SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 37
Social Class and Consumer Behavior
          ชนชันทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค
              ้




                               Watjana Poopanee
                       Mahasarakham Business School
                               Mahasarakham University
                      E-mail : watjana.p@acc.msu.ac.th
                                                   1
เนือหา
                                  ้

• ความหมาย และคาจากัดความของชนชันทางสังคม (Social Class)
                                ้
• ลักษณะของชนชันทางสังคม 6 ประการ
               ้
• วิธีวดชนชันทางสังคม (Social Class Measurement)
       ั    ้
• ชนชันสังคมและผลกระทบต่อพฤติกรรมการบริโภค
      ้
• การประยุกต์ผลของชนชันทางสังคมกับกลยุทธ์การตลาด
                      ้




                                                           2
3
Social Class (ชนชันทางสังคม)
                  ้
         ชนชันทางสังคม (Social
             ้                   Class)   หรื อสถานภาพทางสังคม (Social   Status)
เป็ นตาแหน่งของแต่ละบุคคลเมื่อเปรี ยบเทียบกับผู้อื่นโดยใช้ ตวแปรที่สงคมนัน ๆ
                                                            ั       ั    ้
พิจารณาว่ามีความสาคัญในการจัดแบ่ง หรื อเป็ นการแบ่งกลุ่มภายในสังคมโดย
ในแต่ละกลุ่มนันประกอบด้ วยบุคคลที่มีค่านิยม (Values) ความสนใจ (Interests)
              ้
และพฤติกรรมที่คล้ ายกัน




                                                                                   4
ลักษณะของชนชันทางสังคม 6 ประการ
             ้
     1. ชนชันทางสังคมมีลาดับชันสูงต่า (Hierarchical)
            ้                 ้
     2. สมาชิกของชนชันทางสังคมเดียวกันมีพฤติกรรมเหมือนกัน มีค่านิยม ความเชื่อ และ
                     ้
 แบบของการบริ โภคที่คล้ ายกัน
     3. ชนชันทางสังคมจากัดการปฏิบติตอบของบุคคล (Social interaction) โดยจะมีการปฏิบติ
            ้                    ั                                                ั
 ตอบต่อกันในสมาชิกของชันเดียวกัน
                       ้
     4. ชนชันทางสังคมได้ รับอิทธิพลจากหลายปั จจัย เช่น อาชีพ รายได้ การศึกษา หรื อที่อยู่
            ้
 อาศัย เป็ นต้ น
     5. ชนชันทางสังคมมีการเคลื่อนที่ (Social
            ้                                  Mobility)   ได้ นันก็คือเคลื่อนสู่ชนสูงขึ ้น หรื อ
                                                                 ่                ั้
 เคลื่อนลงมาสูที่ต่ากว่า
             ่
     6.   การสังกัดชนชันทางสังคมอาจจะเป็ นไปโดยมีการให้ อยู่ในฐานะเดียวกันตังแต่เกิด
                         ้                                                        ้
 (Abscribed Status) หรื ออาจประสบความสาเร็ จจึงได้ มาสังกัดอยู่ในชนชันที่สงกว่า (Achieved
                                                                     ้ ู
 Status)

                                                                                              5
วิธีวัดชนชันทางสังคม (Social Class Measurement)
           ้

1. ไม่ มีเกณฑ์ ท่ ชัดเจน (Subjective Measures)
 1. ไม่ กณฑ์ ท่ ชัดเจน (Subjective Measures)
                  ีี

 2. การวัดที่มีเกณฑ์ ชัดเจน (Objective Measures)




                                                   6
1. ไม่ มีเกณฑ์ ท่ ชัดเจน (Subjective Measures)
                  ี
    วิธีนี ้วัดโดยการสอบถามจากผู้บริ โภคจานวนหนึ่งเพื่อให้ คาดคะเนว่าตนเองอยู่ตาแหน่งใด
ในสัง คม การจัด ชนชัน สัง คมตามวิ ธี นี ้ ผู้ต อบประเมิ น โดยใช้ ก ารรั บ รู้ และจิ น ตภาพ หรื อ
                       ้
ภาพลักษณ์ตนเอง (Self-image) ที่สะสมมาโดยไม่ร้ ูตวตลอดเวลาที่ผ่านมาของคน ๆ นัน ชนชัน
                                                        ั                               ้      ้
ทางสังคมที่วดด้ วยวิธีนี ้จึงเป็ นการวัดความรู้ สึกหรื อความตระหนัก (Awareness) ของบุคคล
                  ั
มากกว่าชนชันทางสังคมตามความเป็ นจริ ง
                ้
 : ตัวอย่ างการวัดระดับชนชันทางสังคม แบบไม่ มีเกณฑ์ ท่ ชัดเจน
                           ้                           ี
          ท่านคิดว่าท่านอยู่ในตาแหน่งใดในชนชันทางสังคมที่แบ่ง 4 ระดับต่อไปนี ้
                                             ้
                     ( ) ระดับต่า
                     ( ) ระดับกลางค่อนไปทางต่า
                     ( ) ระดับกลางค่อนไปทางสูง
                     ( ) ระดับสูง
                     ( ) ไม่ทราบ
                                                                                                   7
วิธีวัดชนชันทางสังคม (Social Class Measurement)
           ้

 1. ไม่ มีเกณฑ์ ท่ ชัดเจน (Subjective Measures)
                   ี

2.2. การวัดที่มเีเกณฑ์ชัดเจน (Objective Measures)
   การวัดที่มี กณฑ์ ชดเจน (Objective Measures)




                                                    8
2. การวัดที่มีเกณฑ์ ชัดเจน (Objective Measures)

       วิธีนี ้ให้ ผ้ บริ โภคจานวนมากตอบแบบสอบถาม (Questionnaire) เกี่ยวกับตัว
                      ู
แปรทางด้ านประชากรศาสตร์ (Demographics) บางชนิดหรื อตัวแปรทางด้ าน
เศรษฐกิจและสังคม รวมทังถามเกี่ยวกับที่ตงของบ้ านเรื อนลักษณะครอบครัว วิธี
                                 ้          ั้
นี ้มีประโยชน์ในการแบ่งส่วนตลาด และวัดได้ 2 วิธี คือ
      2.1 ดัชนีท่ ีใช้ ตัวแปรเดี่ยว (Single-variable Indexes)

      2.2 ดัชนีท่ ีใช้ ตัวแปรหลายตัว (Composite-variable Indexes)




                                                                                 9
2.1 ดัชนีท่ ใช้ ตัวแปรเดี่ยว (Single-variable Indexes)
            ี
- อาชีพ เป็ นตัวแปรที่ยอมรับกันมากที่สดในการวัดชันทางสังคม เนื่องจากสะท้ อนลาดับชน
                                        ุ          ้
ชัน ของสาขาอาชี พ การจัด ล าดับ อาชี พ ท าได้ โ ดยการสอบถามผู้ค นจ านวนมากเพื่ อ ให้
  ้
จัดลาดับอาชีพในเรื่ องความซื่อสัตย์ และมาตรฐานทางจรรยาบรรณที่สงคมคาดหวัง (สะท้ อน
                                                                ั
เกียรติยศ) ตามการรับรู้ของผู้ตอบ
 ตัวอย่าง : ผู้ที่สงคม (อเมริ กา) มีความคาดสูงในระดับความซื่อสัตย์และจรรยาบรรณ 10 ลาดับ คือ
                   ั
    1. พนักงานดับเพลิง          6. แพทย์
    2. พยาบาล                   7. บาทหลวง

    3. ทหาร                     8. วิศวกร

    4. ตารวจ                    9. อาจารย์ผ้ สอนในมหาวิทยาลัย
                                             ู
    5. เภสัชกร                  10. ทันตแพทย์

         ที่มา : งานวิจยของบริษัท แกลลับ จากัด (Gallup Company Ltd.)
                       ั
                                                                                       10
2.1 ดัชนีท่ ใช้ ตัวแปรเดี่ยว (Single-variable Indexes)
            ี
- การศึกษา ระดับการศึกษาเป็ นอีกหนึ่งตัวแปรหนึ่งที่นามาใช้ วดชนชันทางสังคม โดยทัวไป
                                                                    ั       ้          ่
แล้ วรายได้ สงมักจะสัมพันธ์ กบระดับการศึกษาสูง และการศึกษาสูงมักจะมีอาชีพที่ดีตามไป
               ู               ั
ด้ วยเช่นกัน
- รายได้ ของตนเองหรื อรวมทังครอบครัว เป็ นอีกตัวแปรหนึ่งที่นามาใช้ ในการประมาณการ
                                    ้
ชนชันสังคม นักวิจยนิยมใช้ ทงปริ มาณรายได้ และแหล่งของรายได้ มาประกอบการพิจารณา
      ้              ั           ั้
ด้ วย แต่ในบางประเทศ ผู้มีรายได้ มาก อาจจะไม่ได้ จดให้ อยู่ในชนชันสูง เช่น ช่างในอเมริ กาที่
                                                        ั               ้
ถือว่าเป็ นผู้มีรายได้ สง และไม่ได้ จดให้ อยู่ในชนชันสูงของอเมริ กา เป็ นต้ น
                        ู             ั             ้
- ตัวแปรอื่น ๆ เช่น สภาพแวดล้ อมของที่พก มูลค่าของที่พกในบริ เวณนัน ๆ นักสังคมวิทยา
                                               ั                  ั            ้
นิยมใช้ การมีสิ่งของบางอย่างในบ้ านเป็ นตัวแปรในการวัดสถานภาพทางสังคม เช่น Chapin’s
Social Status Scale เน้ นการมีเฟอร์ นิเจอร์ บางชิ ้นในห้ องนังเล่น (ชนิดของพื ้น พรม ผ้ าม่าน โต๊ ะ
                                                             ่
ในห้ องสมุด ฯลฯ)


                                                                                                      11
2.2 ดัชนีท่ ใช้ ตัวแปรหลายตัว (Composite-variable Indexes)
            ี
     ดัชนีท่ ใช้ ตัวแปรหลายตัว (Composite-variable Indexes) เป็ นการวัดโดยใช้ หลาย
             ี
ตัวแปรโดยการนาทุกตัวแปรทางด้ านเศรษฐกิ จและสังคมมาใช้ พร้ อม ๆ กันโดยอาจจะให้
น ้าหนักความสาคัญของแต่ละตัวแปรไม่เท่ากัน แนวคิดที่สาคัญและนามาใช้ มาก มี 2 แนวคิด
คือ


Index of Status Characteristics (ISC)
Index of Status Characteristics (ISC)


 Socioeconomic Status Score (SES)


                                                                                     12
Index of Status Characteristics (ISC)
     Index of Status Characteristics : ISC (W.L. Warner and P.S. Ludt)             เป็ นการ
กาหนดโดยตังดัชนีคณสมบัติของฐานะด้ วย 4 ตัวแปร คือ 1) อาชีพ 2) แหล่งของรายได้ 3) เขต
               ้     ุ
ที่อยู่อาศัย และ 4) ประเภทของที่อยู่อาศัย โดยตัวแปรที่มีน ้าหนักมากที่สดคือ “อาชีพ”
                                                                       ุ


              Upper-Upper Class
                                                         Upper Class
              Lower-Upper Class
             Upper-Middle Class
                                                        Middle Class
             Lower-Middle Class
              Upper-Lower Class
                                                         Lower Class
              Lower-Lower Class
                                                                                              13
Index of Status Characteristics (ISC)

      ชนชันระดับสูง (Upper Class) ถือว่าเป็ นชนชันสูงที่สด สินค้ าที่ชนชันเหล่านี ้แสวงหา
            ้                                       ้    ุ               ้
เพื่อตอบสนองความต้ องการของตนเอง คือ สินค้ าที่สามารถเสริ มฐานะทางสังคม และได้ รับ
การยอมรับจากสังคม โดยจะไม่ให้ ความสาคัญกับปั จจัยด้ านราคา เช่น กระเป๋ า Hermes หนัง
จระเข้ รุ่น Birkin ราคาตังแต่ 2 แสน ถึง 5 ล้ านบาท, รถยนต์ Rolls-Royce Phantom ราคา
                         ้
ประมาณ 12 ล้ านบาท เป็ นต้ น

    ชันที่ 1 Upper-Upper Class ประกอบด้ วยครอบครัวที่มีชื่อเสียงเก่าแก่ผ้ เู กิดมา
      ้
“บนกองเงินกองทอง” เป็ นกลุมที่เล็กที่สดในชนชันทางสังคม ซึงสมาชิกในชนชันนี ้ส่วนใหญ่จะ
                         ่            ุ      ้           ่            ้
ประกอบด้ วย ราชวงศ์ และตระกูลผู้ดีเก่า

    ชันที่ 2 Lower-Upper Class เป็ นชันของ “คนรวยหน้ าใหม่” เพิ่งจะมีทรัพย์สมบัติ
      ้                                       ้
และยังไม่เป็ นสิ่งที่ยอมรับของคนชันที่ 1 บุคคลเหล่านี ้เป็ นผู้ยิ่งใหญ่ในวงการบริ หาร จัดว่าอยู่
                                  ้
ในระดับ “มหาเศรษฐี ”
                                                                                                   14
15
Index of Status Characteristics (ISC)
     ชนชันระดับกลาง (Middle Class) พฤติกรรมการบริ โภคของคนกลุ่มนี ้ส่วนใหญ่มีความ
            ้
หลากหลาย เนื่ อ งจากเป็ นชนชัน กลางที่ มี ทัง ค่ อ นไปทางสูง และค่ อ นไปทางต่ า ดัง นัน
                                 ้          ้                                          ้
พฤติกรรมการบริ โภคจะมีความต่างกัน ขึนอยู่กับสภาพสังคมแวดล้ อมที่กลุ่มคนในชนชันนี ้
                                        ้                                            ้
สังกัดอยู่ เช่น กลุ่มชนที่ 3 อาจจะมีพฤติกรรมการบริ โภคเหมือนกลุ่มชนชันสูง เพื่อต้ องการ
                                                                       ้
ยกระดับฐานะทางสังคมของตนเองเป็ นต้ น และมักจะคานึงคุณภาพของสินค้ าและบริ การเป็ น
หลัก
    ชันที่ 3 Upper-Middle Class ชนชันนีประกอบด้ วยชายและหญิ งที่ประสบ
        ้                                       ้ ้
ความสาเร็จในวิชาชีพ เช่น แพทย์ นักกฎหมาย ศาสตราจารย์ เจ้ าของกิจการขนาดกลาง และ
คนระดับบริ หารในองค์กรต่าง ๆ สมาชิกในชันนี ้ส่วนมากจบปริ ญญาจากมหาวิทยาลัยชันนา
                                          ้                                 ้
กลุมนี ้จึงเรี ยกกันว่า เป็ นสมองของสังคม
  ่
        ชันที่ 4 Lower-Middle Class ประกอบไปด้ วยพนักงานที่ไม่ใช่ฝ่ายบริ หาร เจ้ าของ
          ้
ธุ ร กิ จ ขนาดเล็ ก พวกช่ า งที่ ไ ด้ รั บ ค่ า ตอบแทนสู ง พวกท างานนั่ ง โต๊ ะ ระดับ ปฏิ บัติ ก าร
(พนักงาน Office) เป็ นต้ น
                                                                                                      16
Index of Status Characteristics (ISC)
      ชนชันระดับล่ าง (Lower Class) พฤติกรรมการบริ โภคของคนกลุมนี ้ส่วนใหญ่จะคานึงถึง
            ้                                                        ่
ปั จจัยด้ านราคาเป็ นหลัก เนื่องจากเป็ นกลุ่มชนชันทางสังคมที่มีรายได้ น้อยที่สด ดังนันหาก
                                                     ้                         ุ     ้
ต้ องตัดสินใจซื ้อสินค้ าหรื อบริ การจะให้ ปัจจัยด้ านราคาเป็ นตัวแปรที่สาคัญ ชอบสินค้ าเงิน
ผ่อน
      ชันที่ 5 Upper-Lower Class ได้ แก่ ชนชันทางาน เป็ นกลุ่มคนที่ใหญ่ที่สดในสังคม
        ้                                              ้                         ุ
เป็ นพวกพนัก งานที่ มี ค วามช านาญและกึ่ ง ช านาญ เช่ น กลุ่ม คนที่ ใ ช้ แ รงงานในโรงงาน
อุตสาหกรรมต่าง ๆ
   ชันที่ 6 Lower-Lower Class ประกอบด้ วยคนงานที่ไม่มีความชานาญ เช่น กรรมกร
      ้
ชนกลุมน้ อย หาบเร่แผงลอย เป็ นต้ น
    ่




                                                                                               17
2.2 ดัชนีท่ ใช้ ตัวแปรหลายตัว (Composite-variable Indexes)
            ี
     ดัชนีท่ ใช้ ตัวแปรหลายตัว (Composite-variable Indexes) เป็ นการวัดโดยใช้ หลาย
             ี
ตัวแปรโดยการนาทุกตัวแปรทางด้ านเศรษฐกิ จและสังคมมาใช้ พร้ อม ๆ กันโดยอาจจะให้
น ้าหนักความสาคัญของแต่ละตัวแปรไม่เท่ากัน แนวคิดที่สาคัญและนามาใช้ มาก มี 2 แนวคิด
คือ


 Index of Status Characteristics (ISC)


Socioeconomic Status Score (SES)
 Socioeconomic Status Score (SES)


                                                                                     18
Socioeconomic Status Score (SES)
    Socioeconomic Status Score (SES) เป็ นการนาตัวแปร 3 ชนิดมาใช้ พร้ อม
กัน คื อ อาชี พ รายได้ ค รอบครั ว และระดับ การศึ ก ษา ส าหรั บ SES   ใน
สหรัฐอเมริกาแบ่งเป็ น 4 ระดับ คือ

                        Upper Class (ระดับสูง)

           Upper-Middle Class (ระดับกลางค่อนไปทางสูง)

                      Middle Class (ระดับกลาง)

            Lower Middle Class (ระดับกลางค่อนไปทางต่า)

                                                                           19
ชนชันสังคมและผลกระทบต่ อพฤติกรรมการบริโภค
    ้

1. ความเกี่ย่ ยวข้ องของชนชันสัคมกับบตัวแปรที่สาคัญทางจิตวิทยา
 1. ความเกี วข้ องของชนชัน้ สังงคมกั ตัวแปรที่สาคัญทางจิตวิทยา
                          ้
    (Important Psychological Factors)
     (Important Psychological Factors)

 2. การเลื่อนสู่ชนชันทางสังคมที่สูงขึน
                    ้                ้
    (Upward Social Class Mobility)

 3. การสัมผัสสื่อ
     (Media Exposure)


 4. กลุ่มเทคโนคลาส
     (Techno-Class)
                                                                 20
1.   ความเกี่ยวข้ องของชนชันสังคมกับตัวแปรที่สาคัญทางจิตวิทยา
                           ้

       1.1    ชนชันทางสังคมส่ งผลกระทบสูงมากต่ อวิถีชีวิต ในแต่ละชันสังคมมีตวแปรที่
                     ้                                                         ้        ั
เกี่ยวข้ องกับวิถีชีวิต เช่น ความเชื่อ ค่านิยม กิจกรรม และพฤติกรรมต่าง ๆ ซึงบ่งชี ้ว่าบุคคลใน
                                                                                 ่
แต่ละชันสัง คมมี วิถี ชีวิตที่ ต่างกัน เช่น กลุ่ม คนชนชัน มัก จะเป็ นกลุ่ม เปาหมายของสิน ค้ า
           ้                                             ้                   ้
ฟุ่ มเฟื อย เพราะมีวิถีชีวิตที่มกบริ โภคสินค้ าเพื่อแสดงสถานะทางสังคมของตน
                                ั
       1.2 ชนชันสังคมใช้ พยากรณ์ ทรั พยากรของบุคคล
               ้                                             ทรัพยากรซึงในที่นี ้ คือ
                                                                       ่
             1) การเงิน (Financial Resource)
             2) สังคมและวัฒนธรรม
             3) ระดับการศึกษา
             4) เวลา




                                                                                                21
1.   ความเกี่ยวข้ องของชนชันสังคมกับตัวแปรที่สาคัญทางจิตวิทยา
                           ้

       1.3   การซือสินค้ า/บริ การเพื่อแสดงถึงการเป็ นสมาชิกของชันสังคมที่ตนเป็ น
                    ้                                               ้
สมาชิก บุคคลที่อยู่ในสังคมชันล่างกว่ามักจะมีสถานะทางการเงินไม่พร้ อมที่จะซื ้อสิ่งของต่าง
                            ้
ๆ ได้ ทุกชนิด จึงเลือกเฉพาะสิ่งที่สะท้ อนชนชันทางสังคมของตน เช่น สังคมในประเทศไทย
                                             ้
การมีรถยนต์ Mercedes Benz แสดงถึงการเป็ นสมาชิกของสังคมชันสูงค่อนไปทางระดับล่าง
                                                             ้
(Lower-Upper Class) หรื อผู้มีคอนโนในใจกลางเมืองส่วนใหญ่ เป็ นผู้มีหน้ าที่การงานที่ดี
เป็ นต้ น
       1.4   ผู้บริ โภคซือสินค้ า/บริ การเพื่อยกระดับชันสังคม ผู้บริ โภคสามารถยกระดับ
                         ้                             ้
ชนชันสังคมของตนขึ ้นได้ จากการบริ โภคภัณฑ์/บริ การ ที่เป็ นสัญลักษณ์ของชนชันสูง เช่น ผู้ที่
     ้                                                                     ้
ต้ องการเข้ าสังคมชันสูง อาจไปใช้ บริ การร้ านอาหารตามโรงแรมระดับ 5 ดาว เพื่อที่จะมี
                      ้
โอกาสให้ ตนเองเข้ าไปสมาคมกับผู้อยู่ในชันสังคมที่สงกว่า เป็ นต้ น
                                          ้       ู



                                                                                              22
23
ชนชันสังคมและผลกระทบต่ อพฤติกรรมการบริโภค
    ้

 1. ความเกี่ยวข้ องของชนชันสังคมกับตัวแปรที่สาคัญทางจิตวิทยา
                          ้
     (Important Psychological Factors)

2. การเลื่อนสู่ชนชั่ ชทางสังทางสัูงงขึคมที่สูงขึน
 2. การเลื่อนสู นนชัน คมที่ส น
                     ้   ้             ้        ้
     (Upward Social Class Mobility)
       (Upward Social Class Mobility)

 3. การสัมผัสสื่อ
     (Media Exposure)


 4. กลุ่มเทคโนคลาส
     (Techno-Class)
                                                               24
2. การเลื่อนสู่ชนชันทางสังคมที่สูงขึน (Upward Social Class Mobility)
                   ้                ้

     การนาชันทางสังคมมาใช้ ในการตลาดนันเกิดขึ ้นจากความเชื่อของนักการ
              ้                        ้
ตลาดที่ว่าผู้บริ โภคแต่ละคนมีความปรารถนาที่จะนาตนเองสูชนสังคมที่สงขึ ้น
                                                      ่ ั้        ู
จึงเลียนแบบพฤติกรรมและการบริ โภคของบุคคลที่อยู่ในชันสังคมเหนือตนขึ ้น
                                                    ้
ไป

                                                            การวางตาแหน่ง
                   ความปรารถนา           ชอบสินค้ าที่      ใช้ สญลักษณ์ของ
                                                                 ั
 ชนชันกลาง
     ้              จะเข้ าสูชนชัน
                            ่ ้        บริ โภคโดยชนชัน ้
(Middle Class)                                                  ชนชันกลาง
                                                                    ้
                   กลางค่อนข้ างสูง    กลางค่อนข้ างสูง         ค่อนข้ างสูง




                                                                           25
2. การเลื่อนสู่ชนชันทางสังคมที่สูงขึน (Upward Social Class Mobility)
                   ้                ้




                                                                       26
ชนชันสังคมและผลกระทบต่ อพฤติกรรมการบริโภค
    ้

 1. ความเกี่ยวข้ องของชนชันสังคมกับตัวแปรที่สาคัญทางจิตวิทยา
                          ้
     (Important Psychological Factors)

 2. การเลื่อนสู่ชนชันทางสังคมที่สูงขึน
                    ้                ้
    (Upward Social Class Mobility)

3. การสัมผัมสื่อสสื่อ
 3. การสั ส ผั
     (Media Exposure)
     (Media Exposure)

 4. กลุ่มเทคโนคลาส
     (Techno-Class)
                                                               27
3. การสัมผัสสื่อ (Media Exposure)




                                    28
3. การสัมผัสสื่อ (Media Exposure)




                                    29
ชนชันสังคมและผลกระทบต่ อพฤติกรรมการบริโภค
    ้

 1. ความเกี่ยวข้ องของชนชันสังคมกับตัวแปรที่สาคัญทางจิตวิทยา
                          ้
     (Important Psychological Factors)

 2. การเลื่อนสู่ชนชันทางสังคมที่สูงขึน
                    ้                ้
    (Upward Social Class Mobility)

 3. การสัมผัสสื่อ
     (Media Exposure)


44. กลุ่กลุ่มเทคโนคลาส
 . มเทคโนคลาส
     (Techno-Class)
       (Techno-Class)
                                                               30
4. กลุ่มเทคโนคลาส (Techno-Class)

      กลุ่ ม เทคโนคลาส (Techno-Class) เป็ นพัฒ นาการทางเทคโนโลยี โ ดยเฉพาะ
คอมพิวเตอร์ และอินเตอร์ เน็ตกาลังเข้ ามามีบทบาทในการบ่งบอกระดับของชนชันทางสังคม้
เนื่องจากบุคคลที่ไม่ทราบวิธีใช้ คอมพิวเตอร์ ส่วนใหญ่มกจะถูกมองว่าเป็ นผู้ล้าหลังและจัด
                                                         ั
อยู่ในกลุมชันสังคมต่าทางด้ านเทคโนโลยี
           ่ ้
      ซึ่งศัพท์ทางการตลาดที่เรี ยกกลุ่มคนที่เป็ นผู้นาทางด้ านเทคโนโลยี หรื อมีความรอบรู้
ด้ านคอมพิวเตอร์ เป็ นอย่างดี จะเรี ยกคนกลุมนี ้ว่า “Geek”
                                          ่




                                                                                            31
การประยุกต์ ผลของชนชันทางสังคมกับกลยุทธ์ การตลาด
                     ้

 1. เสือผ้ า
       ้       แฟชั่น และการเลือกซือ
                                   ้
      คนส่วนใหญ่มกจะแต่งตัวเพื่อให้ สอดคล้ องกับภาพลักษณ์หรื อ จินตภาพ (Self-image)
                     ั
แต่ก็มีผ้ บริ โภคจานวนมากที่พยายามเลียนแบบผู้อื่น โดยทาตามกลุ่มคนในชนชันสังคมที่สง
          ู                                                             ้         ู
กว่า และทาตามบุคคลที่ตนชื่นชม ซึ่งโดยส่วนใหญ่ คนที่อยู่ในชนชันทางสังคมที่ต่างกัน
                                                                ้
มักจะมีรสนิยมเรื่ องแฟชันที่ต่างกันด้ วย
                        ่




                                                                                      32
การประยุกต์ ผลของชนชันทางสังคมกับกลยุทธ์ การตลาด
                     ้

2. การเลือกสันทนาการ (Leisure)




                                                   33
การประยุกต์ ผลของชนชันทางสังคมกับกลยุทธ์ การตลาด
                     ้

 3. การฝากเงิน    การใช้ จ่าย และการใช้ เครดิต

       ชนชันสูง (Upper Class)
           ้                                   ชนชันกลาง – ล่ าง
                                                   ้
                                            (Middle – Lower Class)
    - หุ้น (Stock)                     - ฝากเงินธนาคาร
    - อสังหาริ มทรัพย์ (Real Estate)   - สินค้ าเงินผ่อน
    - ซื ้อทองเพื่อเก็งกาไร            - หวย/ฉลากกินแบ่งรัฐบาล
    - ซื ้อพันธบัตรรัฐบาล              - ซื ้อประกัน
    - บัตร Credit (วงเงินไม่จากัด)     - บัตร Credit (วงเงินจากัด)



                                                                     34
การประยุกต์ ผลของชนชันทางสังคมกับกลยุทธ์ การตลาด
                     ้

 4. ชนชันทางสังคมกับการสื่อสารการตลาด
        ้
                                                 Magazine เฉพาะ
                                                   ลูกค้ า (ชั ้นดี)

                                                    Catalog
      สื่อสารมวลชน         การสื่อสารแบบเจาะจง
       Mass                                           Email
                             Customization
    Communication


                                                  Membership

 Middle – Lower Class        Upper Class
                                                  Club Lounge



                                                                       35
36
SUMMARY
   &
QUESTION

           37

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

พฤติกรรมผู้บริโภค
พฤติกรรมผู้บริโภคพฤติกรรมผู้บริโภค
พฤติกรรมผู้บริโภคWut Sookcharoen
 
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคบทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคOrnkapat Bualom
 
การรับรู้สิ่งเร้าของผู้บริโภค
การรับรู้สิ่งเร้าของผู้บริโภคการรับรู้สิ่งเร้าของผู้บริโภค
การรับรู้สิ่งเร้าของผู้บริโภคRatchadaporn Khwanpanya
 
พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC (บทที่ 3) สำหรับนิสิต กต17จศ8
พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC (บทที่ 3) สำหรับนิสิต กต17จศ8พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC (บทที่ 3) สำหรับนิสิต กต17จศ8
พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC (บทที่ 3) สำหรับนิสิต กต17จศ8Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพบทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพOrnkapat Bualom
 
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจ
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจ
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจCherie Pink
 
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภค
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภคChapter4 พฤติกรรมผู้บริโภค
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภคPattapong Promchai
 
เนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuire
เนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuireเนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuire
เนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuireMahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริกตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริกThamonwan Theerabunchorn
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)Nattakorn Sunkdon
 
Chapter3 ความยืดหยุ่น
Chapter3 ความยืดหยุ่นChapter3 ความยืดหยุ่น
Chapter3 ความยืดหยุ่นPattapong Promchai
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)Nattakorn Sunkdon
 
กรณีศึกษา1 การบินไทย
กรณีศึกษา1 การบินไทยกรณีศึกษา1 การบินไทย
กรณีศึกษา1 การบินไทยChatchamon Uthaikao
 

La actualidad más candente (20)

Personality r1
Personality r1Personality r1
Personality r1
 
International market selection (Ch.4) - Global Marketing
International market selection (Ch.4) - Global MarketingInternational market selection (Ch.4) - Global Marketing
International market selection (Ch.4) - Global Marketing
 
พฤติกรรมผู้บริโภค
พฤติกรรมผู้บริโภคพฤติกรรมผู้บริโภค
พฤติกรรมผู้บริโภค
 
IMC Overview (ch.2)
IMC Overview (ch.2)IMC Overview (ch.2)
IMC Overview (ch.2)
 
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)
 
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคบทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
 
การรับรู้สิ่งเร้าของผู้บริโภค
การรับรู้สิ่งเร้าของผู้บริโภคการรับรู้สิ่งเร้าของผู้บริโภค
การรับรู้สิ่งเร้าของผู้บริโภค
 
พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC (บทที่ 3) สำหรับนิสิต กต17จศ8
พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC (บทที่ 3) สำหรับนิสิต กต17จศ8พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC (บทที่ 3) สำหรับนิสิต กต17จศ8
พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC (บทที่ 3) สำหรับนิสิต กต17จศ8
 
Personality , Emotion and Consumer Behavior (Ch.8)
Personality , Emotion and Consumer Behavior (Ch.8)Personality , Emotion and Consumer Behavior (Ch.8)
Personality , Emotion and Consumer Behavior (Ch.8)
 
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพบทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
 
Introduction to Global Marketing #Ch.1
Introduction to Global Marketing #Ch.1Introduction to Global Marketing #Ch.1
Introduction to Global Marketing #Ch.1
 
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจ
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจ
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจ
 
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภค
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภคChapter4 พฤติกรรมผู้บริโภค
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภค
 
เนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuire
เนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuireเนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuire
เนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuire
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริกตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
 
Chapter3 ความยืดหยุ่น
Chapter3 ความยืดหยุ่นChapter3 ความยืดหยุ่น
Chapter3 ความยืดหยุ่น
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
 
Global Product & Price Strategy (ch.7)
Global Product & Price Strategy (ch.7)Global Product & Price Strategy (ch.7)
Global Product & Price Strategy (ch.7)
 
กรณีศึกษา1 การบินไทย
กรณีศึกษา1 การบินไทยกรณีศึกษา1 การบินไทย
กรณีศึกษา1 การบินไทย
 

Similar a Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา Consumer Behavior

การแบ่งส่วนตลาด1
การแบ่งส่วนตลาด1การแบ่งส่วนตลาด1
การแบ่งส่วนตลาด1Sarawut Messi Single
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ05102500
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ05102500
 
Participatory action research
Participatory action researchParticipatory action research
Participatory action researchUltraman Taro
 
วิเคราะห์หลักสูตรสังคม
วิเคราะห์หลักสูตรสังคมวิเคราะห์หลักสูตรสังคม
วิเคราะห์หลักสูตรสังคมkrusuparat01
 
สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8Tsheej Thoj
 
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์jariya221
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8puyss
 
ใบงานที่ 5 การพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5  การพัฒนาเครื่องมือใบงานที่ 5  การพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 การพัฒนาเครื่องมือRut' Np
 
บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์
บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์
บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ Sutasinee Phu-on
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5moohmed
 
สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรอง
สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรองสถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรอง
สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรองดา ดาลี่
 
สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรอง
สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรองสถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรอง
สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรองดา ดาลี่
 
ต้นฉบับพัฒนา ปรับปรุง2
ต้นฉบับพัฒนา ปรับปรุง2ต้นฉบับพัฒนา ปรับปรุง2
ต้นฉบับพัฒนา ปรับปรุง2Sutee Tee
 
ต้นฉบับพัฒนา ปรับปรุง2
ต้นฉบับพัฒนา ปรับปรุง2ต้นฉบับพัฒนา ปรับปรุง2
ต้นฉบับพัฒนา ปรับปรุง2Sutee Tee
 
หน่วยที่ 5 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยที่ 5  แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1หน่วยที่ 5  แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1
หน่วยที่ 5 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1Ummara Kijruangsri
 

Similar a Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา Consumer Behavior (20)

การแบ่งส่วนตลาด1
การแบ่งส่วนตลาด1การแบ่งส่วนตลาด1
การแบ่งส่วนตลาด1
 
หน่วยที่๖
หน่วยที่๖หน่วยที่๖
หน่วยที่๖
 
Self esteem
Self esteemSelf esteem
Self esteem
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
 
Participatory action research
Participatory action researchParticipatory action research
Participatory action research
 
วิเคราะห์หลักสูตรสังคม
วิเคราะห์หลักสูตรสังคมวิเคราะห์หลักสูตรสังคม
วิเคราะห์หลักสูตรสังคม
 
สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8
 
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ใบงานที่ 5 การพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5  การพัฒนาเครื่องมือใบงานที่ 5  การพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 การพัฒนาเครื่องมือ
 
บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์
บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์
บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์
 
Communty diagnosis
Communty diagnosisCommunty diagnosis
Communty diagnosis
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5
 
สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรอง
สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรองสถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรอง
สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรอง
 
สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรอง
สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรองสถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรอง
สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรอง
 
ต้นฉบับพัฒนา ปรับปรุง2
ต้นฉบับพัฒนา ปรับปรุง2ต้นฉบับพัฒนา ปรับปรุง2
ต้นฉบับพัฒนา ปรับปรุง2
 
ต้นฉบับพัฒนา ปรับปรุง2
ต้นฉบับพัฒนา ปรับปรุง2ต้นฉบับพัฒนา ปรับปรุง2
ต้นฉบับพัฒนา ปรับปรุง2
 
หน่วยที่ 5 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยที่ 5  แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1หน่วยที่ 5  แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1
หน่วยที่ 5 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 

Más de Mahasarakham Business School, Mahasarakham University

Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6
Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6
Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
จรรยาบรรณนักการตลาดไทย โดย สมาคมการตลาดแห่งประเทศไทย
จรรยาบรรณนักการตลาดไทย โดย สมาคมการตลาดแห่งประเทศไทยจรรยาบรรณนักการตลาดไทย โดย สมาคมการตลาดแห่งประเทศไทย
จรรยาบรรณนักการตลาดไทย โดย สมาคมการตลาดแห่งประเทศไทยMahasarakham Business School, Mahasarakham University
 

Más de Mahasarakham Business School, Mahasarakham University (15)

Google 2010 case study gm
Google 2010 case study gmGoogle 2010 case study gm
Google 2010 case study gm
 
ทุนมูลนิธิ อายิโนะโมะโต๊ะ
ทุนมูลนิธิ อายิโนะโมะโต๊ะทุนมูลนิธิ อายิโนะโมะโต๊ะ
ทุนมูลนิธิ อายิโนะโมะโต๊ะ
 
ทุนภูมิพล ประจำปีการศึกษา 2555
ทุนภูมิพล ประจำปีการศึกษา 2555ทุนภูมิพล ประจำปีการศึกษา 2555
ทุนภูมิพล ประจำปีการศึกษา 2555
 
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
 
Strategy and Competitive Advantage (ch.6)
Strategy and Competitive Advantage (ch.6)Strategy and Competitive Advantage (ch.6)
Strategy and Competitive Advantage (ch.6)
 
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
 
Economic Environment #Ch.2 (Global Marketing)
Economic Environment #Ch.2 (Global Marketing)Economic Environment #Ch.2 (Global Marketing)
Economic Environment #Ch.2 (Global Marketing)
 
Key economic indicators of thailand
Key economic indicators of thailandKey economic indicators of thailand
Key economic indicators of thailand
 
การวัดผลและประเมินผลสื่อ (Media Evaluation : Ch 8)
การวัดผลและประเมินผลสื่อ (Media Evaluation : Ch 8)การวัดผลและประเมินผลสื่อ (Media Evaluation : Ch 8)
การวัดผลและประเมินผลสื่อ (Media Evaluation : Ch 8)
 
Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6
Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6
Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6
 
Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5
Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5
Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5
 
Perception,learning,memory (Ch.6), Consumer Behavior Class
Perception,learning,memory (Ch.6), Consumer Behavior ClassPerception,learning,memory (Ch.6), Consumer Behavior Class
Perception,learning,memory (Ch.6), Consumer Behavior Class
 
Branding&Positioning (Ch 4) for IMC student Class
Branding&Positioning  (Ch 4) for IMC student ClassBranding&Positioning  (Ch 4) for IMC student Class
Branding&Positioning (Ch 4) for IMC student Class
 
จรรยาบรรณนักการตลาดไทย โดย สมาคมการตลาดแห่งประเทศไทย
จรรยาบรรณนักการตลาดไทย โดย สมาคมการตลาดแห่งประเทศไทยจรรยาบรรณนักการตลาดไทย โดย สมาคมการตลาดแห่งประเทศไทย
จรรยาบรรณนักการตลาดไทย โดย สมาคมการตลาดแห่งประเทศไทย
 
Case Study สำหรับนิสิตวิชา Organization and Management (OM)
Case Study สำหรับนิสิตวิชา Organization and Management (OM)Case Study สำหรับนิสิตวิชา Organization and Management (OM)
Case Study สำหรับนิสิตวิชา Organization and Management (OM)
 

Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา Consumer Behavior

  • 1. Social Class and Consumer Behavior ชนชันทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค ้ Watjana Poopanee Mahasarakham Business School Mahasarakham University E-mail : watjana.p@acc.msu.ac.th 1
  • 2. เนือหา ้ • ความหมาย และคาจากัดความของชนชันทางสังคม (Social Class) ้ • ลักษณะของชนชันทางสังคม 6 ประการ ้ • วิธีวดชนชันทางสังคม (Social Class Measurement) ั ้ • ชนชันสังคมและผลกระทบต่อพฤติกรรมการบริโภค ้ • การประยุกต์ผลของชนชันทางสังคมกับกลยุทธ์การตลาด ้ 2
  • 3. 3
  • 4. Social Class (ชนชันทางสังคม) ้ ชนชันทางสังคม (Social ้ Class) หรื อสถานภาพทางสังคม (Social Status) เป็ นตาแหน่งของแต่ละบุคคลเมื่อเปรี ยบเทียบกับผู้อื่นโดยใช้ ตวแปรที่สงคมนัน ๆ ั ั ้ พิจารณาว่ามีความสาคัญในการจัดแบ่ง หรื อเป็ นการแบ่งกลุ่มภายในสังคมโดย ในแต่ละกลุ่มนันประกอบด้ วยบุคคลที่มีค่านิยม (Values) ความสนใจ (Interests) ้ และพฤติกรรมที่คล้ ายกัน 4
  • 5. ลักษณะของชนชันทางสังคม 6 ประการ ้ 1. ชนชันทางสังคมมีลาดับชันสูงต่า (Hierarchical) ้ ้ 2. สมาชิกของชนชันทางสังคมเดียวกันมีพฤติกรรมเหมือนกัน มีค่านิยม ความเชื่อ และ ้ แบบของการบริ โภคที่คล้ ายกัน 3. ชนชันทางสังคมจากัดการปฏิบติตอบของบุคคล (Social interaction) โดยจะมีการปฏิบติ ้ ั ั ตอบต่อกันในสมาชิกของชันเดียวกัน ้ 4. ชนชันทางสังคมได้ รับอิทธิพลจากหลายปั จจัย เช่น อาชีพ รายได้ การศึกษา หรื อที่อยู่ ้ อาศัย เป็ นต้ น 5. ชนชันทางสังคมมีการเคลื่อนที่ (Social ้ Mobility) ได้ นันก็คือเคลื่อนสู่ชนสูงขึ ้น หรื อ ่ ั้ เคลื่อนลงมาสูที่ต่ากว่า ่ 6. การสังกัดชนชันทางสังคมอาจจะเป็ นไปโดยมีการให้ อยู่ในฐานะเดียวกันตังแต่เกิด ้ ้ (Abscribed Status) หรื ออาจประสบความสาเร็ จจึงได้ มาสังกัดอยู่ในชนชันที่สงกว่า (Achieved ้ ู Status) 5
  • 6. วิธีวัดชนชันทางสังคม (Social Class Measurement) ้ 1. ไม่ มีเกณฑ์ ท่ ชัดเจน (Subjective Measures) 1. ไม่ กณฑ์ ท่ ชัดเจน (Subjective Measures) ีี 2. การวัดที่มีเกณฑ์ ชัดเจน (Objective Measures) 6
  • 7. 1. ไม่ มีเกณฑ์ ท่ ชัดเจน (Subjective Measures) ี วิธีนี ้วัดโดยการสอบถามจากผู้บริ โภคจานวนหนึ่งเพื่อให้ คาดคะเนว่าตนเองอยู่ตาแหน่งใด ในสัง คม การจัด ชนชัน สัง คมตามวิ ธี นี ้ ผู้ต อบประเมิ น โดยใช้ ก ารรั บ รู้ และจิ น ตภาพ หรื อ ้ ภาพลักษณ์ตนเอง (Self-image) ที่สะสมมาโดยไม่ร้ ูตวตลอดเวลาที่ผ่านมาของคน ๆ นัน ชนชัน ั ้ ้ ทางสังคมที่วดด้ วยวิธีนี ้จึงเป็ นการวัดความรู้ สึกหรื อความตระหนัก (Awareness) ของบุคคล ั มากกว่าชนชันทางสังคมตามความเป็ นจริ ง ้ : ตัวอย่ างการวัดระดับชนชันทางสังคม แบบไม่ มีเกณฑ์ ท่ ชัดเจน ้ ี ท่านคิดว่าท่านอยู่ในตาแหน่งใดในชนชันทางสังคมที่แบ่ง 4 ระดับต่อไปนี ้ ้ ( ) ระดับต่า ( ) ระดับกลางค่อนไปทางต่า ( ) ระดับกลางค่อนไปทางสูง ( ) ระดับสูง ( ) ไม่ทราบ 7
  • 8. วิธีวัดชนชันทางสังคม (Social Class Measurement) ้ 1. ไม่ มีเกณฑ์ ท่ ชัดเจน (Subjective Measures) ี 2.2. การวัดที่มเีเกณฑ์ชัดเจน (Objective Measures) การวัดที่มี กณฑ์ ชดเจน (Objective Measures) 8
  • 9. 2. การวัดที่มีเกณฑ์ ชัดเจน (Objective Measures) วิธีนี ้ให้ ผ้ บริ โภคจานวนมากตอบแบบสอบถาม (Questionnaire) เกี่ยวกับตัว ู แปรทางด้ านประชากรศาสตร์ (Demographics) บางชนิดหรื อตัวแปรทางด้ าน เศรษฐกิจและสังคม รวมทังถามเกี่ยวกับที่ตงของบ้ านเรื อนลักษณะครอบครัว วิธี ้ ั้ นี ้มีประโยชน์ในการแบ่งส่วนตลาด และวัดได้ 2 วิธี คือ 2.1 ดัชนีท่ ีใช้ ตัวแปรเดี่ยว (Single-variable Indexes) 2.2 ดัชนีท่ ีใช้ ตัวแปรหลายตัว (Composite-variable Indexes) 9
  • 10. 2.1 ดัชนีท่ ใช้ ตัวแปรเดี่ยว (Single-variable Indexes) ี - อาชีพ เป็ นตัวแปรที่ยอมรับกันมากที่สดในการวัดชันทางสังคม เนื่องจากสะท้ อนลาดับชน ุ ้ ชัน ของสาขาอาชี พ การจัด ล าดับ อาชี พ ท าได้ โ ดยการสอบถามผู้ค นจ านวนมากเพื่ อ ให้ ้ จัดลาดับอาชีพในเรื่ องความซื่อสัตย์ และมาตรฐานทางจรรยาบรรณที่สงคมคาดหวัง (สะท้ อน ั เกียรติยศ) ตามการรับรู้ของผู้ตอบ ตัวอย่าง : ผู้ที่สงคม (อเมริ กา) มีความคาดสูงในระดับความซื่อสัตย์และจรรยาบรรณ 10 ลาดับ คือ ั 1. พนักงานดับเพลิง 6. แพทย์ 2. พยาบาล 7. บาทหลวง 3. ทหาร 8. วิศวกร 4. ตารวจ 9. อาจารย์ผ้ สอนในมหาวิทยาลัย ู 5. เภสัชกร 10. ทันตแพทย์ ที่มา : งานวิจยของบริษัท แกลลับ จากัด (Gallup Company Ltd.) ั 10
  • 11. 2.1 ดัชนีท่ ใช้ ตัวแปรเดี่ยว (Single-variable Indexes) ี - การศึกษา ระดับการศึกษาเป็ นอีกหนึ่งตัวแปรหนึ่งที่นามาใช้ วดชนชันทางสังคม โดยทัวไป ั ้ ่ แล้ วรายได้ สงมักจะสัมพันธ์ กบระดับการศึกษาสูง และการศึกษาสูงมักจะมีอาชีพที่ดีตามไป ู ั ด้ วยเช่นกัน - รายได้ ของตนเองหรื อรวมทังครอบครัว เป็ นอีกตัวแปรหนึ่งที่นามาใช้ ในการประมาณการ ้ ชนชันสังคม นักวิจยนิยมใช้ ทงปริ มาณรายได้ และแหล่งของรายได้ มาประกอบการพิจารณา ้ ั ั้ ด้ วย แต่ในบางประเทศ ผู้มีรายได้ มาก อาจจะไม่ได้ จดให้ อยู่ในชนชันสูง เช่น ช่างในอเมริ กาที่ ั ้ ถือว่าเป็ นผู้มีรายได้ สง และไม่ได้ จดให้ อยู่ในชนชันสูงของอเมริ กา เป็ นต้ น ู ั ้ - ตัวแปรอื่น ๆ เช่น สภาพแวดล้ อมของที่พก มูลค่าของที่พกในบริ เวณนัน ๆ นักสังคมวิทยา ั ั ้ นิยมใช้ การมีสิ่งของบางอย่างในบ้ านเป็ นตัวแปรในการวัดสถานภาพทางสังคม เช่น Chapin’s Social Status Scale เน้ นการมีเฟอร์ นิเจอร์ บางชิ ้นในห้ องนังเล่น (ชนิดของพื ้น พรม ผ้ าม่าน โต๊ ะ ่ ในห้ องสมุด ฯลฯ) 11
  • 12. 2.2 ดัชนีท่ ใช้ ตัวแปรหลายตัว (Composite-variable Indexes) ี ดัชนีท่ ใช้ ตัวแปรหลายตัว (Composite-variable Indexes) เป็ นการวัดโดยใช้ หลาย ี ตัวแปรโดยการนาทุกตัวแปรทางด้ านเศรษฐกิ จและสังคมมาใช้ พร้ อม ๆ กันโดยอาจจะให้ น ้าหนักความสาคัญของแต่ละตัวแปรไม่เท่ากัน แนวคิดที่สาคัญและนามาใช้ มาก มี 2 แนวคิด คือ Index of Status Characteristics (ISC) Index of Status Characteristics (ISC) Socioeconomic Status Score (SES) 12
  • 13. Index of Status Characteristics (ISC) Index of Status Characteristics : ISC (W.L. Warner and P.S. Ludt) เป็ นการ กาหนดโดยตังดัชนีคณสมบัติของฐานะด้ วย 4 ตัวแปร คือ 1) อาชีพ 2) แหล่งของรายได้ 3) เขต ้ ุ ที่อยู่อาศัย และ 4) ประเภทของที่อยู่อาศัย โดยตัวแปรที่มีน ้าหนักมากที่สดคือ “อาชีพ” ุ Upper-Upper Class Upper Class Lower-Upper Class Upper-Middle Class Middle Class Lower-Middle Class Upper-Lower Class Lower Class Lower-Lower Class 13
  • 14. Index of Status Characteristics (ISC) ชนชันระดับสูง (Upper Class) ถือว่าเป็ นชนชันสูงที่สด สินค้ าที่ชนชันเหล่านี ้แสวงหา ้ ้ ุ ้ เพื่อตอบสนองความต้ องการของตนเอง คือ สินค้ าที่สามารถเสริ มฐานะทางสังคม และได้ รับ การยอมรับจากสังคม โดยจะไม่ให้ ความสาคัญกับปั จจัยด้ านราคา เช่น กระเป๋ า Hermes หนัง จระเข้ รุ่น Birkin ราคาตังแต่ 2 แสน ถึง 5 ล้ านบาท, รถยนต์ Rolls-Royce Phantom ราคา ้ ประมาณ 12 ล้ านบาท เป็ นต้ น ชันที่ 1 Upper-Upper Class ประกอบด้ วยครอบครัวที่มีชื่อเสียงเก่าแก่ผ้ เู กิดมา ้ “บนกองเงินกองทอง” เป็ นกลุมที่เล็กที่สดในชนชันทางสังคม ซึงสมาชิกในชนชันนี ้ส่วนใหญ่จะ ่ ุ ้ ่ ้ ประกอบด้ วย ราชวงศ์ และตระกูลผู้ดีเก่า ชันที่ 2 Lower-Upper Class เป็ นชันของ “คนรวยหน้ าใหม่” เพิ่งจะมีทรัพย์สมบัติ ้ ้ และยังไม่เป็ นสิ่งที่ยอมรับของคนชันที่ 1 บุคคลเหล่านี ้เป็ นผู้ยิ่งใหญ่ในวงการบริ หาร จัดว่าอยู่ ้ ในระดับ “มหาเศรษฐี ” 14
  • 15. 15
  • 16. Index of Status Characteristics (ISC) ชนชันระดับกลาง (Middle Class) พฤติกรรมการบริ โภคของคนกลุ่มนี ้ส่วนใหญ่มีความ ้ หลากหลาย เนื่ อ งจากเป็ นชนชัน กลางที่ มี ทัง ค่ อ นไปทางสูง และค่ อ นไปทางต่ า ดัง นัน ้ ้ ้ พฤติกรรมการบริ โภคจะมีความต่างกัน ขึนอยู่กับสภาพสังคมแวดล้ อมที่กลุ่มคนในชนชันนี ้ ้ ้ สังกัดอยู่ เช่น กลุ่มชนที่ 3 อาจจะมีพฤติกรรมการบริ โภคเหมือนกลุ่มชนชันสูง เพื่อต้ องการ ้ ยกระดับฐานะทางสังคมของตนเองเป็ นต้ น และมักจะคานึงคุณภาพของสินค้ าและบริ การเป็ น หลัก ชันที่ 3 Upper-Middle Class ชนชันนีประกอบด้ วยชายและหญิ งที่ประสบ ้ ้ ้ ความสาเร็จในวิชาชีพ เช่น แพทย์ นักกฎหมาย ศาสตราจารย์ เจ้ าของกิจการขนาดกลาง และ คนระดับบริ หารในองค์กรต่าง ๆ สมาชิกในชันนี ้ส่วนมากจบปริ ญญาจากมหาวิทยาลัยชันนา ้ ้ กลุมนี ้จึงเรี ยกกันว่า เป็ นสมองของสังคม ่ ชันที่ 4 Lower-Middle Class ประกอบไปด้ วยพนักงานที่ไม่ใช่ฝ่ายบริ หาร เจ้ าของ ้ ธุ ร กิ จ ขนาดเล็ ก พวกช่ า งที่ ไ ด้ รั บ ค่ า ตอบแทนสู ง พวกท างานนั่ ง โต๊ ะ ระดับ ปฏิ บัติ ก าร (พนักงาน Office) เป็ นต้ น 16
  • 17. Index of Status Characteristics (ISC) ชนชันระดับล่ าง (Lower Class) พฤติกรรมการบริ โภคของคนกลุมนี ้ส่วนใหญ่จะคานึงถึง ้ ่ ปั จจัยด้ านราคาเป็ นหลัก เนื่องจากเป็ นกลุ่มชนชันทางสังคมที่มีรายได้ น้อยที่สด ดังนันหาก ้ ุ ้ ต้ องตัดสินใจซื ้อสินค้ าหรื อบริ การจะให้ ปัจจัยด้ านราคาเป็ นตัวแปรที่สาคัญ ชอบสินค้ าเงิน ผ่อน ชันที่ 5 Upper-Lower Class ได้ แก่ ชนชันทางาน เป็ นกลุ่มคนที่ใหญ่ที่สดในสังคม ้ ้ ุ เป็ นพวกพนัก งานที่ มี ค วามช านาญและกึ่ ง ช านาญ เช่ น กลุ่ม คนที่ ใ ช้ แ รงงานในโรงงาน อุตสาหกรรมต่าง ๆ ชันที่ 6 Lower-Lower Class ประกอบด้ วยคนงานที่ไม่มีความชานาญ เช่น กรรมกร ้ ชนกลุมน้ อย หาบเร่แผงลอย เป็ นต้ น ่ 17
  • 18. 2.2 ดัชนีท่ ใช้ ตัวแปรหลายตัว (Composite-variable Indexes) ี ดัชนีท่ ใช้ ตัวแปรหลายตัว (Composite-variable Indexes) เป็ นการวัดโดยใช้ หลาย ี ตัวแปรโดยการนาทุกตัวแปรทางด้ านเศรษฐกิ จและสังคมมาใช้ พร้ อม ๆ กันโดยอาจจะให้ น ้าหนักความสาคัญของแต่ละตัวแปรไม่เท่ากัน แนวคิดที่สาคัญและนามาใช้ มาก มี 2 แนวคิด คือ Index of Status Characteristics (ISC) Socioeconomic Status Score (SES) Socioeconomic Status Score (SES) 18
  • 19. Socioeconomic Status Score (SES) Socioeconomic Status Score (SES) เป็ นการนาตัวแปร 3 ชนิดมาใช้ พร้ อม กัน คื อ อาชี พ รายได้ ค รอบครั ว และระดับ การศึ ก ษา ส าหรั บ SES ใน สหรัฐอเมริกาแบ่งเป็ น 4 ระดับ คือ Upper Class (ระดับสูง) Upper-Middle Class (ระดับกลางค่อนไปทางสูง) Middle Class (ระดับกลาง) Lower Middle Class (ระดับกลางค่อนไปทางต่า) 19
  • 20. ชนชันสังคมและผลกระทบต่ อพฤติกรรมการบริโภค ้ 1. ความเกี่ย่ ยวข้ องของชนชันสัคมกับบตัวแปรที่สาคัญทางจิตวิทยา 1. ความเกี วข้ องของชนชัน้ สังงคมกั ตัวแปรที่สาคัญทางจิตวิทยา ้ (Important Psychological Factors) (Important Psychological Factors) 2. การเลื่อนสู่ชนชันทางสังคมที่สูงขึน ้ ้ (Upward Social Class Mobility) 3. การสัมผัสสื่อ (Media Exposure) 4. กลุ่มเทคโนคลาส (Techno-Class) 20
  • 21. 1. ความเกี่ยวข้ องของชนชันสังคมกับตัวแปรที่สาคัญทางจิตวิทยา ้ 1.1 ชนชันทางสังคมส่ งผลกระทบสูงมากต่ อวิถีชีวิต ในแต่ละชันสังคมมีตวแปรที่ ้ ้ ั เกี่ยวข้ องกับวิถีชีวิต เช่น ความเชื่อ ค่านิยม กิจกรรม และพฤติกรรมต่าง ๆ ซึงบ่งชี ้ว่าบุคคลใน ่ แต่ละชันสัง คมมี วิถี ชีวิตที่ ต่างกัน เช่น กลุ่ม คนชนชัน มัก จะเป็ นกลุ่ม เปาหมายของสิน ค้ า ้ ้ ้ ฟุ่ มเฟื อย เพราะมีวิถีชีวิตที่มกบริ โภคสินค้ าเพื่อแสดงสถานะทางสังคมของตน ั 1.2 ชนชันสังคมใช้ พยากรณ์ ทรั พยากรของบุคคล ้ ทรัพยากรซึงในที่นี ้ คือ ่ 1) การเงิน (Financial Resource) 2) สังคมและวัฒนธรรม 3) ระดับการศึกษา 4) เวลา 21
  • 22. 1. ความเกี่ยวข้ องของชนชันสังคมกับตัวแปรที่สาคัญทางจิตวิทยา ้ 1.3 การซือสินค้ า/บริ การเพื่อแสดงถึงการเป็ นสมาชิกของชันสังคมที่ตนเป็ น ้ ้ สมาชิก บุคคลที่อยู่ในสังคมชันล่างกว่ามักจะมีสถานะทางการเงินไม่พร้ อมที่จะซื ้อสิ่งของต่าง ้ ๆ ได้ ทุกชนิด จึงเลือกเฉพาะสิ่งที่สะท้ อนชนชันทางสังคมของตน เช่น สังคมในประเทศไทย ้ การมีรถยนต์ Mercedes Benz แสดงถึงการเป็ นสมาชิกของสังคมชันสูงค่อนไปทางระดับล่าง ้ (Lower-Upper Class) หรื อผู้มีคอนโนในใจกลางเมืองส่วนใหญ่ เป็ นผู้มีหน้ าที่การงานที่ดี เป็ นต้ น 1.4 ผู้บริ โภคซือสินค้ า/บริ การเพื่อยกระดับชันสังคม ผู้บริ โภคสามารถยกระดับ ้ ้ ชนชันสังคมของตนขึ ้นได้ จากการบริ โภคภัณฑ์/บริ การ ที่เป็ นสัญลักษณ์ของชนชันสูง เช่น ผู้ที่ ้ ้ ต้ องการเข้ าสังคมชันสูง อาจไปใช้ บริ การร้ านอาหารตามโรงแรมระดับ 5 ดาว เพื่อที่จะมี ้ โอกาสให้ ตนเองเข้ าไปสมาคมกับผู้อยู่ในชันสังคมที่สงกว่า เป็ นต้ น ้ ู 22
  • 23. 23
  • 24. ชนชันสังคมและผลกระทบต่ อพฤติกรรมการบริโภค ้ 1. ความเกี่ยวข้ องของชนชันสังคมกับตัวแปรที่สาคัญทางจิตวิทยา ้ (Important Psychological Factors) 2. การเลื่อนสู่ชนชั่ ชทางสังทางสัูงงขึคมที่สูงขึน 2. การเลื่อนสู นนชัน คมที่ส น ้ ้ ้ ้ (Upward Social Class Mobility) (Upward Social Class Mobility) 3. การสัมผัสสื่อ (Media Exposure) 4. กลุ่มเทคโนคลาส (Techno-Class) 24
  • 25. 2. การเลื่อนสู่ชนชันทางสังคมที่สูงขึน (Upward Social Class Mobility) ้ ้ การนาชันทางสังคมมาใช้ ในการตลาดนันเกิดขึ ้นจากความเชื่อของนักการ ้ ้ ตลาดที่ว่าผู้บริ โภคแต่ละคนมีความปรารถนาที่จะนาตนเองสูชนสังคมที่สงขึ ้น ่ ั้ ู จึงเลียนแบบพฤติกรรมและการบริ โภคของบุคคลที่อยู่ในชันสังคมเหนือตนขึ ้น ้ ไป การวางตาแหน่ง ความปรารถนา ชอบสินค้ าที่ ใช้ สญลักษณ์ของ ั ชนชันกลาง ้ จะเข้ าสูชนชัน ่ ้ บริ โภคโดยชนชัน ้ (Middle Class) ชนชันกลาง ้ กลางค่อนข้ างสูง กลางค่อนข้ างสูง ค่อนข้ างสูง 25
  • 27. ชนชันสังคมและผลกระทบต่ อพฤติกรรมการบริโภค ้ 1. ความเกี่ยวข้ องของชนชันสังคมกับตัวแปรที่สาคัญทางจิตวิทยา ้ (Important Psychological Factors) 2. การเลื่อนสู่ชนชันทางสังคมที่สูงขึน ้ ้ (Upward Social Class Mobility) 3. การสัมผัมสื่อสสื่อ 3. การสั ส ผั (Media Exposure) (Media Exposure) 4. กลุ่มเทคโนคลาส (Techno-Class) 27
  • 30. ชนชันสังคมและผลกระทบต่ อพฤติกรรมการบริโภค ้ 1. ความเกี่ยวข้ องของชนชันสังคมกับตัวแปรที่สาคัญทางจิตวิทยา ้ (Important Psychological Factors) 2. การเลื่อนสู่ชนชันทางสังคมที่สูงขึน ้ ้ (Upward Social Class Mobility) 3. การสัมผัสสื่อ (Media Exposure) 44. กลุ่กลุ่มเทคโนคลาส . มเทคโนคลาส (Techno-Class) (Techno-Class) 30
  • 31. 4. กลุ่มเทคโนคลาส (Techno-Class) กลุ่ ม เทคโนคลาส (Techno-Class) เป็ นพัฒ นาการทางเทคโนโลยี โ ดยเฉพาะ คอมพิวเตอร์ และอินเตอร์ เน็ตกาลังเข้ ามามีบทบาทในการบ่งบอกระดับของชนชันทางสังคม้ เนื่องจากบุคคลที่ไม่ทราบวิธีใช้ คอมพิวเตอร์ ส่วนใหญ่มกจะถูกมองว่าเป็ นผู้ล้าหลังและจัด ั อยู่ในกลุมชันสังคมต่าทางด้ านเทคโนโลยี ่ ้ ซึ่งศัพท์ทางการตลาดที่เรี ยกกลุ่มคนที่เป็ นผู้นาทางด้ านเทคโนโลยี หรื อมีความรอบรู้ ด้ านคอมพิวเตอร์ เป็ นอย่างดี จะเรี ยกคนกลุมนี ้ว่า “Geek” ่ 31
  • 32. การประยุกต์ ผลของชนชันทางสังคมกับกลยุทธ์ การตลาด ้ 1. เสือผ้ า ้ แฟชั่น และการเลือกซือ ้ คนส่วนใหญ่มกจะแต่งตัวเพื่อให้ สอดคล้ องกับภาพลักษณ์หรื อ จินตภาพ (Self-image) ั แต่ก็มีผ้ บริ โภคจานวนมากที่พยายามเลียนแบบผู้อื่น โดยทาตามกลุ่มคนในชนชันสังคมที่สง ู ้ ู กว่า และทาตามบุคคลที่ตนชื่นชม ซึ่งโดยส่วนใหญ่ คนที่อยู่ในชนชันทางสังคมที่ต่างกัน ้ มักจะมีรสนิยมเรื่ องแฟชันที่ต่างกันด้ วย ่ 32
  • 34. การประยุกต์ ผลของชนชันทางสังคมกับกลยุทธ์ การตลาด ้ 3. การฝากเงิน การใช้ จ่าย และการใช้ เครดิต ชนชันสูง (Upper Class) ้ ชนชันกลาง – ล่ าง ้ (Middle – Lower Class) - หุ้น (Stock) - ฝากเงินธนาคาร - อสังหาริ มทรัพย์ (Real Estate) - สินค้ าเงินผ่อน - ซื ้อทองเพื่อเก็งกาไร - หวย/ฉลากกินแบ่งรัฐบาล - ซื ้อพันธบัตรรัฐบาล - ซื ้อประกัน - บัตร Credit (วงเงินไม่จากัด) - บัตร Credit (วงเงินจากัด) 34
  • 35. การประยุกต์ ผลของชนชันทางสังคมกับกลยุทธ์ การตลาด ้ 4. ชนชันทางสังคมกับการสื่อสารการตลาด ้ Magazine เฉพาะ ลูกค้ า (ชั ้นดี) Catalog สื่อสารมวลชน การสื่อสารแบบเจาะจง Mass Email Customization Communication Membership Middle – Lower Class Upper Class Club Lounge 35
  • 36. 36
  • 37. SUMMARY & QUESTION 37