SlideShare a Scribd company logo
1 of 66
Download to read offline
12



                                          บทที่ 2

                            เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

         ในการพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสังคม
( STS ) เรื่อง บรรยากาศ เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดแก้ปัญหา สาหรับนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ผู้ศึกษาค้นคว้าเอกสารและงานวิ จัยที่เกี่ยวข้อง ซึ่งนามาเสนอรายละเอียด
เป็นลาดับ ดังต่อไปนี้

เอกสารที่เกี่ยวข้อง
       1. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
              1.1 มาตรฐานการเรียนรู้
              1.2 มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
              1.3 โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์
              1.4 กระบวนการเรียนรู้
       2. แนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสังคม ( STS )
              2.1 ความหมายของการสอนตามแนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสังคม ( STS )
              2.2 ความเป็นมาและแนวคิด วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสังคม ( STS )
              2.3 เป้าหมายของการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสังคม
              2.4 ลักษณะของการสอนตามแนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสังคม ( STS )
              2.5 การสอนตามแนวคิด วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสังคม ( STS )
       3. ชุดกิจกรรมกระบวนการการเรียนรู้
              3.1 ความหมายของชุดกิจกรรมการเรียนรู้
              3.2 แนวคิดที่เกี่ยวข้องกับชุดกิจกรรมการเรียนรู้
              3.3 ประเภทของชุดกิจกรรมการเรียนรู้
              3.4 องค์ประกอบของชุดกิจกรรมการเรียนรู้
              3.5 ขั้นตอนการสร้างชุดกิจกรรมการเรียนรู้
              3.6 การหาประสิทธิภาพชุดกิจกรรมการเรียนรู้
              3.7 ประโยชน์ของชุดกิจกรรมการเรียนรู้
13



          4. ความสามารถในการคิดแก้ปัญหา
              4.1 ความหมายของความสามารถในการคิดแก้ปัญหา
              4.2 ประเภทของปัญหา
              4.3 กรอบการคิด
              4.4 ความสาคัญของการคิดแก้ปัญหา
              4.5 กระบวนการคิดแก้ปัญหา
              4.6 การเรียนการสอนกับความสามารถในการแก้ปัญหา
              4.7 ลักษณะของบุคคลที่มีความสามารถในการแก้ปัญหา
              4.8 การวัดความสามารถในการคิดแก้ปัญหา
          5. ทฤษฎีและหลักการเกี่ยวกับความพึงพอใจ
              5.1 ความหมายของความพึงพอใจ
              5.2 ทฤษฎีสาหรับการสร้างความพึงพอใจ
              5.3 องค์ประกอบความพึงพอใจ
              5.4 การวัดความพึงพอใจ
          6. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
              6.1 งานวิจัยในประเทศ
              6.2 งานวิจัยต่างประเทศ

1. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
          1.1 มาตรฐานการเรียนรู้
            มาตรฐานการเรียนรู้การศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
(สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา, 2551. หน้า 3 - 5 )
            สาระที่ 1 สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดารงชีวิต
                       มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง
และหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสิ่ งมี ชีวิตที่ทางานสัม พันธ์กัน มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้
สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ในการดารงชีวิตของตนเองและดูแลสิ่งมีชีวิต
                       มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจกระบวนการและความสาคัญของการถ่ายทอดลักษณะ
ทางพันธุกรรม วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพ การใช้เทคโนโลยีชีวภาพที่มี
ผลกระทบต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่
เรียนรู้ และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์
14



          สาระที่ 2 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
                  มาตรฐาน ว 2.1 เข้ า ใจสิ่ ง แวดล้ อ มในท้ อ งถิ่ น ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า ง
สิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชี วิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศ มีกระบวนการสืบ
เสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์
                 มาตรฐาน ว 2.2 เข้ า ใจความส าคั ญ ของทรั พ ยากรธรรมชาติ การใช้
ทรัพยากรธรรมชาติในระดับท้องถิ่น ประเทศ และโลก นาความรู้ไปใช้ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นอย่างยั่งยืน
          สาระที่ 3 สารและสมบัติของสาร
                   มาตรฐาน ว 3.1 เข้าใจสมบัติของสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับ
โครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์
สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ นาความรู้ไปใช้ประโยชน์
                       มาตรฐาน ว 3.2 เข้าใจหลักการและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของ
สารการเกิดสารละลาย การเกิดปฏิกิริยา มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์
สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์
           สาระที่ 4 แรงและการเคลื่อนที่
                  มาตรฐาน ว 4.1 เข้าใจธรรมชาติของแรงแม่ เหล็กไฟฟ้า แรงโน้ม ถ่วง และ
แรงนิวเคลียร์ มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์
อย่างถูกต้องและมีคุณธรรม
                  มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจลักษณะการเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ ของวัตถุในธรรมชาติ
มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้จิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์
          สาระที่ 5 พลังงาน
                  มาตรฐาน ว 5.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดารงชีวิต
การเปลี่ ยนรูปพลั งงาน ปฏิสั มพันธ์ ระหว่างสารและพลังงาน ผลของการใช้ พลังงานต่อชี วิต และ
สิ่งแวดล้อม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์
15



          สาระที่ 6 กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก
                   มาตรฐาน ว 6.1 เข้าใจกระบวนการต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นบนผิวโลกและภายในโลก
ความสัมพันธ์ของกระบวนการต่าง ๆ ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ภูมิประเทศ และสัณฐาน
ของโลก มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนาความรู้ไปใช้
ประโยชน์
          สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
                 มาตรฐาน ว 7.1 เข้ าใจวิ วั ฒ นาการของระบบสุ ริ ยะ กาแล็ กซี่ และเอกภพ
การปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริ ยะและผลต่อสิ่งมีชีวิตบนโลก มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และ
จิตวิทยาศาสตร์ การสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์
                 มาตรฐาน ว 7.2 เข้าใจความสาคัญของเทคโนโลยีอวกาศที่นามาใช้ในการ
สารวจอวกาศและทรัพยากรธรรมชาติ ด้านการเกษตรและการสื่อสาร มีกระบวนการสืบเสาะหา
ความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์อย่างมีคุณธรรมต่อชีวิต
และสิ่งแวดล้อม
          สาระที่ 8 ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
                มาตรฐาน ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบ
เสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน
สามารถอธิ บายและตรวจสอบได้ ภายใต้ ข้ อมู ลและเครื่ องมื อที่ มี อยู่ ในช่ วงเวลานั้ น ๆ เข้ าใจว่ า
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
          1.2 มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง ชั้นมัธยมศึกษา
                  ปีที่ 1
ตาราง 1 แสดงมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
               ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
      มาตรฐานการเรียนรู้                                                   สาระการเรียนรู้แกนกลาง
                                                    ตัวชี้วัด
            ( ชั้น ม.1 )                                                   ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
มาตรฐาน ว 1.1 เข้ า ใจ 1.สั ง เกตและอธิ บ ายรู ป ร่ า ง - เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
หน่ ว ยพื้ น ฐานของสิ่ ง มี ชี วิ ต ลักษณะของเซลล์ของสิ่งมีชีวิต และเซลล์ ข องสิ่ ง มี ชี วิ ต หลาย
ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง            เ ซ ล ล์ เ ดี ย ว แ ล ะ เ ซ ล ล์ ข อ ง เซลล์ เช่น เซลล์พืช และเซลล์
                                    สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์
16


  ตาราง 1 ( ต่อ)

     มาตรฐานการ                                       สาระการเรียนรู้แกนกลาง
            เรียนรู้               ตัวชี้วัด          ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
       ( ชั้น ม.1 )
แ ล ะ ห น้ า ที่ ข อ ง       2.สั ง เ ก ต แ ล ะ       สัตว์มีรูปร่าง ลักษณะแตกต่างกัน
ระบบต่ า งๆ ของ              เ ป รี ย บ เ ที ย บ      -       นิวเคลียส ไซโทพลาสซึม และเยื่อหุ้มเซลล์เป็น
สิ่ ง มี ชี วิ ต ที่ ทางาน   ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ       ส่วนประกอบสาคัญของเซลล์ที่เหมือนกันของเซลล์พืชและ
สั ม พั น ธ์ กั น มี         ส าคั ญ ของเซลล์         เซลล์สัตว์
กระบวนการสื บ                พืชและเซลล์สัตว์         - ผนังเซลล์และคลอโรพลาสต์ เป็นส่วนประกอบ ที่พบ
เ ส า ะ ห า ค ว า ม รู้                               ได้ในเซลล์พืช
สื่ อสารสิ่ งที่ เรี ยนรู้
และนาความรู้ไปใช้
ในการด ารงชี วิ ต
ของตนเองและดูแล
สิ่งมีชีวิต
                             3 .ท ด ล อ ง แ ล ะ       - นิวเคลียส ไซโทพลาซึม เยื่อหุ้มเซลล์ แวคิวโอล เป็น
                             อธิ บ ายหน้ า ที่ ข อง   ส่วนประกอบที่สาคัญของเซลล์สัตว์ มีหน้าที่แตกต่าง
                             ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ที่   กัน
                             ส าคั ญ ของเซลล์         - นิวเคลียส ไซโทพลาซึม เยื่อหุ้มเซลล์ แวคิวโอล
                             พืชและเซลล์สัตว์         ผนังเซลล์ และคลอโรพลาสต์ เป็นส่วนประกอบที่สาคัญ
                                                      ของเซลล์พืช มีหน้าที่แตกต่างกัน
                             4. ทดลองและ              - การแพร่เป็นการเคลื่อนที่ของสารจากบริเวณที่มี
                             อ ธิ บ า ย               ความเข้มข้นสูงไปสู่บริเวณที่มีความเข้มข้นต่า
                             กระบวนการสาร             - ออสโมซิสเป็น การเคลื่อนที่ของน้าผ่านเข้าและออกจาก
                             ผ่านเซลล์ โดยการ         เซลล์ จากบริเวณที่มีความเข้มข้นของ
                             แพร่และออสโมซิส

ตาราง 1 ( ต่อ )
    มาตรฐานการเรียนรู้                                                     สาระการเรียนรู้แกนกลาง
                                                        ตัวชี้วัด
        ( ชั้น ม.1 )                                                       ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
17



                                                               สารละลายต่าไปสู่บริเวณที่มี
                                                               ความเข้ มข้ นของสารละลายสู ง
                                                               โดยผ่านเยื่อเลือกผ่าน
                         5. ทดลองหาปัจจัยบาง                   -         แสง คลอโรฟิ ลล์ แก๊ ส
                         ประการ ที่จาเป็นต่อการ                คาร์บอนไดออกไซด์ และน้า เป็น
                         สังเคราะห์ด้วยแสงของพืช               ปัจจัยที่จาเป็นต่อกระบวนการ
                         และอธิบายว่าแสง                       สังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
                         คลอโรฟิลล์ แก๊ส
                         คาร์บอนไดออกไซด์ น้า เป็น
                         ปัจจัยที่จาเป็นต้องใช้ในการ
                         สังเคราะห์ด้วยแสง
                         6. ทดลองและอธิบายผลที่ได้ - น้าตาล แก๊สออกซิเจนและ
                         จากการสั ง เคราะห์ ด้ ว ยแสง น้ าเป็ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ ไ ด้ จ าก
                         ของพืช                                   กระบวนการสั ง เคราะห์ ด้ ว ย
                                                                  แสงของพืช
                         7. อธิบายความสาคัญของ - กระบวนการสังเคราะห์ ด้วย
                         กระบวนการสั ง เคราะห์ ด้ ว ย แสงมี ค วามส าคั ญ ต่ อ การ
                         แสงของพื ช ต่ อ สิ่ ง มี ชี วิ ต และ ดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตและต่อ
                         สิ่งแวดล้อม                              สิ่งแวดล้อมในด้านอาหาร การ
                                                                  หมุ น เวี ย นของแก๊ ส ออกซิ เ จน
                                                                  และแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
                         8. ทดลองและอธิบายกลุ่ม - เนื้อเยื่อลาเลียงน้าเป็นกลุ่ม
                         เ ซ ล ล์ ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง กั บ ก า ร เซลล์ เ ฉพาะเรี ยงต่ อเนื่ องกั น
                         ลาเลียงน้าของพืช                         ตั้งแต่ราก ลาต้น จนถึ งใบ ท า
                                                                  หน้าที่ในการลาเลียงน้าและธาตุ
                                                                  อาหาร

ตาราง 1 ( ต่อ )
    มาตรฐานการเรียนรู้                                         สาระการเรียนรู้แกนกลาง
                                      ตัวชี้วัด
        ( ชั้น ม.1 )                                           ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
18



                         9.         สั ง เกตและอธิ บ าย -           เนื้อเยื่อลาเลี ยงน้าและ
                         โครงสร้ า งที่ เ กี่ ย วกั บ ระบบ เนื้ อ เยื่ อ ล าเลี ย งอาหารเป็ น
                         ลาเลียงน้าและอาหารของพืช กลุ่มเซลล์ที่อยู่คู่ขนานกันเป็น
                                                           ท่อลาเลียง จากราก ลาต้นถึง
                                                           ใบ ซึ่ ง การจั ด เรี ยงตัว ของท่ อ
                                                           ลาเลียงในพืชใบเลี้ยงเดี่ยวและ
                                                           พืชใบเลี้ยงคู่จะแตกต่างกัน
                                                           -เนื้อเยื่อลาเลียงน้า ทาหน้าที่ใน
                                                           การลาเลียงน้าและธาตุอาหารจาก
                                                           รากสู่ใบ ส่วนเนื้ อเยื่อลาเลียง
                                                           อาหารท าหน้ าที่ ล าเลี ยงอาหาร
                                                           จากใบสู่ส่วนต่างๆ ของพืช
                                                           - การคายน้ามีส่วนช่วยในการ
                                                           ลาเลียงน้าของพืช
                          10. ทดลองและอธิ บ าย - เกสรเพศผู้และเกสรเพศเมีย
                         โครงสร้างของดอกที่เกี่ยวข้อง เป็ น โครงสร้ า งที่ ใ ช้ ใ นการ
                         กับการสืบพันธุ์ของพืช             สืบพันธุ์ของพืชดอก
                          11. อธิบายกระบวนการ - กระบวนการสืบพันธุ์แบบ
                         สืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช อาศัยเพศของพืชดอกเป็นการ
                         ดอกและการสื บ พั น ธุ์ แ บบไม่ ปฏิสนธิ ระหว่า งเซลล์ สืบพันธุ์
                         อาศัยเพศของพืช โดยใช้ ส่วน เพศผู้และเซลล์ไข่ในออวุล
                         ต่าง ๆ ของพืชเพื่อช่วยในการ - การแตกหน่อ การเกิดไหล
                         ขยายพันธุ์                        เป็นการสืบพันธุ์ของพืชแบบไม่
                                                           อาศัยเพศ โดยไม่มีการปฏิสนธิ
                                                           - ราก ลาต้น ใบ และกิ่งของพืช
                                                           สามารถนาไปใช้ขยายพันธุ์พืช

ตาราง 1 ( ต่อ )
    มาตรฐานการเรียนรู้                                      สาระการเรียนรู้แกนกลาง
                                     ตัวชี้วัด
        ( ชั้น ม.1 )                                        ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
19



                                         12. ทดลองและอธิบายการ -                  พืชตอบสนองต่อสิ่ง เร้า
                                        ตอบสนองของพืช ต่ อแสง น้ า ภายนอกโดยสังเกตได้จากการ
                                        และการสัมผัส                  เคลื่ อ นไหวของส่ ว นประกอบ
                                                                      ของพื ช ที่ มี ต่ อ แสง น้ า และ
                                                                      การสัมผัส
                                         13. อธิบายหลักการและผล - เทคโนโลยีชีวภาพ เป็นการ
                                        ของการใช้เทคโนโลยี ชีวภาพ ใ ช้ เ ท ค โ น โ ล ยี เ พื่ อ ท า ใ ห้
                                        ในการขยายพั น ธุ์ ปรั บ ปรุ ง สิ่ ง มี ชี วิ ต หรื อ องค์ ป ระกอบ
                                        พันธุ์ เพิ่มผลผลิตของพืชและ ของ สิ่ ง มี ชี วิ ต มี ส มบั ติ ต าม
                                        นาความรู้ไปใช้ประโยชน์        ต้องการ
                                                                      - การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช
                                                                      พันธุวิศวกรรม เป็น
                                                                      เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ใน
                                                                      การขยายพันธุ์ ปรับปรุง
                                                                      พันธุ์ และเพิ่มผลผลิต
                                                                      ของพืช
มาตรฐาน ว 3.1 เข้าใจ                    1. ทดลองและจาแนกสารเป็น - เมื่ อใช้ เนื้อสารเป็นเกณฑ์
สมบัติของสาร ความสัมพันธ์               กลุ่มโดยใช้เนื้อสารหรือขนาด จ าแนกสารเป็ น สารเนื้ อเดี ย ว
ระหว่างสมบัติของสารกับ                  อนุภาคเป็นเกณฑ์ และอธิบาย และสารเนื้อผสมซึ่ งสารแต่ละ
โครงสร้ า งและแรงยึ ด เหนี่ ย ว         สมบัติของสารในแต่ละกลุ่ม      กลุ่มจะมีสมบัติแตกต่างกัน
ระหว่างอนุภาค มี กระบวนการ                                             - เมื่อใช้ขนาดอนุภาคของ สาร
สื บ เ ส า ะ ห า ค ว า ม รู้ แ ล ะ                                    เป็นเกณฑ์ จาแนก สารเป็นสาร
จิ ต วิ ทยาศาสตร์ สื่ อ สารสิ่ ง ที่                                  แขวนลอย คอลลอยด์ และ
เ รี ย น รู้ น า ค ว า ม รู้ ไ ป ใ ช้                                 สารละลาย ซึ่งสาร แต่ละกลุ่มจะ
ประโยชน์                                                              มีสมบัติแตกต่างกัน


ตาราง 1 ( ต่อ )
    มาตรฐานการเรียนรู้                                                   สาระการเรียนรู้แกนกลาง
                                                   ตัวชี้วัด
        ( ชั้น ม.1 )                                                     ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
20



                         2. อธิบายสมบัติและการ      - สี รูปร่าง ขนาด ความแข็ง
                            เปลี่ยนสถานะของสาร      ความหนาแน่น จุดเดือด จุด
                           โดยใช้แบบจาลองการ        หลอมเหลว เป็นสมบัติทาง
                           จัดเรียงอนุภาคของสาร     กายภาพของสาร ความเป็น
                                                    กรด- เบส ความสามารถใน
                                                    การรวมตัวกับสารอื่น ๆ การ
                                                    แยกสลายของสารและการเผา
                                                    ไหม้ เป็นสมบัติทางเคมี
                                                    - สารในสถานะต่าง ๆ มี
                                                    ลักษณะการจัดเรียง อนุภาค
                                                    ระยะห่างระหว่างอนุภาค และ
                                                    แรงยึดเหนี่ยวระหว่าง อนุภาค
                                                    แตกต่างกัน ซึ่งสามารถใช้
                                                    แบบจาลองการจัดเรียง
                                                    อนุภาคของสารอธิบายสมบัติ
                                                    บางประการของสารได้
                         3. ทดลองและอธิบายสมบัติ    -สารละลายที่มีน้าเป็นตัวทา
                            ความเป็นกรด เบส ของ     ละลาย อาจจะมีสมบัติเป็น
                            สารละลาย                กรด กลาง หรือเบส ซึ่ง
                                                    สามารถทดสอบได้ด้วย
                                                    กระดาษลิตมัส
                                                    หรืออินดิเคเตอร์
                         4. ตรวจสอบค่า pH ของ       - ความเป็นกรด - เบสของ
                             สารละลายและนาความรู้   สารละลายระบุเป็นค่า pH ซึ่ง
                            ไปใช้ประโยชน์           ตรวจสอบได้ด้วยเครื่องมือ
                                                    วัดค่า pH

ตาราง 1 ( ต่อ )
    มาตรฐานการเรียนรู้                              สาระการเรียนรู้แกนกลาง
                                   ตัวชี้วัด
        ( ชั้น ม.1 )                                ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
21



                                                                    หรือยูนิเวอร์ซัลอินดิเคเตอร์
                                                                    - ผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในชีวิต
                                                                    ประจาวันอาจมีความเป็นกรด
                                                                    เบสแตกต่างกัน จึงควรเลือกใช้
                                                                    ให้ถูกต้องปลอดภัยต่อตนเอง
                                                                    และสิ่งแวดล้อม
มาตรฐาน ว 3.2              เข้ าใจ   1. ทดลองและอธิบายวิธี          - ในชีวิตประจาวัน ได้มีการนา
หลักการและธรรมชาติของการ             เตรียมสารละลายที่มีความ        ความรู้ เ รื่ อ งสารละลายไปใช้
เปลี่ยนแปลงสถานะของสาร               เข้มข้นเป็นร้อยละ และ          ประโยชน์ทางด้านการเกษตร
การเกิดสารละลาย การ                  อภิปรายนาความรู้เกี่ยวกับ      อุตสาหกรรมอาหาร การแพทย์
เกิดปฏิกิริยา มีกระบวนการ            สารละลายไปใช้ประโยชน์          และด้านอื่น ๆ
สืบเสาะ หาความรู้และจิตวิทยา
ศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้
และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์
                                     2.ทดลอง และอธิ บ ายกา ร     -       เมื่อสารเกิดการเปลี่ยน
                                     เปลี่ยนแปลงสมบัติ มวลและ    สถานะและเกิ ด การละลาย
                                     พลั ง งานของสาร เมื่ อ สาร  มวลของสารจะไม่เปลี่ยนแปลง
                                     เปลี่ ย นสถานะและเกิ ด การ  แ ต่ ส ม บั ติ ท า ง ก า ย ภ า พ
                                     ละลาย                       เปลี่ยนแปลง รวมทั้งมีการถ่าย
                                                                 โอนพลังงานระหว่างระบบกับ
                                                                 สิ่งแวดล้อม
                                     3.ทดลองและอธิบายปัจจัยที่มี - อุณหภูมิ ความดัน ชนิดของ
                                     ผลต่อการเปลี่ยนสถานะ และ สารมีผลต่อการเปลี่ยนสถานะ
                                     การละลายของสาร              และการละลายของสาร




ตาราง 1 ( ต่อ )
    มาตรฐานการเรียนรู้                                              สาระการเรียนรู้แกนกลาง
                                                ตัวชี้วัด
        ( ชั้น ม.1 )                                                ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
22



มาตรฐาน ว 4.1 เข้าใจ              1. สืบค้นข้อมูล และอธิบาย        -ปริมาณทางกายภาพแบ่งเป็น
ธรรมชาติของแรงแม่เหล็ก               ปริมาณสเกลาร์ ปริมาณ          ปริม าณ สเกลาร์และปริม าณ
ไฟฟ้ า แรงโน้ ม ถ่ ว ง และแรง        เวกเตอร์                      เวกเตอร์ ปริมาณ สเกลาร์เป็น
นิ ว เคลี ย ร์ มี ก ระบวนการสื บ                                   ปริม าณที่มี แต่ขนาด ปริม าณ
เสาะหาความรู้ สื่ อ สารสิ่ ง ที่                                   เวกเตอร์เป็นปริมาณที่มีทั้งขนาด
เรี ย นรู้ แ ละน าความรู้ ไ ปใช้                                   และทิศทาง
ประโยชน์ อ ย่ า งถู ก ต้ อ งและมี
คุณธรรม
                                  2 . ท ด ล อ ง แ ล ะ อ ธิ บ า ย
                                                          - ก า ร เ ค ลื่ อ น ที่ ข อ ง วั ต ถุ
                                  ระยะทาง การกระจัด อัตราเร็ว
                                                          เกี่ ย วข้ อ งกั บ ระยะทาง การ
                                  และ ความเร็ว ในการเคลื่อนที่
                                                          กระจั ด อั ต ราเร็ ว ความเร็ ว
                                  ของวัตถุ                ระยะทาง คือ ความยาวที่วัด
                                                          ตามแนวทางการเคลื่อนที่ของ
                                                          วัตถุจากตาแหน่งเริ่มต้นไปยัง
                                                          ต าแหน่ ง สุ ด ท้ า ย การกระจั ด
                                                          คื อ เวกเตอร์ ที่ ชี้ ต าแหน่ ง
                                                          สุ ด ท้ า ย ขอ ง วั ต ถุ เ ที ย บ กั บ
                                                          ตาแหน่งเริ่มต้น อัตราเร็ว คือ
                                                          ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ใน
                                                          หนึ่ง หน่วยเวลา ความเร็ว คือ
                                                          การกระจั ด ของวั ต ถุ ใ นหนึ่ ง
                                                          หน่วยเวลา
มาตรฐาน ว 5.1 เข้าใจ       1 . ท ด ล อ ง แ ล ะ อ ธิ บ า ย -การวั ด อุ ณ หภู มิ เ ป็ น การวั ด
ความสัมพันธ์ระหว่างพลังงาน อุณหภูมิและการวัดอุณหภูมิ ระดั บ ค วามร้ อน ของ สา ร
กับการดารงชีวิต การเปลี่ยน                                สามารถวัดด้วย เทอร์มอมิเตอร์
รูปพลังงาน ปฏิสัมพันธ์

ตาราง 1 ( ต่อ )
    มาตรฐานการเรียนรู้                                             สาระการเรียนรู้แกนกลาง
                                             ตัวชี้วัด
        ( ชั้น ม.1 )                                               ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
23



ระหว่างสารและพลังงาน ผล
ของการใช้พลังงานต่อชีวิต
และสิ่งแวดล้อม มีกระบวน
การสืบเสาะหาความรู้ สื่อสาร
สิ่งที่เรียนรู้และนาความรู้ ไป
ใช้ประโยชน์
                                 2. สังเกตและอธิบายการถ่าย - การถ่ายโอนความร้อนมีสาม
                                    โอนความร้อน และนา         วิ ธี คื อ การน าความร้ อ น การ
                                    ความรู้ไปใช้ประโยชน์      พาความร้ อ นและการแผ่ รั ง สี
                                                              ความร้อน
                                                              - การน าความร้ อ น เป็ น การ
                                                              ถ่ายโอนความร้อนโดยการสั่น
                                                              ของโมเลกุล
                                                              - การพาความร้อน เป็นการถ่าย
                                                              โอนความร้ อนโดยโมเลกุ ลของ
                                                              สารเคลื่อนที่ไปด้วย
                                                              - การแผ่ รั ง สี ค วามร้ อ น เป็ น
                                                              การถ่ า ยโอนความร้ อ นจาก
                                                              คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
                                                              - การน าความรู้ เ รื่ อ งการถ่ า ย
                                                              โอนความร้อนไปใช้ประโยชน์
                                 3. อธิ บ ายการดู ด กลื น การ - วัตถุที่แตกต่างกันมี
                                 คายความร้อน โดยการแผ่รังสี สมบั ติ ใ นการดู ด กลื น ความ
                                 และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ร้ อ นและคายความร้ อ นได้
                                                              ต่างกัน


ตาราง 1 ( ต่อ )
    มาตรฐานการเรียนรู้                                           สาระการเรียนรูแกนกลาง
                                                                               ้
                                            ตัวชี้วัด
        ( ชั้น ม.1 )                                             ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
24



                                                               -ก า ร น า ค ว า ม รู้ เ รื่ อ ง ก า ร
                                                               ดูดกลืนความร้อนและการคาย
                                                               ความร้อนไปใช้ประโยชน์
                              อธิบายสมดุลความร้อน              -เมื่ อ วั ต ถุ ส องสิ่ ง อยู่ ใ นสมดุ ล
                              และผลของความร้อนต่อ การ          ค ว า ม ร้ อ น วั ต ถุ ทั้ ง ส อ ง มี
                              ขยายตั ว ของ สาร และน า          อุณหภูมิเท่ากัน
                              ความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวัน      การขยายตั ว ของวั ต ถุ เ ป็ น ผล
                                                               จากความร้ อ นที่ วั ต ถุ ไ ด้ รั บ
                                                               เพิ่มขึ้น
                                                               -ก า ร น า ค ว า ม รู้ เ รื่ อ ง ก า ร
                                                               ขยายตั ว ของวั ต ถุ เ มื่ อ ได้ รั บ
                                                               ความร้อนไปใช้ประโยชน์
มาตรฐาน ว 6.1 เข้าใจ          1 . สื บ ค้ น แ ล ะ อ ธิ บ า ย   -บ ร ร ย า ก า ศ ข อ ง โ ล ก
กระบวนการต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น   องค์ประกอบ และการ แบ่งชั้น       ประกอบด้ ว ยส่ ว นผสมของ
บนผิวโลกและภายในโลก           บรรยากาศที่ปกคลุมผิวโลก          แก๊สต่าง ๆ ที่อยู่รอบโลกสูงขึ้น
ความสัมพันธ์ของกระบวนการ                                       ไปจากพื้นผิวโลกหลายกิโลเมตร
ต่าง ๆ ที่มีผลต่อการ                                           -บรรยากาศแบ่ ง เป็ น ชั้ น ตาม
เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ภูมิ                                      อุณหภูมิและการเปลี่ยนแปลง
ประเทศ และสัณฐานของโลก                                         อุ ณ หภู มิ ต ามความสู ง จาก
มีกระบวนการสืบเสาะหา                                           พื้นดิน
ความรู้และจิตวิทยาศาสตร์
สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนา
ความรู้ไปใช้ประโยชน์
                              2 . ท ด ล อ ง แ ล ะ อ ธิ บ า ย - อุณหภูมิ ความชื้นและ
                              ความสัมพันธ์ระหว่าง อุณหภูมิ ความกดอากาศ มี ผ ลต่ อ
                              ความชื้นและความกดอากาศ ปรากฏการณ์ทางลมฟ้า

ตาราง 1 ( ต่อ )
    มาตรฐานการเรียนรู้                                         สาระการเรียนรู้แกนกลาง
                                         ตัวชี้วัด
        ( ชั้น ม.1 )                                           ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
25



                         ที่มีผลต่อปรากฏการณ์ทางลม           อากาศ
                         ฟ้าอากาศ
                         3. สั ง เกต วิ เ คราะห์ แ ละ        -ป ร า ก ฏ ก า ร ณ์ ท า ง ล ม ฟ้ า
                         อภิปรายการเกิดปรากฏการณ์            อากาศ ได้ แ ก่ การเกิ ด เมฆ
                         ทางลมฟ้ า อากาศที่ มี ผ ลต่ อ       ฝน พายุฟ้าคะนอง พายุหมุน
                         มนุษย์                              เขตร้อน ลมมรสุมฯลฯ



                         4. สืบค้น วิเคราะห์ และแปล -การพยากรณ์ อ ากาศอาศั ย
                         ความหมายข้ อ มู ล จากการ ข้อมูลเกี่ยวกับอุณหภูมิ ความ
                         พยากรณ์อากาศ                       กดอากาศ ความชื้น ปริมาณ
                                                            เมฆ ปริมาณน้าฝนและนามา
                                                            แปลความหมายเพื่ อใช้ในการ
                                                            ทานายสภาพอากาศ
                         5. สื บ ค้ น วิ เ คราะห์ และ -ส ภ า พ ล ม ฟ้ า อ า ก า ศ ที่
                         อธิ บ ายผลของลมฟ้ า อากาศ เปลี่ยนแปลงบนโลกทาให้เกิด
                         ต่อการดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิต พายุ ปรากฏการณ์เอลนิโญ
                         และ สิ่งแวดล้อม                    ล า นี ญ า ซึ่ ง ส่ ง ผ ล ต่ อ ก า ร
                                                            ด ารงชี วิ ต ของมนุ ษ ย์ และ
                                                            สิ่งแวดล้อม
                         6. สื บ ค้ น วิ เ คราะห์ และ - ปัจจัยทางธรรมชาติและการ
                         อธิ บ ายปั จ จั ย ทางธรรมชาติ กระทาของมนุษย์ เช่นภูเขาไฟ
                         และการกระทาของมนุษย์ที่มี ระเบิ ด การตั ด ไม้ ท าลายป่ า
                         ผ ล ต่ อ ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง การเผาไหม้ ข องเครื่ อ งยนต์
                         อุณหภูมิ ของโลก รูโหว่โอโซน และการปล่อยแก๊สเรือนกระจก
                         และฝนกรด                           มีผลทาให้เกิดภาวะโลกร้อน

ตาราง 1 ( ต่อ )
    มาตรฐานการเรียนรู้                                       สาระการเรียนรู้แกนกลาง
                                      ตัวชี้วัด
        ( ชั้น ม.1 )                                         ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
26



                                                                               รูโหว่ของชั้นโอโซน และฝนกรด
                                                                               -             ภาวะโลกร้ อ นคื อ
                                                                               ปรากฏการณ์ที่อุณหภูมิเฉลี่ย
                                                                               ของโลกสูงขึ้น
                                    7. สืบค้น วิเคราะห์และอธิบาย               -ภาวะโลกร้ อ นท าให้ เ กิ ด การ
                                    ผลของภาวะโลกร้ อ น รู โ หว่                ล ะ ล า ย ข อ ง ธ า ร น้ า แ ข็ ง
                                    โอโซน และฝนกรด ที่ มี ต่ อ                 ระดั บ น้ าทะเลสู ง ขึ้ น การกั ด
                                    สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม                  เซาะชายฝั่ ง เพิ่ ม ขึ้ น น้ าท่ ว ม
                                                                               ไฟป่ า ส่ ง ผลให้ สิ่ ง มี ชี วิ ต บาง
                                                                               ช นิ ด สู ญพั นธุ์ แ ล ะ ท า ใ ห้
                                                                               สิ่งแวดล้อมเปลี่ยนแปลงไป
                                                                               - รูโหว่โอโซน และฝนกรดมีผล
                                                                               ต่ อ ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ข อ ง
                                                                               สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
มาตรฐาน ว 8.1 ใช้                   1.ตั้งคาถามที่กาหนดประเด็น                 -
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์             หรื อ ตั ว แปรที่ ส าคั ญ ในการ
และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบ           ส ารวจตรวจสอบ หรื อ ศึ ก ษา
เสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา           ค้ น คว้ า เรื่ อ งที่ ส นใจได้ อ ย่ า ง
รู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ         ครอบคลุมและเชื่อถือได้
ที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบ ที่
แน่นอน สามารถอธิบายและ
ตรวจสอบได้ ภายใต้ข้อมูลและ
เครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้น
ๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี สังคม และ


ตาราง 1 ( ต่อ )
    มาตรฐานการเรียนรู้                                                         สาระการเรียนรู้แกนกลาง
                                                   ตัวชี้วัด
        ( ชั้น ม.1 )                                                           ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
27



สิ่งแวดล้อม มีความเกี่ยวข้อง   2.สร้ า งสมมติ ฐ านที่ ส ามารถ   -
สัมพันธ์กัน                    ตรวจสอบได้และวางแผนการ
                               สารวจ ตรวจสอบหลาย ๆ วิธี
                               3.เลือกเทคนิควิธีการสารวจ        -
                               ตรวจสอบทั้งเชิงปริมาณและ
                               เชิงคุณภาพที่ได้ผลเที่ยงตรง
                               และปลอดภัยโดยใช้วัสดุและ
                               เครื่องมือที่เหมาะสม
                               4. รวบรวมข้อมูล จัดกระทา         -
                               ข้อมูลเชิงปริมาณและคุณภาพ
                               5. วิเคราะห์และประเมิน           -
                               ความสอดคล้องของประจักษ์
                               พยานกับข้อสรุป ทั้งที่
                               สนับสนุนหรือขัดแย้งกับ
                               สมมติฐาน และความ
                               ผิดปกติของข้อมูลจากการ
                               สารวจตรวจสอบ
                               6.สร้างแบบจาลอง หรือ             -
                               รูปแบบ ที่อธิบายผลหรือ
                               แสดงผลของการสารวจ
                               ตรวจสอบ
                               7.สร้างคาถามที่นาไปสู่           -
                               การสารวจตรวจสอบ ใน
                               เรื่องที่เกี่ยวข้อง และนา
                               ความรู้ที่ได้ไปใช้ใน
                               สถานการณ์ใหม่หรืออธิบาย

ตาราง 1 ( ต่อ )
    มาตรฐานการเรียนรู้                                          สาระการเรียนรู้แกนกลาง
                                          ตัวชี้วัด
        ( ชั้น ม.1 )                                            ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
28



                           เกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการ
                           และผลของโครงงานหรือ
                           ชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ
                           บันทึกและอธิบายผล              -
                           การสังเกตการสารวจ
                           ตรวจสอบค้นคว้าเพิ่มเติมจาก
                           แหล่งความรู้ ต่าง ๆ ให้ได้
                           ข้อมูลที่เชื่อถือได้ และยอมรับ
                           การเปลี่ยนแปลงความรู้ท่ี
                           ค้นพบเมื่อมีข้อมูลและ
                           ประจักษ์พยานใหม่เพิ่มขึ้นหรือ
                           โต้แย้งจากเดิม
                           9.จัดแสดงผลงาน เขียน           -
                           รายงาน และ/หรืออธิบาย
                           เกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการ
                           และผลของ โครงงานหรือ
                           ชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ




        1.3 โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์

ตาราง 2 แสดงโครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
29



ลาดับ ชื่อหน่วย          มาตรฐานการ                   สาระสาคัญ          เวลา น้าหนัก
  ที่  การเรียนรู้      เรียนรู้ / ตัวชี้วัด      / ความคิดรวบยอด      (ชั่วโมง) คะแนน
1     สารและการ        ว 3.2 ม.1/1 ,         การเปลี่ยนสถานะ และ           10      17
      เปลี่ยนแปลง      ม.1/2 , ม.1/3 ,       การละลายของสาร เกิด
                                             จากอุณหภูมิ ความดัน
                                             ชนิดของสาร
                       ว 8.1 ม.1/1 ,         ซึ่งการเปลี่ยนสถานะของ
                       ม.1/2 , ม.1/3 ,       สารสามารถนาไปใช้
                       ม.1/4 , ม.1/5 ,       ประโยชน์ทางด้านการเกษตร
                       ม.1/6 , ม.1/7 ,       อุตสาหกรรมอาหาร
                       ม.1/8 , ม.1/9         การแพทย์ และด้านอื่น ๆ
2       แรงกับการ      ว 4.1 ม.1/1 ,         ปริมาณของแรงที่กระทาต่อ        7      12
        เคลื่อนที่     ม.1/2                 วัตถุจะบ่งบอกถึงขนาด
                       ว 8.1 ม.1/1 ,         หรือขนาดและทิศทาง
                       ม.1/2 , ม.1/3 ,       ส่วนการเคลื่อนที่ของวัตถุ
                       ม.1/4 , ม.1/5 ,       เกี่ยวข้องกับระยะทาง
                       ม.1/6 , ม.1/7 ,       การกระจัด อัตราเร็ว และ
                       ม.1/8 , ม.1/9         ความเร็ว



3       พลังงาน        ว 5.1 ม.1/1 ,          ความร้อนเป็นพลังงานรูป      14      23
        ความร้อน       ม.1/2 , ม.1/3 ,        หนึ่งที่สามารถถ่ายโอนใน
                       ม.1/4                  ลักษณะการนา การพา




ตาราง 2 ( ต่อ )
ลาดับ ชื่อหน่วย         มาตรฐานการ                   สาระสาคัญ            เวลา น้าหนัก
  ที่    การเรียนรู้   เรียนรู้ / ตัวชี้วัด      / ความคิดรวบยอด        (ชั่วโมง) คะแนน
30



                       ว 8.1 ม.1/1 ,      และการแผ่รังสี ซึ่งลักษณะ
                       ม.1/2 , ม.1/3 ,    ของวัตถุที่แตกต่างกัน
                       ม.1/4 , ม.1/5 ,    สามารถถ่ายโอนความร้อน
                       ม.1/6 , ม.1/7 ,    และดูดกลืน หรือคายความ
                       ม.1/8 , ม.1/9      ร้อนได้แตกต่างกัน จึงควร
                                          เลือกใช้วัตถุให้เหมาะสมกับ
                                          งาน
4       บรรยากาศ       ว 6.1 ม.1/1,       การแบ่งชั้นบรรยากาศ          24        40
                       ม.1/2 , ม.1/3 ,    ขึ้นอยู่กับอุณหภูมิโดย
                       ม.1/4 ,ม.1/5 ,     อุณหภูมิความชื้นและ
                       ม.1/6 , ม.1/7      ความกดอากาศมีผลต่อ
                                          ปรากฏการณ์ทางลมฟ้า
                                          อากาศ
                       ว 8.1 ม.1/1 ,      ซึ่งปรากฏการณ์ ต่าง ๆ บน
                       ม.1/2 , ม.1/3 ,    โลกที่ส่งผลต่อการ
                       ม.1/4 , ม.1/5 ,    ดารงชีวิตของมนุษย์ และ
                       ม.1/6 , ม.1/7 ,    สิ่งแวดล้อมเกิดจากการ
                       ม.1/8 , ม.1/9      กระทาของมนุษย์เป็น
                                          สาคัญ ดังนั้นทุกคนต้อง
                                          ช่วยกันดูแลสิ่งแวดล้อม
                                          เพื่อให้โลกกลับสู่สภาวะ
                                          ที่สมดุล
        ทบทวน / สรุปความรู้ / ทดสอบ                                    5         8
        รวมตลอดปี                                                      60       100




         1.4 กระบวนการเรียนรู้
         พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 (กรมวิชาการ, 2542, หน้า 53) มาตรา 22
ระบุว่า การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้และถือ
31



ว่าผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตาม
ธรรมชาติและตามศักยภาพ ในมาตรา 23 (2) เน้นการจัดการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตาม
อัธ ยาศั ย ให้ ค วามส าคั ญ ของการบู ร ณาการความรู้ คุณ ธรรม กระบวนการเรี ย นรู้ ตามความ
เหมาะสมของระดับการศึกษา ในส่วนของการเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์นั้นต้องให้เกิดทั้งความรู้
ทักษะและเจตคติด้านวิทยาศาสตร์ รวมทั้งความรู้ความเข้าใจและประสบการณ์ เรื่อง การ
จัดการ การบารุงรักษาและการใช้ป ระโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุล
และยั่งยืน
           ในส่วนของกระบวนการจัดการเรียนรู้ มาตรา 24 ของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
พ.ศ. 2542 ได้ระบุให้สถานศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดาเนินการดังนี้
               1.จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดขอผู้เรียน
โดยคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล
               2. ฝึกทักษะกระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ และการประยุกต์
ความรู้มาใช้เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหา
               3. จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกการปฏิบัติให้ทาได้ คิด
เป็น ทาเป็น รักการอ่าน และเกิดการใฝ่รู้อย่างต่อเนื่อง
               4. การจัดการเรียนการสอนโดยผสานสาระความรู้ด้านต่าง ๆ อย่างได้สัดส่วนสมดุล
กัน รวมทั้งปลูกฝังคุณธรรม ค่านิยมที่ดีงาม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ไว้ในทุกวิชา
               5.ส่ง เสริม สนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม สื่อการสอน
และอานวยความสะดวกเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และมีความรู้ รวมทั้งสามารถใช้การวิจัยเป็น
ส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้ ทั้งนี้ผู้สอนและผู้เรียนอาจเรียนรู้ไปพร้อม ๆ กันจากสื่อและแหล่ง
วิทยาการประเภทต่าง ๆ
               6. จัดการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นได้ทุกเวลาทุกสถานที่ มีการประสานความร่วมมือกับบิดา
มารดา ผู้ปกครองและบุคคลในชุมชนทุกฝ่าย ร่วมกันพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพ
           ในการจัดการเรียนการสอน ผู้สอนต้องศึกษาเป้าหมายและปรัชญาของการเรียนรู้ให้
เข้าใจอย่างถ่องแท้ ทาความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎีการเรียนรู้ต่าง ๆ ตลอดจนกระบวนการ
เรียนการสอนที่เน้นกระบวนการและผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด แล้วพิจารณาเลือกนาไปออกแบบ
กิจกรรมที่หลากหลายให้เหมาะสมกับเนื้อหาสาระ เหมาะกับสภาพแวดล้อมของโรงเรียน แหล่ง
เรียนของท้องถิ่นและที่สาคัญคือศักยภาพของผู้เรียนด้วย ดังนั้นในเนื้อ หาสาระเดียวกันผู้สอนแต่
ละโรงเรียนย่อมจัดการเรียนการสอนและใช้สื่อการเรียนการสอนที่แตกต่างกันได้
32




2. แนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสังคม ( STS )

          2.1 ความหมายของการสอนตามแนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสังคม
( STS )
           ก่อนที่จะทาความเข้าใจเกี่ยวกับการเรียนการสอนตามแนวคิด STS คณะผู้วิจัยขอสรุป
ความหมายของคาว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคม ดังต่อไปนี้
           นักการศึกษาได้ให้ความหมายของคาว่า วิทยาศาสตร์ ดังนี้
           ชานาญ เชาวกีรติพงศ์ (2535, หน้า 5 ) ได้ให้ความหมายของวิทยาศาสตร์ว่าหมายถึง
ความรู้ที่แสดงหรือพิสูจน์ได้ว่าถูกต้องเป็นความจริง จัดไว้เป็นหมวดหมู่ มีระเบียบและขั้นตอน
สรุปได้เป็นกฎเกณฑ์สากล เป็นความรู้ที่ได้มาโดยวิธีการที่เริ่มต้นด้วยการสังเกตและ/หรือ การจัด
ที่เป็นระเบียบมีขั้นตอน และปราศจากอคติ
           The Columbia Encyclopedia ( อ้างถึงใน สมจิต สวธนไพบูลย์ 2535, หน้า 93 ) ซึ่ง
อธิบายว่า วิทยาศาสตร์เป็นการรวบรวมความรู้อย่างมีระบบ ความรู้ที่ได้รวบรวมไว้นี้เป็นความรู้
เกี่ยวกับปรากฏการณ์ธรรมชาติ ความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ที่เกิดขึ้นนั้น มิได้หมายถึง
เฉพาะการรวบรวมข้อเท็จจริงเพียงสภาพพลวัต หรือมีการเปลี่ยนแปลงตามกาลเวลาตามสภาพ
การกระตุ้นจากภายในหรือจากสภาพภายนอก ความรู้ทางวิทยาศาสตร์เกิดจากการสังเกต
ธรรมชาติและการวิเคราะห์วิจัย วิทยาศาสตร์จึงเป็นสากลเพราะเป็นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ
ต่างๆที่เกิดขึ้นด้วยหลักการเดียวกัน วิทยาศาสตร์จึงไม่ถูกจากัดด้วยเวลาสถานที่ และวัฒนธรรม
           ปิยวรรณ แสงสว่าง (2540, หน้า1) ให้ความหมายของวิทยาศาสตร์อยู่สองนัย คือ นัยที่
หนึ่ง วิทยาศาสตร์ หมายถึง กระบวนการคิดหาเหตุหลอยางเป็นระบบที่น่าเชื่ อถือได้
นัยที่สอง วิทยาศาสตร์ หมายถึง องค์ความรู้อันที่เกี่ยวกับกฎเกณฑ์และความจริงที่มนุ ษย์ค้นพบ
โดยอาศัยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และนามาประมวลไว้เป็นหมวดหมู่เพื่อให้คนรุ่นต่อไปได้
ศึกษาหรือนาไปใช้ประโยชน์
           สิปปนนท์ เกตุทัต (2541, หน้า 2) วิทยาศาสตร์ คือ การบรรยายถึงความสัมพันธ์
ระหว่างส่วนต่างๆในธรรมชาติ ทั้งในสภาพนิ่ง และสภาพพลวัต หรือการเปลี่ยนแปลงตาม
กาลเวลา และตามสภาพกระตุ้นทั้งจากใน หรือจากสภาพภายนอก ความรู้ทางวิทยาศาสตร์
เกิดจากการสังเกตธรรมชาติ และ การวิเคราะห์วิจัยวิทยาศาสตร์ จึงมีความเป็นสากล เพราะ
ปรากฏการณ์ธรรมชาติต่างๆ ที่เกิดขึ้นด้วยหลักเดียวกัน วิทยาศาสตร์จึงไม่ถูกจากัดด้วยเวลา
สถานที่และวัฒนธรรม
33



                   คณะกรรมการการบริหารวิชาบูรณาการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (2545, หน้า 33)
ให้ความหมายของวิชาวิทยาศาสตร์ไว้ว่า วิทยาศาสตร์ คือ วิชาที่ศึกษาความรู้เกี่ยวกับธรรมชาติ
ทั้ ง ที่ มี ชี วิ ต และไม่ มี ชี วิ ต โดยมี จุ ด มุ่ ง หมายเพื่ อ แสวงหาความรู้ อ ย่ า งเป็ น ระบบจากการ
สังเกต ตั้งสมมติฐาน พิสูจน์สมมติฐาน ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ความรู้หรือข้อเท็จจริง
ที่ได้นั้น ๆ สามารถนามา ตั้งเป็นทฤษฎีได้
                   ผดุงยศ ดวงมาลา (2523, หน้า 1) กล่าวว่า ถ้าจะให้นิยามความหมายของวิทยาศาสตร์
ว่า "ความรู้" ตามความหมายที่แปลมาจากภาษาลาติน ดูเหมือนว่าจะมีความหมายที่สั้นและแคบ
จนเกินไป เพราะธรรมชาติหรือแก่นสารที่แท้จริงของวิทยาศาสตร์นั้นไม่ได้หมายถึงความรู้เนื้อหา
วิทยาศาสตร์แต่เพียงอย่างเดียว แต่หมายถึงวิธีการทางวิทยาศาสตร์และเจตคติทางวิทยาศาสตร์
ด้วย ซึ่งหมายความว่าในการเรีย นวิทยาศาสตร์นั้นผู้เรียนจะต้องได้ทั้งตัวความรู้วิทยาศาสตร์
วิธีการ และเจตคติวิทยาศาสตร์ไปพร้อม ๆ กัน
                   พัชราภรณ์ พสุวัต (2522, หน้า 3) อธิบายว่า วิทยาศาสตร์ คือ วิชาที่มีเนื้อหาสาระซึ่งเป็น
เรื่องราวของสิ่งแวดล้อม ปรากฎการณ์ธรรมชาติ ซึ่งมนุษย์ได้รวบรวมความจริง (facts) เหล่านั้น
เพื่อนามาประมวลเป็นความรู้ (knowledge) และตั้งเป็นกฎเกณฑ์ (principles) ขึน                            ้
                   มังกร ทองสุขดี (ม.ป.ป., หน้า 1-2) กล่าวว่า วิทยาศาสตร์ หมายถึง ความรู้เกี่ยวกับ
ธรรมชาติที่อยู่รอบ ๆ ตัวเรา ซึ่งมนุษย์ได้ศึกษาค้นคว้าสะสมมาตั้งแต่อดีตจนกระทั่ง ถึงปัจจุบัน และ
จะศึกษาต่อไปในอนาคตอย่างไม่รู้จักจบสิ้น มนุษย์ได้พยายามศึกษาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมว่า
                      1. สิ่งต่าง ๆ มีความเป็นมาอย่างไร
                      2. สิ่งเหล่านั้นมีความสัมพันธ์ต่อกันอย่างไรบ้าง
                      3. พัฒนาการของสิ่งเหล่านั้นมีระเบียบแบบแผน หรือมีหลักเกณฑ์อย่างไร และ
                          จะบังเกิดขึ้นในอนาคตอย่างไร
                      4. มนุษย์จะนาความรู้ทั้งหลายมาใช้ให้เกิดประโยชน์ได้อย่างไรบ้าง ยิ่งกว่านั้น
วิ ท ยาศาสตร์ ยั ง เป็ น ความรู้ เ กี่ ย วกั บ ข้ อ เท็ จ จริ ง ที่ ท ดสอบได้ เ ป็ น ความรู้ ที่ มี ข อบเขตมี ร ะเบี ย บ
กฎเกณฑ์ เป็นความรู้ที่มีรากฐาน มาจากการสังเกต การจดบันทึก การตั้งสมมุติฐาน โดยใช้
หลั ก ฐานทางปรั ช ญาและตรรกศาสตร์ แ ล้ ว พยายามวั ด หรื อ หาค่ า ออกมาทั้ ง ในด้ า นคุ ณ ค่ า
(นามธรรม)และปริมาณ (รูปธรรม) ถ้าจะเปรียบวิทยาศาสตร์เสมือนต้นไม้ใหญ่แล้วรากแก้วที่
สาคัญ 3 ราก คือ วิชาปรัชญา ตรรกศาสตร์ และคณิตศาสตร์พร้อมกันนี้
                   จากความหมายเหล่ า นี้ อ าจสรุ ป ใหม่ ไ ด้ ว่ า วิ ท ยาศาสตร์ คื อ องค์ ค วามรู้ ที่ ผ่ า น
กระบวนการสื บ ค้ น ตรวจสอบอย่ า งเป็ น ระบบ องค์ ค วามรู้ ข องธรรมชาติ แ ละวิ ธี ก ารทาง
34



วิทยาศาสตร์ ที่ใช้ในการสืบเสาะหาความรู้ ซึ่งองค์ความรู้นั้นสามารถเปลี่ยนแปลงได้ ถ้ามีการ
ค้นพบหลักฐานหรือเหตุผลที่เหมาะสมกว่า
           นักการศึกษาได้ให้ความหมายของคาว่า เทคโนโลยี ดังนี้
          ผดุงยศ ดวงมาลา (2523, หน้า 16) ได้ให้ความหมายของเทคโนโลยีว่าปัจจุบันมี
ความหมายกว้างกว่ารากศัพท์เดิม คือ หมายถึง กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับเครื่องจักรกล สิ่งประดิษฐ์
ใหม่ ๆ ทาง อุตสาหกรรม ถ้าในแง่ของความรู้ เทคโนโลยี จะหมายถึง ความรู้หรือศาสตร์ที่เกี่ยวกับ
เทคนิคการผลิตในอุตสาหกรรม และกิจกรรมอื่น ๆ ที่จะเอื้ออานวยต่อการดารงชีวิตของมนุษย์ หรือ
อาจสรุปว่า เทคโนโลยี คือ ความรู้ที่มนุษย์ใช้ทรัพยากรต่าง ๆ ให้เกิดประโยชน์แก่มนุษย์เอง ทั้งใน
แ ง่ ค ว า ม เ ป็ น อ ยู่ แ ล ะ ก า ร ค ว บ คุ ม สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม
          สิปปนนท์ เกตุทัต (ม.ป.ป., หน้า 81) อธิบายว่า เทคโนโลยี คือ การนาความรู้ทาง
วิทยาศาสตร์ และศาสตร์อื่น ๆ มาผสมผสานประยุกต์ เพื่อสนองเป้าหมายเฉพาะตามความ
ต้องการของมนุษย์ด้วยการนาทรัพยากรต่าง ๆ มาใช้ในการผลิตและจาหน่ายให้ต่อเนื่องตลอดทั้ง
กระบวนการ เทคโนโลยีจึงมักจะมีคุณประโยชน์และเหมาะสมเฉพาะเวลาและสถานที่ และหาก
เทคโนโลยีนั้นสอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจ สังคม การเมือง วัฒนธรรม และสภาพแวดล้อม
เทคโนโลยีนั้นจะเกื้อกูลเป็นประโยชน์ทั้งต่อบุคคลและส่วนรวม หากไม่สอดคล้องเทคโนโลยี นั้น ๆ
จะก่อให้เกิดปัญหาตามมามหาศาล
           ธรรมนูญ โรจนะบุรานนท์ (2531, หน้า 170) กล่าวว่า เทคโนโลยี คือ ความรู้วิชาการรวม
กับความรู้วิธีการ และความชานาญที่สามารถนาไปปฏิบัติภารกิจให้มีประสิทธิภาพสูง โดยปกติ
เทคโนโลยีนั้นมีความรู้วิทยาศาสตร์รวมอยู่ด้วย นั้นคือวิทยาศาสตร์เป็นความรู้ เทคโนโลยีเป็นการ
นาความรู้ไปใช้ในทางปฏิบัติ จึงมักนิยมใช้สองคาด้วยกัน คือ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อเน้น
ให้เข้าใจว่า ทั้งสองอย่างนี้ต้องควบคู่กันไปจึงจะมีประสิทธิภาพสูง
          จากความหมายเหล่านี้อาจสรุปใหม่ได้ว่า เทคโนโลยี คือวิทยาการการนาเอา
วิทยาศาสตร์ประยุกต์มาใช้สร้างสิ่งประดิษฐ์ใหม่ ๆ ทาง อุตสาหกรรมโดยผสมผสานศาสตร์อื่น ๆ
เพื่อประโยชน์ทั้งต่อบุคคลและส่วนรวม




         นักการศึกษาได้ให้ความหมายของคาว่า สังคม ดังนี้
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน

More Related Content

What's hot

รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...Kobwit Piriyawat
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการขวัญ ฤทัย
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงWareerut Hunter
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้Nat Thida
 
หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนสามารถดีวิทยา(1)
หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนสามารถดีวิทยา(1)หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนสามารถดีวิทยา(1)
หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนสามารถดีวิทยา(1)Muhammadrusdee Almaarify
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5moohmed
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องวัยผู้ใหญ่
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องวัยผู้ใหญ่แผนจัดการเรียนรู้เรื่องวัยผู้ใหญ่
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องวัยผู้ใหญ่tassanee chaicharoen
 
คำอธิบายโครงสร้าง อัคลาก
คำอธิบายโครงสร้าง อัคลากคำอธิบายโครงสร้าง อัคลาก
คำอธิบายโครงสร้าง อัคลากMuhammadrusdee Almaarify
 
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงteeradejmwk
 
จิตวิทยาการเรียนรู้231
จิตวิทยาการเรียนรู้231จิตวิทยาการเรียนรู้231
จิตวิทยาการเรียนรู้231Anny Hotelier
 
20150902095637
2015090209563720150902095637
20150902095637Sovath123
 

What's hot (20)

แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการแบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
 
Power point นำเสนองานวิจัย
Power point นำเสนองานวิจัยPower point นำเสนองานวิจัย
Power point นำเสนองานวิจัย
 
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
 
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการบทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนสามารถดีวิทยา(1)
หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนสามารถดีวิทยา(1)หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนสามารถดีวิทยา(1)
หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนสามารถดีวิทยา(1)
 
04chap2
04chap204chap2
04chap2
 
จิตวิทยาการเรียนรู้1
จิตวิทยาการเรียนรู้1จิตวิทยาการเรียนรู้1
จิตวิทยาการเรียนรู้1
 
จิตวิทยาการเรียนรู้ 5555
จิตวิทยาการเรียนรู้ 5555จิตวิทยาการเรียนรู้ 5555
จิตวิทยาการเรียนรู้ 5555
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องวัยผู้ใหญ่
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องวัยผู้ใหญ่แผนจัดการเรียนรู้เรื่องวัยผู้ใหญ่
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องวัยผู้ใหญ่
 
Expand
ExpandExpand
Expand
 
จิตวิทยาการศึกษาและจิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการศึกษาและจิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการศึกษาและจิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการศึกษาและจิตวิทยาการเรียนรู้
 
คำอธิบายโครงสร้าง อัคลาก
คำอธิบายโครงสร้าง อัคลากคำอธิบายโครงสร้าง อัคลาก
คำอธิบายโครงสร้าง อัคลาก
 
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
จิตวิทยาการเรียนรู้231
จิตวิทยาการเรียนรู้231จิตวิทยาการเรียนรู้231
จิตวิทยาการเรียนรู้231
 
20150902095637
2015090209563720150902095637
20150902095637
 

Similar to บทที่2 ส่งเทคโน

แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)Miss.Yupawan Triratwitcha
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศJiraporn
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3korakate
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3korakate
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหารายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหาWichai Likitponrak
 
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2krupornpana55
 
Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01korakate
 
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์nang_phy29
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...Kobwit Piriyawat
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิตMam Chongruk
 
แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้10871885581
 
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์supanyasaengpet
 

Similar to บทที่2 ส่งเทคโน (20)

6บทที่2
6บทที่2 6บทที่2
6บทที่2
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์
 
Curri bio 51m4-6
Curri bio 51m4-6Curri bio 51m4-6
Curri bio 51m4-6
 
03chap1
03chap103chap1
03chap1
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหารายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
 
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2
 
Astroplan10
Astroplan10Astroplan10
Astroplan10
 
Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01
 
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
 
Curri bio 61m4-6
Curri bio 61m4-6Curri bio 61m4-6
Curri bio 61m4-6
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
 
แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1
 
Sci 2009 03
Sci 2009 03Sci 2009 03
Sci 2009 03
 
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
 
ม.ค.อ.3เหตุการณ์โลกฯ 2 52557(2558)
ม.ค.อ.3เหตุการณ์โลกฯ 2 52557(2558)ม.ค.อ.3เหตุการณ์โลกฯ 2 52557(2558)
ม.ค.อ.3เหตุการณ์โลกฯ 2 52557(2558)
 

บทที่2 ส่งเทคโน

  • 1. 12 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ในการพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสังคม ( STS ) เรื่อง บรรยากาศ เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดแก้ปัญหา สาหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ผู้ศึกษาค้นคว้าเอกสารและงานวิ จัยที่เกี่ยวข้อง ซึ่งนามาเสนอรายละเอียด เป็นลาดับ ดังต่อไปนี้ เอกสารที่เกี่ยวข้อง 1. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 1.1 มาตรฐานการเรียนรู้ 1.2 มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 1.3 โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ 1.4 กระบวนการเรียนรู้ 2. แนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสังคม ( STS ) 2.1 ความหมายของการสอนตามแนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสังคม ( STS ) 2.2 ความเป็นมาและแนวคิด วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสังคม ( STS ) 2.3 เป้าหมายของการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสังคม 2.4 ลักษณะของการสอนตามแนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสังคม ( STS ) 2.5 การสอนตามแนวคิด วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสังคม ( STS ) 3. ชุดกิจกรรมกระบวนการการเรียนรู้ 3.1 ความหมายของชุดกิจกรรมการเรียนรู้ 3.2 แนวคิดที่เกี่ยวข้องกับชุดกิจกรรมการเรียนรู้ 3.3 ประเภทของชุดกิจกรรมการเรียนรู้ 3.4 องค์ประกอบของชุดกิจกรรมการเรียนรู้ 3.5 ขั้นตอนการสร้างชุดกิจกรรมการเรียนรู้ 3.6 การหาประสิทธิภาพชุดกิจกรรมการเรียนรู้ 3.7 ประโยชน์ของชุดกิจกรรมการเรียนรู้
  • 2. 13 4. ความสามารถในการคิดแก้ปัญหา 4.1 ความหมายของความสามารถในการคิดแก้ปัญหา 4.2 ประเภทของปัญหา 4.3 กรอบการคิด 4.4 ความสาคัญของการคิดแก้ปัญหา 4.5 กระบวนการคิดแก้ปัญหา 4.6 การเรียนการสอนกับความสามารถในการแก้ปัญหา 4.7 ลักษณะของบุคคลที่มีความสามารถในการแก้ปัญหา 4.8 การวัดความสามารถในการคิดแก้ปัญหา 5. ทฤษฎีและหลักการเกี่ยวกับความพึงพอใจ 5.1 ความหมายของความพึงพอใจ 5.2 ทฤษฎีสาหรับการสร้างความพึงพอใจ 5.3 องค์ประกอบความพึงพอใจ 5.4 การวัดความพึงพอใจ 6. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 6.1 งานวิจัยในประเทศ 6.2 งานวิจัยต่างประเทศ 1. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 1.1 มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้การศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา, 2551. หน้า 3 - 5 ) สาระที่ 1 สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดารงชีวิต มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสิ่ งมี ชีวิตที่ทางานสัม พันธ์กัน มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ในการดารงชีวิตของตนเองและดูแลสิ่งมีชีวิต มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจกระบวนการและความสาคัญของการถ่ายทอดลักษณะ ทางพันธุกรรม วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพ การใช้เทคโนโลยีชีวภาพที่มี ผลกระทบต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่ เรียนรู้ และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์
  • 3. 14 สาระที่ 2 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม มาตรฐาน ว 2.1 เข้ า ใจสิ่ ง แวดล้ อ มในท้ อ งถิ่ น ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า ง สิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชี วิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศ มีกระบวนการสืบ เสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว 2.2 เข้ า ใจความส าคั ญ ของทรั พ ยากรธรรมชาติ การใช้ ทรัพยากรธรรมชาติในระดับท้องถิ่น ประเทศ และโลก นาความรู้ไปใช้ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นอย่างยั่งยืน สาระที่ 3 สารและสมบัติของสาร มาตรฐาน ว 3.1 เข้าใจสมบัติของสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับ โครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ นาความรู้ไปใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว 3.2 เข้าใจหลักการและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของ สารการเกิดสารละลาย การเกิดปฏิกิริยา มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ สาระที่ 4 แรงและการเคลื่อนที่ มาตรฐาน ว 4.1 เข้าใจธรรมชาติของแรงแม่ เหล็กไฟฟ้า แรงโน้ม ถ่วง และ แรงนิวเคลียร์ มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ อย่างถูกต้องและมีคุณธรรม มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจลักษณะการเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ ของวัตถุในธรรมชาติ มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้จิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ สาระที่ 5 พลังงาน มาตรฐาน ว 5.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดารงชีวิต การเปลี่ ยนรูปพลั งงาน ปฏิสั มพันธ์ ระหว่างสารและพลังงาน ผลของการใช้ พลังงานต่อชี วิต และ สิ่งแวดล้อม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์
  • 4. 15 สาระที่ 6 กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก มาตรฐาน ว 6.1 เข้าใจกระบวนการต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นบนผิวโลกและภายในโลก ความสัมพันธ์ของกระบวนการต่าง ๆ ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ภูมิประเทศ และสัณฐาน ของโลก มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนาความรู้ไปใช้ ประโยชน์ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ มาตรฐาน ว 7.1 เข้ าใจวิ วั ฒ นาการของระบบสุ ริ ยะ กาแล็ กซี่ และเอกภพ การปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริ ยะและผลต่อสิ่งมีชีวิตบนโลก มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และ จิตวิทยาศาสตร์ การสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว 7.2 เข้าใจความสาคัญของเทคโนโลยีอวกาศที่นามาใช้ในการ สารวจอวกาศและทรัพยากรธรรมชาติ ด้านการเกษตรและการสื่อสาร มีกระบวนการสืบเสาะหา ความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์อย่างมีคุณธรรมต่อชีวิต และสิ่งแวดล้อม สาระที่ 8 ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มาตรฐาน ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบ เสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิ บายและตรวจสอบได้ ภายใต้ ข้ อมู ลและเครื่ องมื อที่ มี อยู่ ในช่ วงเวลานั้ น ๆ เข้ าใจว่ า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน 1.2 มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง ชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 1 ตาราง 1 แสดงมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มาตรฐานการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตัวชี้วัด ( ชั้น ม.1 ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มาตรฐาน ว 1.1 เข้ า ใจ 1.สั ง เกตและอธิ บ ายรู ป ร่ า ง - เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว หน่ ว ยพื้ น ฐานของสิ่ ง มี ชี วิ ต ลักษณะของเซลล์ของสิ่งมีชีวิต และเซลล์ ข องสิ่ ง มี ชี วิ ต หลาย ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง เ ซ ล ล์ เ ดี ย ว แ ล ะ เ ซ ล ล์ ข อ ง เซลล์ เช่น เซลล์พืช และเซลล์ สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์
  • 5. 16 ตาราง 1 ( ต่อ) มาตรฐานการ สาระการเรียนรู้แกนกลาง เรียนรู้ ตัวชี้วัด ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ( ชั้น ม.1 ) แ ล ะ ห น้ า ที่ ข อ ง 2.สั ง เ ก ต แ ล ะ สัตว์มีรูปร่าง ลักษณะแตกต่างกัน ระบบต่ า งๆ ของ เ ป รี ย บ เ ที ย บ - นิวเคลียส ไซโทพลาสซึม และเยื่อหุ้มเซลล์เป็น สิ่ ง มี ชี วิ ต ที่ ทางาน ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ส่วนประกอบสาคัญของเซลล์ที่เหมือนกันของเซลล์พืชและ สั ม พั น ธ์ กั น มี ส าคั ญ ของเซลล์ เซลล์สัตว์ กระบวนการสื บ พืชและเซลล์สัตว์ - ผนังเซลล์และคลอโรพลาสต์ เป็นส่วนประกอบ ที่พบ เ ส า ะ ห า ค ว า ม รู้ ได้ในเซลล์พืช สื่ อสารสิ่ งที่ เรี ยนรู้ และนาความรู้ไปใช้ ในการด ารงชี วิ ต ของตนเองและดูแล สิ่งมีชีวิต 3 .ท ด ล อ ง แ ล ะ - นิวเคลียส ไซโทพลาซึม เยื่อหุ้มเซลล์ แวคิวโอล เป็น อธิ บ ายหน้ า ที่ ข อง ส่วนประกอบที่สาคัญของเซลล์สัตว์ มีหน้าที่แตกต่าง ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ที่ กัน ส าคั ญ ของเซลล์ - นิวเคลียส ไซโทพลาซึม เยื่อหุ้มเซลล์ แวคิวโอล พืชและเซลล์สัตว์ ผนังเซลล์ และคลอโรพลาสต์ เป็นส่วนประกอบที่สาคัญ ของเซลล์พืช มีหน้าที่แตกต่างกัน 4. ทดลองและ - การแพร่เป็นการเคลื่อนที่ของสารจากบริเวณที่มี อ ธิ บ า ย ความเข้มข้นสูงไปสู่บริเวณที่มีความเข้มข้นต่า กระบวนการสาร - ออสโมซิสเป็น การเคลื่อนที่ของน้าผ่านเข้าและออกจาก ผ่านเซลล์ โดยการ เซลล์ จากบริเวณที่มีความเข้มข้นของ แพร่และออสโมซิส ตาราง 1 ( ต่อ ) มาตรฐานการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตัวชี้วัด ( ชั้น ม.1 ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
  • 6. 17 สารละลายต่าไปสู่บริเวณที่มี ความเข้ มข้ นของสารละลายสู ง โดยผ่านเยื่อเลือกผ่าน 5. ทดลองหาปัจจัยบาง - แสง คลอโรฟิ ลล์ แก๊ ส ประการ ที่จาเป็นต่อการ คาร์บอนไดออกไซด์ และน้า เป็น สังเคราะห์ด้วยแสงของพืช ปัจจัยที่จาเป็นต่อกระบวนการ และอธิบายว่าแสง สังเคราะห์ด้วยแสงของพืช คลอโรฟิลล์ แก๊ส คาร์บอนไดออกไซด์ น้า เป็น ปัจจัยที่จาเป็นต้องใช้ในการ สังเคราะห์ด้วยแสง 6. ทดลองและอธิบายผลที่ได้ - น้าตาล แก๊สออกซิเจนและ จากการสั ง เคราะห์ ด้ ว ยแสง น้ าเป็ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ ไ ด้ จ าก ของพืช กระบวนการสั ง เคราะห์ ด้ ว ย แสงของพืช 7. อธิบายความสาคัญของ - กระบวนการสังเคราะห์ ด้วย กระบวนการสั ง เคราะห์ ด้ ว ย แสงมี ค วามส าคั ญ ต่ อ การ แสงของพื ช ต่ อ สิ่ ง มี ชี วิ ต และ ดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตและต่อ สิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อมในด้านอาหาร การ หมุ น เวี ย นของแก๊ ส ออกซิ เ จน และแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ 8. ทดลองและอธิบายกลุ่ม - เนื้อเยื่อลาเลียงน้าเป็นกลุ่ม เ ซ ล ล์ ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง กั บ ก า ร เซลล์ เ ฉพาะเรี ยงต่ อเนื่ องกั น ลาเลียงน้าของพืช ตั้งแต่ราก ลาต้น จนถึ งใบ ท า หน้าที่ในการลาเลียงน้าและธาตุ อาหาร ตาราง 1 ( ต่อ ) มาตรฐานการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตัวชี้วัด ( ชั้น ม.1 ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
  • 7. 18 9. สั ง เกตและอธิ บ าย - เนื้อเยื่อลาเลี ยงน้าและ โครงสร้ า งที่ เ กี่ ย วกั บ ระบบ เนื้ อ เยื่ อ ล าเลี ย งอาหารเป็ น ลาเลียงน้าและอาหารของพืช กลุ่มเซลล์ที่อยู่คู่ขนานกันเป็น ท่อลาเลียง จากราก ลาต้นถึง ใบ ซึ่ ง การจั ด เรี ยงตัว ของท่ อ ลาเลียงในพืชใบเลี้ยงเดี่ยวและ พืชใบเลี้ยงคู่จะแตกต่างกัน -เนื้อเยื่อลาเลียงน้า ทาหน้าที่ใน การลาเลียงน้าและธาตุอาหารจาก รากสู่ใบ ส่วนเนื้ อเยื่อลาเลียง อาหารท าหน้ าที่ ล าเลี ยงอาหาร จากใบสู่ส่วนต่างๆ ของพืช - การคายน้ามีส่วนช่วยในการ ลาเลียงน้าของพืช 10. ทดลองและอธิ บ าย - เกสรเพศผู้และเกสรเพศเมีย โครงสร้างของดอกที่เกี่ยวข้อง เป็ น โครงสร้ า งที่ ใ ช้ ใ นการ กับการสืบพันธุ์ของพืช สืบพันธุ์ของพืชดอก 11. อธิบายกระบวนการ - กระบวนการสืบพันธุ์แบบ สืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช อาศัยเพศของพืชดอกเป็นการ ดอกและการสื บ พั น ธุ์ แ บบไม่ ปฏิสนธิ ระหว่า งเซลล์ สืบพันธุ์ อาศัยเพศของพืช โดยใช้ ส่วน เพศผู้และเซลล์ไข่ในออวุล ต่าง ๆ ของพืชเพื่อช่วยในการ - การแตกหน่อ การเกิดไหล ขยายพันธุ์ เป็นการสืบพันธุ์ของพืชแบบไม่ อาศัยเพศ โดยไม่มีการปฏิสนธิ - ราก ลาต้น ใบ และกิ่งของพืช สามารถนาไปใช้ขยายพันธุ์พืช ตาราง 1 ( ต่อ ) มาตรฐานการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตัวชี้วัด ( ชั้น ม.1 ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
  • 8. 19 12. ทดลองและอธิบายการ - พืชตอบสนองต่อสิ่ง เร้า ตอบสนองของพืช ต่ อแสง น้ า ภายนอกโดยสังเกตได้จากการ และการสัมผัส เคลื่ อ นไหวของส่ ว นประกอบ ของพื ช ที่ มี ต่ อ แสง น้ า และ การสัมผัส 13. อธิบายหลักการและผล - เทคโนโลยีชีวภาพ เป็นการ ของการใช้เทคโนโลยี ชีวภาพ ใ ช้ เ ท ค โ น โ ล ยี เ พื่ อ ท า ใ ห้ ในการขยายพั น ธุ์ ปรั บ ปรุ ง สิ่ ง มี ชี วิ ต หรื อ องค์ ป ระกอบ พันธุ์ เพิ่มผลผลิตของพืชและ ของ สิ่ ง มี ชี วิ ต มี ส มบั ติ ต าม นาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ต้องการ - การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช พันธุวิศวกรรม เป็น เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ใน การขยายพันธุ์ ปรับปรุง พันธุ์ และเพิ่มผลผลิต ของพืช มาตรฐาน ว 3.1 เข้าใจ 1. ทดลองและจาแนกสารเป็น - เมื่ อใช้ เนื้อสารเป็นเกณฑ์ สมบัติของสาร ความสัมพันธ์ กลุ่มโดยใช้เนื้อสารหรือขนาด จ าแนกสารเป็ น สารเนื้ อเดี ย ว ระหว่างสมบัติของสารกับ อนุภาคเป็นเกณฑ์ และอธิบาย และสารเนื้อผสมซึ่ งสารแต่ละ โครงสร้ า งและแรงยึ ด เหนี่ ย ว สมบัติของสารในแต่ละกลุ่ม กลุ่มจะมีสมบัติแตกต่างกัน ระหว่างอนุภาค มี กระบวนการ - เมื่อใช้ขนาดอนุภาคของ สาร สื บ เ ส า ะ ห า ค ว า ม รู้ แ ล ะ เป็นเกณฑ์ จาแนก สารเป็นสาร จิ ต วิ ทยาศาสตร์ สื่ อ สารสิ่ ง ที่ แขวนลอย คอลลอยด์ และ เ รี ย น รู้ น า ค ว า ม รู้ ไ ป ใ ช้ สารละลาย ซึ่งสาร แต่ละกลุ่มจะ ประโยชน์ มีสมบัติแตกต่างกัน ตาราง 1 ( ต่อ ) มาตรฐานการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตัวชี้วัด ( ชั้น ม.1 ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
  • 9. 20 2. อธิบายสมบัติและการ - สี รูปร่าง ขนาด ความแข็ง เปลี่ยนสถานะของสาร ความหนาแน่น จุดเดือด จุด โดยใช้แบบจาลองการ หลอมเหลว เป็นสมบัติทาง จัดเรียงอนุภาคของสาร กายภาพของสาร ความเป็น กรด- เบส ความสามารถใน การรวมตัวกับสารอื่น ๆ การ แยกสลายของสารและการเผา ไหม้ เป็นสมบัติทางเคมี - สารในสถานะต่าง ๆ มี ลักษณะการจัดเรียง อนุภาค ระยะห่างระหว่างอนุภาค และ แรงยึดเหนี่ยวระหว่าง อนุภาค แตกต่างกัน ซึ่งสามารถใช้ แบบจาลองการจัดเรียง อนุภาคของสารอธิบายสมบัติ บางประการของสารได้ 3. ทดลองและอธิบายสมบัติ -สารละลายที่มีน้าเป็นตัวทา ความเป็นกรด เบส ของ ละลาย อาจจะมีสมบัติเป็น สารละลาย กรด กลาง หรือเบส ซึ่ง สามารถทดสอบได้ด้วย กระดาษลิตมัส หรืออินดิเคเตอร์ 4. ตรวจสอบค่า pH ของ - ความเป็นกรด - เบสของ สารละลายและนาความรู้ สารละลายระบุเป็นค่า pH ซึ่ง ไปใช้ประโยชน์ ตรวจสอบได้ด้วยเครื่องมือ วัดค่า pH ตาราง 1 ( ต่อ ) มาตรฐานการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตัวชี้วัด ( ชั้น ม.1 ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
  • 10. 21 หรือยูนิเวอร์ซัลอินดิเคเตอร์ - ผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในชีวิต ประจาวันอาจมีความเป็นกรด เบสแตกต่างกัน จึงควรเลือกใช้ ให้ถูกต้องปลอดภัยต่อตนเอง และสิ่งแวดล้อม มาตรฐาน ว 3.2 เข้ าใจ 1. ทดลองและอธิบายวิธี - ในชีวิตประจาวัน ได้มีการนา หลักการและธรรมชาติของการ เตรียมสารละลายที่มีความ ความรู้ เ รื่ อ งสารละลายไปใช้ เปลี่ยนแปลงสถานะของสาร เข้มข้นเป็นร้อยละ และ ประโยชน์ทางด้านการเกษตร การเกิดสารละลาย การ อภิปรายนาความรู้เกี่ยวกับ อุตสาหกรรมอาหาร การแพทย์ เกิดปฏิกิริยา มีกระบวนการ สารละลายไปใช้ประโยชน์ และด้านอื่น ๆ สืบเสาะ หาความรู้และจิตวิทยา ศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ 2.ทดลอง และอธิ บ ายกา ร - เมื่อสารเกิดการเปลี่ยน เปลี่ยนแปลงสมบัติ มวลและ สถานะและเกิ ด การละลาย พลั ง งานของสาร เมื่ อ สาร มวลของสารจะไม่เปลี่ยนแปลง เปลี่ ย นสถานะและเกิ ด การ แ ต่ ส ม บั ติ ท า ง ก า ย ภ า พ ละลาย เปลี่ยนแปลง รวมทั้งมีการถ่าย โอนพลังงานระหว่างระบบกับ สิ่งแวดล้อม 3.ทดลองและอธิบายปัจจัยที่มี - อุณหภูมิ ความดัน ชนิดของ ผลต่อการเปลี่ยนสถานะ และ สารมีผลต่อการเปลี่ยนสถานะ การละลายของสาร และการละลายของสาร ตาราง 1 ( ต่อ ) มาตรฐานการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตัวชี้วัด ( ชั้น ม.1 ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
  • 11. 22 มาตรฐาน ว 4.1 เข้าใจ 1. สืบค้นข้อมูล และอธิบาย -ปริมาณทางกายภาพแบ่งเป็น ธรรมชาติของแรงแม่เหล็ก ปริมาณสเกลาร์ ปริมาณ ปริม าณ สเกลาร์และปริม าณ ไฟฟ้ า แรงโน้ ม ถ่ ว ง และแรง เวกเตอร์ เวกเตอร์ ปริมาณ สเกลาร์เป็น นิ ว เคลี ย ร์ มี ก ระบวนการสื บ ปริม าณที่มี แต่ขนาด ปริม าณ เสาะหาความรู้ สื่ อ สารสิ่ ง ที่ เวกเตอร์เป็นปริมาณที่มีทั้งขนาด เรี ย นรู้ แ ละน าความรู้ ไ ปใช้ และทิศทาง ประโยชน์ อ ย่ า งถู ก ต้ อ งและมี คุณธรรม 2 . ท ด ล อ ง แ ล ะ อ ธิ บ า ย - ก า ร เ ค ลื่ อ น ที่ ข อ ง วั ต ถุ ระยะทาง การกระจัด อัตราเร็ว เกี่ ย วข้ อ งกั บ ระยะทาง การ และ ความเร็ว ในการเคลื่อนที่ กระจั ด อั ต ราเร็ ว ความเร็ ว ของวัตถุ ระยะทาง คือ ความยาวที่วัด ตามแนวทางการเคลื่อนที่ของ วัตถุจากตาแหน่งเริ่มต้นไปยัง ต าแหน่ ง สุ ด ท้ า ย การกระจั ด คื อ เวกเตอร์ ที่ ชี้ ต าแหน่ ง สุ ด ท้ า ย ขอ ง วั ต ถุ เ ที ย บ กั บ ตาแหน่งเริ่มต้น อัตราเร็ว คือ ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ใน หนึ่ง หน่วยเวลา ความเร็ว คือ การกระจั ด ของวั ต ถุ ใ นหนึ่ ง หน่วยเวลา มาตรฐาน ว 5.1 เข้าใจ 1 . ท ด ล อ ง แ ล ะ อ ธิ บ า ย -การวั ด อุ ณ หภู มิ เ ป็ น การวั ด ความสัมพันธ์ระหว่างพลังงาน อุณหภูมิและการวัดอุณหภูมิ ระดั บ ค วามร้ อน ของ สา ร กับการดารงชีวิต การเปลี่ยน สามารถวัดด้วย เทอร์มอมิเตอร์ รูปพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ ตาราง 1 ( ต่อ ) มาตรฐานการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตัวชี้วัด ( ชั้น ม.1 ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
  • 12. 23 ระหว่างสารและพลังงาน ผล ของการใช้พลังงานต่อชีวิต และสิ่งแวดล้อม มีกระบวน การสืบเสาะหาความรู้ สื่อสาร สิ่งที่เรียนรู้และนาความรู้ ไป ใช้ประโยชน์ 2. สังเกตและอธิบายการถ่าย - การถ่ายโอนความร้อนมีสาม โอนความร้อน และนา วิ ธี คื อ การน าความร้ อ น การ ความรู้ไปใช้ประโยชน์ พาความร้ อ นและการแผ่ รั ง สี ความร้อน - การน าความร้ อ น เป็ น การ ถ่ายโอนความร้อนโดยการสั่น ของโมเลกุล - การพาความร้อน เป็นการถ่าย โอนความร้ อนโดยโมเลกุ ลของ สารเคลื่อนที่ไปด้วย - การแผ่ รั ง สี ค วามร้ อ น เป็ น การถ่ า ยโอนความร้ อ นจาก คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า - การน าความรู้ เ รื่ อ งการถ่ า ย โอนความร้อนไปใช้ประโยชน์ 3. อธิ บ ายการดู ด กลื น การ - วัตถุที่แตกต่างกันมี คายความร้อน โดยการแผ่รังสี สมบั ติ ใ นการดู ด กลื น ความ และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ร้ อ นและคายความร้ อ นได้ ต่างกัน ตาราง 1 ( ต่อ ) มาตรฐานการเรียนรู้ สาระการเรียนรูแกนกลาง ้ ตัวชี้วัด ( ชั้น ม.1 ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
  • 13. 24 -ก า ร น า ค ว า ม รู้ เ รื่ อ ง ก า ร ดูดกลืนความร้อนและการคาย ความร้อนไปใช้ประโยชน์ อธิบายสมดุลความร้อน -เมื่ อ วั ต ถุ ส องสิ่ ง อยู่ ใ นสมดุ ล และผลของความร้อนต่อ การ ค ว า ม ร้ อ น วั ต ถุ ทั้ ง ส อ ง มี ขยายตั ว ของ สาร และน า อุณหภูมิเท่ากัน ความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวัน การขยายตั ว ของวั ต ถุ เ ป็ น ผล จากความร้ อ นที่ วั ต ถุ ไ ด้ รั บ เพิ่มขึ้น -ก า ร น า ค ว า ม รู้ เ รื่ อ ง ก า ร ขยายตั ว ของวั ต ถุ เ มื่ อ ได้ รั บ ความร้อนไปใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว 6.1 เข้าใจ 1 . สื บ ค้ น แ ล ะ อ ธิ บ า ย -บ ร ร ย า ก า ศ ข อ ง โ ล ก กระบวนการต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น องค์ประกอบ และการ แบ่งชั้น ประกอบด้ ว ยส่ ว นผสมของ บนผิวโลกและภายในโลก บรรยากาศที่ปกคลุมผิวโลก แก๊สต่าง ๆ ที่อยู่รอบโลกสูงขึ้น ความสัมพันธ์ของกระบวนการ ไปจากพื้นผิวโลกหลายกิโลเมตร ต่าง ๆ ที่มีผลต่อการ -บรรยากาศแบ่ ง เป็ น ชั้ น ตาม เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ภูมิ อุณหภูมิและการเปลี่ยนแปลง ประเทศ และสัณฐานของโลก อุ ณ หภู มิ ต ามความสู ง จาก มีกระบวนการสืบเสาะหา พื้นดิน ความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนา ความรู้ไปใช้ประโยชน์ 2 . ท ด ล อ ง แ ล ะ อ ธิ บ า ย - อุณหภูมิ ความชื้นและ ความสัมพันธ์ระหว่าง อุณหภูมิ ความกดอากาศ มี ผ ลต่ อ ความชื้นและความกดอากาศ ปรากฏการณ์ทางลมฟ้า ตาราง 1 ( ต่อ ) มาตรฐานการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตัวชี้วัด ( ชั้น ม.1 ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
  • 14. 25 ที่มีผลต่อปรากฏการณ์ทางลม อากาศ ฟ้าอากาศ 3. สั ง เกต วิ เ คราะห์ แ ละ -ป ร า ก ฏ ก า ร ณ์ ท า ง ล ม ฟ้ า อภิปรายการเกิดปรากฏการณ์ อากาศ ได้ แ ก่ การเกิ ด เมฆ ทางลมฟ้ า อากาศที่ มี ผ ลต่ อ ฝน พายุฟ้าคะนอง พายุหมุน มนุษย์ เขตร้อน ลมมรสุมฯลฯ 4. สืบค้น วิเคราะห์ และแปล -การพยากรณ์ อ ากาศอาศั ย ความหมายข้ อ มู ล จากการ ข้อมูลเกี่ยวกับอุณหภูมิ ความ พยากรณ์อากาศ กดอากาศ ความชื้น ปริมาณ เมฆ ปริมาณน้าฝนและนามา แปลความหมายเพื่ อใช้ในการ ทานายสภาพอากาศ 5. สื บ ค้ น วิ เ คราะห์ และ -ส ภ า พ ล ม ฟ้ า อ า ก า ศ ที่ อธิ บ ายผลของลมฟ้ า อากาศ เปลี่ยนแปลงบนโลกทาให้เกิด ต่อการดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิต พายุ ปรากฏการณ์เอลนิโญ และ สิ่งแวดล้อม ล า นี ญ า ซึ่ ง ส่ ง ผ ล ต่ อ ก า ร ด ารงชี วิ ต ของมนุ ษ ย์ และ สิ่งแวดล้อม 6. สื บ ค้ น วิ เ คราะห์ และ - ปัจจัยทางธรรมชาติและการ อธิ บ ายปั จ จั ย ทางธรรมชาติ กระทาของมนุษย์ เช่นภูเขาไฟ และการกระทาของมนุษย์ที่มี ระเบิ ด การตั ด ไม้ ท าลายป่ า ผ ล ต่ อ ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง การเผาไหม้ ข องเครื่ อ งยนต์ อุณหภูมิ ของโลก รูโหว่โอโซน และการปล่อยแก๊สเรือนกระจก และฝนกรด มีผลทาให้เกิดภาวะโลกร้อน ตาราง 1 ( ต่อ ) มาตรฐานการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตัวชี้วัด ( ชั้น ม.1 ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
  • 15. 26 รูโหว่ของชั้นโอโซน และฝนกรด - ภาวะโลกร้ อ นคื อ ปรากฏการณ์ที่อุณหภูมิเฉลี่ย ของโลกสูงขึ้น 7. สืบค้น วิเคราะห์และอธิบาย -ภาวะโลกร้ อ นท าให้ เ กิ ด การ ผลของภาวะโลกร้ อ น รู โ หว่ ล ะ ล า ย ข อ ง ธ า ร น้ า แ ข็ ง โอโซน และฝนกรด ที่ มี ต่ อ ระดั บ น้ าทะเลสู ง ขึ้ น การกั ด สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม เซาะชายฝั่ ง เพิ่ ม ขึ้ น น้ าท่ ว ม ไฟป่ า ส่ ง ผลให้ สิ่ ง มี ชี วิ ต บาง ช นิ ด สู ญพั นธุ์ แ ล ะ ท า ใ ห้ สิ่งแวดล้อมเปลี่ยนแปลงไป - รูโหว่โอโซน และฝนกรดมีผล ต่ อ ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ข อ ง สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม มาตรฐาน ว 8.1 ใช้ 1.ตั้งคาถามที่กาหนดประเด็น - กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ หรื อ ตั ว แปรที่ ส าคั ญ ในการ และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบ ส ารวจตรวจสอบ หรื อ ศึ ก ษา เสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา ค้ น คว้ า เรื่ อ งที่ ส นใจได้ อ ย่ า ง รู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ ครอบคลุมและเชื่อถือได้ ที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบ ที่ แน่นอน สามารถอธิบายและ ตรวจสอบได้ ภายใต้ข้อมูลและ เครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้น ๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และ ตาราง 1 ( ต่อ ) มาตรฐานการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตัวชี้วัด ( ชั้น ม.1 ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
  • 16. 27 สิ่งแวดล้อม มีความเกี่ยวข้อง 2.สร้ า งสมมติ ฐ านที่ ส ามารถ - สัมพันธ์กัน ตรวจสอบได้และวางแผนการ สารวจ ตรวจสอบหลาย ๆ วิธี 3.เลือกเทคนิควิธีการสารวจ - ตรวจสอบทั้งเชิงปริมาณและ เชิงคุณภาพที่ได้ผลเที่ยงตรง และปลอดภัยโดยใช้วัสดุและ เครื่องมือที่เหมาะสม 4. รวบรวมข้อมูล จัดกระทา - ข้อมูลเชิงปริมาณและคุณภาพ 5. วิเคราะห์และประเมิน - ความสอดคล้องของประจักษ์ พยานกับข้อสรุป ทั้งที่ สนับสนุนหรือขัดแย้งกับ สมมติฐาน และความ ผิดปกติของข้อมูลจากการ สารวจตรวจสอบ 6.สร้างแบบจาลอง หรือ - รูปแบบ ที่อธิบายผลหรือ แสดงผลของการสารวจ ตรวจสอบ 7.สร้างคาถามที่นาไปสู่ - การสารวจตรวจสอบ ใน เรื่องที่เกี่ยวข้อง และนา ความรู้ที่ได้ไปใช้ใน สถานการณ์ใหม่หรืออธิบาย ตาราง 1 ( ต่อ ) มาตรฐานการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตัวชี้วัด ( ชั้น ม.1 ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
  • 17. 28 เกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการ และผลของโครงงานหรือ ชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ บันทึกและอธิบายผล - การสังเกตการสารวจ ตรวจสอบค้นคว้าเพิ่มเติมจาก แหล่งความรู้ ต่าง ๆ ให้ได้ ข้อมูลที่เชื่อถือได้ และยอมรับ การเปลี่ยนแปลงความรู้ท่ี ค้นพบเมื่อมีข้อมูลและ ประจักษ์พยานใหม่เพิ่มขึ้นหรือ โต้แย้งจากเดิม 9.จัดแสดงผลงาน เขียน - รายงาน และ/หรืออธิบาย เกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการ และผลของ โครงงานหรือ ชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ 1.3 โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ตาราง 2 แสดงโครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
  • 18. 29 ลาดับ ชื่อหน่วย มาตรฐานการ สาระสาคัญ เวลา น้าหนัก ที่ การเรียนรู้ เรียนรู้ / ตัวชี้วัด / ความคิดรวบยอด (ชั่วโมง) คะแนน 1 สารและการ ว 3.2 ม.1/1 , การเปลี่ยนสถานะ และ 10 17 เปลี่ยนแปลง ม.1/2 , ม.1/3 , การละลายของสาร เกิด จากอุณหภูมิ ความดัน ชนิดของสาร ว 8.1 ม.1/1 , ซึ่งการเปลี่ยนสถานะของ ม.1/2 , ม.1/3 , สารสามารถนาไปใช้ ม.1/4 , ม.1/5 , ประโยชน์ทางด้านการเกษตร ม.1/6 , ม.1/7 , อุตสาหกรรมอาหาร ม.1/8 , ม.1/9 การแพทย์ และด้านอื่น ๆ 2 แรงกับการ ว 4.1 ม.1/1 , ปริมาณของแรงที่กระทาต่อ 7 12 เคลื่อนที่ ม.1/2 วัตถุจะบ่งบอกถึงขนาด ว 8.1 ม.1/1 , หรือขนาดและทิศทาง ม.1/2 , ม.1/3 , ส่วนการเคลื่อนที่ของวัตถุ ม.1/4 , ม.1/5 , เกี่ยวข้องกับระยะทาง ม.1/6 , ม.1/7 , การกระจัด อัตราเร็ว และ ม.1/8 , ม.1/9 ความเร็ว 3 พลังงาน ว 5.1 ม.1/1 , ความร้อนเป็นพลังงานรูป 14 23 ความร้อน ม.1/2 , ม.1/3 , หนึ่งที่สามารถถ่ายโอนใน ม.1/4 ลักษณะการนา การพา ตาราง 2 ( ต่อ ) ลาดับ ชื่อหน่วย มาตรฐานการ สาระสาคัญ เวลา น้าหนัก ที่ การเรียนรู้ เรียนรู้ / ตัวชี้วัด / ความคิดรวบยอด (ชั่วโมง) คะแนน
  • 19. 30 ว 8.1 ม.1/1 , และการแผ่รังสี ซึ่งลักษณะ ม.1/2 , ม.1/3 , ของวัตถุที่แตกต่างกัน ม.1/4 , ม.1/5 , สามารถถ่ายโอนความร้อน ม.1/6 , ม.1/7 , และดูดกลืน หรือคายความ ม.1/8 , ม.1/9 ร้อนได้แตกต่างกัน จึงควร เลือกใช้วัตถุให้เหมาะสมกับ งาน 4 บรรยากาศ ว 6.1 ม.1/1, การแบ่งชั้นบรรยากาศ 24 40 ม.1/2 , ม.1/3 , ขึ้นอยู่กับอุณหภูมิโดย ม.1/4 ,ม.1/5 , อุณหภูมิความชื้นและ ม.1/6 , ม.1/7 ความกดอากาศมีผลต่อ ปรากฏการณ์ทางลมฟ้า อากาศ ว 8.1 ม.1/1 , ซึ่งปรากฏการณ์ ต่าง ๆ บน ม.1/2 , ม.1/3 , โลกที่ส่งผลต่อการ ม.1/4 , ม.1/5 , ดารงชีวิตของมนุษย์ และ ม.1/6 , ม.1/7 , สิ่งแวดล้อมเกิดจากการ ม.1/8 , ม.1/9 กระทาของมนุษย์เป็น สาคัญ ดังนั้นทุกคนต้อง ช่วยกันดูแลสิ่งแวดล้อม เพื่อให้โลกกลับสู่สภาวะ ที่สมดุล ทบทวน / สรุปความรู้ / ทดสอบ 5 8 รวมตลอดปี 60 100 1.4 กระบวนการเรียนรู้ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 (กรมวิชาการ, 2542, หน้า 53) มาตรา 22 ระบุว่า การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้และถือ
  • 20. 31 ว่าผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตาม ธรรมชาติและตามศักยภาพ ในมาตรา 23 (2) เน้นการจัดการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตาม อัธ ยาศั ย ให้ ค วามส าคั ญ ของการบู ร ณาการความรู้ คุณ ธรรม กระบวนการเรี ย นรู้ ตามความ เหมาะสมของระดับการศึกษา ในส่วนของการเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์นั้นต้องให้เกิดทั้งความรู้ ทักษะและเจตคติด้านวิทยาศาสตร์ รวมทั้งความรู้ความเข้าใจและประสบการณ์ เรื่อง การ จัดการ การบารุงรักษาและการใช้ป ระโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุล และยั่งยืน ในส่วนของกระบวนการจัดการเรียนรู้ มาตรา 24 ของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ได้ระบุให้สถานศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดาเนินการดังนี้ 1.จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดขอผู้เรียน โดยคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล 2. ฝึกทักษะกระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ และการประยุกต์ ความรู้มาใช้เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหา 3. จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกการปฏิบัติให้ทาได้ คิด เป็น ทาเป็น รักการอ่าน และเกิดการใฝ่รู้อย่างต่อเนื่อง 4. การจัดการเรียนการสอนโดยผสานสาระความรู้ด้านต่าง ๆ อย่างได้สัดส่วนสมดุล กัน รวมทั้งปลูกฝังคุณธรรม ค่านิยมที่ดีงาม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ไว้ในทุกวิชา 5.ส่ง เสริม สนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม สื่อการสอน และอานวยความสะดวกเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และมีความรู้ รวมทั้งสามารถใช้การวิจัยเป็น ส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้ ทั้งนี้ผู้สอนและผู้เรียนอาจเรียนรู้ไปพร้อม ๆ กันจากสื่อและแหล่ง วิทยาการประเภทต่าง ๆ 6. จัดการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นได้ทุกเวลาทุกสถานที่ มีการประสานความร่วมมือกับบิดา มารดา ผู้ปกครองและบุคคลในชุมชนทุกฝ่าย ร่วมกันพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพ ในการจัดการเรียนการสอน ผู้สอนต้องศึกษาเป้าหมายและปรัชญาของการเรียนรู้ให้ เข้าใจอย่างถ่องแท้ ทาความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎีการเรียนรู้ต่าง ๆ ตลอดจนกระบวนการ เรียนการสอนที่เน้นกระบวนการและผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด แล้วพิจารณาเลือกนาไปออกแบบ กิจกรรมที่หลากหลายให้เหมาะสมกับเนื้อหาสาระ เหมาะกับสภาพแวดล้อมของโรงเรียน แหล่ง เรียนของท้องถิ่นและที่สาคัญคือศักยภาพของผู้เรียนด้วย ดังนั้นในเนื้อ หาสาระเดียวกันผู้สอนแต่ ละโรงเรียนย่อมจัดการเรียนการสอนและใช้สื่อการเรียนการสอนที่แตกต่างกันได้
  • 21. 32 2. แนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสังคม ( STS ) 2.1 ความหมายของการสอนตามแนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสังคม ( STS ) ก่อนที่จะทาความเข้าใจเกี่ยวกับการเรียนการสอนตามแนวคิด STS คณะผู้วิจัยขอสรุป ความหมายของคาว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคม ดังต่อไปนี้ นักการศึกษาได้ให้ความหมายของคาว่า วิทยาศาสตร์ ดังนี้ ชานาญ เชาวกีรติพงศ์ (2535, หน้า 5 ) ได้ให้ความหมายของวิทยาศาสตร์ว่าหมายถึง ความรู้ที่แสดงหรือพิสูจน์ได้ว่าถูกต้องเป็นความจริง จัดไว้เป็นหมวดหมู่ มีระเบียบและขั้นตอน สรุปได้เป็นกฎเกณฑ์สากล เป็นความรู้ที่ได้มาโดยวิธีการที่เริ่มต้นด้วยการสังเกตและ/หรือ การจัด ที่เป็นระเบียบมีขั้นตอน และปราศจากอคติ The Columbia Encyclopedia ( อ้างถึงใน สมจิต สวธนไพบูลย์ 2535, หน้า 93 ) ซึ่ง อธิบายว่า วิทยาศาสตร์เป็นการรวบรวมความรู้อย่างมีระบบ ความรู้ที่ได้รวบรวมไว้นี้เป็นความรู้ เกี่ยวกับปรากฏการณ์ธรรมชาติ ความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ที่เกิดขึ้นนั้น มิได้หมายถึง เฉพาะการรวบรวมข้อเท็จจริงเพียงสภาพพลวัต หรือมีการเปลี่ยนแปลงตามกาลเวลาตามสภาพ การกระตุ้นจากภายในหรือจากสภาพภายนอก ความรู้ทางวิทยาศาสตร์เกิดจากการสังเกต ธรรมชาติและการวิเคราะห์วิจัย วิทยาศาสตร์จึงเป็นสากลเพราะเป็นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ ต่างๆที่เกิดขึ้นด้วยหลักการเดียวกัน วิทยาศาสตร์จึงไม่ถูกจากัดด้วยเวลาสถานที่ และวัฒนธรรม ปิยวรรณ แสงสว่าง (2540, หน้า1) ให้ความหมายของวิทยาศาสตร์อยู่สองนัย คือ นัยที่ หนึ่ง วิทยาศาสตร์ หมายถึง กระบวนการคิดหาเหตุหลอยางเป็นระบบที่น่าเชื่ อถือได้ นัยที่สอง วิทยาศาสตร์ หมายถึง องค์ความรู้อันที่เกี่ยวกับกฎเกณฑ์และความจริงที่มนุ ษย์ค้นพบ โดยอาศัยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และนามาประมวลไว้เป็นหมวดหมู่เพื่อให้คนรุ่นต่อไปได้ ศึกษาหรือนาไปใช้ประโยชน์ สิปปนนท์ เกตุทัต (2541, หน้า 2) วิทยาศาสตร์ คือ การบรรยายถึงความสัมพันธ์ ระหว่างส่วนต่างๆในธรรมชาติ ทั้งในสภาพนิ่ง และสภาพพลวัต หรือการเปลี่ยนแปลงตาม กาลเวลา และตามสภาพกระตุ้นทั้งจากใน หรือจากสภาพภายนอก ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เกิดจากการสังเกตธรรมชาติ และ การวิเคราะห์วิจัยวิทยาศาสตร์ จึงมีความเป็นสากล เพราะ ปรากฏการณ์ธรรมชาติต่างๆ ที่เกิดขึ้นด้วยหลักเดียวกัน วิทยาศาสตร์จึงไม่ถูกจากัดด้วยเวลา สถานที่และวัฒนธรรม
  • 22. 33 คณะกรรมการการบริหารวิชาบูรณาการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (2545, หน้า 33) ให้ความหมายของวิชาวิทยาศาสตร์ไว้ว่า วิทยาศาสตร์ คือ วิชาที่ศึกษาความรู้เกี่ยวกับธรรมชาติ ทั้ ง ที่ มี ชี วิ ต และไม่ มี ชี วิ ต โดยมี จุ ด มุ่ ง หมายเพื่ อ แสวงหาความรู้ อ ย่ า งเป็ น ระบบจากการ สังเกต ตั้งสมมติฐาน พิสูจน์สมมติฐาน ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ความรู้หรือข้อเท็จจริง ที่ได้นั้น ๆ สามารถนามา ตั้งเป็นทฤษฎีได้ ผดุงยศ ดวงมาลา (2523, หน้า 1) กล่าวว่า ถ้าจะให้นิยามความหมายของวิทยาศาสตร์ ว่า "ความรู้" ตามความหมายที่แปลมาจากภาษาลาติน ดูเหมือนว่าจะมีความหมายที่สั้นและแคบ จนเกินไป เพราะธรรมชาติหรือแก่นสารที่แท้จริงของวิทยาศาสตร์นั้นไม่ได้หมายถึงความรู้เนื้อหา วิทยาศาสตร์แต่เพียงอย่างเดียว แต่หมายถึงวิธีการทางวิทยาศาสตร์และเจตคติทางวิทยาศาสตร์ ด้วย ซึ่งหมายความว่าในการเรีย นวิทยาศาสตร์นั้นผู้เรียนจะต้องได้ทั้งตัวความรู้วิทยาศาสตร์ วิธีการ และเจตคติวิทยาศาสตร์ไปพร้อม ๆ กัน พัชราภรณ์ พสุวัต (2522, หน้า 3) อธิบายว่า วิทยาศาสตร์ คือ วิชาที่มีเนื้อหาสาระซึ่งเป็น เรื่องราวของสิ่งแวดล้อม ปรากฎการณ์ธรรมชาติ ซึ่งมนุษย์ได้รวบรวมความจริง (facts) เหล่านั้น เพื่อนามาประมวลเป็นความรู้ (knowledge) และตั้งเป็นกฎเกณฑ์ (principles) ขึน ้ มังกร ทองสุขดี (ม.ป.ป., หน้า 1-2) กล่าวว่า วิทยาศาสตร์ หมายถึง ความรู้เกี่ยวกับ ธรรมชาติที่อยู่รอบ ๆ ตัวเรา ซึ่งมนุษย์ได้ศึกษาค้นคว้าสะสมมาตั้งแต่อดีตจนกระทั่ง ถึงปัจจุบัน และ จะศึกษาต่อไปในอนาคตอย่างไม่รู้จักจบสิ้น มนุษย์ได้พยายามศึกษาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมว่า 1. สิ่งต่าง ๆ มีความเป็นมาอย่างไร 2. สิ่งเหล่านั้นมีความสัมพันธ์ต่อกันอย่างไรบ้าง 3. พัฒนาการของสิ่งเหล่านั้นมีระเบียบแบบแผน หรือมีหลักเกณฑ์อย่างไร และ จะบังเกิดขึ้นในอนาคตอย่างไร 4. มนุษย์จะนาความรู้ทั้งหลายมาใช้ให้เกิดประโยชน์ได้อย่างไรบ้าง ยิ่งกว่านั้น วิ ท ยาศาสตร์ ยั ง เป็ น ความรู้ เ กี่ ย วกั บ ข้ อ เท็ จ จริ ง ที่ ท ดสอบได้ เ ป็ น ความรู้ ที่ มี ข อบเขตมี ร ะเบี ย บ กฎเกณฑ์ เป็นความรู้ที่มีรากฐาน มาจากการสังเกต การจดบันทึก การตั้งสมมุติฐาน โดยใช้ หลั ก ฐานทางปรั ช ญาและตรรกศาสตร์ แ ล้ ว พยายามวั ด หรื อ หาค่ า ออกมาทั้ ง ในด้ า นคุ ณ ค่ า (นามธรรม)และปริมาณ (รูปธรรม) ถ้าจะเปรียบวิทยาศาสตร์เสมือนต้นไม้ใหญ่แล้วรากแก้วที่ สาคัญ 3 ราก คือ วิชาปรัชญา ตรรกศาสตร์ และคณิตศาสตร์พร้อมกันนี้ จากความหมายเหล่ า นี้ อ าจสรุ ป ใหม่ ไ ด้ ว่ า วิ ท ยาศาสตร์ คื อ องค์ ค วามรู้ ที่ ผ่ า น กระบวนการสื บ ค้ น ตรวจสอบอย่ า งเป็ น ระบบ องค์ ค วามรู้ ข องธรรมชาติ แ ละวิ ธี ก ารทาง
  • 23. 34 วิทยาศาสตร์ ที่ใช้ในการสืบเสาะหาความรู้ ซึ่งองค์ความรู้นั้นสามารถเปลี่ยนแปลงได้ ถ้ามีการ ค้นพบหลักฐานหรือเหตุผลที่เหมาะสมกว่า นักการศึกษาได้ให้ความหมายของคาว่า เทคโนโลยี ดังนี้ ผดุงยศ ดวงมาลา (2523, หน้า 16) ได้ให้ความหมายของเทคโนโลยีว่าปัจจุบันมี ความหมายกว้างกว่ารากศัพท์เดิม คือ หมายถึง กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับเครื่องจักรกล สิ่งประดิษฐ์ ใหม่ ๆ ทาง อุตสาหกรรม ถ้าในแง่ของความรู้ เทคโนโลยี จะหมายถึง ความรู้หรือศาสตร์ที่เกี่ยวกับ เทคนิคการผลิตในอุตสาหกรรม และกิจกรรมอื่น ๆ ที่จะเอื้ออานวยต่อการดารงชีวิตของมนุษย์ หรือ อาจสรุปว่า เทคโนโลยี คือ ความรู้ที่มนุษย์ใช้ทรัพยากรต่าง ๆ ให้เกิดประโยชน์แก่มนุษย์เอง ทั้งใน แ ง่ ค ว า ม เ ป็ น อ ยู่ แ ล ะ ก า ร ค ว บ คุ ม สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม สิปปนนท์ เกตุทัต (ม.ป.ป., หน้า 81) อธิบายว่า เทคโนโลยี คือ การนาความรู้ทาง วิทยาศาสตร์ และศาสตร์อื่น ๆ มาผสมผสานประยุกต์ เพื่อสนองเป้าหมายเฉพาะตามความ ต้องการของมนุษย์ด้วยการนาทรัพยากรต่าง ๆ มาใช้ในการผลิตและจาหน่ายให้ต่อเนื่องตลอดทั้ง กระบวนการ เทคโนโลยีจึงมักจะมีคุณประโยชน์และเหมาะสมเฉพาะเวลาและสถานที่ และหาก เทคโนโลยีนั้นสอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจ สังคม การเมือง วัฒนธรรม และสภาพแวดล้อม เทคโนโลยีนั้นจะเกื้อกูลเป็นประโยชน์ทั้งต่อบุคคลและส่วนรวม หากไม่สอดคล้องเทคโนโลยี นั้น ๆ จะก่อให้เกิดปัญหาตามมามหาศาล ธรรมนูญ โรจนะบุรานนท์ (2531, หน้า 170) กล่าวว่า เทคโนโลยี คือ ความรู้วิชาการรวม กับความรู้วิธีการ และความชานาญที่สามารถนาไปปฏิบัติภารกิจให้มีประสิทธิภาพสูง โดยปกติ เทคโนโลยีนั้นมีความรู้วิทยาศาสตร์รวมอยู่ด้วย นั้นคือวิทยาศาสตร์เป็นความรู้ เทคโนโลยีเป็นการ นาความรู้ไปใช้ในทางปฏิบัติ จึงมักนิยมใช้สองคาด้วยกัน คือ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อเน้น ให้เข้าใจว่า ทั้งสองอย่างนี้ต้องควบคู่กันไปจึงจะมีประสิทธิภาพสูง จากความหมายเหล่านี้อาจสรุปใหม่ได้ว่า เทคโนโลยี คือวิทยาการการนาเอา วิทยาศาสตร์ประยุกต์มาใช้สร้างสิ่งประดิษฐ์ใหม่ ๆ ทาง อุตสาหกรรมโดยผสมผสานศาสตร์อื่น ๆ เพื่อประโยชน์ทั้งต่อบุคคลและส่วนรวม นักการศึกษาได้ให้ความหมายของคาว่า สังคม ดังนี้