SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 14
กิจกรรมที่

  19                   การเขียนโปรแกรม
                       ที่มีโครงสร้างแบบลำาดับ
คาบที่ 28-29       1.จุ ด ประสงค์ ผูเรียนสามารถ
                                    ้

             1.1 อธิบายชนิดข้อมูลและการประกาศตัวแปร

             1.2 เขียนโปรแกรมรับข้อความและตัวเลข

             1.3 เขียนโปรแกรมที่มีโตรงสร้างแบบลำาดับ

2. แนวคิ ด
       การเขียนโปรแกรมจำาเป็นจะต้องมีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับตัวแปร ชนิด
ของตัวแปร การประกาศ และการใช้ตัวแปร โปรแกรมทั่วไปประกอบด้วย 3
ส่วน คือ ส่วนการรับข้อมูล ส่วนการประมวลผล และส่วนการแสดงผล
โปรแกรมที่มีความสะดวกในการใช้งานควรมีการรับข้อมูลจากทางแป้นพิมพ์
เพื่อนำาไปใช้ประมวลผลและแสดงผลลัพธ์ต่อไป

      การเขียนโปรแกรมเพื่อประยุกต์การใช้งาน จำาเป็นจะต้องมีความรู้ความ
เข้าใจในการวิเคราะห์งาน และการเขียนผังงานก่อนที่จะเขียนโปรแกรมด้วย
ตนเอง โดยการเขียนโปรแกรมที่มีโครงสร้างแบบลำาดับเป็นพื้นฐานของการ
เขียนโปรแกรมเบื้องต้น

3. สื ่ อ -อุ ป กรณ์
     3.1 ใบงาน

   ใบงาน                       เรื่อง                เวลา(นาที)
    19.1          โปรแกรมรับข้อความและตัวเลข             50

    19.2       การเขียนโปรแกรมที่มีโครงสร้างแบบ          50
                            ลำาดับ


  3.2ใบความรู้

     ใบความรู้ที่ 19.1 เรื่องชนิดข้อมูลและการประกาศตัวแปร
3.3 อื่นๆ

        @ ใบงานที่ 17.1 เรื่องโครงสร้างแบบลำาดับ ที่ผู้เรียนได้ทำาไว้ในกิจกรรมที่
   17

        @ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ชั้น
         มัธยมศึกษาปี่ที่ 4-6 ของ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และ
         เทคโนโลยี

4. วิ ธ ี ด ำ า เนิ น การ
      4.1 การจัดเตรียม

        4.1.1 ใบงานที่ 17.1 ที่ผู้เรียนทำาไว้ในกิจกรรมที่ 17

        4.1.2 ใบงานที่ 19.1-19.2 ตามจำานานผู้เรียน

        4.1.3 ใบความรู้ที่ 19.1 ตามจำานานผู้เรียน

        4.1.4 เครื่องคอมพิวเตอร์พร้อมติดตั้งโปรแกรม Dev-C++

      4.2 ขั้นตอนดำาเนินการ

        4.2.1 ผู้สอนชี้แจงจุดประสงค์ของกิจกรรมให้ผู้เรียนทราบ แล้วให้ผู้เรียน
            ศึกษาใบความรู้ที่ 19.1 เรื่องชนิดข้อมูลและการประกาศตัวแปร

        4.2.2 ให้ผู้เรียนทำาใบงาน 19.1 เรื่องโปรแกรมรับข้อความและตัวเลข

        4.2.3 ผู้สอนให้คำาแนะนำา ตอบข้อสงสัย และช่วยผู้เรียนแก้ปัญหาในกรณี
            ที่เกิดความผิดผลาดของโปรแกรมที่ผู้เรียนเขียนขึ้น

        4.2.4 ผู้เรียนและผู้สอนร่วมกันเฉลยคำาตอบในใบงาน 19.1 และสรุปชนิด
            ข้อมูล และการประกาศตัวแปร

        4.2.5 แบ่งกลุ่มผู้เรียนตามกลุ่มเดิมที่ทำาในกิจกรรมที่ 17

        4.2.6 ให้แต่ละกลุ่มทำาใบงานที่ 19.2 เรื่องการเขียนโปรแกรมที่มี
            โครงสร้างแบบลำาดับ โดยดูรหัสลำาลอง และผังงาน จากใบงาน 17.1 ที่
            ทำาไว้ในกิจกรรมที่ 17

        4.2.7 ให้แต่ละกลุ่มนำาเสนอโปรแกรมที่เขียนหน้าชั้นเรียน และอธิบาย
            โปรแกรมของตนเองให้กลุ่มอื่นทราบ
4.2.8 ผู้เรียนและผู้สอนร่วมกันอภิปรายและสรุปการเขียนโปรแกรมที่มี
          โครงสร้างแบบลำาดับ




5. การวั ด และประเมิ ล ผล
      5.1 สังเกตการณ์ทำากิจรรมร่วมกัน

      5.2 ตรวจคำาตอบในใบงาน

6.แหล่ ง ข้ อ มู ล เพิ ่ ม เติ ม
      6.1 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
         ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 ของสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาสาสตร์และ
         เทคโนโลยี

      6.2 http://www.programming.in.th

      6.3 http://strffs.wu.ac.th.syaowara/C/lecture1.ppt (4/10/52)

      6.4 http://www.bloodshed.net ดาวน์โหลดโปรแกรม Dev-C++

7. ข้ อ แสนอแนะ
             7.1 เนื่องจากกิจกรรมนี้เป็นกิจกรรมแรกของผู้เรียนในการเขียน
         โปรแกรมเพื่อการคำานวณอาจทำาให้โปรแกรมเกิด การผิดพลาดได้
         ง่ายผู้สอนจึงควรตรวจดูให้การช่วยเหลือผู้เรียนอย่างทั่วถึงเพื่อให้ผู้
         เรียนเกิดความมั่นใจในการเขียน

             7.2 ผู้สอนควรยำ้าให้ผู้เรียนบันทึกโปรแกรมเป็นระยะ เพื่อไม่ให้
         ข้อมูลทำามาหายไปเนื่องจากคอมพิวเตอร์มีปัญหาหรือไฟฟ้าดับ
ใบงาน 19.1 โปรแกรมรั บ ข้ อ ความและตั ว เลข
  รายชื่อสมาชิกในกลุ่มที่........................

  1.....................................................................
     2............................................................

  3.....................................................................
     4.............................................................

       ให้นักเรียนศึกษาใบความรู้ที่ 19.1 เรื่องชนิดข้อมูลและการประกาศตัวแปร
       แล้วปฏิบัติดังนี้

  1.ให้ผู้เรียนเปิดโปรแกรม Dev-C++ แล้วพิมพ์โปรแกรมตามตัวอย่างดังนี้

// program My information

       #include<stdio.h>

       # include<stdlib.h>

       Main ()

   {

           Char name[10]; // ประกาศตัวแปร Char เพื ่ อ รั บ ตั ว
อั ก ขระ

           int    age;
float height;               // ประกาศตั ว แปร int และ float

       printf (“nnYour information”); // แสดงข้ อ ความ Your
information

          printf (“nnInput your name            = ”);

          scanf (“%s” ,name);                             // รั บ ตั ว อั ก ขระ
เก็ บ ไว้ ท ี ่ name

          printf (“nnInput your age [year]                 =”);

          scanf (“%d” , &age);        // รั บ เลขจำ า นวนเต็ ม เก็ บ ไว้ ท ี ่
age

          printf (“nnInput your        height [centimeter] =”) ;

            scanf (“%f” ,& height);                //รั บ ทศนิ ย มเก็ บ ไว้
      ที ่ height



       printf (“nnnnnnnnnnnnn”); // ขึ้นบรรทัดใหม่
โดยไม่แสดงอะไร

       printf (“nnYour name           is %s. ”name); // แสดงค่าตัว
แปรอักขระ name

        printf (“nnYour age    is %d years old.
”,age) ; // แสดงค่าตัวแปรเลขจำานวนเต็ม age

        printf (“nnYour height is %f centimeters.”,
height); // แสดงตัวแปรเลขทศนิยม height

          printf (“nnn”);

             syatem (“pause”);

         }


  2. ให้บันทึกโปรแกรมชื่อ myinfo ลงในโฟล์เดอร์ของตนเอง แล้วสั่ง Compile
   และ Run จากนั้นทอลอง ป้อนข้อมูลของตนเองให้ครบทุกรายการ ผลลัพธ์ที่
   แสดงออกทางจอภาพมีดังนี้
....................................................................................................
....................................................................................................
....................................................................................................
....................................................................

3.ให้พิจารณาโปรแกรมในข้อ 1 แล้วตอบคำาถามต่อไปนี้

      3.1 ชนิดของตัวแปรที่ประกาศใช้ในโปรแกรมนี้มี..................ชนิด
      ได้แก่....................................... .................................................
      ................................................................................................
      ............

     3.2 การประกาศตัวแปรชนิด int กับชนิด float ต่างกัน
อย่างไร.........................................................

         ..............................................................................................
      ............................................................

3.3   การประกาศตัวแปร name [10] หมาย
      ถึง……………………………………………………….....

       …………………………………………………………………………………………
      ……........

3.4   การกำาหนดรูปแบบชนิดข้อมูลที่ใช้ในการรับค่า (คำาสั่ง scanf () )และ
      แสดงผล(คำาสั่ง printf() ) กับตัวแปรต่อไปนี้คือ

             ตัวแปรชนิด Char [ ] ได้แก่ %...............

             ตัวแปรชนิด int ได้แก่ %...............

             ตัวแปรชนิด Float ได้แก่ %...............

               ใบงานที ่ 19.2                    การเขี ย นโปรแกรม
                           ที ่ ม ี โ ครงสร้ า งแบบลำ า ดั บ
รายชื่อสมาชิกในกลุ่มที่........................

1.....................................................................
   2............................................................
3.....................................................................
       4.............................................................

    ให้นำาการวิเคราะห์งานและผังงานที่ได้ทำาไว้ในใบงานที่ 17.1 เรื่อง
โครงสร้างแบบลำาดับมาพิจารณาและเขียนโปรแกรมตามโจทย์ที่ได้รับดังกล่าว

       1.โจทย์ที่ได้รับ
คือ....................................................................................................
.........................

       2.รหัสต้นฉบับ

// program          ……………………..

#include<stdio.h>

# include<stdlib.h>

Main ()

{

             …………………………………………………………
…………………….......

          …………………………………………………………
…………………………

          …………………………………………………………
…………………………




3.ให้บันทึกโปรแกรมชื่อ worksheet_19_2 ลงในโฟล์เดอร์ของตนเอง แล้งสั่ง
Compile และ run

4.ทดลองป้อนข้อมูล............................................

5.ผลลัพธ์ที่ได้คือ.........................................

6.ให้ตรวจสอบผลลัพธ์จากเครื่องคิดเลขว่าถูกต้องหรือ
ไม่.................................
ใบความรู ้ 19.1
                            ชนิ ด ข้ อ มู ล และการประกาศตั ว แปร
ตั ว ระบุ (Identifiers)
       ไม่ว่าจะเป็นการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาใดก็ตาม เราตั้งมีการตั้งชื่อให้
กับสิ่งต่างๆ เช่นชื่อตัวแปรเพื่อใช้แทนเก็บข้อมูล หรือชื่อโปรแกรมย่อยหรือ
ฟังก์ชันในภาษาซี สิ่งต่างๆที่เราต้องตั้งชื่อให้นี้ รวมเรียกว่า ตัวระบุ
(Identifiers) ซึ่งแต่ละภาษาจะมีกฎการตั้งชื่อตัวระบุที่แตกต่างกัน สำาหรับภาษา
ซี ชื่อตัวระบุจะต้องประกอบด้วย

     1.ตัวอักษรภาษาอังกฤษ A-Z, a-z, (โดยตัวอักษรโดยตัวอักษรตัวพิมพ์
      ใหญ่และเล็กถือว่าเป็นคนละตัวกัน) ตัวเลข 0-9 และเครื่องหมายขีดเส้น
      ใต้ (_) เท่านั้น

     2.ห้ามใช้ตัวเลขเป็นตัวอักษรตัวแรกของชื่อ

     3.ห้ามตั้งชื่อที่ซำ้ากับคำาสงวน (Reserved words คือ คำาที่ถูกกำาหนดให้มี
      ความหมายเฉพาะ) ในภาษาซี นอกจากนี้เพื่อหลีกเลี่ยงการตั้งชื่อซำ้ากับ
      ชื่อของตัวระบุที่ใช้อยู่แล้วในระบบปฏิบัติการ นักเขียนโปรแกรมไม่ควร
      ตั้งชื่อตัวระบุที่ขึ้นต้นด้วยเครื่องหมายขีดเส้นใต้

ชนิ ด ข้ อ มู ล (Data types)
       ชนิดของข้อมูลเป็นตัวกำาหนดว่าตัวแปรหรือค่าคงที่ที่จะสามารถเก็บค่า
ชนิดใด และเก็บค่าในช่วงใดได้บ้าง ภาษาซีมีชนิดข้อมูลมาตรฐานอยู่ 3 ชนิด
คือ จำานานเต็ม (int) ตัวอักษร (char) และจำานวนจริง (float)

การประกาศตั ว แปร (Variables declaration)
      ตัวแปรเป็นชื่อที่ใช้อ้างถึงตำาแหน่งในหน่วยความจำาที่ใช้เก็บข้อมูล ทำาให้
นักเขียนโปรแกรมใช้งานได้สะดวกขึ้น ไม่ต้องอ้างถึงตำาแหน่งในหน่วยความจำา
โดยตรง การตั้งชื่อตัวแปรจะเป็นไปตามการตั้งชื่อของตัวระบุที่ได้กล่าวไปแล้ว
โดยในการประกาศตัวแปรจะต้องทำาการกำาหนดชนิดของข้อมูลที่ตองการให้  ้
ตัวแปรนั้นเก็บไปด้วยเลย เพราะชนิดของข้อมูลที่แตกต่างกันจะต้องการพื้นที่ใน
หน่วยความจำาขนาดไม่เท่ากัน
ตัวแปรถูกต้องประกาศก่อนที่จะนำาไปใช้งานได้ นักเขียนโปรแกรมจะต้อง
ระบุชื่อ และชนิดของข้อมูลที่จะอ้างถึงด้วยชื่อดังกล่าว ตัวอย่างเช่น การประกาศ
ตัวแปรชื่อ salary ให้มีชนิดข้อมูลเป็นจำานวนจริงแบบ float มีรูปแบบดังนี้




Float salary;
     หลังจากตัวแปรถูกประกาศแล้ว ก็จะสามารถนำาไปใช้ได้ต่อไป อย่างไร
ก็ตามตัวแปรที่ถูกประกาศจะยังไม่ได้ถูกกำาหนดให้เก็บค่าใดๆ ซึ่งถ้าต้องการ
กำาหนดค่าเริ่มต้นให้กับตัวแปรด้วย จะทำาได้โดยมีรูปแบบดังนี้

Float salary ช = 12099.00;
     สำาหรับการประกาศตัวแปรเพื่อใช้เก็บข้อความจะมีรูปแบบดังนี้

Char name [10];
ส่ ว นการรั บ ขอมู ล และการแสดงผล (input และ output)
     ภาษาซีได้เตรียมฟังก์ชันที่ใช้ในการรับข้อมูลเข้าไว้หลายฟังก์ชันด้วยกัน
ตัวอย่าง หนึ่งคือฟังก์ชัน scanf ซึ่งจะรับข้อมูลเข้าทางคีย์บอร์ด แล้วเก็บไว้ใน
ตัวแปรที่ระบุรูปแบบการใช้งานคือ

Scanf (“%d”,& num);


      ซึ่งเมื่อโปรแกรมทำางานถึงคำาสั่งนี้ จะหยุดรอให้ผู้ใช้ป้อนตัวเลข
จำานวนเต็ม หลังจากผู้ใช้กดปุ่ม Enter แล้ว ภาษาซีจะเก็บค่าตัวเลขไว้ในตัวแปร
ชื่อ num (ที่ได้ประกาศไว้แล้วเป็นชนิด int ) โดยความหมายของ “%d” คือ การ
ระบุให้ฟังก์ชัน scanf รับข้อมูลที่เป็นชนิดจำานวนเต็ม สำาหรับการรับข้อมูลเพื่อ
เก็บไว้ในตัวแปรที่เป็นชนิดข้อมูลอื่นต้องระบุรูปแบบชนิดข้อมูลให้ถูกต้อง
ตัวอย่างดังตารางที่ 19.1

ตารางที ่ 19.1 รู ป แบบการระบุ ช นิ ด ข้ อ มู ล
           ชนิดข้อมูล                            รูปแบบ
                int                               “%d”
                char                              “%c”
float                              “%f”
            Char [ ]                             “%s”




     สำาหรับการรับข้อมูลเข้าในลักษณะของข้อความ รูปแบบการใช้งานคือ

 Scanf (“%s”name);
               ซึ่งจะไม่มีการใช้เครื่องหมาย& หน้าตัวแปร ในที่นี้คือตัวแปร
name เหมือนกับชนิดข้อมูลแบบอื่นๆ

             สำาหรับการแสดงผลลัพธ์ ภาษาซีมีฟังก์ชัน printf ไว้ให้ใช้งาน
โดยฟังก์ชัน printf จะแสดงเป็นข้อความออกมา โดยที่นักเขียนโปรแกรมจะ
สามารถระบุรูปแบบของการแสดงผลรวมไว้ในข้อความนี้ได้ ซึ่งใช้รูปแบบที่มี
ความหมายเช่นเดียวกับฟังก์ชัน scanf ดังตัวอย่าง

Printf   (“ The value of num is %d”,num) ;

       การเรียกใช้ฟังก์ชัน printf ดังคำาสั่งข้างบนนี้ ฟังก์ชัน printf จะแสดง
เป็นข้อความภายในเครื่องหมายอัญประกาศออกทางจอภาพ โดยจะแทนที่
ข้อความการระบุรูปแบบ”%d”ด้วยค่าตัวแปรที่อยู่ต่อท้าย ในที่นี้คือค่าของ
ตัวแปร num ในกรณีที่มีค่าของตัวแปรที่ต้องการให้ฟังก์ชัน printf แสดง
มากกว่าหนึ่งตัวแปร ต้องมีการระบุรูปแบบการแสดงผลบงค่าตัวแปรทุกตัวให้
ครบถ้วนและอยู่ในลำาดับที่สอดคล้องกับลำาดับขงตัวแปรด้วย ตัวอย่างเช่นส่วน
ของโปรแกรมภาษาซีต่อต่อไปนี้

Float tax = 23.65;
int num = 41;
Printf (“ the value of num is %d,and tax is %f”num,tax);

ซึ่งจะเห็นว่ามีการระบุรูปแบบการแสดงค่าตัวแปร 2 ตัวด้วยกันคือ%d และ %f
และลำาดับของตัวแปรที่กำาหนดไว้ต่อท้ายข้อความคือ num และ tax ซึ่งเป็น
ตัวแปรชนิด int และ Float ที่มีลำาดับสอดคล้องกันนั้นเอง

ตั ว ดำ า เนิ น การทางคณิ ต ศาสตร์
ในภาษาซี มีตัวอย่างของตัวดำาเนินการทางคณิตศาสตร์
ดังตารารางที่19.2




ตารารางที ่ 19.2 ตั ว อย่ า งของตั ว ดำ า เนิ น การทางคณิ ต ศาสตร์
  ตัวดำาเนินการทาง            คำาอธิบาย            ตัวอย่าง
     คณิตศาสตร์
          +                      บวก          Z= x + y; //z คือ
                                                 ค่า x บวก y
          -                      ลบ          Z=x-y; //z   คือค่า
                                                   x ลบ y
          *                      คูณ         Z=x*y; //z คือค่า x
                                                   หาร y
          /                      หาร         Z=x/y; //z คือค่า x
                                                   หาร y
         %                 เศษจากการหาร       Z=x % y; //z คือ
                                             เศษเหลือจาก x หาร y
ถ้ามีการใช้ตัวดำาเนินการมากกว่าหนึ่งตัว จะคำานวณค่าเรียงตามลำาดับก่อนหลัง
ดั้งนี้

 . ()

. *,*และ &

. + และ -

   .หากตัวดำาเนินการมีลำาดับเท่าเทียมกัน คำานวณจากซ้ายไปขวา

ตั ว ดำ า เนิ น การเปรี ย บเที ย บ
ตัวดำาเนินการเปรียบเทียบใช้ในการเปรียบเทียบข้อมูลสองข้างของการ
ดำาเนินการ

ซึ้งผลการเปรียบเทียบจะได้ผลลัพธ์เป็นจริง(True) หรือเท็จ (False) เท่านั้นตัว
ดำาเนินการ

เปรียบเทียบดังตารางที่ 19.٣




ตารางที ่ 19.3 ตั ว ดำ า เนิ น การเปรี ย บเที ย บ
 ตัวดำาเนินการเปรียบ          คำาอธิบาย               ตัวอย่าง
         เทียบ
        ==                     เท่ากับ               X==y

                                                 เป็นจริงเมื่อ x = y
                                                        และ

                                                 เป็นเท็จเมื่อ x ≠ y
         !=                   ไม่เท่ากับ               x! = y

                                               เป็นจริงเมื่อ x ≠ y และ

                                                 เป็นเท็จเมื่อ x = y
          <                   น้อยกว่า                 x<y

                                                 เป็นจริงเมื่อ x < y
                                                        และ

                                                 เป็นเท็จเมื่อ x ≤ y
          >                    ม่กกว่า                 x>y
เป็นจริงเมื่อ x > y
                                                       และ

                                                เป็นเท็จเมื่อ x ≥ y
        <=              น้อยกว่าหรือเท่ากับ          x <= y

                                              เป็นจริงเมื่อ x ≤ y และ

                                                เป็นเท็จเมื่อ x > y
        >=              มากกว่าหรือเท่ากับ           x >= y

                                              เป็นจริงเมื่อ x ≥ y และ

                                                เป็นเท็จเมื่อ x < y
ตั ว ดำ า เนิ น การทางตรรกศาสตร์
     ตัวดำาเนินการทางตรรกศาสตร์ใช้เปรียบเทียบข้อมูลด้านตรรกศาสตร์ ซึ่ง
ผลลัพธ์ที่ได้จะเป็นจริง (True) หรือเท็จ (False) เท่านั้น ตัวดำาเนินการทาง
ตรรกศาสตร์ ดังตารางที่ 19.4

ตารางที ่ 19.4 ตั ว ดำ า เนิ น การทางตรรกศาสตร์
ตัวดำาเนินการในการ          คำาอธิบาย                ตัวอย่าง
      กำาหนดค่า
          !                นิเสธ (NOT)         !p เป็นจริง เมื่อค่า p
                                                     เป็นเท็จ

                                               และเป็นเท็จเมื่อค่า p
                                                    เป็นจริง
         &&                 และ (AND)         P && p เป็นจริงเมื่อ p
                                                    และ q

                                                     เป็นจริง
         ||                 หรือ (OR)         P || q เป็นจริงเมื่อ p
                                                 และ q เป็นเท็จ
         ^                Exclusive OR        p ^ q เป็นจริงเมื่อ p
                                               และ q มีค่าต่างกัน
ตั ว ดำ า เนิ น การในการกำ า หนดค่ า
      ตัวดำาเนินการในการกำาหนดค่า สามารถใช้ในการกำาหนดค่าให้กับตัวแปร
ตัวดำาเนินการในการกำาหนดค่าดังตารางที่ ١٩.٥

ตารางที ่ ١٩.٥ ตั ว ดำ า เนิ น การในการกำ า หนดค่ า
  ตัวดำาเนินการในการ        คำาอธิบายบาย                ตัวอย่าง
        กำาหนดค่า
          =                   กำาหนดค่า          x = y; หมายถึง นำาค่า
                                                       y ให้กับ x
         +=              เพิ่มลดแล้วกำาหนดค่า   x += y; มีค่าเท่ากับ x =
                                                       x + y;
         -=              ลดค่าแล้วกำาหนดค่า     x -= y; มีค่าเท่ากับ x =
                                                        x - y;
         *=               คูณแล้วกำาหนดค่า      x *= y; มีค่าเท่ากับ x =
                                                        x * y;
         /=               หารแล้วกำาหนดค่า      x /= y; มีค่าเท่ากับ x =
                                                        x / y;
        %=              หาเศษจากการหารแล้ว      x %= y; มีค่าเท่ากับ x
                             กำาหนดค่า              = x % y;

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์Chuthamani Phromduangdi
 
แบบฟอร์มรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบฟอร์มรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์แบบฟอร์มรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบฟอร์มรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ณัฐพล บัวพันธ์
 
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซีแผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซีเทวัญ ภูพานทอง
 
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์weerapon0955652023
 
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์Thanakon504
 
แผนการสอนคอม ป. 6 การใช้คอมสร้างชิ้นงาน
แผนการสอนคอม ป. 6  การใช้คอมสร้างชิ้นงานแผนการสอนคอม ป. 6  การใช้คอมสร้างชิ้นงาน
แผนการสอนคอม ป. 6 การใช้คอมสร้างชิ้นงานSumalee Klom
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ ม.2แผนการจัดการเรียนรู้ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ ม.2พงศธร ภักดี
 
แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซี
แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซีแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซี
แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซีChess
 
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์piyaphon502
 
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์Aunchisa Phongchana
 
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์kitkatbody18
 
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์oraya502
 
งานวิชาคอม
งานวิชาคอมงานวิชาคอม
งานวิชาคอมChanya Sangyen
 
โครงงานวิชาคอม
โครงงานวิชาคอมโครงงานวิชาคอม
โครงงานวิชาคอมnisaratsaeju
 
แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซี
แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซีแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซี
แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซีChess
 
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์jakkirt504
 
แผนการสอน โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก ม.4
แผนการสอน โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก ม.4แผนการสอน โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก ม.4
แผนการสอน โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก ม.4พงศธร ภักดี
 

La actualidad más candente (20)

รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบฟอร์มรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบฟอร์มรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์แบบฟอร์มรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบฟอร์มรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซีแผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แผนการสอนคอม ป. 6 การใช้คอมสร้างชิ้นงาน
แผนการสอนคอม ป. 6  การใช้คอมสร้างชิ้นงานแผนการสอนคอม ป. 6  การใช้คอมสร้างชิ้นงาน
แผนการสอนคอม ป. 6 การใช้คอมสร้างชิ้นงาน
 
กำเนิดภาษาซี
กำเนิดภาษาซีกำเนิดภาษาซี
กำเนิดภาษาซี
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ ม.2แผนการจัดการเรียนรู้ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ ม.2
 
แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซี
แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซีแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซี
แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซี
 
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แผนการสอนการสร้างเว็บเพจ
แผนการสอนการสร้างเว็บเพจแผนการสอนการสร้างเว็บเพจ
แผนการสอนการสร้างเว็บเพจ
 
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 
งานวิชาคอม
งานวิชาคอมงานวิชาคอม
งานวิชาคอม
 
โครงงานวิชาคอม
โครงงานวิชาคอมโครงงานวิชาคอม
โครงงานวิชาคอม
 
Computer project 3
Computer project 3Computer project 3
Computer project 3
 
แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซี
แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซีแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซี
แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซี
 
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แผนการสอน โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก ม.4
แผนการสอน โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก ม.4แผนการสอน โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก ม.4
แผนการสอน โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก ม.4
 

Similar a การเขียนโปรแกรมที่มีโครงสร้างแบบลำดับ

Exproject2
Exproject2Exproject2
Exproject2najak
 
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์weerachai504
 
ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2Orapan Chamnan
 
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ N
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ Nการเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ N
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ Nfeirockjock
 
แผนคอมฯ ม.2 3
แผนคอมฯ ม.2 3แผนคอมฯ ม.2 3
แผนคอมฯ ม.2 3Surapong Jakang
 
แบบเสนอหัวข้อโครงงาน
แบบเสนอหัวข้อโครงงานแบบเสนอหัวข้อโครงงาน
แบบเสนอหัวข้อโครงงานKrooIndy Csaru
 
ครูไทยหัวใจไอที1
ครูไทยหัวใจไอที1ครูไทยหัวใจไอที1
ครูไทยหัวใจไอที1arisara
 
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์bellsupphakon
 
ใบความรู้ที่ 4
ใบความรู้ที่ 4ใบความรู้ที่ 4
ใบความรู้ที่ 4Rattana Wongphu-nga
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร
โปรแกรมคอมพิวเตอรโปรแกรมคอมพิวเตอร
โปรแกรมคอมพิวเตอรTay Atcharawan
 
ครูไทยหัวใจไอที1
ครูไทยหัวใจไอที1ครูไทยหัวใจไอที1
ครูไทยหัวใจไอที1guest3114116
 
Standardization for Digital Media - How to
Standardization for Digital Media - How toStandardization for Digital Media - How to
Standardization for Digital Media - How toBoonlert Aroonpiboon
 
การพัฒนาโปรแกรม34
การพัฒนาโปรแกรม34การพัฒนาโปรแกรม34
การพัฒนาโปรแกรม34pachchary
 
ใบความรู้ที่3
ใบความรู้ที่3ใบความรู้ที่3
ใบความรู้ที่3Rattana Wongphu-nga
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3natnardtaya
 
ตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูล
ตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูลตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูล
ตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูลKriangx Ch
 

Similar a การเขียนโปรแกรมที่มีโครงสร้างแบบลำดับ (20)

Exproject2
Exproject2Exproject2
Exproject2
 
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2
 
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ N
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ Nการเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ N
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ N
 
แผนคอมฯ ม.2 3
แผนคอมฯ ม.2 3แผนคอมฯ ม.2 3
แผนคอมฯ ม.2 3
 
แบบเสนอหัวข้อโครงงาน
แบบเสนอหัวข้อโครงงานแบบเสนอหัวข้อโครงงาน
แบบเสนอหัวข้อโครงงาน
 
ครูไทยหัวใจไอที1
ครูไทยหัวใจไอที1ครูไทยหัวใจไอที1
ครูไทยหัวใจไอที1
 
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 
08
0808
08
 
ใบความรู้ที่ 4
ใบความรู้ที่ 4ใบความรู้ที่ 4
ใบความรู้ที่ 4
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร
โปรแกรมคอมพิวเตอรโปรแกรมคอมพิวเตอร
โปรแกรมคอมพิวเตอร
 
ครูไทยหัวใจไอที1
ครูไทยหัวใจไอที1ครูไทยหัวใจไอที1
ครูไทยหัวใจไอที1
 
Standardization for Digital Media - How to
Standardization for Digital Media - How toStandardization for Digital Media - How to
Standardization for Digital Media - How to
 
Work3.39
Work3.39Work3.39
Work3.39
 
Work1 1
Work1  1Work1  1
Work1 1
 
5 6-7-8
5 6-7-85 6-7-8
5 6-7-8
 
การพัฒนาโปรแกรม34
การพัฒนาโปรแกรม34การพัฒนาโปรแกรม34
การพัฒนาโปรแกรม34
 
ใบความรู้ที่3
ใบความรู้ที่3ใบความรู้ที่3
ใบความรู้ที่3
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
ตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูล
ตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูลตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูล
ตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูล
 

การเขียนโปรแกรมที่มีโครงสร้างแบบลำดับ

  • 1. กิจกรรมที่ 19 การเขียนโปรแกรม ที่มีโครงสร้างแบบลำาดับ คาบที่ 28-29 1.จุ ด ประสงค์ ผูเรียนสามารถ ้ 1.1 อธิบายชนิดข้อมูลและการประกาศตัวแปร 1.2 เขียนโปรแกรมรับข้อความและตัวเลข 1.3 เขียนโปรแกรมที่มีโตรงสร้างแบบลำาดับ 2. แนวคิ ด การเขียนโปรแกรมจำาเป็นจะต้องมีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับตัวแปร ชนิด ของตัวแปร การประกาศ และการใช้ตัวแปร โปรแกรมทั่วไปประกอบด้วย 3 ส่วน คือ ส่วนการรับข้อมูล ส่วนการประมวลผล และส่วนการแสดงผล โปรแกรมที่มีความสะดวกในการใช้งานควรมีการรับข้อมูลจากทางแป้นพิมพ์ เพื่อนำาไปใช้ประมวลผลและแสดงผลลัพธ์ต่อไป การเขียนโปรแกรมเพื่อประยุกต์การใช้งาน จำาเป็นจะต้องมีความรู้ความ เข้าใจในการวิเคราะห์งาน และการเขียนผังงานก่อนที่จะเขียนโปรแกรมด้วย ตนเอง โดยการเขียนโปรแกรมที่มีโครงสร้างแบบลำาดับเป็นพื้นฐานของการ เขียนโปรแกรมเบื้องต้น 3. สื ่ อ -อุ ป กรณ์ 3.1 ใบงาน ใบงาน เรื่อง เวลา(นาที) 19.1 โปรแกรมรับข้อความและตัวเลข 50 19.2 การเขียนโปรแกรมที่มีโครงสร้างแบบ 50 ลำาดับ 3.2ใบความรู้ ใบความรู้ที่ 19.1 เรื่องชนิดข้อมูลและการประกาศตัวแปร
  • 2. 3.3 อื่นๆ @ ใบงานที่ 17.1 เรื่องโครงสร้างแบบลำาดับ ที่ผู้เรียนได้ทำาไว้ในกิจกรรมที่ 17 @ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ชั้น มัธยมศึกษาปี่ที่ 4-6 ของ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี 4. วิ ธ ี ด ำ า เนิ น การ 4.1 การจัดเตรียม 4.1.1 ใบงานที่ 17.1 ที่ผู้เรียนทำาไว้ในกิจกรรมที่ 17 4.1.2 ใบงานที่ 19.1-19.2 ตามจำานานผู้เรียน 4.1.3 ใบความรู้ที่ 19.1 ตามจำานานผู้เรียน 4.1.4 เครื่องคอมพิวเตอร์พร้อมติดตั้งโปรแกรม Dev-C++ 4.2 ขั้นตอนดำาเนินการ 4.2.1 ผู้สอนชี้แจงจุดประสงค์ของกิจกรรมให้ผู้เรียนทราบ แล้วให้ผู้เรียน ศึกษาใบความรู้ที่ 19.1 เรื่องชนิดข้อมูลและการประกาศตัวแปร 4.2.2 ให้ผู้เรียนทำาใบงาน 19.1 เรื่องโปรแกรมรับข้อความและตัวเลข 4.2.3 ผู้สอนให้คำาแนะนำา ตอบข้อสงสัย และช่วยผู้เรียนแก้ปัญหาในกรณี ที่เกิดความผิดผลาดของโปรแกรมที่ผู้เรียนเขียนขึ้น 4.2.4 ผู้เรียนและผู้สอนร่วมกันเฉลยคำาตอบในใบงาน 19.1 และสรุปชนิด ข้อมูล และการประกาศตัวแปร 4.2.5 แบ่งกลุ่มผู้เรียนตามกลุ่มเดิมที่ทำาในกิจกรรมที่ 17 4.2.6 ให้แต่ละกลุ่มทำาใบงานที่ 19.2 เรื่องการเขียนโปรแกรมที่มี โครงสร้างแบบลำาดับ โดยดูรหัสลำาลอง และผังงาน จากใบงาน 17.1 ที่ ทำาไว้ในกิจกรรมที่ 17 4.2.7 ให้แต่ละกลุ่มนำาเสนอโปรแกรมที่เขียนหน้าชั้นเรียน และอธิบาย โปรแกรมของตนเองให้กลุ่มอื่นทราบ
  • 3. 4.2.8 ผู้เรียนและผู้สอนร่วมกันอภิปรายและสรุปการเขียนโปรแกรมที่มี โครงสร้างแบบลำาดับ 5. การวั ด และประเมิ ล ผล 5.1 สังเกตการณ์ทำากิจรรมร่วมกัน 5.2 ตรวจคำาตอบในใบงาน 6.แหล่ ง ข้ อ มู ล เพิ ่ ม เติ ม 6.1 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 ของสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาสาสตร์และ เทคโนโลยี 6.2 http://www.programming.in.th 6.3 http://strffs.wu.ac.th.syaowara/C/lecture1.ppt (4/10/52) 6.4 http://www.bloodshed.net ดาวน์โหลดโปรแกรม Dev-C++ 7. ข้ อ แสนอแนะ 7.1 เนื่องจากกิจกรรมนี้เป็นกิจกรรมแรกของผู้เรียนในการเขียน โปรแกรมเพื่อการคำานวณอาจทำาให้โปรแกรมเกิด การผิดพลาดได้ ง่ายผู้สอนจึงควรตรวจดูให้การช่วยเหลือผู้เรียนอย่างทั่วถึงเพื่อให้ผู้ เรียนเกิดความมั่นใจในการเขียน 7.2 ผู้สอนควรยำ้าให้ผู้เรียนบันทึกโปรแกรมเป็นระยะ เพื่อไม่ให้ ข้อมูลทำามาหายไปเนื่องจากคอมพิวเตอร์มีปัญหาหรือไฟฟ้าดับ
  • 4. ใบงาน 19.1 โปรแกรมรั บ ข้ อ ความและตั ว เลข รายชื่อสมาชิกในกลุ่มที่........................ 1..................................................................... 2............................................................ 3..................................................................... 4............................................................. ให้นักเรียนศึกษาใบความรู้ที่ 19.1 เรื่องชนิดข้อมูลและการประกาศตัวแปร แล้วปฏิบัติดังนี้ 1.ให้ผู้เรียนเปิดโปรแกรม Dev-C++ แล้วพิมพ์โปรแกรมตามตัวอย่างดังนี้ // program My information #include<stdio.h> # include<stdlib.h> Main () { Char name[10]; // ประกาศตัวแปร Char เพื ่ อ รั บ ตั ว อั ก ขระ int age;
  • 5. float height; // ประกาศตั ว แปร int และ float printf (“nnYour information”); // แสดงข้ อ ความ Your information printf (“nnInput your name = ”); scanf (“%s” ,name); // รั บ ตั ว อั ก ขระ เก็ บ ไว้ ท ี ่ name printf (“nnInput your age [year] =”); scanf (“%d” , &age); // รั บ เลขจำ า นวนเต็ ม เก็ บ ไว้ ท ี ่ age printf (“nnInput your height [centimeter] =”) ; scanf (“%f” ,& height); //รั บ ทศนิ ย มเก็ บ ไว้ ที ่ height printf (“nnnnnnnnnnnnn”); // ขึ้นบรรทัดใหม่ โดยไม่แสดงอะไร printf (“nnYour name is %s. ”name); // แสดงค่าตัว แปรอักขระ name printf (“nnYour age is %d years old. ”,age) ; // แสดงค่าตัวแปรเลขจำานวนเต็ม age printf (“nnYour height is %f centimeters.”, height); // แสดงตัวแปรเลขทศนิยม height printf (“nnn”); syatem (“pause”); } 2. ให้บันทึกโปรแกรมชื่อ myinfo ลงในโฟล์เดอร์ของตนเอง แล้วสั่ง Compile และ Run จากนั้นทอลอง ป้อนข้อมูลของตนเองให้ครบทุกรายการ ผลลัพธ์ที่ แสดงออกทางจอภาพมีดังนี้
  • 6. .................................................................................................... .................................................................................................... .................................................................................................... .................................................................... 3.ให้พิจารณาโปรแกรมในข้อ 1 แล้วตอบคำาถามต่อไปนี้ 3.1 ชนิดของตัวแปรที่ประกาศใช้ในโปรแกรมนี้มี..................ชนิด ได้แก่....................................... ................................................. ................................................................................................ ............ 3.2 การประกาศตัวแปรชนิด int กับชนิด float ต่างกัน อย่างไร......................................................... .............................................................................................. ............................................................ 3.3 การประกาศตัวแปร name [10] หมาย ถึง………………………………………………………..... ………………………………………………………………………………………… ……........ 3.4 การกำาหนดรูปแบบชนิดข้อมูลที่ใช้ในการรับค่า (คำาสั่ง scanf () )และ แสดงผล(คำาสั่ง printf() ) กับตัวแปรต่อไปนี้คือ ตัวแปรชนิด Char [ ] ได้แก่ %............... ตัวแปรชนิด int ได้แก่ %............... ตัวแปรชนิด Float ได้แก่ %............... ใบงานที ่ 19.2 การเขี ย นโปรแกรม ที ่ ม ี โ ครงสร้ า งแบบลำ า ดั บ รายชื่อสมาชิกในกลุ่มที่........................ 1..................................................................... 2............................................................
  • 7. 3..................................................................... 4............................................................. ให้นำาการวิเคราะห์งานและผังงานที่ได้ทำาไว้ในใบงานที่ 17.1 เรื่อง โครงสร้างแบบลำาดับมาพิจารณาและเขียนโปรแกรมตามโจทย์ที่ได้รับดังกล่าว 1.โจทย์ที่ได้รับ คือ.................................................................................................... ......................... 2.รหัสต้นฉบับ // program …………………….. #include<stdio.h> # include<stdlib.h> Main () { ………………………………………………………… ……………………....... ………………………………………………………… ………………………… ………………………………………………………… ………………………… 3.ให้บันทึกโปรแกรมชื่อ worksheet_19_2 ลงในโฟล์เดอร์ของตนเอง แล้งสั่ง Compile และ run 4.ทดลองป้อนข้อมูล............................................ 5.ผลลัพธ์ที่ได้คือ......................................... 6.ให้ตรวจสอบผลลัพธ์จากเครื่องคิดเลขว่าถูกต้องหรือ ไม่.................................
  • 8. ใบความรู ้ 19.1 ชนิ ด ข้ อ มู ล และการประกาศตั ว แปร ตั ว ระบุ (Identifiers) ไม่ว่าจะเป็นการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาใดก็ตาม เราตั้งมีการตั้งชื่อให้ กับสิ่งต่างๆ เช่นชื่อตัวแปรเพื่อใช้แทนเก็บข้อมูล หรือชื่อโปรแกรมย่อยหรือ ฟังก์ชันในภาษาซี สิ่งต่างๆที่เราต้องตั้งชื่อให้นี้ รวมเรียกว่า ตัวระบุ (Identifiers) ซึ่งแต่ละภาษาจะมีกฎการตั้งชื่อตัวระบุที่แตกต่างกัน สำาหรับภาษา ซี ชื่อตัวระบุจะต้องประกอบด้วย 1.ตัวอักษรภาษาอังกฤษ A-Z, a-z, (โดยตัวอักษรโดยตัวอักษรตัวพิมพ์ ใหญ่และเล็กถือว่าเป็นคนละตัวกัน) ตัวเลข 0-9 และเครื่องหมายขีดเส้น ใต้ (_) เท่านั้น 2.ห้ามใช้ตัวเลขเป็นตัวอักษรตัวแรกของชื่อ 3.ห้ามตั้งชื่อที่ซำ้ากับคำาสงวน (Reserved words คือ คำาที่ถูกกำาหนดให้มี ความหมายเฉพาะ) ในภาษาซี นอกจากนี้เพื่อหลีกเลี่ยงการตั้งชื่อซำ้ากับ ชื่อของตัวระบุที่ใช้อยู่แล้วในระบบปฏิบัติการ นักเขียนโปรแกรมไม่ควร ตั้งชื่อตัวระบุที่ขึ้นต้นด้วยเครื่องหมายขีดเส้นใต้ ชนิ ด ข้ อ มู ล (Data types) ชนิดของข้อมูลเป็นตัวกำาหนดว่าตัวแปรหรือค่าคงที่ที่จะสามารถเก็บค่า ชนิดใด และเก็บค่าในช่วงใดได้บ้าง ภาษาซีมีชนิดข้อมูลมาตรฐานอยู่ 3 ชนิด คือ จำานานเต็ม (int) ตัวอักษร (char) และจำานวนจริง (float) การประกาศตั ว แปร (Variables declaration) ตัวแปรเป็นชื่อที่ใช้อ้างถึงตำาแหน่งในหน่วยความจำาที่ใช้เก็บข้อมูล ทำาให้ นักเขียนโปรแกรมใช้งานได้สะดวกขึ้น ไม่ต้องอ้างถึงตำาแหน่งในหน่วยความจำา โดยตรง การตั้งชื่อตัวแปรจะเป็นไปตามการตั้งชื่อของตัวระบุที่ได้กล่าวไปแล้ว โดยในการประกาศตัวแปรจะต้องทำาการกำาหนดชนิดของข้อมูลที่ตองการให้ ้ ตัวแปรนั้นเก็บไปด้วยเลย เพราะชนิดของข้อมูลที่แตกต่างกันจะต้องการพื้นที่ใน หน่วยความจำาขนาดไม่เท่ากัน
  • 9. ตัวแปรถูกต้องประกาศก่อนที่จะนำาไปใช้งานได้ นักเขียนโปรแกรมจะต้อง ระบุชื่อ และชนิดของข้อมูลที่จะอ้างถึงด้วยชื่อดังกล่าว ตัวอย่างเช่น การประกาศ ตัวแปรชื่อ salary ให้มีชนิดข้อมูลเป็นจำานวนจริงแบบ float มีรูปแบบดังนี้ Float salary; หลังจากตัวแปรถูกประกาศแล้ว ก็จะสามารถนำาไปใช้ได้ต่อไป อย่างไร ก็ตามตัวแปรที่ถูกประกาศจะยังไม่ได้ถูกกำาหนดให้เก็บค่าใดๆ ซึ่งถ้าต้องการ กำาหนดค่าเริ่มต้นให้กับตัวแปรด้วย จะทำาได้โดยมีรูปแบบดังนี้ Float salary ช = 12099.00; สำาหรับการประกาศตัวแปรเพื่อใช้เก็บข้อความจะมีรูปแบบดังนี้ Char name [10]; ส่ ว นการรั บ ขอมู ล และการแสดงผล (input และ output) ภาษาซีได้เตรียมฟังก์ชันที่ใช้ในการรับข้อมูลเข้าไว้หลายฟังก์ชันด้วยกัน ตัวอย่าง หนึ่งคือฟังก์ชัน scanf ซึ่งจะรับข้อมูลเข้าทางคีย์บอร์ด แล้วเก็บไว้ใน ตัวแปรที่ระบุรูปแบบการใช้งานคือ Scanf (“%d”,& num); ซึ่งเมื่อโปรแกรมทำางานถึงคำาสั่งนี้ จะหยุดรอให้ผู้ใช้ป้อนตัวเลข จำานวนเต็ม หลังจากผู้ใช้กดปุ่ม Enter แล้ว ภาษาซีจะเก็บค่าตัวเลขไว้ในตัวแปร ชื่อ num (ที่ได้ประกาศไว้แล้วเป็นชนิด int ) โดยความหมายของ “%d” คือ การ ระบุให้ฟังก์ชัน scanf รับข้อมูลที่เป็นชนิดจำานวนเต็ม สำาหรับการรับข้อมูลเพื่อ เก็บไว้ในตัวแปรที่เป็นชนิดข้อมูลอื่นต้องระบุรูปแบบชนิดข้อมูลให้ถูกต้อง ตัวอย่างดังตารางที่ 19.1 ตารางที ่ 19.1 รู ป แบบการระบุ ช นิ ด ข้ อ มู ล ชนิดข้อมูล รูปแบบ int “%d” char “%c”
  • 10. float “%f” Char [ ] “%s” สำาหรับการรับข้อมูลเข้าในลักษณะของข้อความ รูปแบบการใช้งานคือ Scanf (“%s”name); ซึ่งจะไม่มีการใช้เครื่องหมาย& หน้าตัวแปร ในที่นี้คือตัวแปร name เหมือนกับชนิดข้อมูลแบบอื่นๆ สำาหรับการแสดงผลลัพธ์ ภาษาซีมีฟังก์ชัน printf ไว้ให้ใช้งาน โดยฟังก์ชัน printf จะแสดงเป็นข้อความออกมา โดยที่นักเขียนโปรแกรมจะ สามารถระบุรูปแบบของการแสดงผลรวมไว้ในข้อความนี้ได้ ซึ่งใช้รูปแบบที่มี ความหมายเช่นเดียวกับฟังก์ชัน scanf ดังตัวอย่าง Printf (“ The value of num is %d”,num) ; การเรียกใช้ฟังก์ชัน printf ดังคำาสั่งข้างบนนี้ ฟังก์ชัน printf จะแสดง เป็นข้อความภายในเครื่องหมายอัญประกาศออกทางจอภาพ โดยจะแทนที่ ข้อความการระบุรูปแบบ”%d”ด้วยค่าตัวแปรที่อยู่ต่อท้าย ในที่นี้คือค่าของ ตัวแปร num ในกรณีที่มีค่าของตัวแปรที่ต้องการให้ฟังก์ชัน printf แสดง มากกว่าหนึ่งตัวแปร ต้องมีการระบุรูปแบบการแสดงผลบงค่าตัวแปรทุกตัวให้ ครบถ้วนและอยู่ในลำาดับที่สอดคล้องกับลำาดับขงตัวแปรด้วย ตัวอย่างเช่นส่วน ของโปรแกรมภาษาซีต่อต่อไปนี้ Float tax = 23.65; int num = 41; Printf (“ the value of num is %d,and tax is %f”num,tax); ซึ่งจะเห็นว่ามีการระบุรูปแบบการแสดงค่าตัวแปร 2 ตัวด้วยกันคือ%d และ %f และลำาดับของตัวแปรที่กำาหนดไว้ต่อท้ายข้อความคือ num และ tax ซึ่งเป็น ตัวแปรชนิด int และ Float ที่มีลำาดับสอดคล้องกันนั้นเอง ตั ว ดำ า เนิ น การทางคณิ ต ศาสตร์ ในภาษาซี มีตัวอย่างของตัวดำาเนินการทางคณิตศาสตร์
  • 11. ดังตารารางที่19.2 ตารารางที ่ 19.2 ตั ว อย่ า งของตั ว ดำ า เนิ น การทางคณิ ต ศาสตร์ ตัวดำาเนินการทาง คำาอธิบาย ตัวอย่าง คณิตศาสตร์ + บวก Z= x + y; //z คือ ค่า x บวก y - ลบ Z=x-y; //z คือค่า x ลบ y * คูณ Z=x*y; //z คือค่า x หาร y / หาร Z=x/y; //z คือค่า x หาร y % เศษจากการหาร Z=x % y; //z คือ เศษเหลือจาก x หาร y ถ้ามีการใช้ตัวดำาเนินการมากกว่าหนึ่งตัว จะคำานวณค่าเรียงตามลำาดับก่อนหลัง ดั้งนี้ . () . *,*และ & . + และ - .หากตัวดำาเนินการมีลำาดับเท่าเทียมกัน คำานวณจากซ้ายไปขวา ตั ว ดำ า เนิ น การเปรี ย บเที ย บ
  • 12. ตัวดำาเนินการเปรียบเทียบใช้ในการเปรียบเทียบข้อมูลสองข้างของการ ดำาเนินการ ซึ้งผลการเปรียบเทียบจะได้ผลลัพธ์เป็นจริง(True) หรือเท็จ (False) เท่านั้นตัว ดำาเนินการ เปรียบเทียบดังตารางที่ 19.٣ ตารางที ่ 19.3 ตั ว ดำ า เนิ น การเปรี ย บเที ย บ ตัวดำาเนินการเปรียบ คำาอธิบาย ตัวอย่าง เทียบ == เท่ากับ X==y เป็นจริงเมื่อ x = y และ เป็นเท็จเมื่อ x ≠ y != ไม่เท่ากับ x! = y เป็นจริงเมื่อ x ≠ y และ เป็นเท็จเมื่อ x = y < น้อยกว่า x<y เป็นจริงเมื่อ x < y และ เป็นเท็จเมื่อ x ≤ y > ม่กกว่า x>y
  • 13. เป็นจริงเมื่อ x > y และ เป็นเท็จเมื่อ x ≥ y <= น้อยกว่าหรือเท่ากับ x <= y เป็นจริงเมื่อ x ≤ y และ เป็นเท็จเมื่อ x > y >= มากกว่าหรือเท่ากับ x >= y เป็นจริงเมื่อ x ≥ y และ เป็นเท็จเมื่อ x < y ตั ว ดำ า เนิ น การทางตรรกศาสตร์ ตัวดำาเนินการทางตรรกศาสตร์ใช้เปรียบเทียบข้อมูลด้านตรรกศาสตร์ ซึ่ง ผลลัพธ์ที่ได้จะเป็นจริง (True) หรือเท็จ (False) เท่านั้น ตัวดำาเนินการทาง ตรรกศาสตร์ ดังตารางที่ 19.4 ตารางที ่ 19.4 ตั ว ดำ า เนิ น การทางตรรกศาสตร์ ตัวดำาเนินการในการ คำาอธิบาย ตัวอย่าง กำาหนดค่า ! นิเสธ (NOT) !p เป็นจริง เมื่อค่า p เป็นเท็จ และเป็นเท็จเมื่อค่า p เป็นจริง && และ (AND) P && p เป็นจริงเมื่อ p และ q เป็นจริง || หรือ (OR) P || q เป็นจริงเมื่อ p และ q เป็นเท็จ ^ Exclusive OR p ^ q เป็นจริงเมื่อ p และ q มีค่าต่างกัน
  • 14. ตั ว ดำ า เนิ น การในการกำ า หนดค่ า ตัวดำาเนินการในการกำาหนดค่า สามารถใช้ในการกำาหนดค่าให้กับตัวแปร ตัวดำาเนินการในการกำาหนดค่าดังตารางที่ ١٩.٥ ตารางที ่ ١٩.٥ ตั ว ดำ า เนิ น การในการกำ า หนดค่ า ตัวดำาเนินการในการ คำาอธิบายบาย ตัวอย่าง กำาหนดค่า = กำาหนดค่า x = y; หมายถึง นำาค่า y ให้กับ x += เพิ่มลดแล้วกำาหนดค่า x += y; มีค่าเท่ากับ x = x + y; -= ลดค่าแล้วกำาหนดค่า x -= y; มีค่าเท่ากับ x = x - y; *= คูณแล้วกำาหนดค่า x *= y; มีค่าเท่ากับ x = x * y; /= หารแล้วกำาหนดค่า x /= y; มีค่าเท่ากับ x = x / y; %= หาเศษจากการหารแล้ว x %= y; มีค่าเท่ากับ x กำาหนดค่า = x % y;