SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 66
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์
Computer Architecture


โครงสร้างหน่วยประมวล
ผลกลาง
Central Processing Unit Structure

วิเชษฐ์ พลายมาศ
wichet.p@gmail.com
Facebook: Wichet.RMUTT
Microchip
CPU
Memory Unit
Machine Cycle
Processing Speed
Data Representation
Bites, Bytes, and Word
Binary Coding Scheme
System Unit

AGENDA


                         วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                         คอมพิว เตอร์ | CPU | 2
ไมโครชิพ (Microchip)

• Transistor
   – ทรานซิสเตอร์คือส่วนประกอบสำาคัญของสวิทซ์เล็กๆ
     ที่ถูกปฏิบัติการด้วยสัญญาณไฟฟ้าที่สามารถเลือก
     ระหว่างสัญญาณเปิดและปิดได้หลายล้านครั้งในหนึ่ง
     วินาที
   – เป็นส่วนสำาคัญของวงจรรวม (Integrated Circuit:
     IC) ซึ่งเป็นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ทั้งหมด ประกอบด้วย
     สายโลหะขึ้นรูปเข้าด้วยกันบนชิพเดี่ยวๆ ของวัสดุ
     พิเศษที่เรียกว่า ซิลิกอน
   – เทคนิคการขึ้นรูปวงจรรวมเรียกว่า เทคโนโลยี solid-
     state ซึ่งหมายความว่า อิเล็กตรอนจะวิ่งไปมาบนวัสดุ
     ของแข็งไม่ใช่เคลื่อนที่ในสุญญากาศอย่างเช่นหลอด
     สุญญากาศในวิทยุสมัยก่อน

                               วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                               คอมพิว เตอร์ | CPU | 3
ไมโครชิพ (Microchip)

• Solid-State
   – อิเล็กตรอนที่วิ่งไปมาบนวัตถุที่มีความหนาแน่น
• Silicon
   – ซิลิกอน เป็นวัตถุธรรมชาติที่พบได้ทั่วไปในดินและ
     ทราย
• Semiconductor
   – ตัวนำากึ่งยิ่งยวด คือ วัตถุที่มีคุณสมบัติทางไฟฟ้าอยู่
     ระหว่างสื่อนำาไฟฟ้าที่ดีกับฉนวนไฟฟ้า




                                  วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                                  คอมพิว เตอร์ | CPU | 4
Transistor vs. Vacuum tube
การย่อส่วนประกอบ จากหลอดสุญญากาศขนาดเท่ากับหลอดไฟในปี 1940
ถูกแทนที่ด้วยทรานซิสเตอร์ขนาดที่เล็กลงประมาณหนึ่งพันเท่าในปี 1950
ปัจจุบัน ขนาดของทรานซิสเตอร์ยิ่งเล็กลงๆ กว่าเดิมหลายล้านเท่า

                                     วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                                     คอมพิว เตอร์ | CPU | 5
ไมโครชิพ (Microchip)
• ไมโครชิพ (microchip or chip) หรือชิพ
   – มีหลายประเภท เช่น ไมโครโปรเซสเซอร์, ชิพหน่วย
     ตรรกะ, ชิพการสื่อสาร, ชิพกราฟิก, ชิพตัวประมวลผล
     ร่วมคณิตศาสตร์ เป็นต้น ชิพเหล่านี้มีหน้าที่แตกต่าง
     กัน แต่ชิพที่มีส่วนสำาคัญต่อการปฏิวัติด้าน
     คอมพิวเตอร์คือ ไมโครโปรเซสเซอร์ชิพ
• ไมโครโปรเซสเซอร์ (microprocessor)
   – มาจากคำาว่า microscopic processor หมายถึง ตัว
     ประมวลผลขนาดเล็กมาก หรือบางทีเรียกว่า ตัว
     ประมวลผลบนชิพ (processor on a chip)
   – คือวงจรที่ถูกย่อส่วนให้มีขนาดเล็กมากของตัว
     ประมวลผลคอมพิวเตอร์ เป็นส่วนที่ทำาหน้าที่ประมวล
     ผลหรือจัดการเปลี่ยนข้อมูลไปเป็นสารสนเทศ
                               วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                               คอมพิว เตอร์ | CPU | 6
ไมโครชิพ (Microchip)
  – กระบวนการย่อส่วนที่มีอยู่ในไมโครแมชิน
    (micromachine) ซึ่งเป็นอุปกรณ์ขนาดเล็กมากมี
    ขนาดน้อยกว่ามิลลิเมตร ที่ผนวกทั้งส่วนประกอบ
    เชิงกลไกและอิเล็กทรอนิกส์เข้าด้วยกัน
  – เช่น อุปกรณ์ที่ใช้ในเครื่องมือแพทย์หลายชนิด หรือ
    ตัวตรวจจับ (sensor) ในชิพที่ใช้ในถุงลมนิรภัยของ
    รถยนต์




                              วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                              คอมพิว เตอร์ | CPU | 7
การผลิต ชิพ
(บนซ้าย) แผ่นเวเฟอร์ที่ถูกพิมพ์ไว้ด้วยไมโครโปรเซสเซอร์หลายชิ้น (บนขวา) ชิพ
ไมโครโปรเซสเซอร์ที่ถูกขึ้นรูปภายในเฟรมป้องกันด้วยขาที่เสียบไว้สามารถเชือมต่อเข้า
                                                                       ่
กับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อย่างเช่นไมโครคอมพิวเตอร์ (ล่างสุด) การเพิ่มขนาดของแผ่น
เวเฟอร์ ซึ่งเป็นวิธีที่จะช่วยลดต้นทุน (ชิพแต่ละชินจะมีขนาด 20x20 มม.)
                                                 ้

                                             วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                                             คอมพิว เตอร์ | CPU | 8
หน่วยประมวลผลกลาง
• CPU (Central Processing Unit)
• เป็นกลุ่มของวงจรอิเล็กทรอนิกส์ที่ซับซ้อน ซึ่ง
  กระทำาการชุดโปรแกรมคำาสั่ง
• คอมพิวเตอร์ทกขนาดทั้งใหญ่และเล็กจะต้องมี
                ุ
  ซีพียูอย่างน้อยหนึ่งซีพยู
                         ี
• ประกอบด้วยส่วนสำาคัญ 2 ส่วน ได้แก่ หน่วย
  ควบคุม (control unit-CU) และหน่วย
  คำานวณ/ตรรกะ (arithmetic/logic unit-ALU)




                            วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                            คอมพิว เตอร์ | CPU | 9
หน่วยประมวลผลกลาง
• CPU (Central Processing Unit)
   – เป็นกลุ่มของวงจรอิเล็กทรอนิกส์ที่ซับซ้อน ซึ่งกระทำา
     การชุดโปรแกรมคำาสั่ง
   – ประกอบด้วยส่วนสำาคัญ 2 ส่วน ได้แก่ หน่วยควบคุม
     (control unit-CU) และหน่วยคำานวณ/ตรรกะ
     (arithmetic/logic unit-ALU)
• คอมพิวเตอร์ใช้หน่วยเก็บ 2 ชนิด ได้แก่ หน่วย
  เก็บหลักและรอง (primary storage and
  secondary storage)
   – ซีพียูจะปฏิสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับหน่วยเก็บหลักหรือ
     หน่วยความจำา (memory) ซึ่งมีการอ้างอิงทั้งในส่วน
     ของคำาสั่งและข้อมูล

                                วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                                คอมพิว เตอร์ | CPU | 10
ซีพ ีย แ ละหน่ว ยความจำา หลัก
       ู
หน่วยควบคุมและ ALU, เรจิสเตอร์ และหน่วยความจำาหลัก เชื่อมต่อกันโดย
อาศัยเส้นทางอิเล็กทรอนิกส์ที่เรียกว่าบัส (เรจิสเตอร์เป็นพื้นที่ใช้เก็บข้อมูล
ชั่วคราว)

                                           วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                                           คอมพิว เตอร์ | CPU | 11
หน่วยประมวลผลกลาง
•   Control Unit หน่วยควบคุม
    – บรรจุด้วยวงจรอิเล็กทรอนิกส์ทใช้สัญญาณอิเล็กทรอนิกส์
                                  ี่
      ทำาหน้าที่คอยประสานงานส่วนต่างของระบบคอมพิวเตอร์ใน
      การกระทำาการกับชุดโปรแกรมคำาสั่ง
•   ALU: Arithmetic/Logic Unit หน่วยคำานวณ/ตรรกะ
    – ทำาหน้าที่ปฏิบัติการด้านคำานวณและตรรกะ และคอยควบคุม
      ความเร็วของปฏิบัติการเหล่านั้น
    – ปฏิบัติการด้านคำานวณ (arithmetic operations) เป็นการ
      ทำางานด้านคำานวณพื้นฐาน ประกอบด้วย การบวก, ลบ, คูณ
      และหาร
    – ปฏิบัติการด้านตรรกะ (logical operations) เป็นการทำางาน
      ด้านการเปรียบเทียบ




                                  วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                                  คอมพิว เตอร์ | CPU | 12
หน่วยประมวลผลกลาง
• Register เรจิสเตอร์
   – เป็นที่พักพิเศษความเร็วสูงที่ใช้เก็บข้อมูลและคำาสั่งไว้
     ชั่วคราวในระหว่างการประมวลผล




                                  วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                                  คอมพิว เตอร์ | CPU | 13
หน่วยความจำา (Memory unit)
• มักใช้คำาว่าหน่วยความจำาหลัก (main memory)
  หรือแรม (RAM)
• คือหน่วยเก็บ ที่ปฏิบัติภารกิจหลัก 3 ประการ
   – เก็บข้อมูลที่ใช้สำาหรับการประมวลผล
   – เก็บชุดคำาสั่งหรือโปรแกรมสำาหรับประมวลผลข้อมูล
     นั้น และ
   – เก็บข้อมูลหรือสารสนเทศที่ได้จากการประมวลผล รอ
     การเคลือนย้ายไปสู่อุปกรณ์แสดงผลหรือหน่วยเก็บ
             ่
     รอง




                             วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                             คอมพิว เตอร์ | CPU | 14
หน่วยความจำา (Memory unit)
• มีชื่อเรียกหลายชื่อ ได้แก่
   –   หน่วยเก็บปฐมภูมิ (primary storage)
   –   หน่วยความจำาปฐมภูมิ (primary memory)
   –   หน่วยความจำาภายใน (internal memory)
   –   หน่วยเก็บหลัก (main storage)
   –   หน่วยเก็บภายใน (internal storage)
   –   หน่วยความจำาหลัก (main memory)
• ผู้ผลิตจะใช้คำาว่า แรม (RAM) ซึ่งมาจากคำาว่า
  random-access memory เพราะหน่วยความ
  จำาถูกบรรจุอยู่บนชิพที่เรียกว่า แรมชิพ (RAM
  chip)

                               วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                               คอมพิว เตอร์ | CPU | 15
รอบเครื่อง (Machine Cycle)
• คือลำาดับของปฏิบัติการในการกระทำาการกับ
  หนึ่งโปรแกรมคำาสั่ง
• ประกอบด้วย 2 ส่วน ได้แก่
   – รอบคำาสั่งเครื่อง (instruction cycle) เรียกว่า I-cycle
     หรือ I-time กระทำาโดยหน่วยควบคุม ประกอบด้วย
       • (1) ไปนำามา -fetch, ไปนำาคำาสั่งมาจากหน่วยความจำา
       • (2) ถอดรหัส -decode, แปลความหมายตามคำาสั่ง
   – รอบการกระทำาการ (execution cycle) เรียกว่า E-
     cycle หรือ E-time กระทำาโดยหน่วยคำานวณ/ตรรกะ
     ประกอบด้วย
       • (3) กระทำาการ –execute, ปฏิบัติการกับข้อมูล
       • (4) เก็บ –store, จัดเก็บผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผล
         ลงในหน่วยความจำาหรือเรจิสเตอร์
                                 วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                                 คอมพิว เตอร์ | CPU | 16
รอบเครื่อง (Machine Cycle)
• ซีพียูจะมีนาฬิการะบบ (system clock) ภายใน
  ที่คอยให้จังหวะด้วยเวลาที่เท่ากันแก่ทุกการ
  ปฏิบัติการของคอมพิวเตอร์
• ความเร็วรอบของนาฬิกาจะมีผลโดยตรงต่อ
  ความเร็วของคอมพิวเตอร์




                          วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                          คอมพิว เตอร์ | CPU | 17
ตัวอย่างการทำางานของรอบเครื่อง จาก 4 ขั้นตอนในรอบเครื่อง
(1) Fetch: หน่วยควบคุมจะไปหยิบคำาสั่งมาจากหน่วยความจำา
(2) decode: หน่วยควบคุมจะถอดรหัสโดยแปลความหมายเป็นคำาสั่งเครื่อง โดยพิจารณาว่าการเพิ่มค่า
ตามคำาสั่งนี้ทำาได้โดยการนำาค่าตัวเลขถัดไปคือ 76 ไปใส่ไว้ในเรจิสเตอร์เพื่อการนี้ ในขณะที่ค่าของ 88
ถูกเก็บไว้เรจิสเตอร์อีกตัวหนึ่งเรียบร้อยแล้ว
(3) execute: หน่วยคำานวณและตรรกะจะทำาการบวกค่าของผลรวมด้วย 76 ผลรวมที่ได้คือ 164
(4) store: เก็บค่า 164 ไว้ในเรจิสเตอร์และนำาค่าไปแทนที่ผลรวมเดิม (88) ในหน่วยความจำาหลัก


                                                     วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                                                     คอมพิว เตอร์ | CPU | 18
ความเร็วในการประมวลผล
(Processing Speeds)
•   Megahertz (MHz)
    – เมกะเฮิรตซ์ เป็นเวลาหนึ่งล้านรอบเครื่องต่อวินาที
•   MIPS (Million Instructions Per Second)
    – มิปส์ หนึ่งล้านคำาสั่งต่อวินาที
•   FLOPS (Floating-Point Operations Per Second)
    – ฟล็อปส์ เวลาในการปฏิบัติการจุดลอยตัวเสร็จสิ้นในหนึ่ง
      วินาที
         • เมกะฟล็อปส์ (megaflops หรือ mflops คือหนึ่งล้าน) คือการ
           ปฏิบัตการจุดลอยตัวหนึ่งล้านครั้งต่อวินาที
                 ิ
         • กิกะฟล็อปส์ (gigaflops หรือ gflops คือพันล้าน)
         • ทีราฟล็อปส์ (teraflops หรือ tflops คือล้านล้าน)
         • พีทาฟล็อปส์ (petaflops หรือ pflops คือ พันล้านล้าน)




                                        วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                                        คอมพิว เตอร์ | CPU | 19
ความเร็วในการประมวลผล
(Processing Speeds)
•   หน่วยวัดอื่นๆ—เวลาที่รอบเครื่องเสร็จสิ้นในเสี้ยววินาที
•   เป็นความเร็วของการเสร็จสิ้นในหนึ่งรอบของเครื่อง
•   มีหน่วยวัดความเร็วเป็น
     – มิลลิวินาที (millisecond) หนึ่งในพันวินาที เป็นหน่วย
       ความเร็วที่ใช้ในคอมพิวเตอร์ยุคแรกๆ
     – ไมโครวินาที (microsecond) หนึ่งในล้านวินาที เป็นหน่วย
       ความเร็วที่ใช้ในไมโครคอมพิวเตอร์
     – นาโนวินาที (nanosecond) หนึ่งในพันล้านวินาที เป็น
       หน่วยความเร็วทีใช้ในเมนเฟรม
                         ่
     – ไพโควินาที (picosecond) หนึ่งในล้านล้านวินาที เป็น
       หน่วยความเร็วทีใช้คอมพิวเตอร์ประสิทธิภาพสูง ที่ใช้ใน
                           ่
       งานทดลองและวิจย       ั



                                   วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                                   คอมพิว เตอร์ | CPU | 20
การแทนข้อมูล: เปิด/ปิด
(Data Representation: On/Off)
• ระบบเปิด/ปิดสองสถานะนี้เรียกว่า ระบบฐานสอง
  (binary system)
• การใช้สองสถานะแทนสัญญาณไฟฟ้าเปิด/ปิด นี้
  สามารถใช้แทนข้อมูลหรือภาษาของมนุษย์ใน
  ระบบคอมพิวเตอร์




                         วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                         คอมพิว เตอร์ | CPU | 21
การแทนข้อ มูล แบบฐานสอง
แสดงตัวอย่างการแทนตัวอักษร H-E-R-O ในรูปแบบของการปิด/เปิด หรือ
0/1 ในรหัสฐานสอง (แอสกี-8)



                                   วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                                   คอมพิว เตอร์ | CPU | 22
บิต, ไบต์ และเวิร์ด (Bites, Bytes, and
Word)
• ในระบบฐานสอง 0 หรือ 1 แต่ละจำานวนเรียกว่า
  บิต (bit) ซึ่งมาจากคำาว่า binary digit
• บิตเป็นหน่วยพื้นฐานการจัดเก็บข้อมูลในหน่วย
  ความจำาคอมพิวเตอร์
• แต่บิตเพียงหนึ่งบิต ย่อมไม่สามารถใช้แทน
  ตัวเลข, ตัวอักษร และอักขระพิเศษได้เพียงพอที่
  คอมพิวเตอร์จะประมวลผลได้ พบว่าเมื่อรวบรวม
  กลุมของบิตขนาดทีเหมาะสมจำานวนหนึ่ง
     ่                ่
  ประมาณ 7-8 บิตเข้าด้วยกัน เรียกว่าไบต์ (byte)



                           วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                           คอมพิว เตอร์ | CPU | 23
บิต, ไบต์ และเวิร์ด (Bites, Bytes, and
Word)
• เวิร์ด (word) คือกลุ่มของบิตที่ถูกจัดการ หรือจัด
  เก็บไว้ได้ ณ เวลาหนึงๆ โดยซีพียู
                        ่
• เวิร์ดเป็นขนาดของเรจิสเตอร์ที่จะใช้อางอิง
                                        ้
  หน่วยของข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ ขนาด
  ของเวิร์ดจะแปรเปลี่ยนไปตามชนิดของ
  คอมพิวเตอร์ เช่น 16 บิต, 32 บิต, 64 บิต
  เป็นต้น
• เครื่อง 32 บิต หมายถึงมีการอ้างอิงตำาแหน่ง
  (addressing) ครั้งละ 32 บิตในการทำางานครั้ง
  หนึ่งๆ


                             วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                             คอมพิว เตอร์ | CPU | 24
เค้าร่างการเข้ารหัสฐานสอง (Binary
Coding Scheme)
•   EBCDIC เอ็บซีดิก
     – มาจากคำาว่า Extended Binary Coded Decimal
       Interchange Code เป็นเค้าร่างของรหัสที่ใช้ใน
       คอมพิวเตอร์เมนเฟรมของไอบีเอ็ม และเครื่องเข้ากันได้กับ
       ไอบีเอ็ม
•   ASCII แอสกี
     – มาจากคำาว่า American Standard Code Information for
       Interchange เป็นรหัสฐานสองทีใช้กันแพร่หลายในไมโคร
                                    ่
       คอมพิวเตอร์ ASCII-7 ใช้แทนข้อมูลได้ 128 รูปแบบ
       ASCII-8 ใช้แทนข้อมูลได้ 256 รูปแบบ
•   Unicode ยูนิโค้ด
     – ใช้สองไบต์ (16 บิต) สำาหรับอักขระแต่ละตัว สามารถแทน
       ได้ถึง 65,536 รูปแบบ


                                    วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                                    คอมพิว เตอร์ | CPU | 25
เค้าร่างการเข้ารหัสฐานสอง ECDIC และ ASCII-8 มีอักขระอีกหลาย
ตัวทีไม่ถูกแสดงในที่นี้ ทังเครื่องหมายวรรคตอน, อักษรกรีก,
     ่                    ้
สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ และสัญลักษณ์ภาษาต่างประเทศ

                                   วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                                   คอมพิว เตอร์ | CPU | 26
บิตภาวะคู่หรือคี่ (Parity Bit)
• บิตภาวะคู่หรือคี่ หรือบางทีเรียกว่าบิตตรวจสอบ
  (parity bit or check bit) เป็นบิตที่เพิมต่อท้าย
                                         ่
  ไบต์เพื่อใช้ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล
  แต่ละไบต์
• อาจเป็นภาวะคู่ (even parity) หรือคี่ (odd
  parity) ก็ได้
• การตรวจสอบความถูกต้องที่แม่นยำากว่าเรียกว่า
  CRC (Cyclic Redundancy Check)




                            วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                            คอมพิว เตอร์ | CPU | 27
Parity bit ตัวอย่างของการใช้เค้าร่างของพาริตี้แบบภาวะบิตคู่




                                      วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                                      คอมพิว เตอร์ | CPU | 28
หน่วยระบบ
(The System Unit)
• หน่วยระบบ หรือตัวเครื่อง
   – เป็นกล่องซึ่งบรรจุไว้ด้วยส่วนประกอบทางไฟฟ้าที่
     ทำาให้คอมพิวเตอร์สามารถทำางานได้
• ประกอบด้วย
   – แหล่งจ่ายไฟฟ้า (power supply)
   – แผงหลัก (motherboard)
   – ซีพียู (CPU)
   – ชิพประมวลผลเฉพาะงาน (specialized processor
     chips)
   – นาฬิการะบบ (system clock)
   – แรมชิพ (RAM chips)
   – รอมชิพ (ROM chips)
                               วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                               คอมพิว เตอร์ | CPU | 29
วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
คอมพิว เตอร์ | CPU | 30
ภาพจำาลองเมนบอร์ด (mainboard or mother board)

                                   วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                                   คอมพิว เตอร์ | CPU | 31
หน่วยระบบ
(The System Unit)
   – รูปแบบอื่นของหน่วยความจำา ได้แก่ แคช (cache), วี
     แรม (VRAM), แฟลช (flash)
   – สล็อตและบอร์ดขยาย (expansion slots and
     boards)
   – เส้นบัส (bus lines)
   – พอร์ต (ports)
   – สล็อตและการ์ด PCMCIA (PCMCIA slots and
     cards)
• Peripheral Devices อุปกรณ์รอบข้าง
   – หมายถึง ฮาร์ดแวร์ที่อยูภายนอกซีพียู
                            ่




                               วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                               คอมพิว เตอร์ | CPU | 32
หน่วยระบบและแผงหลัก (system unit and motherboard) (บน) หน่วยระบบ
(ล่าง) แผงหลัก
                                  วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                                  คอมพิว เตอร์ | CPU | 33
ไมโครคอมพิวเตอร์และไมโครโปรเซสเซอร์ ไมโครคอมพิวเตอร์และชิพทีนิยม
                                                            ่
ใช้กนแพร่หลาย
    ั


                                  วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                                  คอมพิว เตอร์ | CPU | 34
วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
คอมพิว เตอร์ | CPU | 35
แรมชิพ (RAM Chips)
• SIMM-ซิม (single in-line memory module)
   – แรมชิพรุ่นก่อนๆ มักผนวกเป็นแถวเดี่ยวๆ บนบนแผง
     แล้วเสียบลงในช่องเสียบ (socket) บนเมนบอร์ด ซิม
     จะใช้แรมชิพหลายอันผนึกลงบนด้านเดียว
• DIMM-ดิม (dual in-line memory module)
   – แรมชิพรุ่นใหม่นิยมใช้ ซึ่งจะผนึกแรมชิพหลายอันลง
     บนทั้งสองด้าน
• แรมชิพมีหลายชนิด
   – DRAM-ดีแรม(dynamic ram) เป็นชิพที่จำาเป็นต้อง
     ถูกรีเฟรช (refresh) เพื่อประจุไฟฟ้าใหม่บ่อยๆ โดย
     ซีพียู
   – SRAM-เอสแรม (static RAM) เป็นชิพความเร็วสูง
     เพราะไม่จำาเป็นต้อง refresh ใช้สำาหรับงานบางอย่าง
     ในหน่วยความจำา ด้วยข้อจำาวิเดด้านขนาดและราคา ต ยกรรม
                                กั ชษฐ์ พลายมาศ | สถาปั
                              คอมพิว เตอร์ | CPU | 36
วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
คอมพิว เตอร์ | CPU | 37
แรมชิพ (RAM Chips)
   – EDO RAM-อีดีโอแรม (extended data-out RAM)
     เป็นดีแรมชนิดใหม่ ซึ่งมีประสิทธิภาพใกล้เคียงเอ็ส
     แรม มีขาจำานวน 72 ขา ความเร็วประมาณ 60 ns
   – SDRAM-เอสดีแรม (synchronous DRAM) มีขา
     จำานวน 168 ขา ความเร็วประมาณ 6-10 ns สามารถ
     เพิ่มอัตราความเร็วของบัสส่วนหน้า (FSB: front side
     bus) ได้ถึง 100-133 MHz.
• SDRAM บางชนิดยังมีคุณสมบัติที่เรียกว่า ECC
  (Error Checking & Correcting) เป็นแรมชนิด
  ที่มีการตรวจและแก้ไขข้อผิดพลาดในหน่วย
  ความจำาให้โดยอัตโนมัติ


                               วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                               คอมพิว เตอร์ | CPU | 38
รอมชิพ (ROM chip)
•   รอม-ROM มาจากคำาว่า read-only memory หน่วยความ
    จำาที่อ่านได้อย่างเดียว ที่มักรู้จักในชื่อเฟิร์มแวร์
    (firmware) ไม่สามารถเขียนหรือลบได้โดยผู้ใช้
•   แบ่งออกเป็น
     – PROM-พรอม (programmable read-only memory) เป็น
       รอมชิพเปล่าๆ ทีสามารถเขียนโปรแกรมลงไปได้โดยอาศัย
                        ่
       เครื่องมือพิเศษ และหลังจากเขียนแล้วไม่สามารถลบได้
     – EPROM-อีพรอม (erasable PROM) เช่นเดียวกับพรอม
       เป็นรอมชิพทีสามารถใช้เครื่องมือพิเศษเขียนโปรแกรมลง
                     ่
       ไปและได้ แต่การลบจะอาศัยอุปกรณ์พิเศษทีใช้แสงอัลทรา
                                                ่
       ไวโอเล็ต
     – EEPROM-อีอีพรอม (electrically EPROM)เป็นรอมชิพที่
       สามารถเขียนและลบโดยอาศัยกระบวนการทางไฟฟ้า



                                 วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                                 คอมพิว เตอร์ | CPU | 39
หน่วยความจำาแคช (cache memory)
•   หน่วยความจำาแคช เป็นพื้นที่หน่วยความจำาความเร็วสูง
    พิเศษที่ซีพียสามารถเข้าถึงได้อย่างรวดเร็วกว่าแรม มี
                 ู
    ราคาแพงกว่า ขนาดเล็กกว่า
     – Primary cache เรียกว่า cache level 1 หรือ L1 เป็นหน่วย
       ความจำาแคชทีอยู่ภายในตัวซีพียู (internal cache) อยู่ใน
                     ่
       ตำาแหน่งที่ใกล้กับซีพียูมากทีสุด มีความเร็วเท่ากับความเร็ว
                                    ่
       ของซีพียู
     – Secondary cache เรียกว่า cache level 2 หรือ L2 เป็น
       หน่วยความจำาแคชทีอยู่ภายนอกตัวซีพยู (external cache)
                            ่                 ี
       ติดตั้งบนเมนบอร์ด อยู่ในตำาแหน่งถัดจาก cache L1 แต่
       ใกล้ซพียูกว่าแรม
              ี
     – Cache L3 (Level 3) เป็นหน่วยความจำาทีอยู่ภายนอกซีพียู
                                                  ่
       บนเมนบอร์ดแต่อยู่ใกล้กับซีพียูมาก มีความเร็วมากกว่าแรม
       แต่ช้ากว่า cache L1 และ L2 แต่ขนาดใหญ่กว่า


                                     วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                                     คอมพิว เตอร์ | CPU | 40
แสดงการทำางานอย่างง่ายของแคชประเภทต่างๆ



                               วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                               คอมพิว เตอร์ | CPU | 41
เส้นบัส (Bus Lines)
• เรียกสั้นๆ ว่า บัส
• คือเส้นทางผ่านของไฟฟ้าที่จัดเตรียมไว้สำาหรับ
  การส่งผ่านบิตภายในซีพียู และระหว่างซีพียูกับ
  อุปกรณ์อื่นๆ ในหน่วยระบบ
• ในระบบคอมพิวเตอร์มีบัสหลายชนิด เช่น
   – บัสแอดเดรส (address bus)
   – บัสควบคุม (control bus),
   – บัสข้อมูล (data bus)
• ในไมโครคอมพิวเตอร์ บัสที่สำาคัญเรียกว่า บัส
  ขยาย (expansion bus) ที่ใช้ขนถ่ายข้อมูล
  ระหว่างแรมกับสล็อตขยาย
                            วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                            คอมพิว เตอร์ | CPU | 42
บัส เส้นทางผ่านไฟฟ้าทีส่งผ่านบิตภายในซีพียและระหว่างซีพียูกับอุปกรณ์
                      ่                   ู
รอบข้าง บัสขยายใช้เชื่อมต่อแรมกับสล็อตขยาย โลคัลบัสใช้เชื่อมต่อสล็อต
ขยายไปยังซีพียูโดยตรง


                                      วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                                      คอมพิว เตอร์ | CPU | 43
บัส (bus)
•   แอดเดรสบัส (Address Bus)
    –    ใช้สงข้อมูลประเภทที่อยูของอุปกรณ์ตนทางและอุปกรณ์ปลายทาง
             ่                  ่            ้
        เพือเป็นแหล่งอ้างอิงก่อนทีจะทำาการส่งข้อมูลบนบัสข้อมูล
           ่                      ่

• บัสข้อมูล (Data Bus)
    – คือเส้นทางที่เชือมระหว่างโพรเซสเซอร์กับหน่วยความจำา
                      ่
      หรือหน่วยความจำากับอุปกรณ์อินพุต/เอาต์พุต
• คอนโทรลบัส (Control Bus)
    – คือทางเดินสำาหรับสัญญาณควบคุมการทำางานของส่วนต่างๆ




                                     วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                                     คอมพิว เตอร์ | CPU | 44
บัสแอดแดรส (address bus) บัสข้อมูล (data bus) และบัสควบคุม (control
bus) ใช้เชื่อมต่อระหว่างโพรเซสเซอร์ (ALU + Control unit) กับหน่วย
ความจำาหลัก และใช้เชื่อมต่อกับ I/O ผ่านขยายหรือ I/O bus


                                      วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                                      คอมพิว เตอร์ | CPU | 45
วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
คอมพิว เตอร์ | CPU | 46
วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
คอมพิว เตอร์ | CPU | 47
วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
คอมพิว เตอร์ | CPU | 48
วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
คอมพิว เตอร์ | CPU | 49
วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
คอมพิว เตอร์ | CPU | 50
วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
คอมพิว เตอร์ | CPU | 51
พอร์ต (Ports) (1)
• คือซ็อกเก็ตทีอยู่ด้านนอกของตัวเครื่องที่ถูก
               ่
  เชื่อมต่อไปยังส่วนบอร์ดขยายด้านในของตัว
  เครื่อง
• พอร์ตมีหลายชนิด ได้แก่
   – Parallel Port พอร์ตขนาน หรือ LPT: port
       • เป็นสายเชื่อมต่อทีอนุญาตให้มีการส่งผ่านข้อมูลทีละ 8
                             ่
         บิตอย่างต่อเนื่อง จึงส่งได้เร็วกว่าพอร์ตอนุกรม ระยะ
         ทางไม่เกิน 15 ฟุต ดังนั้น จึงมักนิยมใช้เป็นสายเชื่อมต่อ
         กับเครื่องพิมพ์
       • มีรู 25 รู (พอร์ตนี้จะเป็นตัวเมีย หมายถึงมีรูทตัวพอร์ต)
                                                       ี่
       • พอร์ตนี้จะต่อกับอุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น เครื่องพิมพ์ เทป
         ไดร์ฟ สแกนเนอร์ เป็นต้น สามารถต่อความยาวไม่มาก
         นัก มีราคาแพงกว่าสายของพอร์ตอนุกรมด้วย

                                   วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                                   คอมพิว เตอร์ | CPU | 52
พอร์ต (Ports) (2)
   – Serial Port พอร์ตอนุกรม หรือ COM port หรือพอร์ต
     RS-232
      • เป็นสายเชื่อมต่อทีส่งบิตทีละ 1 บิตบนสายเพียงเส้น
                           ่
        เดียว
      • พอร์ตอนุกรมจะมีหวเข็ม 9 เข็ม หรือ 25 เข็ม (พอร์ตนี้
                             ั
        จะเป็นตัวผู้ เพราะมีเข็มยื่นออกมา)
      • ใช้เชื่อมต่อกับอุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น เม้าส์ โมเด็ม สแกน
        เนอร์ เป็นต้น
      • สามารถต่อความยาวได้ถง 6 เมตร และราคาสายก็ไม่
                                   ึ
        แพงนัก




                                  วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                                  คอมพิว เตอร์ | CPU | 53
พอร์ต
•   Video Adapter Port
     – ใช้เชื่อมต่อระหว่างจอภาพซึ่งอยู่ภายนอกเข้ากับการ์ด
        แสดงผลที่อยู่ภายในตัวเครื่อง
•   SCSI สกัซซี่
     – มาจากคำาว่า Small Computer System Interface
        พอร์ตแบบสกัซซี่สามารถเชื่อมต่อเพื่อรับส่งแบบความเร็ว
        สูงเข้ากับอุปกรณ์แบบสกัซซี่อนๆ ได้ 7-15 ตัว
                                     ื่
•   Infrared Port พอร์ตอินฟราเรด
     – จะอนุญาตให้คอมพิวเตอร์สามารถเชื่อมต่อกับอุปกรณ์
        อืนๆ โดยปราศจากสายได้
          ่
•   USB Port ยูเอสบี
     – พอร์ตที่อนุญาตให้อปกรณ์จำานวนถึง 127 อุปกรณ์
                           ุ
        สามารถเชื่อมต่อผ่านพอร์ตทั่วไปเพียงหนึ่งพอร์ต
•   PCMCIA หรือพีซีการ์ด
         • มาจากคำาว่า Personal Computer Card Memory International
           Association


                                     วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                                     คอมพิว เตอร์ | CPU | 54
พอร์ต
• พอร์ต USB (Universal Serial Bus Port)
• พอร์ตชนิดใหม่รับส่งความเร็วได้สูงกว่าพอร์ต
  ทั่วไป
• สามารถเชื่อมต่ออุปกรณ์ต่อเนื่องได้ 127 ตัว
• เป็นมาตรฐานใหม่ที่มีมากับเครื่องคอมพิวเตอร์
• การติดตั้ง เพียงต่ออุปกรณ์เข้ากับ USB port ก็
  สามารถใช้งานอุปกรณ์นั้นๆ ได้ โดยไม่จำาเป็น
  ต้อง boot เครื่องใหม่
• นอกจากพอร์ตอนุกรมและขนานแล้ว ยังมีพอร์ต
  อืน ๆ อีกได้แก่ พอร์ตคีย์บอร์ด, พอร์ตเกมส์,
    ่
  พอร์ตจอ เป็นต้น

                           วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                           คอมพิว เตอร์ | CPU | 55
พอร์ตด้านหลังของพีซและแมคอินทอช (ล่าง)
                     ี
สายโซ่ 2 แบบ อุปกรณ์แบบสกัซซีสามารถต่อ
เข้ากับด้านในหรือด้านของคอมพิวเตอร์กได้
                                    ็




วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
คอมพิว เตอร์ | CPU | 56
สายโซ่ 2 แบบ อุปกรณ์แบบสกัซซีสามารถต่อเข้ากับด้านในหรือด้านของ
คอมพิวเตอร์ก็ได้
                                     วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                                     คอมพิว เตอร์ | CPU | 57
พีซการ์ด มีขนาดพอๆ กับบัตรเครดิต ส่วนใหญ่
    ี
ใช้เสียบลงในสล็อตของโน้ตบุ้คเพื่อแรมหรือเป็น
แฟ็กซ์/โมเด็ม



                                     วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                                     คอมพิว เตอร์ | CPU | 58
สล็อต (slot)
•   ISA Slots ( Industrial                  •   AGP Slots (Accelerated
    Standard Architecture)                      Graphics Port)
     –   เป็น Slots ที่มีการเชื่อมต่อแบบ         –   เป็น Slots ทีมีการเชื่อมต่อแบบ
                                                                  ่
         16 บิต เป็นมาตราฐานแบบเก่า ที่              32 บิต สำาหรับอุปกรณ์ตอพ่วงที่
                                                                             ่
         ต่อเชื่อมกับอุปกรณ์ที่มการรับส่ง
                                 ี                   ใช้ความเร็วสูงขึ้น เช่น การ์ด
         ไม่มาก เช่น โมเด็ม การ์ดจอ                  เสียง การ์ดจอ ให้มประสิทธิภาพ
                                                                         ี
•   PCI Slots (Peripheral                            ในระดับ Graphics ทั้ง 2 และ 3
                                                     มิติ ในระดับ 64 บิต
    Connection Interface)
     –   เป็น Slots ที่มีการเชื่อมต่อแบบ    •   IDE Connector
         32 บิต สำาหรับอุปกรณ์ตอพ่วงที่
                                  ่              –   เป็น Connector ที่ใช้ตอกับ
                                                                           ่
         ใช้ความเร็วสูงขึ้น เช่น การ์ด               Hard Disk และ CD-Rom
         เสียง การ์ดจอ ให้มีประสิทธิภาพ     •   Battery Backup
         ในระดับ Graphics
                                                 –   ใช้สำาหรับรักษา เวลาและข้อมูล
•   Communication Port (Com                          ของอุปกรณ์ตางๆ ทีจำาเป็นใน
                                                                     ่  ่
    port)                                            เวลาที่ปิดเครือง
                                                                   ่
     –   เป็น Port ที่ใช้ตอกับอุปกรณ์
                          ่
         ภายนอก ทั้ง Serial Port (ได้แก่
         เม้าส์ โมเด็ม) และ Parallel Port
         (ได้แก่ เครืองพิมพ์)
                     ่




                                                วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                                                คอมพิว เตอร์ | CPU | 59
USB
•   Universal Serial Bus (USB - ยูเอสบี) เป็นข้อกำาหนดมาตรฐาน
    ของบัสการสื่อสารแบบอนุกรม เพื่อใช้ในการเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ ซึ่ง
    โดยทั่วไปจะใช้กับคอมพิวเตอร์ แต่สามารถใช้ได้กับอุปกรณ์อื่น เช่น
    เซตทอปบอกซ์ (set-top boxes), เครื่องเล่นเกม (game consoles)
    และพีดีเอ (PDAs).
•   ยูเอสบีได้กลายเป็นรูปแบบการเชื่อมต่อมาตรฐานสำาหรับอุปกรณ์
    มัลติมีเดีย เช่น สแกนเนอร์ หรือกล้องถ่ายรูปดิจิตอล
•   นิยมนำาไปทดแทนการเชือมต่อแบบเดิม เช่น การเชื่อมต่อแบบ
                              ่
    ขนาน (parallel) สำาหรับเครื่องพิมพ์ การเชื่อมต่อแบบ
    อนุกรม(serial) สำาหรับโมเด็ม
•   เนื่องจากยูเอสบีช่วยลดข้อจำากัดหลาย ๆ ด้านของการเชื่อมต่อแบบ
    เดิม เช่น การเชื่อมต่อเครื่องพิมพ์หลาย ๆ เครื่องเข้ากับคอมพิวเตอร์
    เครื่องเดียว
•   มีเพียงอุปกรณ์ที่ต้องการความสามารถในการส่งผ่านข้อมูลมาก ๆ
    เท่านั้นที่ไม่สามารถใช้ยูเอสบี เช่น จอภาพแสดงผล หรือ
    มอนิเตอร์ และอุปกรณ์ดิจิตอลวีดีโอคุณภาพสูง เป็นต้น




                                        วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                                        คอมพิว เตอร์ | CPU | 60
(A)   (B) คอนเนคเตอร์ USB แบบ A   (C) USB hub




                        อัต ราความเร็ว
                        USB 1.0 200 Mbps
                        USB 2.0 480 Mbps
                        USB 3.0 5,000 Mbps




       วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
       คอมพิว เตอร์ | CPU | 61
FireWire (1)
•   ไฟร์ไ วร์ (FireWire) อาจรู้จักในชื่อ i.Link และ IEEE 1394
    เป็นข้อกำาหนดมาตรฐานการเชือมต่อบัสการสื่อสารแบบอนุกรมของ
                                    ่
    คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
•   อุปกรณ์ที่นิยมใช้ FireWire มากที่สุดคือ กล้องวิดีโอดิจิทัล ซึ่งมีช่อง
    เสียบ FireWire มาตั้งแต่ ค.ศ. 1995 เครื่องคอมพิวเตอร์บางยี่ห้อ
    เช่น แอปเปิล คอมพิวเตอร์ หรือ โซนี่ ได้รวม FireWire เป็นอุปกรณ์
    มาตรฐานเช่นกัน
•   FireWire รุ่นแรกเรียกว่า FireWire 400 สามารถส่งข้อมูลได้
    100, 200, 400 Mbps (ในความเป็นจริงจะส่งได้ 98.304,
    196.608, 393.216 Mbit/s ตามลำาดับ) สามารถต่อพ่วงอุปกรณ์ได้
    สูงสุด 63 ชิ้น (โดยใช้ฮับเข้าช่วย) สามารถเชือมต่อแบบ peer-to-
                                                ่
    peer เช่น เชื่อมระหว่างเครื่องพิมพ์และสแกนเนอร์ โดยไม่ต้องผ่าน
    คอมพิวเตอร์ FireWire ยังสามารถจ่ายพลังงานได้ 45 วัตต์ต่อพอร์
    ทอีกด้วย
•   FireWire 800 เป็นมาตรฐานที่แอปเปิลพัฒนาเพิ่มเติมจาก
    IEEE1394b ในปี ค.ศ. 2003 โดยพัฒนาให้มีความเร็วเพิ่มขึ้นเป็น
    786.432 Mbit/s โดยที่ยังเข้ากันได้กับ FireWire 400 รุ่นเก่า




                                          วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                                          คอมพิว เตอร์ | CPU | 62
FireWire (2)
                                       •   ด้วยการพัฒนาตามหลักการของการส่งข้อมูล
                                           แบบใหม่โดยการส่งแบบคู่ขนาน 9 พิน จะช่วย
                                           ในการส่งผ่านข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว
                                           โดยFirewire 2008 ความเร็ว 3.2Gbit/s ได้รบ  ั
                                           การรับรองแล้ว จากสมาพันธ์ IEEE โดยได้
                                           ทำาการรับรองมาตราฐาน IEEE 1394 แล้ว
                                           หรือทีรู้จักกันในนาม Firewire โดยมาตราฐาน
                                                   ่
                                           นี้ได้ถูกเรียกว่า IEEE 1394-2008
                                       •   จะมีสเปคความเร็วอยู่ที่ 1.6 Gbit/s และ 3.2
                                           Gbit/s โดย Firewire ใหม่นี้จะใช้เคเบิลแบบ 9
ตัวอย่างหัวเสียบ FireWire แบบ 6 พิน        pin เหมือนกับ Firewire 800 แต่กลับเป็นที่
                                           นิยมมากกว่า หากดูในกลุมกล้องถ่ายวีดีโอ
                                                                     ่
อัต ราความเร็ว FireWire                    ประเภท DV แต่สำาหรับ Firewire 800 นั้นกลุ่ม
FireWire 1.0       400 Mbps                ผู้ใช้มีอยูจำากัดมากIEEE กล่าวว่ามาตรฐาน
                                                      ่
FireWire 2.0       800 Mbps
                                           ใหม่นี้นำาออกมาใช้ตั้งแต่ตุลาคมปี 2551

                                      วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                                      คอมพิว เตอร์ | CPU | 63
ชิปเซ็ต (chipset)
•   ชิพเซ็ตเป็นเสมือนหัวใจของเมนบอร์ด มีหน้าที่หลักเป็น
    เหมือนทั้ง อุปกรณ์ แปลภาษา ให้อุปกรณ์ต่างๆ ที่อยู่บน
    เมนบอร์ดสามารถทำางานร่วมกันได้ และทำาหน้าที่ควบคุม
    อุปกรณ์ต่างๆ ให้ทำางานได้ตามต้องการ
•   ชิปเซ็ตประกอบด้วย
     – System Controller (Intel เรียกว่า North Bridge นอร์ธบริดจ์)
       หรือ Memory Controller Hub (MCH) ทำาหน้าที่ควบคุมการ
       สื่อสารระหว่างหน่วยความจำาของระบบ, โปรเซสเซอร์, AGP
     – PCI to ISA Bridge (หรือ Intel เรียกว่า South Bridge เซาธ์
       บริดจ์) หรือ I/O Controller Hub (ICH) ทำาหน้าที่ในการ
       ควบคุมการสื่อสารระหว่างอุปกรณ์ PCI, ระบบควบคุมบัส,
       อุปกรณ์ ATA, AC'97, USB, IEEE1397 (firewire) และ LPC
       controller [อุปกรณ์คอนโทรลเลอร์เหล่านี้ถูกบัดกรีติดอยู่บนมา
       เธอร์บอร์ดและไม่สามารถเปลี่ยนหรือทำาการอัพเกรดได้]หรือ
       อุปกรณ์ที่มีความเร็วตำ่ากว่า เช่น ระบบบัสแบบ ISA ระบบบัส
       อนุกรมแบบ USB ชิพคอนโทรลเลอร์ IDE ชิพหน่วยความจำา
       รอมไออส ฟล็อบปี้ดิกส์ คีย์บอร์ด พอร์ตอนุกรม และพอร์ตขนาน



                                      วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                                      คอมพิว เตอร์ | CPU | 64
Front Side Bus (FSB) บัสส่วนหน้า
• FSB เป็นอินเตอร์เฟซระหว่างโปรเซสเซอร์กับ
  ชิปเซ็ต North Bridge ของเมนบอร์ด นาฬิกา
  ของบัสยิ่งเร็วก็ยิ่งมีแบนด์วธมากขึ้น
                              ิ
• FSB คือความเร็วบัสซึ่งใช้ในการเชื่อมต่อ
  โปรเซสเซอร์เข้ากันหน่วยความจำาหลัก (RAM)
  เนื่องจากโปรเซสเซอร์มีความเร็วสูงขึ้นเรื่อยๆ
  ความเร็วบัสของระบบจึงกลายเป็นปัญหาคอขวด
  สำาหรับพีซียุคใหม่ โดยทั่วไปแล้วความเร็วบัส
  ของระบบคือ 400 MHz, 533 MHz, 667 MHz,
  และ 800 MHz 


                          วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
                          คอมพิว เตอร์ | CPU | 65
FSB = คือ Front Side
         Bus หมายถึง การส่งข้อมูล
         ระหว่าง CPU และ ชิพเซ็ต
         NorthBridge




วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม
คอมพิว เตอร์ | CPU | 66

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์(แก้ไข)
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์(แก้ไข)อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์(แก้ไข)
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์(แก้ไข)Araya Chiablaem
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์Benyapar Yuki
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมSupanut Boonlert
 
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
หน่วยประมวลผลกลาง Present 4-7 (Group2)
หน่วยประมวลผลกลาง Present 4-7 (Group2)หน่วยประมวลผลกลาง Present 4-7 (Group2)
หน่วยประมวลผลกลาง Present 4-7 (Group2)Supaksorn Tatongjai
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์Natchanan Mankhong
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์ กิตติธัช งามดี
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2 powerpoint
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2 powerpointอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2 powerpoint
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2 powerpointกิตติธัช งามดี
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2กิตติธัช งามดี
 
งานนำเสนอ3
งานนำเสนอ3งานนำเสนอ3
งานนำเสนอ3Araya Chiablaem
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์Looknam Kamonchanok
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์ กิตติธัช งามดี
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 555
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 555องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 555
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 555ปรีชาพล ยานะกุล
 

La actualidad más candente (16)

อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์(แก้ไข)
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์(แก้ไข)อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์(แก้ไข)
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์(แก้ไข)
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
หน่วยประมวลผลกลาง Present 4-7 (Group2)
หน่วยประมวลผลกลาง Present 4-7 (Group2)หน่วยประมวลผลกลาง Present 4-7 (Group2)
หน่วยประมวลผลกลาง Present 4-7 (Group2)
 
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2 powerpoint
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2 powerpointอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2 powerpoint
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2 powerpoint
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2
 
งานนำเสนอ3
งานนำเสนอ3งานนำเสนอ3
งานนำเสนอ3
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
องค์ประกอบสาระสนเทศ
องค์ประกอบสาระสนเทศองค์ประกอบสาระสนเทศ
องค์ประกอบสาระสนเทศ
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 555
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 555องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 555
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 555
 

Destacado

Power BI Desktop screen tour in Thai
Power BI Desktop screen tour in ThaiPower BI Desktop screen tour in Thai
Power BI Desktop screen tour in ThaiPanaEk Warawit
 
10 ca-mass-storage system structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
10 ca-mass-storage system structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)10 ca-mass-storage system structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
10 ca-mass-storage system structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)krissapat
 
1 ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
1 ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ1 ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
1 ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการkanlayarat
 
9 ca-io systems structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
9 ca-io systems structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)9 ca-io systems structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
9 ca-io systems structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)krissapat
 
5 ca-memory structuret
5 ca-memory structuret5 ca-memory structuret
5 ca-memory structuretkrissapat
 
1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)krissapat
 
5 ca-memory structuret
5 ca-memory structuret5 ca-memory structuret
5 ca-memory structuretkrissapat
 
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับ กระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับ กระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับ กระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับ กระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้panisa thepthawat
 
4 ca-process structure
4 ca-process structure4 ca-process structure
4 ca-process structurekrissapat
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Natcha Wannakot
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้panisa thepthawat
 

Destacado (12)

Power BI Desktop screen tour in Thai
Power BI Desktop screen tour in ThaiPower BI Desktop screen tour in Thai
Power BI Desktop screen tour in Thai
 
10 ca-mass-storage system structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
10 ca-mass-storage system structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)10 ca-mass-storage system structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
10 ca-mass-storage system structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
 
1 ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
1 ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ1 ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
1 ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
 
Ict
IctIct
Ict
 
9 ca-io systems structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
9 ca-io systems structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)9 ca-io systems structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
9 ca-io systems structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
 
5 ca-memory structuret
5 ca-memory structuret5 ca-memory structuret
5 ca-memory structuret
 
1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
 
5 ca-memory structuret
5 ca-memory structuret5 ca-memory structuret
5 ca-memory structuret
 
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับ กระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับ กระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับ กระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับ กระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้
 
4 ca-process structure
4 ca-process structure4 ca-process structure
4 ca-process structure
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 

Similar a 1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)

3 ca-computer system structure
3 ca-computer system structure3 ca-computer system structure
3 ca-computer system structurekrissapat
 
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์supatra2011
 
3.ระบบคอมพิวเตอร์
3.ระบบคอมพิวเตอร์3.ระบบคอมพิวเตอร์
3.ระบบคอมพิวเตอร์PongPang
 
ระบบคอมพิวเตอร์1
ระบบคอมพิวเตอร์1ระบบคอมพิวเตอร์1
ระบบคอมพิวเตอร์1Noomim
 
ระบบคอมพิวเตอร์1
ระบบคอมพิวเตอร์1ระบบคอมพิวเตอร์1
ระบบคอมพิวเตอร์1Pheeranan Thetkham
 
ระบบคอมพิวเตอร์1
ระบบคอมพิวเตอร์1ระบบคอมพิวเตอร์1
ระบบคอมพิวเตอร์1Pheeranan Thetkham
 
หน่วยประมวลผลกลาง Present 4-12 (Group2)
หน่วยประมวลผลกลาง Present 4-12 (Group2)หน่วยประมวลผลกลาง Present 4-12 (Group2)
หน่วยประมวลผลกลาง Present 4-12 (Group2)Supaksorn Tatongjai
 
ระบบคอมพิวเตอร์1
ระบบคอมพิวเตอร์1ระบบคอมพิวเตอร์1
ระบบคอมพิวเตอร์1MilkSick
 
ระบบคอมพิวเตอร์1
ระบบคอมพิวเตอร์1ระบบคอมพิวเตอร์1
ระบบคอมพิวเตอร์1MilkSick
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์pui3327
 
องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์Orapan Chamnan
 
Com element [compatibility mode]
Com element [compatibility mode]Com element [compatibility mode]
Com element [compatibility mode]twatfangmin
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์prakaipet
 
โครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้น
โครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้นโครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้น
โครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้นBeerza Kub
 
40984682 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1-เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเธ...
40984682 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1-เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเธ...40984682 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1-เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเธ...
40984682 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1-เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเธ...ฐนกร คำเรือง
 
หลักการทำงานของระบบคอม
หลักการทำงานของระบบคอมหลักการทำงานของระบบคอม
หลักการทำงานของระบบคอมฐนกร คำเรือง
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์wannuka24
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์wannuka24
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์wannuka24
 

Similar a 1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17) (20)

3 ca-computer system structure
3 ca-computer system structure3 ca-computer system structure
3 ca-computer system structure
 
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
3.ระบบคอมพิวเตอร์
3.ระบบคอมพิวเตอร์3.ระบบคอมพิวเตอร์
3.ระบบคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์1
ระบบคอมพิวเตอร์1ระบบคอมพิวเตอร์1
ระบบคอมพิวเตอร์1
 
ระบบคอมพิวเตอร์1
ระบบคอมพิวเตอร์1ระบบคอมพิวเตอร์1
ระบบคอมพิวเตอร์1
 
ระบบคอมพิวเตอร์1
ระบบคอมพิวเตอร์1ระบบคอมพิวเตอร์1
ระบบคอมพิวเตอร์1
 
หน่วยประมวลผลกลาง Present 4-12 (Group2)
หน่วยประมวลผลกลาง Present 4-12 (Group2)หน่วยประมวลผลกลาง Present 4-12 (Group2)
หน่วยประมวลผลกลาง Present 4-12 (Group2)
 
ระบบคอมพิวเตอร์1
ระบบคอมพิวเตอร์1ระบบคอมพิวเตอร์1
ระบบคอมพิวเตอร์1
 
ระบบคอมพิวเตอร์1
ระบบคอมพิวเตอร์1ระบบคอมพิวเตอร์1
ระบบคอมพิวเตอร์1
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
Com element [compatibility mode]
Com element [compatibility mode]Com element [compatibility mode]
Com element [compatibility mode]
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
โครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้น
โครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้นโครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้น
โครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้น
 
Cpu
CpuCpu
Cpu
 
40984682 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1-เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเธ...
40984682 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1-เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเธ...40984682 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1-เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเธ...
40984682 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1-เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเธ...
 
หลักการทำงานของระบบคอม
หลักการทำงานของระบบคอมหลักการทำงานของระบบคอม
หลักการทำงานของระบบคอม
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 

1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)

  • 2. Microchip CPU Memory Unit Machine Cycle Processing Speed Data Representation Bites, Bytes, and Word Binary Coding Scheme System Unit AGENDA วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 2
  • 3. ไมโครชิพ (Microchip) • Transistor – ทรานซิสเตอร์คือส่วนประกอบสำาคัญของสวิทซ์เล็กๆ ที่ถูกปฏิบัติการด้วยสัญญาณไฟฟ้าที่สามารถเลือก ระหว่างสัญญาณเปิดและปิดได้หลายล้านครั้งในหนึ่ง วินาที – เป็นส่วนสำาคัญของวงจรรวม (Integrated Circuit: IC) ซึ่งเป็นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ทั้งหมด ประกอบด้วย สายโลหะขึ้นรูปเข้าด้วยกันบนชิพเดี่ยวๆ ของวัสดุ พิเศษที่เรียกว่า ซิลิกอน – เทคนิคการขึ้นรูปวงจรรวมเรียกว่า เทคโนโลยี solid- state ซึ่งหมายความว่า อิเล็กตรอนจะวิ่งไปมาบนวัสดุ ของแข็งไม่ใช่เคลื่อนที่ในสุญญากาศอย่างเช่นหลอด สุญญากาศในวิทยุสมัยก่อน วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 3
  • 4. ไมโครชิพ (Microchip) • Solid-State – อิเล็กตรอนที่วิ่งไปมาบนวัตถุที่มีความหนาแน่น • Silicon – ซิลิกอน เป็นวัตถุธรรมชาติที่พบได้ทั่วไปในดินและ ทราย • Semiconductor – ตัวนำากึ่งยิ่งยวด คือ วัตถุที่มีคุณสมบัติทางไฟฟ้าอยู่ ระหว่างสื่อนำาไฟฟ้าที่ดีกับฉนวนไฟฟ้า วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 4
  • 5. Transistor vs. Vacuum tube การย่อส่วนประกอบ จากหลอดสุญญากาศขนาดเท่ากับหลอดไฟในปี 1940 ถูกแทนที่ด้วยทรานซิสเตอร์ขนาดที่เล็กลงประมาณหนึ่งพันเท่าในปี 1950 ปัจจุบัน ขนาดของทรานซิสเตอร์ยิ่งเล็กลงๆ กว่าเดิมหลายล้านเท่า วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 5
  • 6. ไมโครชิพ (Microchip) • ไมโครชิพ (microchip or chip) หรือชิพ – มีหลายประเภท เช่น ไมโครโปรเซสเซอร์, ชิพหน่วย ตรรกะ, ชิพการสื่อสาร, ชิพกราฟิก, ชิพตัวประมวลผล ร่วมคณิตศาสตร์ เป็นต้น ชิพเหล่านี้มีหน้าที่แตกต่าง กัน แต่ชิพที่มีส่วนสำาคัญต่อการปฏิวัติด้าน คอมพิวเตอร์คือ ไมโครโปรเซสเซอร์ชิพ • ไมโครโปรเซสเซอร์ (microprocessor) – มาจากคำาว่า microscopic processor หมายถึง ตัว ประมวลผลขนาดเล็กมาก หรือบางทีเรียกว่า ตัว ประมวลผลบนชิพ (processor on a chip) – คือวงจรที่ถูกย่อส่วนให้มีขนาดเล็กมากของตัว ประมวลผลคอมพิวเตอร์ เป็นส่วนที่ทำาหน้าที่ประมวล ผลหรือจัดการเปลี่ยนข้อมูลไปเป็นสารสนเทศ วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 6
  • 7. ไมโครชิพ (Microchip) – กระบวนการย่อส่วนที่มีอยู่ในไมโครแมชิน (micromachine) ซึ่งเป็นอุปกรณ์ขนาดเล็กมากมี ขนาดน้อยกว่ามิลลิเมตร ที่ผนวกทั้งส่วนประกอบ เชิงกลไกและอิเล็กทรอนิกส์เข้าด้วยกัน – เช่น อุปกรณ์ที่ใช้ในเครื่องมือแพทย์หลายชนิด หรือ ตัวตรวจจับ (sensor) ในชิพที่ใช้ในถุงลมนิรภัยของ รถยนต์ วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 7
  • 8. การผลิต ชิพ (บนซ้าย) แผ่นเวเฟอร์ที่ถูกพิมพ์ไว้ด้วยไมโครโปรเซสเซอร์หลายชิ้น (บนขวา) ชิพ ไมโครโปรเซสเซอร์ที่ถูกขึ้นรูปภายในเฟรมป้องกันด้วยขาที่เสียบไว้สามารถเชือมต่อเข้า ่ กับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อย่างเช่นไมโครคอมพิวเตอร์ (ล่างสุด) การเพิ่มขนาดของแผ่น เวเฟอร์ ซึ่งเป็นวิธีที่จะช่วยลดต้นทุน (ชิพแต่ละชินจะมีขนาด 20x20 มม.) ้ วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 8
  • 9. หน่วยประมวลผลกลาง • CPU (Central Processing Unit) • เป็นกลุ่มของวงจรอิเล็กทรอนิกส์ที่ซับซ้อน ซึ่ง กระทำาการชุดโปรแกรมคำาสั่ง • คอมพิวเตอร์ทกขนาดทั้งใหญ่และเล็กจะต้องมี ุ ซีพียูอย่างน้อยหนึ่งซีพยู ี • ประกอบด้วยส่วนสำาคัญ 2 ส่วน ได้แก่ หน่วย ควบคุม (control unit-CU) และหน่วย คำานวณ/ตรรกะ (arithmetic/logic unit-ALU) วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 9
  • 10. หน่วยประมวลผลกลาง • CPU (Central Processing Unit) – เป็นกลุ่มของวงจรอิเล็กทรอนิกส์ที่ซับซ้อน ซึ่งกระทำา การชุดโปรแกรมคำาสั่ง – ประกอบด้วยส่วนสำาคัญ 2 ส่วน ได้แก่ หน่วยควบคุม (control unit-CU) และหน่วยคำานวณ/ตรรกะ (arithmetic/logic unit-ALU) • คอมพิวเตอร์ใช้หน่วยเก็บ 2 ชนิด ได้แก่ หน่วย เก็บหลักและรอง (primary storage and secondary storage) – ซีพียูจะปฏิสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับหน่วยเก็บหลักหรือ หน่วยความจำา (memory) ซึ่งมีการอ้างอิงทั้งในส่วน ของคำาสั่งและข้อมูล วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 10
  • 11. ซีพ ีย แ ละหน่ว ยความจำา หลัก ู หน่วยควบคุมและ ALU, เรจิสเตอร์ และหน่วยความจำาหลัก เชื่อมต่อกันโดย อาศัยเส้นทางอิเล็กทรอนิกส์ที่เรียกว่าบัส (เรจิสเตอร์เป็นพื้นที่ใช้เก็บข้อมูล ชั่วคราว) วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 11
  • 12. หน่วยประมวลผลกลาง • Control Unit หน่วยควบคุม – บรรจุด้วยวงจรอิเล็กทรอนิกส์ทใช้สัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ ี่ ทำาหน้าที่คอยประสานงานส่วนต่างของระบบคอมพิวเตอร์ใน การกระทำาการกับชุดโปรแกรมคำาสั่ง • ALU: Arithmetic/Logic Unit หน่วยคำานวณ/ตรรกะ – ทำาหน้าที่ปฏิบัติการด้านคำานวณและตรรกะ และคอยควบคุม ความเร็วของปฏิบัติการเหล่านั้น – ปฏิบัติการด้านคำานวณ (arithmetic operations) เป็นการ ทำางานด้านคำานวณพื้นฐาน ประกอบด้วย การบวก, ลบ, คูณ และหาร – ปฏิบัติการด้านตรรกะ (logical operations) เป็นการทำางาน ด้านการเปรียบเทียบ วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 12
  • 13. หน่วยประมวลผลกลาง • Register เรจิสเตอร์ – เป็นที่พักพิเศษความเร็วสูงที่ใช้เก็บข้อมูลและคำาสั่งไว้ ชั่วคราวในระหว่างการประมวลผล วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 13
  • 14. หน่วยความจำา (Memory unit) • มักใช้คำาว่าหน่วยความจำาหลัก (main memory) หรือแรม (RAM) • คือหน่วยเก็บ ที่ปฏิบัติภารกิจหลัก 3 ประการ – เก็บข้อมูลที่ใช้สำาหรับการประมวลผล – เก็บชุดคำาสั่งหรือโปรแกรมสำาหรับประมวลผลข้อมูล นั้น และ – เก็บข้อมูลหรือสารสนเทศที่ได้จากการประมวลผล รอ การเคลือนย้ายไปสู่อุปกรณ์แสดงผลหรือหน่วยเก็บ ่ รอง วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 14
  • 15. หน่วยความจำา (Memory unit) • มีชื่อเรียกหลายชื่อ ได้แก่ – หน่วยเก็บปฐมภูมิ (primary storage) – หน่วยความจำาปฐมภูมิ (primary memory) – หน่วยความจำาภายใน (internal memory) – หน่วยเก็บหลัก (main storage) – หน่วยเก็บภายใน (internal storage) – หน่วยความจำาหลัก (main memory) • ผู้ผลิตจะใช้คำาว่า แรม (RAM) ซึ่งมาจากคำาว่า random-access memory เพราะหน่วยความ จำาถูกบรรจุอยู่บนชิพที่เรียกว่า แรมชิพ (RAM chip) วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 15
  • 16. รอบเครื่อง (Machine Cycle) • คือลำาดับของปฏิบัติการในการกระทำาการกับ หนึ่งโปรแกรมคำาสั่ง • ประกอบด้วย 2 ส่วน ได้แก่ – รอบคำาสั่งเครื่อง (instruction cycle) เรียกว่า I-cycle หรือ I-time กระทำาโดยหน่วยควบคุม ประกอบด้วย • (1) ไปนำามา -fetch, ไปนำาคำาสั่งมาจากหน่วยความจำา • (2) ถอดรหัส -decode, แปลความหมายตามคำาสั่ง – รอบการกระทำาการ (execution cycle) เรียกว่า E- cycle หรือ E-time กระทำาโดยหน่วยคำานวณ/ตรรกะ ประกอบด้วย • (3) กระทำาการ –execute, ปฏิบัติการกับข้อมูล • (4) เก็บ –store, จัดเก็บผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผล ลงในหน่วยความจำาหรือเรจิสเตอร์ วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 16
  • 17. รอบเครื่อง (Machine Cycle) • ซีพียูจะมีนาฬิการะบบ (system clock) ภายใน ที่คอยให้จังหวะด้วยเวลาที่เท่ากันแก่ทุกการ ปฏิบัติการของคอมพิวเตอร์ • ความเร็วรอบของนาฬิกาจะมีผลโดยตรงต่อ ความเร็วของคอมพิวเตอร์ วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 17
  • 18. ตัวอย่างการทำางานของรอบเครื่อง จาก 4 ขั้นตอนในรอบเครื่อง (1) Fetch: หน่วยควบคุมจะไปหยิบคำาสั่งมาจากหน่วยความจำา (2) decode: หน่วยควบคุมจะถอดรหัสโดยแปลความหมายเป็นคำาสั่งเครื่อง โดยพิจารณาว่าการเพิ่มค่า ตามคำาสั่งนี้ทำาได้โดยการนำาค่าตัวเลขถัดไปคือ 76 ไปใส่ไว้ในเรจิสเตอร์เพื่อการนี้ ในขณะที่ค่าของ 88 ถูกเก็บไว้เรจิสเตอร์อีกตัวหนึ่งเรียบร้อยแล้ว (3) execute: หน่วยคำานวณและตรรกะจะทำาการบวกค่าของผลรวมด้วย 76 ผลรวมที่ได้คือ 164 (4) store: เก็บค่า 164 ไว้ในเรจิสเตอร์และนำาค่าไปแทนที่ผลรวมเดิม (88) ในหน่วยความจำาหลัก วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 18
  • 19. ความเร็วในการประมวลผล (Processing Speeds) • Megahertz (MHz) – เมกะเฮิรตซ์ เป็นเวลาหนึ่งล้านรอบเครื่องต่อวินาที • MIPS (Million Instructions Per Second) – มิปส์ หนึ่งล้านคำาสั่งต่อวินาที • FLOPS (Floating-Point Operations Per Second) – ฟล็อปส์ เวลาในการปฏิบัติการจุดลอยตัวเสร็จสิ้นในหนึ่ง วินาที • เมกะฟล็อปส์ (megaflops หรือ mflops คือหนึ่งล้าน) คือการ ปฏิบัตการจุดลอยตัวหนึ่งล้านครั้งต่อวินาที ิ • กิกะฟล็อปส์ (gigaflops หรือ gflops คือพันล้าน) • ทีราฟล็อปส์ (teraflops หรือ tflops คือล้านล้าน) • พีทาฟล็อปส์ (petaflops หรือ pflops คือ พันล้านล้าน) วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 19
  • 20. ความเร็วในการประมวลผล (Processing Speeds) • หน่วยวัดอื่นๆ—เวลาที่รอบเครื่องเสร็จสิ้นในเสี้ยววินาที • เป็นความเร็วของการเสร็จสิ้นในหนึ่งรอบของเครื่อง • มีหน่วยวัดความเร็วเป็น – มิลลิวินาที (millisecond) หนึ่งในพันวินาที เป็นหน่วย ความเร็วที่ใช้ในคอมพิวเตอร์ยุคแรกๆ – ไมโครวินาที (microsecond) หนึ่งในล้านวินาที เป็นหน่วย ความเร็วที่ใช้ในไมโครคอมพิวเตอร์ – นาโนวินาที (nanosecond) หนึ่งในพันล้านวินาที เป็น หน่วยความเร็วทีใช้ในเมนเฟรม ่ – ไพโควินาที (picosecond) หนึ่งในล้านล้านวินาที เป็น หน่วยความเร็วทีใช้คอมพิวเตอร์ประสิทธิภาพสูง ที่ใช้ใน ่ งานทดลองและวิจย ั วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 20
  • 21. การแทนข้อมูล: เปิด/ปิด (Data Representation: On/Off) • ระบบเปิด/ปิดสองสถานะนี้เรียกว่า ระบบฐานสอง (binary system) • การใช้สองสถานะแทนสัญญาณไฟฟ้าเปิด/ปิด นี้ สามารถใช้แทนข้อมูลหรือภาษาของมนุษย์ใน ระบบคอมพิวเตอร์ วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 21
  • 22. การแทนข้อ มูล แบบฐานสอง แสดงตัวอย่างการแทนตัวอักษร H-E-R-O ในรูปแบบของการปิด/เปิด หรือ 0/1 ในรหัสฐานสอง (แอสกี-8) วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 22
  • 23. บิต, ไบต์ และเวิร์ด (Bites, Bytes, and Word) • ในระบบฐานสอง 0 หรือ 1 แต่ละจำานวนเรียกว่า บิต (bit) ซึ่งมาจากคำาว่า binary digit • บิตเป็นหน่วยพื้นฐานการจัดเก็บข้อมูลในหน่วย ความจำาคอมพิวเตอร์ • แต่บิตเพียงหนึ่งบิต ย่อมไม่สามารถใช้แทน ตัวเลข, ตัวอักษร และอักขระพิเศษได้เพียงพอที่ คอมพิวเตอร์จะประมวลผลได้ พบว่าเมื่อรวบรวม กลุมของบิตขนาดทีเหมาะสมจำานวนหนึ่ง ่ ่ ประมาณ 7-8 บิตเข้าด้วยกัน เรียกว่าไบต์ (byte) วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 23
  • 24. บิต, ไบต์ และเวิร์ด (Bites, Bytes, and Word) • เวิร์ด (word) คือกลุ่มของบิตที่ถูกจัดการ หรือจัด เก็บไว้ได้ ณ เวลาหนึงๆ โดยซีพียู ่ • เวิร์ดเป็นขนาดของเรจิสเตอร์ที่จะใช้อางอิง ้ หน่วยของข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ ขนาด ของเวิร์ดจะแปรเปลี่ยนไปตามชนิดของ คอมพิวเตอร์ เช่น 16 บิต, 32 บิต, 64 บิต เป็นต้น • เครื่อง 32 บิต หมายถึงมีการอ้างอิงตำาแหน่ง (addressing) ครั้งละ 32 บิตในการทำางานครั้ง หนึ่งๆ วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 24
  • 25. เค้าร่างการเข้ารหัสฐานสอง (Binary Coding Scheme) • EBCDIC เอ็บซีดิก – มาจากคำาว่า Extended Binary Coded Decimal Interchange Code เป็นเค้าร่างของรหัสที่ใช้ใน คอมพิวเตอร์เมนเฟรมของไอบีเอ็ม และเครื่องเข้ากันได้กับ ไอบีเอ็ม • ASCII แอสกี – มาจากคำาว่า American Standard Code Information for Interchange เป็นรหัสฐานสองทีใช้กันแพร่หลายในไมโคร ่ คอมพิวเตอร์ ASCII-7 ใช้แทนข้อมูลได้ 128 รูปแบบ ASCII-8 ใช้แทนข้อมูลได้ 256 รูปแบบ • Unicode ยูนิโค้ด – ใช้สองไบต์ (16 บิต) สำาหรับอักขระแต่ละตัว สามารถแทน ได้ถึง 65,536 รูปแบบ วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 25
  • 26. เค้าร่างการเข้ารหัสฐานสอง ECDIC และ ASCII-8 มีอักขระอีกหลาย ตัวทีไม่ถูกแสดงในที่นี้ ทังเครื่องหมายวรรคตอน, อักษรกรีก, ่ ้ สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ และสัญลักษณ์ภาษาต่างประเทศ วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 26
  • 27. บิตภาวะคู่หรือคี่ (Parity Bit) • บิตภาวะคู่หรือคี่ หรือบางทีเรียกว่าบิตตรวจสอบ (parity bit or check bit) เป็นบิตที่เพิมต่อท้าย ่ ไบต์เพื่อใช้ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล แต่ละไบต์ • อาจเป็นภาวะคู่ (even parity) หรือคี่ (odd parity) ก็ได้ • การตรวจสอบความถูกต้องที่แม่นยำากว่าเรียกว่า CRC (Cyclic Redundancy Check) วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 27
  • 28. Parity bit ตัวอย่างของการใช้เค้าร่างของพาริตี้แบบภาวะบิตคู่ วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 28
  • 29. หน่วยระบบ (The System Unit) • หน่วยระบบ หรือตัวเครื่อง – เป็นกล่องซึ่งบรรจุไว้ด้วยส่วนประกอบทางไฟฟ้าที่ ทำาให้คอมพิวเตอร์สามารถทำางานได้ • ประกอบด้วย – แหล่งจ่ายไฟฟ้า (power supply) – แผงหลัก (motherboard) – ซีพียู (CPU) – ชิพประมวลผลเฉพาะงาน (specialized processor chips) – นาฬิการะบบ (system clock) – แรมชิพ (RAM chips) – รอมชิพ (ROM chips) วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 29
  • 30. วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 30
  • 31. ภาพจำาลองเมนบอร์ด (mainboard or mother board) วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 31
  • 32. หน่วยระบบ (The System Unit) – รูปแบบอื่นของหน่วยความจำา ได้แก่ แคช (cache), วี แรม (VRAM), แฟลช (flash) – สล็อตและบอร์ดขยาย (expansion slots and boards) – เส้นบัส (bus lines) – พอร์ต (ports) – สล็อตและการ์ด PCMCIA (PCMCIA slots and cards) • Peripheral Devices อุปกรณ์รอบข้าง – หมายถึง ฮาร์ดแวร์ที่อยูภายนอกซีพียู ่ วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 32
  • 33. หน่วยระบบและแผงหลัก (system unit and motherboard) (บน) หน่วยระบบ (ล่าง) แผงหลัก วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 33
  • 34. ไมโครคอมพิวเตอร์และไมโครโปรเซสเซอร์ ไมโครคอมพิวเตอร์และชิพทีนิยม ่ ใช้กนแพร่หลาย ั วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 34
  • 35. วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 35
  • 36. แรมชิพ (RAM Chips) • SIMM-ซิม (single in-line memory module) – แรมชิพรุ่นก่อนๆ มักผนวกเป็นแถวเดี่ยวๆ บนบนแผง แล้วเสียบลงในช่องเสียบ (socket) บนเมนบอร์ด ซิม จะใช้แรมชิพหลายอันผนึกลงบนด้านเดียว • DIMM-ดิม (dual in-line memory module) – แรมชิพรุ่นใหม่นิยมใช้ ซึ่งจะผนึกแรมชิพหลายอันลง บนทั้งสองด้าน • แรมชิพมีหลายชนิด – DRAM-ดีแรม(dynamic ram) เป็นชิพที่จำาเป็นต้อง ถูกรีเฟรช (refresh) เพื่อประจุไฟฟ้าใหม่บ่อยๆ โดย ซีพียู – SRAM-เอสแรม (static RAM) เป็นชิพความเร็วสูง เพราะไม่จำาเป็นต้อง refresh ใช้สำาหรับงานบางอย่าง ในหน่วยความจำา ด้วยข้อจำาวิเดด้านขนาดและราคา ต ยกรรม กั ชษฐ์ พลายมาศ | สถาปั คอมพิว เตอร์ | CPU | 36
  • 37. วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 37
  • 38. แรมชิพ (RAM Chips) – EDO RAM-อีดีโอแรม (extended data-out RAM) เป็นดีแรมชนิดใหม่ ซึ่งมีประสิทธิภาพใกล้เคียงเอ็ส แรม มีขาจำานวน 72 ขา ความเร็วประมาณ 60 ns – SDRAM-เอสดีแรม (synchronous DRAM) มีขา จำานวน 168 ขา ความเร็วประมาณ 6-10 ns สามารถ เพิ่มอัตราความเร็วของบัสส่วนหน้า (FSB: front side bus) ได้ถึง 100-133 MHz. • SDRAM บางชนิดยังมีคุณสมบัติที่เรียกว่า ECC (Error Checking & Correcting) เป็นแรมชนิด ที่มีการตรวจและแก้ไขข้อผิดพลาดในหน่วย ความจำาให้โดยอัตโนมัติ วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 38
  • 39. รอมชิพ (ROM chip) • รอม-ROM มาจากคำาว่า read-only memory หน่วยความ จำาที่อ่านได้อย่างเดียว ที่มักรู้จักในชื่อเฟิร์มแวร์ (firmware) ไม่สามารถเขียนหรือลบได้โดยผู้ใช้ • แบ่งออกเป็น – PROM-พรอม (programmable read-only memory) เป็น รอมชิพเปล่าๆ ทีสามารถเขียนโปรแกรมลงไปได้โดยอาศัย ่ เครื่องมือพิเศษ และหลังจากเขียนแล้วไม่สามารถลบได้ – EPROM-อีพรอม (erasable PROM) เช่นเดียวกับพรอม เป็นรอมชิพทีสามารถใช้เครื่องมือพิเศษเขียนโปรแกรมลง ่ ไปและได้ แต่การลบจะอาศัยอุปกรณ์พิเศษทีใช้แสงอัลทรา ่ ไวโอเล็ต – EEPROM-อีอีพรอม (electrically EPROM)เป็นรอมชิพที่ สามารถเขียนและลบโดยอาศัยกระบวนการทางไฟฟ้า วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 39
  • 40. หน่วยความจำาแคช (cache memory) • หน่วยความจำาแคช เป็นพื้นที่หน่วยความจำาความเร็วสูง พิเศษที่ซีพียสามารถเข้าถึงได้อย่างรวดเร็วกว่าแรม มี ู ราคาแพงกว่า ขนาดเล็กกว่า – Primary cache เรียกว่า cache level 1 หรือ L1 เป็นหน่วย ความจำาแคชทีอยู่ภายในตัวซีพียู (internal cache) อยู่ใน ่ ตำาแหน่งที่ใกล้กับซีพียูมากทีสุด มีความเร็วเท่ากับความเร็ว ่ ของซีพียู – Secondary cache เรียกว่า cache level 2 หรือ L2 เป็น หน่วยความจำาแคชทีอยู่ภายนอกตัวซีพยู (external cache) ่ ี ติดตั้งบนเมนบอร์ด อยู่ในตำาแหน่งถัดจาก cache L1 แต่ ใกล้ซพียูกว่าแรม ี – Cache L3 (Level 3) เป็นหน่วยความจำาทีอยู่ภายนอกซีพียู ่ บนเมนบอร์ดแต่อยู่ใกล้กับซีพียูมาก มีความเร็วมากกว่าแรม แต่ช้ากว่า cache L1 และ L2 แต่ขนาดใหญ่กว่า วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 40
  • 41. แสดงการทำางานอย่างง่ายของแคชประเภทต่างๆ วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 41
  • 42. เส้นบัส (Bus Lines) • เรียกสั้นๆ ว่า บัส • คือเส้นทางผ่านของไฟฟ้าที่จัดเตรียมไว้สำาหรับ การส่งผ่านบิตภายในซีพียู และระหว่างซีพียูกับ อุปกรณ์อื่นๆ ในหน่วยระบบ • ในระบบคอมพิวเตอร์มีบัสหลายชนิด เช่น – บัสแอดเดรส (address bus) – บัสควบคุม (control bus), – บัสข้อมูล (data bus) • ในไมโครคอมพิวเตอร์ บัสที่สำาคัญเรียกว่า บัส ขยาย (expansion bus) ที่ใช้ขนถ่ายข้อมูล ระหว่างแรมกับสล็อตขยาย วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 42
  • 43. บัส เส้นทางผ่านไฟฟ้าทีส่งผ่านบิตภายในซีพียและระหว่างซีพียูกับอุปกรณ์ ่ ู รอบข้าง บัสขยายใช้เชื่อมต่อแรมกับสล็อตขยาย โลคัลบัสใช้เชื่อมต่อสล็อต ขยายไปยังซีพียูโดยตรง วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 43
  • 44. บัส (bus) • แอดเดรสบัส (Address Bus) – ใช้สงข้อมูลประเภทที่อยูของอุปกรณ์ตนทางและอุปกรณ์ปลายทาง ่ ่ ้ เพือเป็นแหล่งอ้างอิงก่อนทีจะทำาการส่งข้อมูลบนบัสข้อมูล ่ ่ • บัสข้อมูล (Data Bus) – คือเส้นทางที่เชือมระหว่างโพรเซสเซอร์กับหน่วยความจำา ่ หรือหน่วยความจำากับอุปกรณ์อินพุต/เอาต์พุต • คอนโทรลบัส (Control Bus) – คือทางเดินสำาหรับสัญญาณควบคุมการทำางานของส่วนต่างๆ วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 44
  • 45. บัสแอดแดรส (address bus) บัสข้อมูล (data bus) และบัสควบคุม (control bus) ใช้เชื่อมต่อระหว่างโพรเซสเซอร์ (ALU + Control unit) กับหน่วย ความจำาหลัก และใช้เชื่อมต่อกับ I/O ผ่านขยายหรือ I/O bus วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 45
  • 46. วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 46
  • 47. วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 47
  • 48. วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 48
  • 49. วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 49
  • 50. วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 50
  • 51. วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 51
  • 52. พอร์ต (Ports) (1) • คือซ็อกเก็ตทีอยู่ด้านนอกของตัวเครื่องที่ถูก ่ เชื่อมต่อไปยังส่วนบอร์ดขยายด้านในของตัว เครื่อง • พอร์ตมีหลายชนิด ได้แก่ – Parallel Port พอร์ตขนาน หรือ LPT: port • เป็นสายเชื่อมต่อทีอนุญาตให้มีการส่งผ่านข้อมูลทีละ 8 ่ บิตอย่างต่อเนื่อง จึงส่งได้เร็วกว่าพอร์ตอนุกรม ระยะ ทางไม่เกิน 15 ฟุต ดังนั้น จึงมักนิยมใช้เป็นสายเชื่อมต่อ กับเครื่องพิมพ์ • มีรู 25 รู (พอร์ตนี้จะเป็นตัวเมีย หมายถึงมีรูทตัวพอร์ต) ี่ • พอร์ตนี้จะต่อกับอุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น เครื่องพิมพ์ เทป ไดร์ฟ สแกนเนอร์ เป็นต้น สามารถต่อความยาวไม่มาก นัก มีราคาแพงกว่าสายของพอร์ตอนุกรมด้วย วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 52
  • 53. พอร์ต (Ports) (2) – Serial Port พอร์ตอนุกรม หรือ COM port หรือพอร์ต RS-232 • เป็นสายเชื่อมต่อทีส่งบิตทีละ 1 บิตบนสายเพียงเส้น ่ เดียว • พอร์ตอนุกรมจะมีหวเข็ม 9 เข็ม หรือ 25 เข็ม (พอร์ตนี้ ั จะเป็นตัวผู้ เพราะมีเข็มยื่นออกมา) • ใช้เชื่อมต่อกับอุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น เม้าส์ โมเด็ม สแกน เนอร์ เป็นต้น • สามารถต่อความยาวได้ถง 6 เมตร และราคาสายก็ไม่ ึ แพงนัก วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 53
  • 54. พอร์ต • Video Adapter Port – ใช้เชื่อมต่อระหว่างจอภาพซึ่งอยู่ภายนอกเข้ากับการ์ด แสดงผลที่อยู่ภายในตัวเครื่อง • SCSI สกัซซี่ – มาจากคำาว่า Small Computer System Interface พอร์ตแบบสกัซซี่สามารถเชื่อมต่อเพื่อรับส่งแบบความเร็ว สูงเข้ากับอุปกรณ์แบบสกัซซี่อนๆ ได้ 7-15 ตัว ื่ • Infrared Port พอร์ตอินฟราเรด – จะอนุญาตให้คอมพิวเตอร์สามารถเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ อืนๆ โดยปราศจากสายได้ ่ • USB Port ยูเอสบี – พอร์ตที่อนุญาตให้อปกรณ์จำานวนถึง 127 อุปกรณ์ ุ สามารถเชื่อมต่อผ่านพอร์ตทั่วไปเพียงหนึ่งพอร์ต • PCMCIA หรือพีซีการ์ด • มาจากคำาว่า Personal Computer Card Memory International Association วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 54
  • 55. พอร์ต • พอร์ต USB (Universal Serial Bus Port) • พอร์ตชนิดใหม่รับส่งความเร็วได้สูงกว่าพอร์ต ทั่วไป • สามารถเชื่อมต่ออุปกรณ์ต่อเนื่องได้ 127 ตัว • เป็นมาตรฐานใหม่ที่มีมากับเครื่องคอมพิวเตอร์ • การติดตั้ง เพียงต่ออุปกรณ์เข้ากับ USB port ก็ สามารถใช้งานอุปกรณ์นั้นๆ ได้ โดยไม่จำาเป็น ต้อง boot เครื่องใหม่ • นอกจากพอร์ตอนุกรมและขนานแล้ว ยังมีพอร์ต อืน ๆ อีกได้แก่ พอร์ตคีย์บอร์ด, พอร์ตเกมส์, ่ พอร์ตจอ เป็นต้น วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 55
  • 56. พอร์ตด้านหลังของพีซและแมคอินทอช (ล่าง) ี สายโซ่ 2 แบบ อุปกรณ์แบบสกัซซีสามารถต่อ เข้ากับด้านในหรือด้านของคอมพิวเตอร์กได้ ็ วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 56
  • 57. สายโซ่ 2 แบบ อุปกรณ์แบบสกัซซีสามารถต่อเข้ากับด้านในหรือด้านของ คอมพิวเตอร์ก็ได้ วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 57
  • 58. พีซการ์ด มีขนาดพอๆ กับบัตรเครดิต ส่วนใหญ่ ี ใช้เสียบลงในสล็อตของโน้ตบุ้คเพื่อแรมหรือเป็น แฟ็กซ์/โมเด็ม วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 58
  • 59. สล็อต (slot) • ISA Slots ( Industrial • AGP Slots (Accelerated Standard Architecture) Graphics Port) – เป็น Slots ที่มีการเชื่อมต่อแบบ – เป็น Slots ทีมีการเชื่อมต่อแบบ ่ 16 บิต เป็นมาตราฐานแบบเก่า ที่ 32 บิต สำาหรับอุปกรณ์ตอพ่วงที่ ่ ต่อเชื่อมกับอุปกรณ์ที่มการรับส่ง ี ใช้ความเร็วสูงขึ้น เช่น การ์ด ไม่มาก เช่น โมเด็ม การ์ดจอ เสียง การ์ดจอ ให้มประสิทธิภาพ ี • PCI Slots (Peripheral ในระดับ Graphics ทั้ง 2 และ 3 มิติ ในระดับ 64 บิต Connection Interface) – เป็น Slots ที่มีการเชื่อมต่อแบบ • IDE Connector 32 บิต สำาหรับอุปกรณ์ตอพ่วงที่ ่ – เป็น Connector ที่ใช้ตอกับ ่ ใช้ความเร็วสูงขึ้น เช่น การ์ด Hard Disk และ CD-Rom เสียง การ์ดจอ ให้มีประสิทธิภาพ • Battery Backup ในระดับ Graphics – ใช้สำาหรับรักษา เวลาและข้อมูล • Communication Port (Com ของอุปกรณ์ตางๆ ทีจำาเป็นใน ่ ่ port) เวลาที่ปิดเครือง ่ – เป็น Port ที่ใช้ตอกับอุปกรณ์ ่ ภายนอก ทั้ง Serial Port (ได้แก่ เม้าส์ โมเด็ม) และ Parallel Port (ได้แก่ เครืองพิมพ์) ่ วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 59
  • 60. USB • Universal Serial Bus (USB - ยูเอสบี) เป็นข้อกำาหนดมาตรฐาน ของบัสการสื่อสารแบบอนุกรม เพื่อใช้ในการเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ ซึ่ง โดยทั่วไปจะใช้กับคอมพิวเตอร์ แต่สามารถใช้ได้กับอุปกรณ์อื่น เช่น เซตทอปบอกซ์ (set-top boxes), เครื่องเล่นเกม (game consoles) และพีดีเอ (PDAs). • ยูเอสบีได้กลายเป็นรูปแบบการเชื่อมต่อมาตรฐานสำาหรับอุปกรณ์ มัลติมีเดีย เช่น สแกนเนอร์ หรือกล้องถ่ายรูปดิจิตอล • นิยมนำาไปทดแทนการเชือมต่อแบบเดิม เช่น การเชื่อมต่อแบบ ่ ขนาน (parallel) สำาหรับเครื่องพิมพ์ การเชื่อมต่อแบบ อนุกรม(serial) สำาหรับโมเด็ม • เนื่องจากยูเอสบีช่วยลดข้อจำากัดหลาย ๆ ด้านของการเชื่อมต่อแบบ เดิม เช่น การเชื่อมต่อเครื่องพิมพ์หลาย ๆ เครื่องเข้ากับคอมพิวเตอร์ เครื่องเดียว • มีเพียงอุปกรณ์ที่ต้องการความสามารถในการส่งผ่านข้อมูลมาก ๆ เท่านั้นที่ไม่สามารถใช้ยูเอสบี เช่น จอภาพแสดงผล หรือ มอนิเตอร์ และอุปกรณ์ดิจิตอลวีดีโอคุณภาพสูง เป็นต้น วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 60
  • 61. (A) (B) คอนเนคเตอร์ USB แบบ A (C) USB hub อัต ราความเร็ว USB 1.0 200 Mbps USB 2.0 480 Mbps USB 3.0 5,000 Mbps วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 61
  • 62. FireWire (1) • ไฟร์ไ วร์ (FireWire) อาจรู้จักในชื่อ i.Link และ IEEE 1394 เป็นข้อกำาหนดมาตรฐานการเชือมต่อบัสการสื่อสารแบบอนุกรมของ ่ คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล • อุปกรณ์ที่นิยมใช้ FireWire มากที่สุดคือ กล้องวิดีโอดิจิทัล ซึ่งมีช่อง เสียบ FireWire มาตั้งแต่ ค.ศ. 1995 เครื่องคอมพิวเตอร์บางยี่ห้อ เช่น แอปเปิล คอมพิวเตอร์ หรือ โซนี่ ได้รวม FireWire เป็นอุปกรณ์ มาตรฐานเช่นกัน • FireWire รุ่นแรกเรียกว่า FireWire 400 สามารถส่งข้อมูลได้ 100, 200, 400 Mbps (ในความเป็นจริงจะส่งได้ 98.304, 196.608, 393.216 Mbit/s ตามลำาดับ) สามารถต่อพ่วงอุปกรณ์ได้ สูงสุด 63 ชิ้น (โดยใช้ฮับเข้าช่วย) สามารถเชือมต่อแบบ peer-to- ่ peer เช่น เชื่อมระหว่างเครื่องพิมพ์และสแกนเนอร์ โดยไม่ต้องผ่าน คอมพิวเตอร์ FireWire ยังสามารถจ่ายพลังงานได้ 45 วัตต์ต่อพอร์ ทอีกด้วย • FireWire 800 เป็นมาตรฐานที่แอปเปิลพัฒนาเพิ่มเติมจาก IEEE1394b ในปี ค.ศ. 2003 โดยพัฒนาให้มีความเร็วเพิ่มขึ้นเป็น 786.432 Mbit/s โดยที่ยังเข้ากันได้กับ FireWire 400 รุ่นเก่า วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 62
  • 63. FireWire (2) • ด้วยการพัฒนาตามหลักการของการส่งข้อมูล แบบใหม่โดยการส่งแบบคู่ขนาน 9 พิน จะช่วย ในการส่งผ่านข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว โดยFirewire 2008 ความเร็ว 3.2Gbit/s ได้รบ ั การรับรองแล้ว จากสมาพันธ์ IEEE โดยได้ ทำาการรับรองมาตราฐาน IEEE 1394 แล้ว หรือทีรู้จักกันในนาม Firewire โดยมาตราฐาน ่ นี้ได้ถูกเรียกว่า IEEE 1394-2008 • จะมีสเปคความเร็วอยู่ที่ 1.6 Gbit/s และ 3.2 Gbit/s โดย Firewire ใหม่นี้จะใช้เคเบิลแบบ 9 ตัวอย่างหัวเสียบ FireWire แบบ 6 พิน pin เหมือนกับ Firewire 800 แต่กลับเป็นที่ นิยมมากกว่า หากดูในกลุมกล้องถ่ายวีดีโอ ่ อัต ราความเร็ว FireWire ประเภท DV แต่สำาหรับ Firewire 800 นั้นกลุ่ม FireWire 1.0 400 Mbps ผู้ใช้มีอยูจำากัดมากIEEE กล่าวว่ามาตรฐาน ่ FireWire 2.0 800 Mbps ใหม่นี้นำาออกมาใช้ตั้งแต่ตุลาคมปี 2551 วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 63
  • 64. ชิปเซ็ต (chipset) • ชิพเซ็ตเป็นเสมือนหัวใจของเมนบอร์ด มีหน้าที่หลักเป็น เหมือนทั้ง อุปกรณ์ แปลภาษา ให้อุปกรณ์ต่างๆ ที่อยู่บน เมนบอร์ดสามารถทำางานร่วมกันได้ และทำาหน้าที่ควบคุม อุปกรณ์ต่างๆ ให้ทำางานได้ตามต้องการ • ชิปเซ็ตประกอบด้วย – System Controller (Intel เรียกว่า North Bridge นอร์ธบริดจ์) หรือ Memory Controller Hub (MCH) ทำาหน้าที่ควบคุมการ สื่อสารระหว่างหน่วยความจำาของระบบ, โปรเซสเซอร์, AGP – PCI to ISA Bridge (หรือ Intel เรียกว่า South Bridge เซาธ์ บริดจ์) หรือ I/O Controller Hub (ICH) ทำาหน้าที่ในการ ควบคุมการสื่อสารระหว่างอุปกรณ์ PCI, ระบบควบคุมบัส, อุปกรณ์ ATA, AC'97, USB, IEEE1397 (firewire) และ LPC controller [อุปกรณ์คอนโทรลเลอร์เหล่านี้ถูกบัดกรีติดอยู่บนมา เธอร์บอร์ดและไม่สามารถเปลี่ยนหรือทำาการอัพเกรดได้]หรือ อุปกรณ์ที่มีความเร็วตำ่ากว่า เช่น ระบบบัสแบบ ISA ระบบบัส อนุกรมแบบ USB ชิพคอนโทรลเลอร์ IDE ชิพหน่วยความจำา รอมไออส ฟล็อบปี้ดิกส์ คีย์บอร์ด พอร์ตอนุกรม และพอร์ตขนาน วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 64
  • 65. Front Side Bus (FSB) บัสส่วนหน้า • FSB เป็นอินเตอร์เฟซระหว่างโปรเซสเซอร์กับ ชิปเซ็ต North Bridge ของเมนบอร์ด นาฬิกา ของบัสยิ่งเร็วก็ยิ่งมีแบนด์วธมากขึ้น ิ • FSB คือความเร็วบัสซึ่งใช้ในการเชื่อมต่อ โปรเซสเซอร์เข้ากันหน่วยความจำาหลัก (RAM) เนื่องจากโปรเซสเซอร์มีความเร็วสูงขึ้นเรื่อยๆ ความเร็วบัสของระบบจึงกลายเป็นปัญหาคอขวด สำาหรับพีซียุคใหม่ โดยทั่วไปแล้วความเร็วบัส ของระบบคือ 400 MHz, 533 MHz, 667 MHz, และ 800 MHz  วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 65
  • 66. FSB = คือ Front Side Bus หมายถึง การส่งข้อมูล ระหว่าง CPU และ ชิพเซ็ต NorthBridge วิเชษฐ์ พลายมาศ | สถาปัต ยกรรม คอมพิว เตอร์ | CPU | 66