉ้วย คำเช่นนี้อนุโลมให้เป็นคำโทได้
  • 14. ฉันทลักษณ์ ๕. คาเป็น คาตาย คาเป็น ได้แก่พยำงค์ที่ผสมด้วยสระเสียงยำวในมำตรำ แม่ ก กำ เช่น มำ ขี่ ถือ เมีย กับพยำงค์ที่ผสมด้วยสระ อำ ไอ ใอ เอำ เช่น ทำ ไป ไม่ เขำ และพยำงค์ที่สะกดด้วย มำตรำแม่ กง กน กม เกย เกอว เช่น สั่ง ถ่ำน ล้ม ตำย เร็ว อิ อุ เอะ แอะ โอะ อึ เออะ เอำะ อะ อี อู เอ แอ โอ อือ เออ ออ อำ เอีย เอือ อัว
  • 15. ฉันทลักษณ์ คำเป็น คำตำย ๑. แม่ ก กา เสียงยาว ๑. แม่ ก กา เสียงสัน ้ นี่ คือ ตูด เกย์ เคย โดน แต่ ว่า ชอบ ๒. มาตาราเสียงตัวสะกด กบด อี อือ อู เอ เออ โอ แอ อา ออ กก สุก เลข สามัคคี เมฆ สมัคร เมีย เบื่อ ผัว กบ พบ บาป ลาภ ภพ เอีย เอือ อัว กด ด ต ช ซ ส ษ ศ ท ธ ฑ ธ ฒ จ ถ ฐ ๒. มาตาราเสียงตัวสะกด นมยวง ฎฏ กน กม เกย เกอว กง สัญญาณ กาฬ มาร ชม สวย ลาว มอง อิ อุ เอะ แอะ โอะ อึ เออะ เอำะ อะ อี อู เอ แอ โอ อือ เออ ออ อำ เอีย เอือ อัว
  • 16. ฉันทลักษณ์ ๕. คาเป็น คาตาย ค าตาย ได้ แ ก่ พ ยำงค์ ที่ ผ สมด้ ว ยสระเสี ย งสั้ น ใน มำตรำแม่ ก กำ เช่น จะ ติ และพยำงค์ที่สะกดด้วยมำตรำ แม่ กก กด กบ เช่น ปัก นาค คิด มือ เก็บ สาป คำตำย นี้ใช้แทนคำเอกในโคลงได้
  • 17. ฉันทลักษณ์ ๖. คาสร้อย คือคำที่ใช้เติมลงท้ำยวรรค ท้ำยบำท หรือท้ำยบท เพื่อควำม ไพเรำะหรือเพื่อให้ครบจำนวนคำตำมลักษณะบังคับ บำงแห่งก็ใช้เป็น คำถำม หรือใช้ย้ำควำม คำสร้อยนี้ใช้เฉพำะในโคลงและร่ำย และ มักจะเป็นคำเป็น เช่น แลนา พี่เอย ฤๅพี่ ฤๅพ่อ แม่แล น้องเฮย หนึ่งรา
  • 18. ฉันทลักษณ์ กฎ : ๑. คณะ มีดังนี้ - โคลงสี่สุภำพบทหนึ่งมี ๔ บำท - บำทหนึ่งมี ๒ วรรค คือวรรคหน้ำกับวรรคหลัง - วรรคหน้ำของทุกบำทมีวรรคละ ๕ คำ - วรรคหลังของบำทที่ ๑, ๒ และ ๓ มีวรรคละ ๒ คำ ส่วนของบำทที่ ๔ มี ๔ คำ - รวมโคลงสี่สุภำพ บทหนึ่งมี ๓๐ คำ
  • 19. ฉันทลักษณ์ กฎ : ๒. สัมผัส มีดังนี้ คำที่ ๗ ของบำทที่ ๑ สัมผัสกับคำที่ ๕ ของบำทที่ ๒ และ ๓ คำที่ ๗ ของบำทที่ ๒ สัมผัสกับคำที่ ๕ ของบำทที่ ๔ ถ้ำจะให้โคลงที่แต่งไพเรำะยิ่งขึ้น ควรมีสัมผัสใน และ สัมผัสอักษรระหว่ำงวรรคด้วย กล่ำวคือ ควรให้คำสุดท้ำยของวรรคหน้ำ สัมผัสอักษรกับ คำหน้ำของวรรคหลัง จำกตัวอย่ำงในโคลงได้แก่คำ “อ้าง” กับ “อัน” “ใหล” กับ “ลืม”
  • 20. ฉันทลักษณ์ กฎ : ๓. คาเอกคาโทและคาเป็นคาตาย มีดังนี้ ๑. บังคับคำเอก ๗ แห่ง และคำโท ๔ แห่ง ตำมตำแหน่งที่ เขียนไว้ในแผนผังภูมิ ๒. ตำแหน่งคำเอกและโท ในบำทที่ ๑ อำจสลับที่กันได้ คือ นำคำเอกไปไว้ในคำที่ ๕ และนำคำโทมำไว้ในคำที่ ๔
  • 21. ฉันทลักษณ์ กฎ : ๓. คาเอกคาโทและคาเป็นคาตาย มีดังนี้ ๓. คำที่ ๗ ของบำทที่ ๑ และคำที่ ๕ ของบำทที่ ๒ และ ๓ ห้ำมใช้คำที่มีรูปวรรณยุกต์ ๔. ห้ำมใช้คำตำยที่ผันด้วยวรรณยุกต์โท ในตำแหน่งโท
  • 22. ฉันทลักษณ์ กฎ : ๓. คาเอกคาโทและคาเป็นคาตาย มีดังนี้ ๕. ค ำสุ ด ท้ ำ ยของบท ห้ ำ มใช้ ค ำตำย และค ำที่ มี รู ป วรรณยุกต์ และเสียงที่นิยมกันว่ำไพเรำะ คือเสียงจัตวำไม่มีรูป หรือ จะใช้เสียงสำมัญก็ได้เพรำะเป็นคำจบ จะต้องอ่ำนเอื้อนเสียงยำว
  • 23. เสียงลือเสียงเล่าอ้าง อันใด พี่เอย เสียงย่อมยอยศใคร ทั่วหล้า สองเขือพี่หลับใหล ลืมตื่น ฤๅพี่ สองพี่คิดเองอ้า อย่าได้ถามเผือ (ลิลตพระลอ) ิ