SlideShare a Scribd company logo
1 of 46
Download to read offline
Membrane Structure
  and Function
Membranes Structure
Membrane มีองค์ ประกอบที่สาคัญ ได้ แก่
     Lipids
     Protein
     และ Carbohydrates
Membrane models
      นักวิทยาศาสตร์ ได้ มีแนวคิดเรื่อง
membrane model ต่ างๆ ซึ่ง
เปลี่ยนแปลงไปตามความรู้ท่ เจริญก้ าวหน้ า
                             ี
ขึน
  ้
Artificial membranes (cross section)

                   Hydrophobic tail

                    Hydrophilic head
Two generations of membrane
          models
(a) The Davson-Danielli model (1935 –1970)
(b) Current fluid mosaic model
Freeze fracture
and freeze-etch
The fluidity of membranes

              (a) Movement of
              phospholipids



               (b) Membrane
               fluidity
(c ) Cholesterol within the membrane




       Cholesterol ลดการเคลื่อนที่ของโมเลกุลของ
phospholipids ทาให้ membrane คงรูปอยู่ได้ ในที่
อุณหภูมสูง แต่ ในที่อุณหภูมต่า cholesterol ลดการรวมตัว
       ิ                   ิ
กันของ phospholipids ทาให้ membrane ไม่ แข็งตัว
โครงสร้ างของเยื่อหุ้มเซลล์ สัตว์
เยื่อหุ้มล้ อมรอบเซลล์ ประกอบด้ วย phospholipid,
membrane protein, carbohydrates และ
cholesterols ปั จจุบันเชื่อว่ าโครงสร้ างทางโมเลกุลของ
membrane มีลักษณะเป็ น Fluid Mosaic Model เสนอโดย
Singer และ Nicholson ในปี ค.ศ. 1972 มีลักษณะดังนี ้
          1. membrane ประกอบด้ วย lipid bilayer ที่ต่อเนื่อง
เป็ นแผ่ น และมีโปรตีนชนิดต่ างๆฝั งอยู่ โดยมีการเรี ยงตัวแบบ
mosaic (คล้ ายสิ่งนูนขนาดเล็กหลายชนิดมาเรี ยงติดต่ อกัน)
    2. มี peripheral protein ติดอยู่ท่ ีผิวด้ านในของ
membrane
       3. ส่ วนที่ผิวด้ านนอกมี oligopolysaccharide chains
ของ glygoproteins และ glycolipids ยื่นยาวออกมา
The structure of transmembrane protein
Sidedness of
plasma
membrane
ด้ านของ membrane มี 2 ด้ านคือ cytoplasmic sides (ด้ าน
ภายใน cytoplasm) และ extracellular sides (ด้ านภายนอกเซลล์ ) มี
ลักษณะที่แตกต่ างกัน ซึ่งความแตกต่ างนีเ้ กิดขึนตังแต่ membrane ถูก
                                               ้ ้
สร้ างมาจาก ER และ Golgi complex
        ในรูปนีสีส้มเป็ น membrane ของ organelles ด้ านที่อยู่ภายใน
                ้
organellles จะเป็ นด้ าน extracellular sides ส่ วนอีกด้ านหนึ่งจะเป็ น
cytoplasmic sides สีเขียวแทน carbohydrates ที่สร้ างมาจาก ER และ
modified ที่ Golgi complex
        Vesicles ที่รวมกับ plasma membrane นอกจาก membrane ที่
หุ้ม vesicles จะเป็ นส่ วนของ plasma membrane แล้ ว ยังเป็ นการหลั่ง
สารออกจากเซลล์ ด้วย (สีม่วง)
Some functions of membrane protein



                  Transport protein เป็ น
                  ทางให้ ions และโมเลกุลต่ างๆ
                  ผ่ านเข้ าออกเยื่อหุ้มเซลล์
Enzymes
Signal transduction:
โปรตีนมีหน้ าที่เกี่ยวข้ องกับการ
จดจาเพื่อที่จะจับกับโมเลกุล
ของสารอื่นภายนอกเซลล์ ทาให้
เกิดกระบวนการต่ างๆได้ เช่ น
ฮอร์ โมน
Intercellular junctions
เป็ นองค์ ประกอบของ tight
junction ที่อยู่บริเวณด้ านข้ าง
ของเซลล์ ท่ อยู่ตดกัน
            ี ิ
Cell-cell recognition
Attachment to the
cytoskeleton and
extracellular
matrix (ECM)
การลาเลียงสารผ่ านเยื่อหุ้มเซลล์
   (Traffic Across Membranes)
เยื่อหุ้มเซลล์ มีสมบัตท่ ยอมให้ สารบางอย่ างผ่ านเข้ าไปใน
                      ิ ี
เซลล์ ได้ ง่ายกว่ าสารบางอย่ างชนิดอื่น เรียกว่ า
selective permeability ดังนันเยื่อหุ้มเซลล์ จะ
                                       ้
ควบคุมชนิดและอัตราการลาเลียงโมเลกุลของสารผ่ านเข้ า
และออกจากเซลล์
Selective permeability ของเยื่อหุ้มเซลล์ ขึนอยู่กับ
                                           ้
1. Phospholipid bilayer
    1.1 โมเลกุลไม่ มีขัวไฟฟา (nonpolar (hydrophobic)
                        ้ ้
   molecules) เช่ น hydrocarbons และ O2 ซึ่งสามารถ
   ละลายได้ ในเยื่อหุ้มเซลล์ จะผ่ านเยื่อหุ้มเซลล์ ได้ ง่ายกว่ าสารอื่น
     และเมื่อเปรียบเทียบระหว่ างสาร 2 ชนิดที่ละลายในไขมันได้
   เท่ ากันสารที่มีขนาดเล็กกว่ าสามารถผ่ านไปได้ ดีกว่ า
1.2 โมเลกุลมีขัวไฟฟา (polar (hydrophilic)
               ้ ้
molecules)
โมเลกุลขนาดเล็กที่มีขัวไฟฟาแต่ ไม่ มีอิออน (small, polar
                         ้ ้
uncharged molecules)เช่ น H2O, CO2 สามารถผ่ าน
เยื่อหุ้มสังเคราะห์ (synthetic membranes) ได้ ง่าย
โมเลกุลขนาดใหญ่ ท่ มีขัวไฟฟาแต่ ไม่ มีอิออน (large, polar
                        ี ้ ้
uncharged molecules) เช่ น นาตาลกลูโคส ผ่ านเยื่อหุ้ม
                                     ้
สังเคราะห์ ได้ ไม่ ง่าย
สารที่มีอิออน (ions) ทุกชนิดถึงแม้ ว่าจะมีขนาดเล็ก เช่ น
Na+, H+ ผ่ านชัน Hydrophobic bilayer ได้ ยาก
                ้
-      2. Specific integral transport proteins
  โมเลกุลของนา CO2 และ สารที่ไม่ มีขัวไฟฟา (nonpolar
               ้                      ้ ้
molecules) สามารถผ่ านเยื่อหุ้มเซลล์ ได้ ง่ายเช่ นเดียวกับเยื่อ
หุ้มสังเคราะห์
 ่ อหุ้มเซลล์ ต่างจากเยื่อหุ้มสังเคราะห์ คือมีสมบัตยอมให้ สาร
 เยื                                                ิ
บางอย่ างที่มีอิออนและสารที่มีขัวไฟฟาขนาดกลางผ่ านได้
                                  ้ ้
โดยสารเหล่ านีผ่านเข้ าไปที่ transport proteins
                 ้
Diffusion and Passive transport
       การแพร่ (diffusion) หมายถึง การเคลื่อนที่
ของโมเลกุลของสารจากบริเวณที่มีความเข้ มข้ นของสาร
มากกว่ าไปยังบริเวณที่มีความเข้ มข้ นของสารน้ อยกว่ า
จนกว่ าจะอยู่ในสภาพสมดุล (dynamic
equilibrium) เมื่ออยู่ในสภาพสมดุลแล้ ว โมเลกุล
ของสารยังคงเคลื่อนอยู่แต่ เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วเท่ ากัน
ทังสองบริเวณ
  ้
การแพร่ ของโมเลกุลของสารผ่ านเยื่อหุ้มเซลล์
เรียกว่ า passive transport เซลล์ ไม่ ต้องใช้ พลังงานที่
จะทาให้ เกิดการแพร่ ขน และเยื่อหุ้มเซลล์ มีสมบัติ
                        ึ้
selective permeable ดังนันอัตราการแพร่ ของสาร
                                ้
ชนิดต่ างๆจะไม่ เท่ ากัน
      นาจะสามารถแพร่ ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ ได้ อย่ างอิสระซึ่ง
       ้
มีความสาคัญมากสาหรับการดารงอยู่ของเซลล์
การแพร่ ของโมเลกุลของสารผ่ านเยื่อหุ้มเซลล์




(a) โมเลกุลของสารเคลื่อนที่จากบริเวณที่มีความเข้ มข้ นมากกว่ าไปยัง
บริเวณที่มีความเข้ มข้ นน้ อยกว่ า จนกระทั่งอยู่ในสภาพสมดุล (dynamic
equilibrium) เมื่ออยู่ในสภาพสมดุลแล้ วโมเลกุลของสารยังคง
เคลื่อนที่อยู่แต่ อัตราการเคลื่อนที่ของสารจากทังสองด้ านของเยื่อหุ้มเซลล์
                                                 ้
เท่ ากัน
(b) ในกรณีนี ้ แสดงสารละลายของสี 2 ชนิด ที่อยู่คนละด้ าน
ของเยื่อหุ้มเซลล์ โมเลกุลของสารสีเขียวจะเคลื่อนที่ไปยัง
ด้ านซ้ าย ทังๆที่ตอนเริ่มต้ นความเข้ มข้ นของสารในด้ านซ้ ายสูง
             ้
กว่ า
ตัวอย่ างการแพร่ ในสิ่งมีชีวต
                            ิ
         ได้ แก่ การหายใจของสัตว์ ขณะหายใจเข้ าก๊ าซ
ออกซิเจนจากอากาศที่ผ่านเข้ าไปในถุงลมในปอดมีความ
เข้ มข้ นสูงกว่ าในเส้ นเลือดฝอย ออกซิเจนจึงแพร่ จากถุง
ลมเข้ าไปในเส้ นเลือดฝอย และในขณะเดียวกัน
คาร์ บอนไดออกไซด์ จะแพร่ จากเส้ นเลือดเข้ าสู่ถุงลม
Osmosis




         Osmosis หมายถึงการแพร่ ของโมเลกุลของนาจากบริเวณที่มี
                                                        ้
โมเลกุลของนาหนาแน่ นมากกว่ าหรื อสารละลายที่เจือจางกว่ า (hypoosmotic
              ้
solution)ไปยังบริเวณที่มีโมเลกุลของนาน้ อยกว่ าหรื อสารละลายที่เข้ มข้ นกว่ า
                                        ้
(hyperosmotic solution) โดยผ่ านเยื่อหุ้มเซลล์
The water balance of living cells




ลูกศรแสดงทิศทางการเคลื่อนที่ของโมเลกุลของนาผ่ านเซลล์ สัตว์ ซ่ งไม่ มีผนัง
                                          ้                    ึ
เซลล์ และเซลล์ พืชซึ่งมีผนังเซลล์
The contractile vacuole of Paramesium : an
evolutionary adaptation for osmoregulation
           Filling vacuole




          Contracting vacuole
Facilitated diffusion




Transport proteins ช่ วยในการนาโมเลกุลของสารผ่ านเยื่อหุ้ม
เซลล์ จากบริเวณที่มีความเข้ มข้ นของสารสูงไปยังบริเวณที่มีความ
เข้ มข้ นต่ากว่ า เรี ยกกระบวนการนีว่า facilitated diffusion โดย
                                   ้
เซลล์ ไม่ ต้องใช้ พลังงาน
Active transport
         บางครังเซลล์ ต้องการลาเลียงสารจากที่มีความ
               ้
เข้ มข้ นต่าไปยังที่มีความเข้ มข้ นสูงกว่ า กระบวนการนี ้
เรียกว่ า active transport ซึ่งต้ องการพลังงานคือ
ATP
     ตัวอย่ างเช่ น เซลล์ ขับ NA+ ออกนอกเซลล์ และนา
K+ เข้ าไปในเซลล์ ซึ่งเรียกว่ า Sodium-potassium
pump
The sodium-potassium pump
Sodium-potassium pump
         กระบวนการเริ่มต้ นจาก Na+ จับกับโปรตีนซึ่งเป็ น
transport protein แล้ ว ATP ให้ พลังงานแก่
โปรตีนทาให้ โปรตีนเปลี่ยนรู ปร่ างและปล่ อย Na+ ผ่ าน
เยื่อหุ้มเซลล์ ออกไป ขณะเดียวกัน K+ เข้ าจับกับโปรตีน
ทาให้ โปรตีนเปลี่ยนแปลงรูปร่ างอีกครังหนึ่ง ทาให้ K+ ถูก
                                     ้
ปล่ อยเข้ าไปในเซลล์ แล้ วโปรตีนกลับมีรูปร่ างเหมือนเดิม
อีกพร้ อมที่จะเริ่มต้ นกระบวนการใหม่ ต่อไป
Diffusion
              Passive
              transport
Facilitated
transport




Active
transport
An electrogenic pump




Electrogenic pump เป็ น transport protein ที่ทา
ให้ เกิดความต่ างศักดิ์ท่ เยื่อหุ้มเซลล์
                          ี
An electrogenic pump
ตัวอย่ างเช่ น
        Na+/K+ pump เป็ น electrogenic pump
ที่สาคัญของเซลล์ สัตว์
        Proton pump เป็ น electrogenic pump
ที่สาคัญของเซลล์ พช แบคทีเรีย และพวกเห็ดรา รวมทัง
                  ื                             ้
mitochondria และ chloroplasts ใช้ proton
pump ในการสังเคราะห์ ATP
Cotransport
       เป็ นกระบวนการร่ วมที่เกิดจาก ATP pump ตัวเดียว
ทางานแล้ วมีผลไปทาให้ transport protein ตัวต่ อไปทางาน
เพื่อนาสารเข้ าสู่เซลล์



                                    ตัวอย่ างเช่ น ในเซลล์ พืชใช้
                                    proton pump ร่ วมกับ
                                    transport protein ที่
                                    นา sucrose–H+ เข้ าไป
                                    ในเซลล์
Exocytosis and endocytosis
transport large molecules
       สารที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ เช่ น โปรตีน และ
คาร์ โบไฮเครต ผ่ านออกนอกเซลล์ ด้วยกระบวนการ
exocytosis และเข้ าไปในเซลล์ ด้วยกระบวนการ
endocytosis
Endocytosis มี 3 แบบ ได้ แก่
    1. Phagocytosis
      2. Pinocytosis
      3. Receptor-mediated endocytosis
Phagocytosis




Phagocytosis เป็ นการนาสารที่เป็ นของแข็งเข้ าเซลล์ โดยเซลล์ ย่ น
                                                                ื
ส่ วน cytoplasm ไปโอบล้ อมสารของแข็งนัน แล้ วเข้ าไปในเซลล์ เป็ น
                                               ้
food vacuole แล้ ว food vacuole นันจะไปรวมกับ้
lysosome ซึ่งภายในมี hydrolytic enzymes ที่จะย่ อยสลาย
สารนันต่ อไป อมีบากินแบคทีเรี ยด้ วยวิธีนี ้
      ้
Pinocytosis




Pinocytosis เป็ นการนาสารที่เป็ นของเหลวเข้ าเซลล์ โดยเยื่อ
หุ้มเซลล์ เว้ าเข้ าไปเพื่อนาสารเข้ าไป กลายเป็ นถุงเล็กๆอยู่ใน
cytoplasm
Receptor-mediated endocytosis




Receptor-mediated endocytosis เป็ นการนาสารเฉพาะ
บางชนิดเข้ าไปในเซลล์ โดยที่ผิวเซลล์ มี receptor เฉพาะสาหรั บสาร
บางอย่ างเข้ ามาจับ แล้ วถูกนาเข้ าไปในเซลล์ เป็ นถุงเล็กๆ เมื่อผ่ านการ
ย่ อยแล้ ว receptor สามารถถูกนามาใช้ ใหม่ ได้ อีก

More Related Content

What's hot

มัลติเปิล อัลลีล (Multiple allele)
มัลติเปิล อัลลีล (Multiple allele)มัลติเปิล อัลลีล (Multiple allele)
มัลติเปิล อัลลีล (Multiple allele)Waridchaya Charoensombut
 
นอกกฎเมนเดล
นอกกฎเมนเดลนอกกฎเมนเดล
นอกกฎเมนเดลBios Logos
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์Anissa Aromsawa
 
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemsupreechafkk
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนWijitta DevilTeacher
 
การลำเลียงอาหารในพืช
การลำเลียงอาหารในพืชการลำเลียงอาหารในพืช
การลำเลียงอาหารในพืชdnavaroj
 
Biology bio16
 Biology bio16 Biology bio16
Biology bio16Bios Logos
 
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คนThitiporn Parama
 
พลังงานภายในระบบ
พลังงานภายในระบบพลังงานภายในระบบ
พลังงานภายในระบบChanthawan Suwanhitathorn
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกThanyamon Chat.
 
พันธุศาสตร์ประชากร
พันธุศาสตร์ประชากรพันธุศาสตร์ประชากร
พันธุศาสตร์ประชากรWan Ngamwongwan
 
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system kasidid20309
 
structure and function of the root
structure and function of the rootstructure and function of the root
structure and function of the rootThanyamon Chat.
 
ระบบหายใจ (1-2560)
ระบบหายใจ  (1-2560)ระบบหายใจ  (1-2560)
ระบบหายใจ (1-2560)Thitaree Samphao
 
บทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอ
บทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอบทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอ
บทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอYaovaree Nornakhum
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดWan Ngamwongwan
 
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6Mu PPu
 

What's hot (20)

มัลติเปิล อัลลีล (Multiple allele)
มัลติเปิล อัลลีล (Multiple allele)มัลติเปิล อัลลีล (Multiple allele)
มัลติเปิล อัลลีล (Multiple allele)
 
นอกกฎเมนเดล
นอกกฎเมนเดลนอกกฎเมนเดล
นอกกฎเมนเดล
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
 
Minibookbio 5 932
Minibookbio 5 932Minibookbio 5 932
Minibookbio 5 932
 
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
 
การลำเลียงอาหารในพืช
การลำเลียงอาหารในพืชการลำเลียงอาหารในพืช
การลำเลียงอาหารในพืช
 
Biology bio16
 Biology bio16 Biology bio16
Biology bio16
 
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
 
พลังงานภายในระบบ
พลังงานภายในระบบพลังงานภายในระบบ
พลังงานภายในระบบ
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
 
พันธุศาสตร์ประชากร
พันธุศาสตร์ประชากรพันธุศาสตร์ประชากร
พันธุศาสตร์ประชากร
 
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
 
structure and function of the root
structure and function of the rootstructure and function of the root
structure and function of the root
 
ระบบหายใจ (1-2560)
ระบบหายใจ  (1-2560)ระบบหายใจ  (1-2560)
ระบบหายใจ (1-2560)
 
บทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอ
บทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอบทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอ
บทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอ
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
Kingdom plantae
Kingdom plantaeKingdom plantae
Kingdom plantae
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous system
 
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6
 

Viewers also liked

การลำเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์การลำเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์Kankamol Kunrat
 
การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์Peangjit Chamnan
 
การลำเลียงสาร54
การลำเลียงสาร54การลำเลียงสาร54
การลำเลียงสาร54Oui Nuchanart
 
ใบงานที่12การสื่อสารระหว่างเซลล์
ใบงานที่12การสื่อสารระหว่างเซลล์ใบงานที่12การสื่อสารระหว่างเซลล์
ใบงานที่12การสื่อสารระหว่างเซลล์TANIKAN KUNTAWONG
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์สำเร็จ นางสีคุณ
 
The structure and function of macromolecules
The structure and function of macromoleculesThe structure and function of macromolecules
The structure and function of macromoleculesIssara Mo
 
M.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติวM.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติวWeeraphon Parawach
 
ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)
 ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t) ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)
ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)kasidid20309
 
G biology bio6
G biology bio6G biology bio6
G biology bio6Bios Logos
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
ติวการลำเลียงสาร
ติวการลำเลียงสารติวการลำเลียงสาร
ติวการลำเลียงสารAui Ounjai
 
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์feeonameray
 
ชีววิทยาเรื่องระบบภูมิคุ้มกัน Immune system
ชีววิทยาเรื่องระบบภูมิคุ้มกัน Immune systemชีววิทยาเรื่องระบบภูมิคุ้มกัน Immune system
ชีววิทยาเรื่องระบบภูมิคุ้มกัน Immune systemkasidid20309
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)Mew' Cifer
 

Viewers also liked (20)

การลำเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์การลำเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
 
การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์
 
การลำเลียงสาร54
การลำเลียงสาร54การลำเลียงสาร54
การลำเลียงสาร54
 
ใบงานที่12การสื่อสารระหว่างเซลล์
ใบงานที่12การสื่อสารระหว่างเซลล์ใบงานที่12การสื่อสารระหว่างเซลล์
ใบงานที่12การสื่อสารระหว่างเซลล์
 
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
 
The structure and function of macromolecules
The structure and function of macromoleculesThe structure and function of macromolecules
The structure and function of macromolecules
 
Cell
CellCell
Cell
 
M.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติวM.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติว
 
ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)
 ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t) ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)
ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)
 
G biology bio6
G biology bio6G biology bio6
G biology bio6
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
 
ติวการลำเลียงสาร
ติวการลำเลียงสารติวการลำเลียงสาร
ติวการลำเลียงสาร
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้า
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าMindmap การลำเลียงสารผ่านเข้า
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้า
 
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
 
ชีวเคมี
ชีวเคมีชีวเคมี
ชีวเคมี
 
ชีววิทยาเรื่องระบบภูมิคุ้มกัน Immune system
ชีววิทยาเรื่องระบบภูมิคุ้มกัน Immune systemชีววิทยาเรื่องระบบภูมิคุ้มกัน Immune system
ชีววิทยาเรื่องระบบภูมิคุ้มกัน Immune system
 
เซลล์
เซลล์เซลล์
เซลล์
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 

Similar to ชีววิทยา เรื่อง การลำเลียงสารระหว่างเซลล์ cell transport

Bio About Cell
   Bio About Cell    Bio About Cell
Bio About Cell prapassri
 
การศึกษาเซลล์
การศึกษาเซลล์การศึกษาเซลล์
การศึกษาเซลล์Issara Mo
 
สรีรวิทยา (part 1)
สรีรวิทยา (part 1)สรีรวิทยา (part 1)
สรีรวิทยา (part 1)pitsanu duangkartok
 
Pont มุนี
Pont มุนีPont มุนี
Pont มุนีmu_nin
 
Mass transport
Mass transportMass transport
Mass transportadriamycin
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตTakky Pinkgirl
 
คุณสมบัติของเยื่อหุ้มเซลล์
คุณสมบัติของเยื่อหุ้มเซลล์คุณสมบัติของเยื่อหุ้มเซลล์
คุณสมบัติของเยื่อหุ้มเซลล์inkky992
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตsupreechafkk
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตpongrawee
 
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต2
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต2ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต2
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต2Tatthep Deesukon
 
โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์chawisa44361
 
ระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive system
ระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive systemระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive system
ระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive systemsupreechafkk
 
2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์Wichai Likitponrak
 
การแบ่งเซลล์
การแบ่งเซลล์การแบ่งเซลล์
การแบ่งเซลล์Pew Juthiporn
 

Similar to ชีววิทยา เรื่อง การลำเลียงสารระหว่างเซลล์ cell transport (20)

Bio About Cell
   Bio About Cell    Bio About Cell
Bio About Cell
 
การศึกษาเซลล์
การศึกษาเซลล์การศึกษาเซลล์
การศึกษาเซลล์
 
สรีรวิทยา (part 1)
สรีรวิทยา (part 1)สรีรวิทยา (part 1)
สรีรวิทยา (part 1)
 
4
44
4
 
4
44
4
 
B03
B03B03
B03
 
Pont มุนี
Pont มุนีPont มุนี
Pont มุนี
 
Mass transport
Mass transportMass transport
Mass transport
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
คุณสมบัติของเยื่อหุ้มเซลล์
คุณสมบัติของเยื่อหุ้มเซลล์คุณสมบัติของเยื่อหุ้มเซลล์
คุณสมบัติของเยื่อหุ้มเซลล์
 
ใบงานที่10
ใบงานที่10 ใบงานที่10
ใบงานที่10
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
 
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต2
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต2ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต2
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต2
 
โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์
 
ระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive system
ระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive systemระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive system
ระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive system
 
Cell
CellCell
Cell
 
Division[1]
Division[1]Division[1]
Division[1]
 
2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์
 
การแบ่งเซลล์
การแบ่งเซลล์การแบ่งเซลล์
การแบ่งเซลล์
 

More from kasidid20309

Quiz Development.pdf
Quiz Development.pdfQuiz Development.pdf
Quiz Development.pdfkasidid20309
 
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormone
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormoneเรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormone
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormonekasidid20309
 
รื่องSensory and-motor-mechanismน้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด...
รื่องSensory and-motor-mechanismน้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด...รื่องSensory and-motor-mechanismน้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด...
รื่องSensory and-motor-mechanismน้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด...kasidid20309
 
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...kasidid20309
 
เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...
เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...
เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...kasidid20309
 
เรื่องพันธุศาสตร์ genetics ตอนที่ 1
เรื่องพันธุศาสตร์ genetics ตอนที่ 1เรื่องพันธุศาสตร์ genetics ตอนที่ 1
เรื่องพันธุศาสตร์ genetics ตอนที่ 1kasidid20309
 
ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration
ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respirationชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration
ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respirationkasidid20309
 
ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system
ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system
ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system kasidid20309
 
ชีววิทยาเรื่องระบบขับถ่าย Excretion
ชีววิทยาเรื่องระบบขับถ่าย Excretionชีววิทยาเรื่องระบบขับถ่าย Excretion
ชีววิทยาเรื่องระบบขับถ่าย Excretionkasidid20309
 
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system ตอนที่ 2
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system ตอนที่ 2ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system ตอนที่ 2
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system ตอนที่ 2kasidid20309
 
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemkasidid20309
 
ชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive system
ชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive systemชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive system
ชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive systemkasidid20309
 
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 2 general cell
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 2 general cellชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 2 general cell
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 2 general cellkasidid20309
 
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 1 general cell
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 1 general cellชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 1 general cell
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 1 general cellkasidid20309
 
ชีววิทยา เรื่อง การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส meiosis
ชีววิทยา เรื่อง การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส meiosisชีววิทยา เรื่อง การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส meiosis
ชีววิทยา เรื่อง การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส meiosiskasidid20309
 
ชีววิทยา เรื่อง การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส mitosis
ชีววิทยา เรื่อง การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส mitosisชีววิทยา เรื่อง การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส mitosis
ชีววิทยา เรื่อง การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส mitosiskasidid20309
 
เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 2
เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 2เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 2
เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 2kasidid20309
 
เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 1
เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 1เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 1
เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 1kasidid20309
 
ข้อสอบเข้าโอลิมปิกชีวิทยา สอวน ศูนย์ มทักษิณ ปี2553 (ค่ายหนึ่ง)
ข้อสอบเข้าโอลิมปิกชีวิทยา สอวน ศูนย์ มทักษิณ ปี2553 (ค่ายหนึ่ง)  ข้อสอบเข้าโอลิมปิกชีวิทยา สอวน ศูนย์ มทักษิณ ปี2553 (ค่ายหนึ่ง)
ข้อสอบเข้าโอลิมปิกชีวิทยา สอวน ศูนย์ มทักษิณ ปี2553 (ค่ายหนึ่ง) kasidid20309
 
ข้อสอบเข้าโอลิมปิกชีวิทยา สอวน ศูนย์ มทักษิณ ปี2552 (ค่ายหนึ่ง)
ข้อสอบเข้าโอลิมปิกชีวิทยา สอวน ศูนย์ มทักษิณ ปี2552 (ค่ายหนึ่ง) ข้อสอบเข้าโอลิมปิกชีวิทยา สอวน ศูนย์ มทักษิณ ปี2552 (ค่ายหนึ่ง)
ข้อสอบเข้าโอลิมปิกชีวิทยา สอวน ศูนย์ มทักษิณ ปี2552 (ค่ายหนึ่ง) kasidid20309
 

More from kasidid20309 (20)

Quiz Development.pdf
Quiz Development.pdfQuiz Development.pdf
Quiz Development.pdf
 
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormone
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormoneเรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormone
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormone
 
รื่องSensory and-motor-mechanismน้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด...
รื่องSensory and-motor-mechanismน้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด...รื่องSensory and-motor-mechanismน้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด...
รื่องSensory and-motor-mechanismน้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด...
 
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
 
เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...
เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...
เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...
 
เรื่องพันธุศาสตร์ genetics ตอนที่ 1
เรื่องพันธุศาสตร์ genetics ตอนที่ 1เรื่องพันธุศาสตร์ genetics ตอนที่ 1
เรื่องพันธุศาสตร์ genetics ตอนที่ 1
 
ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration
ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respirationชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration
ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration
 
ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system
ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system
ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system
 
ชีววิทยาเรื่องระบบขับถ่าย Excretion
ชีววิทยาเรื่องระบบขับถ่าย Excretionชีววิทยาเรื่องระบบขับถ่าย Excretion
ชีววิทยาเรื่องระบบขับถ่าย Excretion
 
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system ตอนที่ 2
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system ตอนที่ 2ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system ตอนที่ 2
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system ตอนที่ 2
 
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
 
ชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive system
ชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive systemชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive system
ชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive system
 
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 2 general cell
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 2 general cellชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 2 general cell
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 2 general cell
 
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 1 general cell
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 1 general cellชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 1 general cell
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 1 general cell
 
ชีววิทยา เรื่อง การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส meiosis
ชีววิทยา เรื่อง การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส meiosisชีววิทยา เรื่อง การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส meiosis
ชีววิทยา เรื่อง การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส meiosis
 
ชีววิทยา เรื่อง การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส mitosis
ชีววิทยา เรื่อง การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส mitosisชีววิทยา เรื่อง การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส mitosis
ชีววิทยา เรื่อง การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส mitosis
 
เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 2
เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 2เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 2
เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 2
 
เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 1
เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 1เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 1
เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 1
 
ข้อสอบเข้าโอลิมปิกชีวิทยา สอวน ศูนย์ มทักษิณ ปี2553 (ค่ายหนึ่ง)
ข้อสอบเข้าโอลิมปิกชีวิทยา สอวน ศูนย์ มทักษิณ ปี2553 (ค่ายหนึ่ง)  ข้อสอบเข้าโอลิมปิกชีวิทยา สอวน ศูนย์ มทักษิณ ปี2553 (ค่ายหนึ่ง)
ข้อสอบเข้าโอลิมปิกชีวิทยา สอวน ศูนย์ มทักษิณ ปี2553 (ค่ายหนึ่ง)
 
ข้อสอบเข้าโอลิมปิกชีวิทยา สอวน ศูนย์ มทักษิณ ปี2552 (ค่ายหนึ่ง)
ข้อสอบเข้าโอลิมปิกชีวิทยา สอวน ศูนย์ มทักษิณ ปี2552 (ค่ายหนึ่ง) ข้อสอบเข้าโอลิมปิกชีวิทยา สอวน ศูนย์ มทักษิณ ปี2552 (ค่ายหนึ่ง)
ข้อสอบเข้าโอลิมปิกชีวิทยา สอวน ศูนย์ มทักษิณ ปี2552 (ค่ายหนึ่ง)
 

ชีววิทยา เรื่อง การลำเลียงสารระหว่างเซลล์ cell transport

  • 1. Membrane Structure and Function
  • 2. Membranes Structure Membrane มีองค์ ประกอบที่สาคัญ ได้ แก่ Lipids Protein และ Carbohydrates
  • 3. Membrane models นักวิทยาศาสตร์ ได้ มีแนวคิดเรื่อง membrane model ต่ างๆ ซึ่ง เปลี่ยนแปลงไปตามความรู้ท่ เจริญก้ าวหน้ า ี ขึน ้
  • 4. Artificial membranes (cross section) Hydrophobic tail Hydrophilic head
  • 5. Two generations of membrane models
  • 6. (a) The Davson-Danielli model (1935 –1970)
  • 7. (b) Current fluid mosaic model
  • 9. The fluidity of membranes (a) Movement of phospholipids (b) Membrane fluidity
  • 10. (c ) Cholesterol within the membrane Cholesterol ลดการเคลื่อนที่ของโมเลกุลของ phospholipids ทาให้ membrane คงรูปอยู่ได้ ในที่ อุณหภูมสูง แต่ ในที่อุณหภูมต่า cholesterol ลดการรวมตัว ิ ิ กันของ phospholipids ทาให้ membrane ไม่ แข็งตัว
  • 12. เยื่อหุ้มล้ อมรอบเซลล์ ประกอบด้ วย phospholipid, membrane protein, carbohydrates และ cholesterols ปั จจุบันเชื่อว่ าโครงสร้ างทางโมเลกุลของ membrane มีลักษณะเป็ น Fluid Mosaic Model เสนอโดย Singer และ Nicholson ในปี ค.ศ. 1972 มีลักษณะดังนี ้ 1. membrane ประกอบด้ วย lipid bilayer ที่ต่อเนื่อง เป็ นแผ่ น และมีโปรตีนชนิดต่ างๆฝั งอยู่ โดยมีการเรี ยงตัวแบบ mosaic (คล้ ายสิ่งนูนขนาดเล็กหลายชนิดมาเรี ยงติดต่ อกัน) 2. มี peripheral protein ติดอยู่ท่ ีผิวด้ านในของ membrane 3. ส่ วนที่ผิวด้ านนอกมี oligopolysaccharide chains ของ glygoproteins และ glycolipids ยื่นยาวออกมา
  • 13. The structure of transmembrane protein
  • 15. ด้ านของ membrane มี 2 ด้ านคือ cytoplasmic sides (ด้ าน ภายใน cytoplasm) และ extracellular sides (ด้ านภายนอกเซลล์ ) มี ลักษณะที่แตกต่ างกัน ซึ่งความแตกต่ างนีเ้ กิดขึนตังแต่ membrane ถูก ้ ้ สร้ างมาจาก ER และ Golgi complex ในรูปนีสีส้มเป็ น membrane ของ organelles ด้ านที่อยู่ภายใน ้ organellles จะเป็ นด้ าน extracellular sides ส่ วนอีกด้ านหนึ่งจะเป็ น cytoplasmic sides สีเขียวแทน carbohydrates ที่สร้ างมาจาก ER และ modified ที่ Golgi complex Vesicles ที่รวมกับ plasma membrane นอกจาก membrane ที่ หุ้ม vesicles จะเป็ นส่ วนของ plasma membrane แล้ ว ยังเป็ นการหลั่ง สารออกจากเซลล์ ด้วย (สีม่วง)
  • 16. Some functions of membrane protein Transport protein เป็ น ทางให้ ions และโมเลกุลต่ างๆ ผ่ านเข้ าออกเยื่อหุ้มเซลล์
  • 18. Signal transduction: โปรตีนมีหน้ าที่เกี่ยวข้ องกับการ จดจาเพื่อที่จะจับกับโมเลกุล ของสารอื่นภายนอกเซลล์ ทาให้ เกิดกระบวนการต่ างๆได้ เช่ น ฮอร์ โมน
  • 19. Intercellular junctions เป็ นองค์ ประกอบของ tight junction ที่อยู่บริเวณด้ านข้ าง ของเซลล์ ท่ อยู่ตดกัน ี ิ
  • 21. Attachment to the cytoskeleton and extracellular matrix (ECM)
  • 22. การลาเลียงสารผ่ านเยื่อหุ้มเซลล์ (Traffic Across Membranes) เยื่อหุ้มเซลล์ มีสมบัตท่ ยอมให้ สารบางอย่ างผ่ านเข้ าไปใน ิ ี เซลล์ ได้ ง่ายกว่ าสารบางอย่ างชนิดอื่น เรียกว่ า selective permeability ดังนันเยื่อหุ้มเซลล์ จะ ้ ควบคุมชนิดและอัตราการลาเลียงโมเลกุลของสารผ่ านเข้ า และออกจากเซลล์
  • 23. Selective permeability ของเยื่อหุ้มเซลล์ ขึนอยู่กับ ้ 1. Phospholipid bilayer 1.1 โมเลกุลไม่ มีขัวไฟฟา (nonpolar (hydrophobic) ้ ้ molecules) เช่ น hydrocarbons และ O2 ซึ่งสามารถ ละลายได้ ในเยื่อหุ้มเซลล์ จะผ่ านเยื่อหุ้มเซลล์ ได้ ง่ายกว่ าสารอื่น และเมื่อเปรียบเทียบระหว่ างสาร 2 ชนิดที่ละลายในไขมันได้ เท่ ากันสารที่มีขนาดเล็กกว่ าสามารถผ่ านไปได้ ดีกว่ า
  • 24. 1.2 โมเลกุลมีขัวไฟฟา (polar (hydrophilic) ้ ้ molecules) โมเลกุลขนาดเล็กที่มีขัวไฟฟาแต่ ไม่ มีอิออน (small, polar ้ ้ uncharged molecules)เช่ น H2O, CO2 สามารถผ่ าน เยื่อหุ้มสังเคราะห์ (synthetic membranes) ได้ ง่าย โมเลกุลขนาดใหญ่ ท่ มีขัวไฟฟาแต่ ไม่ มีอิออน (large, polar ี ้ ้ uncharged molecules) เช่ น นาตาลกลูโคส ผ่ านเยื่อหุ้ม ้ สังเคราะห์ ได้ ไม่ ง่าย สารที่มีอิออน (ions) ทุกชนิดถึงแม้ ว่าจะมีขนาดเล็ก เช่ น Na+, H+ ผ่ านชัน Hydrophobic bilayer ได้ ยาก ้
  • 25. - 2. Specific integral transport proteins  โมเลกุลของนา CO2 และ สารที่ไม่ มีขัวไฟฟา (nonpolar ้ ้ ้ molecules) สามารถผ่ านเยื่อหุ้มเซลล์ ได้ ง่ายเช่ นเดียวกับเยื่อ หุ้มสังเคราะห์  ่ อหุ้มเซลล์ ต่างจากเยื่อหุ้มสังเคราะห์ คือมีสมบัตยอมให้ สาร เยื ิ บางอย่ างที่มีอิออนและสารที่มีขัวไฟฟาขนาดกลางผ่ านได้ ้ ้ โดยสารเหล่ านีผ่านเข้ าไปที่ transport proteins ้
  • 26. Diffusion and Passive transport การแพร่ (diffusion) หมายถึง การเคลื่อนที่ ของโมเลกุลของสารจากบริเวณที่มีความเข้ มข้ นของสาร มากกว่ าไปยังบริเวณที่มีความเข้ มข้ นของสารน้ อยกว่ า จนกว่ าจะอยู่ในสภาพสมดุล (dynamic equilibrium) เมื่ออยู่ในสภาพสมดุลแล้ ว โมเลกุล ของสารยังคงเคลื่อนอยู่แต่ เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วเท่ ากัน ทังสองบริเวณ ้
  • 27. การแพร่ ของโมเลกุลของสารผ่ านเยื่อหุ้มเซลล์ เรียกว่ า passive transport เซลล์ ไม่ ต้องใช้ พลังงานที่ จะทาให้ เกิดการแพร่ ขน และเยื่อหุ้มเซลล์ มีสมบัติ ึ้ selective permeable ดังนันอัตราการแพร่ ของสาร ้ ชนิดต่ างๆจะไม่ เท่ ากัน นาจะสามารถแพร่ ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ ได้ อย่ างอิสระซึ่ง ้ มีความสาคัญมากสาหรับการดารงอยู่ของเซลล์
  • 28. การแพร่ ของโมเลกุลของสารผ่ านเยื่อหุ้มเซลล์ (a) โมเลกุลของสารเคลื่อนที่จากบริเวณที่มีความเข้ มข้ นมากกว่ าไปยัง บริเวณที่มีความเข้ มข้ นน้ อยกว่ า จนกระทั่งอยู่ในสภาพสมดุล (dynamic equilibrium) เมื่ออยู่ในสภาพสมดุลแล้ วโมเลกุลของสารยังคง เคลื่อนที่อยู่แต่ อัตราการเคลื่อนที่ของสารจากทังสองด้ านของเยื่อหุ้มเซลล์ ้ เท่ ากัน
  • 29. (b) ในกรณีนี ้ แสดงสารละลายของสี 2 ชนิด ที่อยู่คนละด้ าน ของเยื่อหุ้มเซลล์ โมเลกุลของสารสีเขียวจะเคลื่อนที่ไปยัง ด้ านซ้ าย ทังๆที่ตอนเริ่มต้ นความเข้ มข้ นของสารในด้ านซ้ ายสูง ้ กว่ า
  • 30. ตัวอย่ างการแพร่ ในสิ่งมีชีวต ิ ได้ แก่ การหายใจของสัตว์ ขณะหายใจเข้ าก๊ าซ ออกซิเจนจากอากาศที่ผ่านเข้ าไปในถุงลมในปอดมีความ เข้ มข้ นสูงกว่ าในเส้ นเลือดฝอย ออกซิเจนจึงแพร่ จากถุง ลมเข้ าไปในเส้ นเลือดฝอย และในขณะเดียวกัน คาร์ บอนไดออกไซด์ จะแพร่ จากเส้ นเลือดเข้ าสู่ถุงลม
  • 31. Osmosis Osmosis หมายถึงการแพร่ ของโมเลกุลของนาจากบริเวณที่มี ้ โมเลกุลของนาหนาแน่ นมากกว่ าหรื อสารละลายที่เจือจางกว่ า (hypoosmotic ้ solution)ไปยังบริเวณที่มีโมเลกุลของนาน้ อยกว่ าหรื อสารละลายที่เข้ มข้ นกว่ า ้ (hyperosmotic solution) โดยผ่ านเยื่อหุ้มเซลล์
  • 32. The water balance of living cells ลูกศรแสดงทิศทางการเคลื่อนที่ของโมเลกุลของนาผ่ านเซลล์ สัตว์ ซ่ งไม่ มีผนัง ้ ึ เซลล์ และเซลล์ พืชซึ่งมีผนังเซลล์
  • 33. The contractile vacuole of Paramesium : an evolutionary adaptation for osmoregulation Filling vacuole Contracting vacuole
  • 34. Facilitated diffusion Transport proteins ช่ วยในการนาโมเลกุลของสารผ่ านเยื่อหุ้ม เซลล์ จากบริเวณที่มีความเข้ มข้ นของสารสูงไปยังบริเวณที่มีความ เข้ มข้ นต่ากว่ า เรี ยกกระบวนการนีว่า facilitated diffusion โดย ้ เซลล์ ไม่ ต้องใช้ พลังงาน
  • 35. Active transport บางครังเซลล์ ต้องการลาเลียงสารจากที่มีความ ้ เข้ มข้ นต่าไปยังที่มีความเข้ มข้ นสูงกว่ า กระบวนการนี ้ เรียกว่ า active transport ซึ่งต้ องการพลังงานคือ ATP ตัวอย่ างเช่ น เซลล์ ขับ NA+ ออกนอกเซลล์ และนา K+ เข้ าไปในเซลล์ ซึ่งเรียกว่ า Sodium-potassium pump
  • 37. Sodium-potassium pump กระบวนการเริ่มต้ นจาก Na+ จับกับโปรตีนซึ่งเป็ น transport protein แล้ ว ATP ให้ พลังงานแก่ โปรตีนทาให้ โปรตีนเปลี่ยนรู ปร่ างและปล่ อย Na+ ผ่ าน เยื่อหุ้มเซลล์ ออกไป ขณะเดียวกัน K+ เข้ าจับกับโปรตีน ทาให้ โปรตีนเปลี่ยนแปลงรูปร่ างอีกครังหนึ่ง ทาให้ K+ ถูก ้ ปล่ อยเข้ าไปในเซลล์ แล้ วโปรตีนกลับมีรูปร่ างเหมือนเดิม อีกพร้ อมที่จะเริ่มต้ นกระบวนการใหม่ ต่อไป
  • 38. Diffusion Passive transport Facilitated transport Active transport
  • 39. An electrogenic pump Electrogenic pump เป็ น transport protein ที่ทา ให้ เกิดความต่ างศักดิ์ท่ เยื่อหุ้มเซลล์ ี
  • 40. An electrogenic pump ตัวอย่ างเช่ น Na+/K+ pump เป็ น electrogenic pump ที่สาคัญของเซลล์ สัตว์ Proton pump เป็ น electrogenic pump ที่สาคัญของเซลล์ พช แบคทีเรีย และพวกเห็ดรา รวมทัง ื ้ mitochondria และ chloroplasts ใช้ proton pump ในการสังเคราะห์ ATP
  • 41. Cotransport เป็ นกระบวนการร่ วมที่เกิดจาก ATP pump ตัวเดียว ทางานแล้ วมีผลไปทาให้ transport protein ตัวต่ อไปทางาน เพื่อนาสารเข้ าสู่เซลล์ ตัวอย่ างเช่ น ในเซลล์ พืชใช้ proton pump ร่ วมกับ transport protein ที่ นา sucrose–H+ เข้ าไป ในเซลล์
  • 42. Exocytosis and endocytosis transport large molecules สารที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ เช่ น โปรตีน และ คาร์ โบไฮเครต ผ่ านออกนอกเซลล์ ด้วยกระบวนการ exocytosis และเข้ าไปในเซลล์ ด้วยกระบวนการ endocytosis
  • 43. Endocytosis มี 3 แบบ ได้ แก่ 1. Phagocytosis 2. Pinocytosis 3. Receptor-mediated endocytosis
  • 44. Phagocytosis Phagocytosis เป็ นการนาสารที่เป็ นของแข็งเข้ าเซลล์ โดยเซลล์ ย่ น ื ส่ วน cytoplasm ไปโอบล้ อมสารของแข็งนัน แล้ วเข้ าไปในเซลล์ เป็ น ้ food vacuole แล้ ว food vacuole นันจะไปรวมกับ้ lysosome ซึ่งภายในมี hydrolytic enzymes ที่จะย่ อยสลาย สารนันต่ อไป อมีบากินแบคทีเรี ยด้ วยวิธีนี ้ ้
  • 45. Pinocytosis Pinocytosis เป็ นการนาสารที่เป็ นของเหลวเข้ าเซลล์ โดยเยื่อ หุ้มเซลล์ เว้ าเข้ าไปเพื่อนาสารเข้ าไป กลายเป็ นถุงเล็กๆอยู่ใน cytoplasm
  • 46. Receptor-mediated endocytosis Receptor-mediated endocytosis เป็ นการนาสารเฉพาะ บางชนิดเข้ าไปในเซลล์ โดยที่ผิวเซลล์ มี receptor เฉพาะสาหรั บสาร บางอย่ างเข้ ามาจับ แล้ วถูกนาเข้ าไปในเซลล์ เป็ นถุงเล็กๆ เมื่อผ่ านการ ย่ อยแล้ ว receptor สามารถถูกนามาใช้ ใหม่ ได้ อีก