SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 26
Descargar para leer sin conexión
28

                                              อนุกรมเลขคณิต

วัตถุประสงค
         1. นักเรียนสามารถสังเกต วิเคราะห เชื่อมโยงความสัมพันธของตัวเลข
         2. นักเรียนสามารถจัดลําดับและหาอนุกรมของจํานวนได
         3. นักเรียนสามารถนําอนุกรมเลขคณิตไปประยุกตใชในชีวตจริงได
                                                              ิ

ความพรอม
        1.    ระบบจํานวน
        2.    เลขยกกําลัง
        3.    สมการ
        4.    ตัวแปร

สาระสําคัญ
           ลําดับ (Sequences) หมายถึง จํานวนหรือพจนที่เขียนเรียงกันภายใตกฎเกณฑอยางใดอยางหนึ่ง
ลําดับทั่วๆ ไปแบงเปน 2 ชนิดคือ
           1. ลําดับจํากัด คือลําดับซึ่งมีจํานวนพจนจํากัด เชน
                1, 3, 5, 7, . . ., 19
           2. ลําดับอนันต คือ ลําดับซึ่งมีจํานวนพจนไมจํากัด เชน
                1, 3, 5, 7, . . .

ชนิดของลําดับ
           1. ลําดับเลขคณิต หมายถึง ลําดับซึ่งมีผลตางระหวางพจนที่ n + 1 กับ มีคาคงตัว คาคงตัวนี้
เรียกวา “ผลตางรวม” เขียนแทนดวย d
               ให a1 , a2, a3 , . . . เปนลําดับเลขคณิต ผลตางระหวางพจนที่ n+1 กับพจนที่ n คา d
                   d = a2 − a1                      = a3 − a2       = a4 − a3       = a5 − a4

              ดังนั้น            a1 ,    a1 + d ,       a1 + 2d ,          a1 + 3d ,        a1 + 4d ,   ....

              เปนพจนที่         1      2         3                            4               5
              ถา an เปนพจนทั่วไปของลําดับเลขคณิต
                                            an = a1 + (n −1)d




                                                                                    กลุม 5 อนุกรมเลขคณิต แกไขวันที่ 20 กันยายน 2547
29

วิธีการนําเสนอ
ตัวอยาง จงหาพจนที่ 15 ของลําดับ -5 , -1, 3, 7, 11,…
วิธีทํา                  a n = a1 + (n −1)d

               จากโจทย a1 = −5 ,           n = 15 ,        d = −1− (−5)
                                                              = −1+ 5
                                                              = 4
               ดังนั้น   a 15 =       −5 + (15 − 1)4

                              =       −5 + (14 × 4)

                              =       −5+ 56

         พจนที่ 15 ของลําดับ =       51



ตัวอยาง กําหนดลําดับเลขคณิตหนึ่ง มีพจนที่ 5 เปน 29 และ พจนที่ 51 เปน 397 จงหาพจนที่ 1
         ถึง พจนที่ 4
วิธีทํา
        (พจนที่ 5 หรือ a 5 ) a1 + 4d = 29
        (พจนท่ี 51 หรือ a 51 ) a1 + 50d = 397
            -
                  (a1 + 50d )− (a1 + 4d ) = 397 - 29
                  a1 + 50d − a1 − 4d      = 368
                           46d            = 368
                                d         = 368
                                             46
                         d                  = 8
         แทนคา d ดวย 8 ใน
               a1 + 4d                      = 29
                a1 + (4× 8)                 = 29
                          a1                = 29 - 32
                                            = -3
       ดังนั้นพจนที่ 1 คือ a 1             = -3
       ดังนั้นพจนที่ 2 คือ a 1 + d         = −3 + 8      = 5
       ดังนั้นพจนที่ 3 คือ a1 + 2d         = −3 + (2×8) = 13
       ดังนั้นพจนที่ 4 คือ a1 + 3d         = −3 + (3×8) = 21
       พจนที่ 1 ถึงพจนที่ 4 คือ           -3, 5, 13, 21

                                                                  กลุม 5 อนุกรมเลขคณิต แกไขวันที่ 20 กันยายน 2547
30

                                              แบบฝกทักษะ

1. จงหาพจนที่ 20 ของลําดับ -13, -9, -5, -1, 3, …

2. ลําดับเลขคณิตลําดับหนึ่ง มีพจนที่ 10 เปน -28 และพจนที่ 12 เปน -50
   จงหาผลบวกของพจนที่ 5 กับพจนที่ 6

                                           เฉลยแบบฝกทักษะ

1. จงหาพจนที่ 20 ของลําดับ -13, -9, -5, -1, 3, …
   แนวคิด
      a n = a1 + (n −1)d
      จากโจทย a 1            = -13, n = 20, d         = -9- (-13)
                                                       = -9 +13
                                                       = 4
        ดังนั้น   a 20          =   -13 + (20-1) 4
                                =   -13 + (19 x 4)
                                =   -13 + 76
       พจนที่ 20 ของลําดับ     =   63
    ตอบ 63

2. ลําดับเลขคณิตลําดับหนึ่ง มีพจนที่ 10 เปน -28 และพจนที่ 12 เปน -50
   จงหาผลบวกของพจนที่ 5 กับพจนที่ 6
   แนวคิด
        (พจนที่ 10 หรือ a 10 ) a1 + 9d = -28
        (พจนท่ี 12 หรือ a 12 ) a1 +11d = -50
             -
        (a1 +11d )− (a1 + 9d )           = - 50 - (-28)
         a1 +11d − a1 − 9d               = - 50 + 28
                            2d           = - 22
                            d            = −2 22


                                         = - 11

                                                                     กลุม 5 อนุกรมเลขคณิต แกไขวันที่ 20 กันยายน 2547
31

   แทนคา d ดวย -11 ใน
             a1 + 9d              =    - 28
             a1 + [9 × (−11)]     =    - 28
                        a1 − 99   =    - 28
                        a1        =    - 28 + 99        = 71
   ดังนั้น       a5               =    a1 + 4d

                                  =    71 + [4 × (− 11)]

                                  =    71 – 44          = 27
                 a6               =    a1 + 5d

                                  =    71+ [5× (−11)]

                                  =    71 – 55          = 16
             a5 + a6              =    27 + 16          = 43
ตอบ          43

2. ลําดับอื่น ๆ
    2.1 ลําดับหลายชั้น เปนเลขอนุกรม มีคาความแตกตางระหวางตัวเลขมีลักษณะเปนเลขอนุกรมดวย เชน
         256             233             208           181             152           121

                       -23                   -25               -27              -29                      -31

                                  -2                    -2           -2                        -2
             5                    10                    30           120                     600                     3600

                       x2                    x3                x4               x5                       x6

                       +1                    +1                +1               +1
             17                   20                    28           45                      75                      122

                       +3                    +8                +17              +30                      +47

                                  +5                    +9           +13                     +17

                                             +4                +4               +4
                                                                           กลุม 5 อนุกรมเลขคณิต แกไขวันที่ 20 กันยายน 2547
32

          2.2 ลําดับเวนระยะ คือ เลขอนุกรม ซึ่งประกอบดวยอนุกรมมากกวา 1 ซอนกันอยูภายใน
                                                                                   
โจทยเดียวกัน เชน
                                -3                   -3

7              11             11              8              15                      5                       19

               +4                             +4                                     +4

         2.3 ลําดับแบบมีคาแตกตางเปนชุด อนุกรมแบบนี้ เกิดจากคาความแตกตางที่เปนชุด คือหลายตัว
ประกอบขึ้นมาและใชคาแตกตางที่เปนชุดดังกลาวในการพิจารณาเลขอนุกรมลําดับถัดไป เชน

5              20             30              120            130                     520                     530

        ×4             +10            ×4              +10                ×4                       +10



         2.4 ลําดับยกกําลัง เปนเลขอนุกรม ซึ่งเกิดจากการยกกําลังของตัวเลขตาง ๆ หรืออาจเกิดจาก
คาความแตกตางที่อาจเปนเลขยกกําลัง เชน
                100            512             1,296          1,024           64

               10 2            83             64              45                     26


               10             91              42             67                      58                      59

                       +81            -49             +25               -9                       +1

                       92              72             52                 32                      12




                                                                   กลุม 5 อนุกรมเลขคณิต แกไขวันที่ 20 กันยายน 2547
33

                                      แบบฝกทักษะ

1. จงหาลําดับของจํานวนถัดไป
   5 -10 20          -40



2. จงหาลําดับของจํานวนถัดไป
      108 43         100 39      92



3. จงหาลําดับของจํานวนถัดไป
       25      29     13    49




                                                    กลุม 5 อนุกรมเลขคณิต แกไขวันที่ 20 กันยายน 2547
34

                                          เฉลยแบบฝกทักษะ

1. จงหาลําดับของจํานวนถัดไป
   5 -10 20          -40 ________            _________

      แนวคิด                                     ×4                                        ×4



         5               -10            20                -40                 80                       -160

                  ×4                                      ×4


      ตอบ ลําดับของจํานวนถัดไปคือ 80 และ -160

2. จงหาลําดับของจํานวนถัดไป
   108 43 100 39            92         _______         _________
   แนวคิด
                            -4                                     -4

100               43             100             39                92                      35                      84

                    -8                         -8                                          -8
      ตอบ      ลําดับของจํานวนถัดไปคือ 35 และ 84

3. จงหาลําดับของจํานวนถัดไป
   25 29 13          49
   แนวคิด
      25             29                 13                49                  -15                      85

                  +4             -16             +36               -64                     +100

                  22             42              62                82                      10 2
      ตอบ      ลําดับของจํานวนถัดไปคือ -15 และ 84

                                                                         กลุม 5 อนุกรมเลขคณิต แกไขวันที่ 20 กันยายน 2547
35

          อนุกรมเลขคณิต คือ ผลบวก ของลําดับเลขคณิต เชน
                   a1 + a2 + a3 + a4 + ... + an + ...

          ให เปนผลบวก s n เปนผลบวก n พจนแรกของลําดับเลขคณิต
                  s n = a1 + a2 + a3 + ... + an
          สูตรผลบวก n พจนแรกของลําดับเลขคณิต

                                                   sn        = n [2a1 + (n −1)d ]
                                                               2
                                       หรือ        sn        = n (a1 + an )
                                                               2




ตัวอยาง จงหาผลบวกของ          1 + 2 + 3 + … 200
แนวคิด จากโจทย       a1 = 1 , an = 200 , n = 200



                      sn               =    n
                                              (a + an )
                                            2 1
                       sn              =    200
                                             2
                                                (1+ 200)

                                       =    100 + 201

                                       =    20,100



ตัวอยาง จงหาผลบวกของเลขคี่ตั้งแต 1 ถึง 200
แนวคิด จากโจทย      1 + 3 + 5 + 7 +…+199
                        a1 = 1 , a n = 199 , n = 100

                        sn               = n (a1 + an )
                                            2
                               s100                =    100
                                                         2
                                                            (1+199)

                                                   =    50 × 200

                                                   =    10,000




                                                                                    กลุม 5 อนุกรมเลขคณิต แกไขวันที่ 20 กันยายน 2547
36

                                                    แบบฝกทักษะ

1. จงหาผลบวกของเลขคูต้งแต 1 ถึง 200
                       ั

2. จงหาผลบวก 50 พจนแรกของลําดับ 12, 7, 2, …

                                                  เฉลยแบบฝกทักษะ

1. จงหาผลบวกของเลขคูต้งแต 1 ถึง 200
                       ั
   แนวคิด
      จากโจทย               2 + 4 + 6 +8 + … + 200
                   a1 = 2 , a n = 200 , n = 100

                         sn           = n (a1 + an )
                                         2
                         s100                 =    100
                                                    2
                                                       (2 + 200)

                                   = 50× 202
                                   = 10,100
   ตอบ ผลบวกของเลขคูต้งแต 1 ถึง 200 คือ 10,100
                       ั

2. จงหาผลบวก 50 พจนแรกของลําดับ 12, 7, 2, …
   แนวคิด
                         sn
                                                  n
                                                    [2a + (n −1)d ]
                                                  2 1
                       a1 = 12   ,   n = 50   ,   d = 7−2

                                              =    −5

                                      s50     =    50
                                                    2
                                                      [(2 ×12) + (50 −1)(− 5)]
                                  = 25[24 + (49 × (− 5))]
                                  = 25(24 − 245)
                                  = 25× (−221)
                                  = −5,525
   ตอบ     ผลบวก 50 พจนแรกของลําดับ 12, 7, 2,... คือ −5,525




                                                                                 กลุม 5 อนุกรมเลขคณิต แกไขวันที่ 20 กันยายน 2547
37

                                             แบบฝกทักษะ

1. ดวงแกวทํางานบริษัทแหงหนึ่งไดเงินเดือน เดือนแรก 5,000 บาท ไดเงินเดือนขึ้นเดือนละ 150 บาท
   จงหาวาเดือนสุดทายของปที่หาเขาจะไดรับเงินเดือนเทาไร และในหาปเขาจะไดเงินเดือนทั้งหมดเทาไร

2. ถา A เปนจํานวนเต็มที่มีคามากกวา 192 และนอยกวา 222 ซึ่ง 11 หารลงตัว และผลคูณของเลขโดด
                             
   ของ A มีคานอยที่สุดแลว A มีคาเทาใด

3. จงหาผลบวกพจนที่ 51 คาพจนที่ 60 ของลําดับ 12, 7, 2...

4. นําเลขโดด 1, 2, 3,..., 9 มาจัดวางลงในวงกลมที่กําหนดให โดยไมมการใชตัวเลขโดดซ้ํากัน โดยกําหนด
                                                                       ี
   ใหผลบวกของเลขโดดสี่จํานวนที่อยูดานเดียวกันมีคาเทากัน จงหาวาจํานวนใดมีผลคูณมากที่สุด




5. จํานวนนับที่มคาตั้งแต 1 ถึง 100 มีผลบวกของจํานวนคี่นอยกวาผลบวกของจํานวนคูเทาใด
                ี

6. แดงและดําอยูหางกัน 255 กิโลเมตร และตั้งใจจะเดินทางมาพบกันโดยตั้งตนเดินทางพรอม ๆ กัน
                
   แดงเดินทางวันแรก 1 กิโลเมตร วันที่สอง 3 กิโลเมตร วันที่สาม 5 กิโลเมตร เชนนี้ไปเรื่อย ๆ
   สวนดําเดินทางวันแรก 20 กิโลเมตร วันที่สอง 19 กิโลเมตร วันที่สาม 18 กิโลเมตร เชนนี้ไปเรื่อย ๆ
   จงหาวาในเวลากี่วนเขาทั้งสองจึงจะพบกัน
                    ั

7. จงหาพจน 4 พจน ของลําดับเลขคณิตที่อยูระหวาง 9 และ 34

8. การแขงขันกีฬาเก็บของ โดยเก็บกอนหิน 10 กอน ซึ่งวางหางกันกอนละ 1 เมตร โดยวางกอนที่ 1
   หางจากจุดเริ่มตน 2 เมตร กอนที่ 10 หางจากเสนชัย 3 เมตร ซึ่งกติกาการแขงขันคือผูเขาแขงขัน
   ตองเก็บกอนทีหนึ่งมาวางไวที่เสนเริ่มตน แลวเก็บกนทีสองมาวางไวที่เสนเริ่มตน ดังนี้เรื่อย ๆ ไป
                  ่                                        ่
   จนครบ 10 กอน แลวจึงนํากอนหินทั้งหมดไปวางไวที่เสนชัย ดังนันถาวิ่งตามกติกาผูแขงขันแตละคน
                                                                      ้
   จะตองวิ่งเปนระยะทางเทาไร

                                                                      กลุม 5 อนุกรมเลขคณิต แกไขวันที่ 20 กันยายน 2547
38

9. กําหนดตัวเลข 10 ถึง 1000 จํานวนที่หารดวย 7 ลงตัวมีกี่จํานวน

10. เด็กคนหนึ่งเรียงลูกหินเปนแถว ๆ เพื่อประกอบรูปสามเหลี่ยม โดยจัดลูกหินแถวบนใหนอยกวาลูกหิน
                                                                                        
ในแถวลาง ๆ ที่อยูติดกันหนึงลูกเสมอ ถาแถวบนสุดมีลกหินเพียงลูกเดียว ซึ่งอยูในตําแหนงของจุดยอด
                            ่                      ู
ของสามเหลี่ยมดวย และเขามีลูกหินอยูทั้งหมด 190 ลูก จงหาวามีลกหินในแถวลางสุดของรูปสามเหลี่ยมกี่ลูก
                                                               ู

11. ถา a, x, y, b เรียงกันเปนลําดับเลขคณิต จงหา x และ y

12. จากอนุกรม 100 + 99 + 98 + 97 + ... ตองการบวก 30 พจน ติดตอกันในอนุกรมนี้ เพื่อใหไดผลบวก
    เทากัน 1, 155 อยากทราบวาจะเริ่มบวกจากพจนทเี่ ทาใด

13. ถา a1, a2, a3, … เปนลําดับเลขคณิตที่มี a3 − a5 + a7 = 8 จงหาผลบวกของ a1 + a2 + … + a9

14. กําหนดให a1, a2, a3, …, a13 เปนลําดับเลขคณิตที่มีผลตางรวมเปน −14 และ a7 = 183
    จงหา a1 + a2 + a3 + …+ a13 มีคาเทาไร

15. กําหนดตัวเลข 200 ถึง 1,000
    1) มีกี่พจนทหารดวย 3 ลงตัว
                 ี่
    2) มีกี่พจนทหารดวย 7 ลงตัว
                    ี่
    3) มีกี่พจนทหารดวย 3 และ 7 ลงตัว
                       ี่

16. ให 5, x, 20, … เปนลําดับเลขคณิตที่ผลบวกของ 12 พจนแรกเปน a และ 5, y, 20, … เปนลําดับ
    เรขาคณิตที่มพจนที่ 6 เปน b โดย y < 0 จงหา a + b
                ี

17. กําหนดให n เปนจํานวนเต็มบวกที่ทําใหผลบวก n พจนแรกของอนุกรมเลขคณิต
                                      2 n + 2 n +1... + 2 2 n
   7 + 15 + 23 ... เทากับ 217 จงหา
                                               28




                                                                  กลุม 5 อนุกรมเลขคณิต แกไขวันที่ 20 กันยายน 2547
39

18. กําหนดให a, b, c เปน 3 พจน เรียงติดกันในลําดับเลขคณิต และมีผลคูณเปน 27 ถา
    a, b + 3, c + 2 เปน 3 พจน เรียงติดกันในลําดับเลขคณิตแลว a + b + c มีคาเทาไร
                                                                            

19. หนังสือเลมหนึ่งมีจํานวนหนาไมเกิน 500 หนา ถูกฉีกออกไป 1 แผน ผลบวกของหนาทั้งหมดที่เหลืออยู
    มีคาเทากับ 19,905 จงหาวาผลบวกของเลขหนาทั้งสองของแผนที่ถูกฉีกออกไปเปนเทาไร

20. หนังสือคณิตศาสตรเลมหนึ่งมีจํานวนหนาไมเกิน 300 หนา ถูกฉีกหนากลางออกไป 1 คู ทําใหผลบวก
    ของหนาที่เหลือมีคาเทากับ 26,103 จงหาวาหนาหนังสือที่ถูกฉีกออกไปเปนหนาอะไรบาง

21. จํานวนลําดับที่ 1,988 ของลําดับตอไปนี้ คือ จํานวนใด
    1, −2, 2, −3, 3, −3, 4, −4, 4, −4, 5, −5, 5, −5, 5, −6, 6, −6, 6, −6, 6,...




                                                                      กลุม 5 อนุกรมเลขคณิต แกไขวันที่ 20 กันยายน 2547
40

                                แนวคิดแบบฝกทักษะอนุกรมเลขคณิต

1. ดวงแกวทํางานบริษัทแหงหนึ่งไดเงินเดือน เดือนแรก 5,000 บาท ไดเงินเดือนขึ้นเดือนละ 150 บาท
   จงหาวาเดือนสุดทายของปที่หาเขาจะไดรับเงินเดือนเทาไร และในหาปเขาจะไดเงินเดือนทั้งหมดเทาไร
   แนวคิด
              ลําดับเงินเดือน 5,000, 5,150, 5,300,…
              จากโจทย a1                    = 5,000 , d = 150, n = 60 (5 ป)
                             an              = a1 + (n −1)d
                             a 60            = 5,000 + (60 −1)(150)
                                             = 5,000 + (59×150)
                                             = 5,000 + 8,850
              เดือนสุดทายของปที่หาไดรบเงินเดือน 13,850 บาท
                                           ั
              หาปเขาจะไดรับเงินเดือนทังหมด s60 = 60 (5,000 + 13,850)
                                         ้                   2
                                                   = 30 × 18,850
                                                   = 565,500 บาท
    ตอบ       565,500 บาท

2. ถา A เปนจํานวนเต็มที่มีคามากกวา 19 2 และนอยกวา 22 2 ซึ่ง 11 หารลงตัวและผลคูณของเลขโดด
   ของ A มีคานอยที่สุด แลว A มีคาเทาใด
   แนวคิด
                      19 2 < A < 22 2

                      คา A ที่เปนไปไดทั้งหมด ไดแก
                      19 × 20, 19 × 21, 19 × 22, 20 × 20, 20 × 21, 20 × 22, 21 × 22
                      จํานวนที่ 11 หารไดลงตัว ไดแก
                      19 × 22 = 418               ผลคูณของเลขโดด 4 × 1 × 8 = 32
                      20 × 22 = 440               ผลคูณของเลขโดด 4 × 4 × 0 = 0
                      21 × 22 = 412               ผลคูณของเลขโดด 4 × 1 × 2 = 8
          ∴ 440 เปนจํานวนที่มีผลคูณของเลขโดดที่มีคานอยที่สุด ดังนั้น A มีคา 440
   ตอบ       440 เปนจํานวนที่มผลคูณของเลขโดดที่มีคานอยที่สุด ดังนั้น A มีคา 440
                                 ี




                                                                    กลุม 5 อนุกรมเลขคณิต แกไขวันที่ 20 กันยายน 2547
41

3. จงหาผลบวกพจนที่ 51 ถึงพจนที่ 60 ของลําดับ 12, 7, 2,...
   แนวคิด
         หาผลบวกของพจนที่ 1 ถึงพจนที่ 60
                     sn     =         n
                                        [2a + (n −1)d ]
                                      2 1
                        s 60     =        60
                                           2
                                             [(2 ×12) + (60 −1)(− 5)]
                             =       30[24 + (59 )(− 5)]

                             =       30(24 − 295)

                             =       30 × (−271)

                             =       - 8,130
          หาผลบวกของพจนที่ 1 ถึงพจนที่ 50
                   s 50      =        50
                                       2
                                          [(2 ×12) + (50 −1)(− 5)]
                            =         25[24 + (49 )(− 5)]

                            =         25(24 − 245)

                            =         25× (−221)

                            =        - 5,525
       ผลบวก พจนที่ 51 ถึงพจนที่ 60 = -8,130 – (-5,525) = -2,605
   ตอบ   -2,605

4. นําเลขโดด 1, 2, 3,…,9 มาจัดลงในตารางที่กําหนดให โดยไมมการใชตัวเลขโดดซ้ํากัน โดยกําหนดให
                                                              ี
   ผลบวกของเลขโดดสี่จํานวนที่อยูบนดานเดียวกันมีคาเทากัน จงหาวาจํานวนใดมีผลคูณมากที่สุด




   แนวคิด
      ผลบวกที่มคานอยที่สุดที่เปนไปไดคือ
                ี
      (45 + 6) ÷ 3 = 17                            ผลบวกทั้งหมดเปน 1 + 2 + ...+ 9 = 45
                                                   ผลบวกที่มีคานอยที่สุดของตัวเลขที่ใชซํากัน
                                                                                           ้
                                                            1+2+3 =6


                                                                        กลุม 5 อนุกรมเลขคณิต แกไขวันที่ 20 กันยายน 2547
42

      ผลบวกที่มีคามากที่สุดที่เปนไปได คือ
      (45 + 24) ÷ 3 = 23                                       ผลบวกที่มคามากที่สุดของตัวเลขที่ใชซ้ํากัน
                                                                         ี
                                                                        9 + 8+ 7 = 24

  ดังนั้น ผลบวกของแตละดานของรูปสามเหลี่ยมทีอาจเปนคําตอบจะอยูในชวง 17, 23
                                             ่                 

                              1                                                                      2

                      5                    7                                                 9                    4

              9                                        6                             5                                     6

      2               8               4                3                     3               1               8             7

                    ผลบวกเปน 17                                                         ผลบวกเปน 19

                          5                                                                      9

                  9                    8                                                 2                    1

          2                                        1                             4                                     8


  4               3               7                6                     6               5               7              3


                    ผลบวกเปน 20                                                         ผลบวกเปน 21
                                                               9

                                                           3             5

                                               4                                     1


                                       7                   6         2               8


                    ผลบวกเปน 23                                   ดังนั้น 9 × 3 × 4 × 7 = 756
ตอบ           756




                                                                                             กลุม 5 อนุกรมเลขคณิต แกไขวันที่ 20 กันยายน 2547
43

5. จํานวนนับที่มคาตั้งแต 1 ถึง 100 มีผลบวกของจํานวนคีนอยกวาผลบวกของจํานวนคูเ ทาใด
                ี                                          ่ 
   แนวคิด
                        1 + 3 + 5 + ... + 99 มีคา 50 จํานวน
                        s 50          =       50
                                               2
                                                  (1− 99)

                                   =     25 × 100
                                   =     2,500
                      2 + 4 + 6 + … + 100 มีคา 50 จํานวน
                      s 50         =      50
                                           2
                                             (1−100)

                                 =      25 × 102
                                 =      2,550
                      ผลบวกจํานวนคี่นอยกวาผลบวกจํานวนคู = 2,500 – 2,500
                                                                = 50
          หรือ        ให A แทนผลบวกของจํานวนคู ตั้งแต 1 ถึง 100
                          A      =      2 + 4 + 6 + …+100
                      ให B แทนผลบวกของจํานวนคี่ ตั้งแต 1 ถึง 100
                          B      =      1 + 3 + 5 + …+99
                          A–B =         (2 – 1) + (4 – 3) + (6 – 5) + ...+(100 + 99)
                                 =      50
   ตอบ       50

6. แดงและดําอยูหางกัน 255 กิโลเมตร และตั้งใจจะเดินทางมาพบกัน โดยตั้งตนเดินทางพรอม ๆ กัน
                
   แดงเดินทางวันแรก 1 กิโลเมตร วันที่สอง 3 กิโลเมตร วันที่สาม 5 กิโลเมตร เชนนี้ไปเรื่อย ๆ
   สวนดําเดินทางวันแรก 20 กิโลเมตร วันที่สอง 19 กิโลเมตร วันที่สาม 18 กิโลเมตร เชนนี้ไปเรื่อย ๆ
   จงหาวาในเวลากี่วันเขาทั้งสองจึงจะพบกัน
   แนวคิด
          ใหแดงและดํา เดินทางมาพบกันเปนเวลา n วัน
          การเดินทางของแดง คือ 1 + 3 + 5 + ... (อนุกรมเลขคณิต)
                              Sn = n [2a1 + (n – 1) d]
                                      2
                                   =   n
                                       2
                                           [(2 ×1) + (n – 1)(2)]
                                   =   n
                                       2
                                           (2n)
                                   = n2


                                                                     กลุม 5 อนุกรมเลขคณิต แกไขวันที่ 20 กันยายน 2547
44

         การเดินทางของดํา คือ 20 + 19 + 18 + ... (อนุกรมเลขคณิต)
                           Sn = n [2a1 + (n – 1) d]
                                    2
                                  =   n
                                      2
                                          [(2 ×20) + (n – 1)(-1)]
                                  =   n
                                      2
                                           (41 - n)
         จากโจทยแดงและดําอยูหางกัน 255 กิโลเมตร
                     จะได        +          = 255 กิโลเมตร
                     n2 + n (41 - n)
                           2
                                             = 255 กิโลเมตร
                      2 n2 + 41 n - n2           = 510 กิโลเมตร
                      (n – 10) (n + 51)          = 0
                      จะได n                    = 10 , -51
             แดงและดําจะพบกันใน 10 วัน
   ตอบ       10 วัน

7. จงหาพจน 4 พจน ของลําดับเลขคณิตที่อยูระหวาง 9 และ 34
   แนวคิด
                     ถา x , 1 , 2 , 3 , …, k , y
                           d = y −1k+
                                       x


                       จากโจทย x = 9 , y = 34 , k = 4
                                     −
                           d = 34+ 19
                                   4
                                 =    25
                                      5
                    ผลตางรวม = 5
             ลําดับเลขคณิต คือ 9 , 14 , 19 , 24 , 29
   ตอบ       9 , 14 , 19 , 24 , 29




                                                                    กลุม 5 อนุกรมเลขคณิต แกไขวันที่ 20 กันยายน 2547
45

8. การแขงขันกีฬาเก็บของ โดยเก็บกอนหิน 10 กอน ซึ่งวางหางกันกอนละ 1 เมตร โดยวางกอนที่ 1
   หางจากจุดเริ่มตน 2 เมตร กอนที่ 10 หางจากเสนชัย 3 เมตร ซึ่งกติกาการแขงขันคือ ผูแขงขันตองเก็บ
   กอนที่หนึ่งมาวางไวท่เี สนเริมตน แลวเก็บกอนที่สองมาไวที่เสนเริ่มตนดังนี้เรื่อยๆ ไป จนครบ 10 กอน
                                  ่
   แลวจึงนํากอนหินทั้งหมดไปวางไวท่เี สนชัย ดังนันถาวิ่งตามกติกาผูแขงขันแตละคนจะตองวิ่งเปน
                                                      ้
   ระยะทางเทาไร

    แนวคิด

  จุดเริ่มตน     2         1        1       1       1       1       1       1       1       1             3             เสนชัย
                        1       2        3       4       5       6       7       8       9       10

                            ให S แทนระยะทางที่วิ่งไดทั้งหมด
                จะได        S = [2(2) + 2(3) + 2(4) + … + 2(11)] + 14
                                 = [2(2 + 3 + 4 + … + 11)] + 14
                                 = 2 [ n (a1 + a10 )] + 14
                                       2
                                    = 2 [ 10 (2 + 11)] + 14
                                           2
                           = 2 (65) + 14
                           = 144
   ∴ ผูแขงขันแตละคนจะตองวิ่งเปนระยะทาง 144 เมตร
ตอบ          144 เมตร

9. กําหนดตัวเลข 10 ถึง 1,000 จํานวนที่หารดวย 7 ลงตัวมีกี่จํานวน
   แนวคิด
                      14 , 21 , 28 , ... , 994
                      a1     = 14 , an = 994 , d = 7
                      an     =       a1 + ( n - 1 ) d
                      994 =          14 + ( n – 1 ) ( 7 )
                      994 =          7n + 7
                      7n     =       987
                      n      =        987
                                       7
                                     =           141         ตัว


                                                                                         กลุม 5 อนุกรมเลขคณิต แกไขวันที่ 20 กันยายน 2547
46

       หรือ
                                          a n − a1
                         n           =        d
                                                   +1
                                          994 −14
                                     =        7
                                                    +1

                                     =    980
                                           7
                                                +1

                                     =    140 + 1
                                     =    141 ตัว
   ตอบ         141 ตัว

10. เด็กคนหนึ่งเรียงลูกหินเปนแถว ๆ เพื่อประกอบรูปสามเหลี่ยม โดยจัดลูกหินในแถวบนใหนอยกวา
    ลูกหินในแถวลางที่อยูตดกันหนึ่งลูกเสมอ ถาแถวบนสุดมีลูกหินเพียงลูกเดียว ซึ่งอยูในตําแหนงของ
                           ิ
    จุดยอดของสามเหลี่ยมดวย และเขามีลูกหินอยูทั้งหมด 190 ลูก จงหาวามีลูกหินในแถวลางสุดของ
    รูปสามเหลี่ยมกี่ลูก
    แนวคิด




                                     O                       O
                                 O                                  O
                             O                                          O
                                         O O O
         ให sn แทนจํานวนลูกหินทังหมด และ n แทนจํานวนแถว
                                 ้
         จากโจทย      sn    =      190 ลูก
                             =      1+2+ 3+...+n
                       sn    =       n
                                       [ 2a + ( n −1) d ]
                                     2 1
                         190         =    n
                                          2
                                            [( 2×1) + ( n −1)(1)]

                         190         =    n
                                          2
                                            ( n +1)

               n2 + n – 360 =         0
          ( n – 19 ) ( n + 20 ) =     0
                        n        =    19 , -20
       จะไดวาเรียงลูกหินไดทั้งหมด 19 ชั้น
   ตอบ      แถวลางสุดของรูปสามเหลี่ยมมีลูกหิน 19 ลูก

                                                                            กลุม 5 อนุกรมเลขคณิต แกไขวันที่ 20 กันยายน 2547
47

11. ถา a , x , y , b เรียงกันเปนลําดับเลขคณิต จงหา x และ y
    แนวคิด
             a , x , y,b             เปนลําดับเลขคณิต
             จะได          a4       =        a1 + 3d   (พจนที่ 4)
                            b        =        a + 3d
                                               b−a
                            d        =          3
              จะได          x        =    a1 + d                (พจนที่ 2)
                                      =    a + b−a3
                                            3a + b − a
                                      =         3
                                            2a + b
                                      =       3
                             y        =    a1 + 2d               (พจนที่ 3)
                                      =    a + 2( b − a )
                                                    3
                                                  2b − 2a
                                      =    a+        3
                                            3a + 2b − 2a
                                      =           3
                                            a + 2b
                                      =       3
               a + 2b
   ตอบ           3


12. จากอนุกรม 100 + 99 + 98 + 97 + . . . ตองการบวก 30 พจน ติดตอกันในอนุกรมนี้ เพื่อใหได
    ผลบวกเทากับ 1,155 อยากทราบวา จะเริ่มบวกจากพจนที่เทาใด
    แนวคิด
                           sn     =        n
                                             [ 2a + ( n −1) d ]
                                           2 1
                             1,155 =        30
                                             2
                                               [ 2a1 + (30 −1)( −1)]

                             1,155 =       15( 2a1 - 29 )
                             1,155 =       30a1 – 435
                             a1    =       53
              ให an = 53
                             an       =    a1 + ( n – 1 ) d
                             53       =    100 + ( n – 1 ) ( -1 )
                             53       =    101 - n
                             N        =    48
   ตอบ        เริ่มบวกจากพจนที่ 48
                                                                       กลุม 5 อนุกรมเลขคณิต แกไขวันที่ 20 กันยายน 2547
48

13. ถา a1 , a2 , a3 , . . . เปนลําดับเลขคณิต ที่มี a3 – a5 + a7 = 8 จงหาผลบวกของ a1 + a2 + . . . + a9
    แนวคิด
               จากโจทย          a3 – a5 + a7                      =     8
               จะได ( a1 + 2d ) – ( a1 + 4d ) + ( a1 + 6d )       =     8
                                 a1 + 2d – a1 – 4d + a1 + 6d       =     8
                                                   a1 + 4d         =     8
                                          a1 + a2 + . . . + a9     =      n
                                                                            [ 2a + ( n −1) d ]
                                                                          2 1
                                                                     =            9
                                                                                  2
                                                                                    [( 2a1 ) + (9 −1)d ]

                                                                     =            9
                                                                                    ( 2 a + 8d )
                                                                                  2 1
                                                                     =            9 ( a1 + 4d )
                                                                     =            9×8
                                                                     =            72
      ตอบ       72

14. กําหนดให a1 , a2 , a3 , . . . , a13 เปนลําดับเลขคณิตที่มีผลตางรวมเปน -14 และ a7 = 183
    จงหา a1 + a2 + a3 + . . . + a13 มีคาเทาไร
    แนวคิด
                                an       =      a1 + ( n – 1 ) d
                                a7       =      a1 + ( 7 – 1 ) d
                                183 =           a1 + 6 ( -14 )
                                183 =           a1 – 84
                                 a1 =           267
                                Sn       =       n
                                                   [ 2a + ( n −1) d ]
                                                 2 1
                                S13     =       13
                                                 2
                                                   [( 2 × 267) + (13 −1)( −14)]

                                        =       13
                                                 2
                                                   (534 −168)

                                        =       13
                                                 2
                                                   × 366

                                        =       2379
      ตอบ       2,379




                                                                           กลุม 5 อนุกรมเลขคณิต แกไขวันที่ 20 กันยายน 2547
49

15. กําหนดตัวเลข 200 ถึง 1,000
    1) มีกี่พจนทหารดวย 3 ลงตัว
                   ี่
    2) มีกี่พจนทหารดวย 7 ลงตัว
                      ่ี
    3) มีกี่พจนทหารดวย 3 และ 7 ลงตัว
                         ี่
    แนวคิด
       แนวคิด 1)
              มีกี่พจนทหารดวย 3 ลงตัว
                             ี่
                            1000
                                3
                                  = 333.3ํ            333
                                                            -         n = 333 – 66 = 267
                      200
                       3
                             =       66.6ํ            66
              ดังนั้น มี 267 พจนที่หารดวย 3 ลงตัว
       แนวคิด 2)
              มีกี่พจนทหารดวย 7 ลงตัว
                         ี่
                        1000
                            7
                              =      142.9          142
                                                            -           n = 142 - 28 = 114
                      200
                       7
                             =       28.6             28
              ดังนั้น มี 114 พจนที่หารดวย 7 ลงตัว

       แนวคิด 3)
              มีกี่พจนทหารดวย 3 และ 7 ลงตัว
                         ี่
              ค.ร.น. ของ 3 และ 7 คือ 21
                        1000
                            21
                               =    47.6              47
                                                            -              n = 47 – 9 = 38
                      200
                       21
                             =       9.5              9
              ดังนั้น มี 38 พจน ที่หารดวย 3 และ 7 ลงตัว
       ตอบ    267 พจนที่หารดวย 3 ลงตัว
              114 พจนที่หารดวย 7 ลงตัว
                38 พจน ทีหารดวย 3 และ 7 ลงตัว
                           ่




                                                                กลุม 5 อนุกรมเลขคณิต แกไขวันที่ 20 กันยายน 2547
50

16. ให 5 , x , 20 , . . . เปนลําดับเลขคณิต มีผลบวกของ 12 พจนแรก เปน a และ 5 , y , 20 , . . .
    เปนลําดับเรขาคณิต ที่มพจนที่ 6 เปน b โดย y < 0 จงหา a + b
                           ี
    แนวคิด
               ให 5 , x , 20 , . . . มีผลบวกของ 12 พจนแรก เปน a
                                          d = x-5 =                       20 - x
                                                2x              =         25
                                                 x              =         12.5
                      แสดงวา          d = 12.5 – 5 = 7.5
                      จากสูตร          Sn    =       n
                                                       [ 2a + ( n −1) d ]
                                                     2 1
                                      S12     =       12
                                                       2
                                                         [ 2(5) + 11( 7.5)]

                                      a        =      6 ( 10 + 82.5 )
                             จะได a           =      555
           จากโจทย 5 , y , 20 , . . . เปนลําดับเรขาคณิต ที่มีพจนที่ 6 เปน b โดย y < 0
                             จะได                r = 5 =  y             20
                                                                          y

                                                     y2          =            100
                                                     y           =            - 10       เนื่องจาก y < 0
                      แสดงวา                        r           =            −10
                                                                               5
                                                                 =            -2
                      จากสูตร                        an          =            a1r n −1

                                                     a6          =            5 ( -2 )6-1
                                                     b           =            5 ( -2 )5
                                                     b           =            -160
         ดังนั้น a + b เทากับ 555 – 160                         =            395
     ตอบ     395




                                                                       กลุม 5 อนุกรมเลขคณิต แกไขวันที่ 20 กันยายน 2547
51

17. กําหนดให n เปนจํานวนเต็มบวก ที่ทําใหผลบวก n พจนแรกของอนุกรมเลขคณิต
                                                        2 n + 2 n+1 + ... + 2 2 n
     7 + 15 + 23 + . . . เทากับ 217 จงหา
                                                                  28
     แนวคิด
                                                Sn      =            n
                                                                       [2a + ( n − 1)d ]
                                                                     2 1
                                                217     =            n
                                                                     2
                                                                       [( 2 + 7 ) + ( n −1)(8)]

                           4n2 + 3n – 217        =                  0
                            ( 4n + 31 )( n – 7 ) =                  0
                                         n       =                  7
                        2 n + 2 n+1 + ... + 2 2 n
                                                        =           27 + 28 + . . . + 214
                                  28
                                                        =    2-1 + 20 + 21 + 22 + 23 + 24 + 25 + 26
                                                             เปนอนุกรมเรขาคณิต
                                                      -1
                                                a1 = 2 , r = 2
                                                              a1 (1 − r 4)
                                                Sn     =        1− r
                                                                     2 −1 (1 − 2 8 )
                                                        =               1− 2
                                                        =           127.5
     ตอบ       127.5

18. กําหนดให a , b , c เปน 3 พจน เรียงติดกันในลําดับเลขคณิต และมีผลคูณเปน 27
    ถา a , b + 3 , c + 2 เปน 3 พจน เรียงติดกันในลําดับเลขคณิตแลว a + b + c มีคาเทาไร
    แนวคิด
                              a , b , c เปนลําดับเลขคณิต
                                       b
                                       a
                                              =        c
                                                       b
                                        b2      =        ac
               นํา b คูณทั้ง 2 ขาง b3          =        abc
                                        b3      =        27    (b=3)
                                        a , b + 3 , c + 2 เปนลําดับเลขคณิต
                               (b + 3) – a      =        (c+2)–(b+3)
                               a – 2b + c       =        4




                                                                                       กลุม 5 อนุกรมเลขคณิต แกไขวันที่ 20 กันยายน 2547
52

               แทนคา b         a–6+c            =      4
                                 a+c             =      10
                                a+b+c            =      10 + 3
                                                 =      13
     ตอบ       13

19. หนังสือเลมหนึ่งมีจํานวนหนาไมเกิน 500 หนา ถูกฉีกออกไป 1 แผน ผลบวกของหนาทั้งหมด
    ที่เหลืออยูมีคาเทากับ 19,905 จงหาวา ผลบวกของเลขหนาทั้งสองของแผนที่ถูกฉีกออกไปเปนเทาไร
    แนวคิด
            สมมุติหนังสือ มี n            หนา
            ∴ ผลบวกของหนาทั้งหมด                     = 1+2+3+...+ n
                                                      = n(n2+1)
                                                       n < 500
           เนื่องจากถูกฉีกออกไป 1 แผน
                                                         n(n + 1)
           ดังนั้น จะหาคา n ที่นอยทีสุดที่จะทําให
                                      ่                     2
                                                                    มากกวา 19905
           พบวา ถา n                    = 300
                            n(n + 1)
                               2
                                          = 300(300 + 1)
                                                 2
                                          = 45,150 มากไป
           ดังนั้น ถา n                  = 200
                            n(n + 1)
                               2
                                          = 200(200 + 1)
                                                   2
                                 = 20,100
      ∴ ผลบวกของเลขหนาของสองหนาที่ถูกฉีกไป คือ 20,100 − 19,905 = 195
     ตอบ   195




                                                                     กลุม 5 อนุกรมเลขคณิต แกไขวันที่ 20 กันยายน 2547
53

20. หนังสือคณิตศาสตรเลมหนึ่งมีจํานวนหนาไมเกิน 300 หนา ถูกฉีกหนากลางออกไป 1 คู ทําใหผลบวก
    ของหนาที่เหลือมีคาเทากับ 26,103 จงหาวาหนาหนังสือที่ถูกฉีกออกไปเปนหนาอะไรบาง
    แนวคิด
          สมมุติหนังสือมี        n หนา
          ∴ ผลบวกของหนังสือหนาทั้งหมด = 1 + 2 + 3 + . . . + n
                                                = n(n2+ 1)
                                                               n < 300
               เนื่องจากหนังสือถูกฉีกไป 1 คู
                                                                             n(n + 1)
               ดังนั้น จะหาคา n ที่มีคานอยที่สุดที่ทาให
                                                       ํ                        2
                                                                                          มากกวา 26,103
                                                                             n(n + 1)                  230(230 + 1)
               จากการสุม พบวา เมื่อ n = 230 จะได                             2
                                                                                              =             2
           ดังนั้น เลขหนาคูกลางมีผลรวมเปน 26,565 - 26,103     = 462
           แสดงวา หนากลางมีผลรวม                               = 231
           แตหนาคูกลางมีผลรวมตางกันอยู 1 จะได A + ( A + 1 ) = 231
                     
           ∴ A = 115 ดังนั้นเลขหนาคูกลาง คือ 114 , 115 , 116 และ 117
                                            
       ตอบ     หนาหนังสือที่ถกฉีกออกคือ 114 , 115 , 116 และ 117
                               ู

21. จํานวนลําดับที่ 1,988 ของลําดับตอไปนี้ คือ จํานวนใด
    1 , -2 , 2 , -3 , 3 , -3 , 4 , -4 , 4 , -4 , 5 , -5 , 5 , -5 , 5 , -6 , 6 , -6 , 6 , -6 , 6 , . . .
    แนวคิด
                  สังเกตวา พจนคจะเปนลบเสมอ
                                      ู
                  ตองหาจํานวนที่อยูระหวาง 1,988 จากสมการ n(n2+ 1)
                                                                     62(62 + 1)
                     สุมจํานวน ถา n = 62 จะได =                       2
                                                                                   = 1,953 ( ไมถึง )
                                                                      63(63 + 1)
                                    ถา n = 63 จะได =                    2
                                                                                    = 2,016
                     จากการสุม n = 62 หมายความวา 62 จํานวนสุดทายสิ้นสุดที่ลําดับที่ 1,953
                     และคาดวา 63 จํานวนแรกเริ่มตนที่ ลําดับที่ 1,954 และไปสิ้นสุดทีลําดับที่ 2,016
                                                                                     ่
                     เพราะฉะนั้น ลําดับที่ 1,988 คือจํานวน 63
       ตอบ           63




                                                                                         กลุม 5 อนุกรมเลขคณิต แกไขวันที่ 20 กันยายน 2547

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

เฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลเฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลkrurutsamee
 
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6KruGift Girlz
 
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบแบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบMike Polsit
 
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากวรรณิภา ไกรสุข
 
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการบทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการsawed kodnara
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดคุณครูพี่อั๋น
 
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนามข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนามทับทิม เจริญตา
 
การจัดหมู่
การจัดหมู่การจัดหมู่
การจัดหมู่supamit jandeewong
 
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตโจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตKuntoonbut Wissanu
 
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลาคณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลาพัน พัน
 
ค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มkruminsana
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวkroojaja
 
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 

La actualidad más candente (20)

เฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลเฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
 
ลำดับเรขาคณิต (Geometric sequence)
ลำดับเรขาคณิต (Geometric sequence)ลำดับเรขาคณิต (Geometric sequence)
ลำดับเรขาคณิต (Geometric sequence)
 
49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์
49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์
49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์
 
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
 
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบแบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
 
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
 
อนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิต อนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิต
 
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการบทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
 
หน่วย 3
หน่วย 3 หน่วย 3
หน่วย 3
 
กรณฑ์ที่สอง
กรณฑ์ที่สองกรณฑ์ที่สอง
กรณฑ์ที่สอง
 
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนามข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
 
การจัดหมู่
การจัดหมู่การจัดหมู่
การจัดหมู่
 
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตโจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
 
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลาคณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
 
ค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.ม
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
ลำดับเลขคณิต (Arithmetic sequence)
ลำดับเลขคณิต (Arithmetic sequence)ลำดับเลขคณิต (Arithmetic sequence)
ลำดับเลขคณิต (Arithmetic sequence)
 
เลขยกกำลัง
เลขยกกำลังเลขยกกำลัง
เลขยกกำลัง
 
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
 

Similar a 5.7อนุกรมเลขคณิตแก้ไข

ลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรมลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรมrdschool
 
ลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรมลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรมrdschool
 
ลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรมลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรมrdschool
 
อนุกรมเรขาคณิต
อนุกรมเรขาคณิตอนุกรมเรขาคณิต
อนุกรมเรขาคณิตaoynattaya
 
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57krurutsamee
 
ลำดับเลขคณิต 2
ลำดับเลขคณิต 2ลำดับเลขคณิต 2
ลำดับเลขคณิต 2aoynattaya
 
ใบงานสมการ
ใบงานสมการใบงานสมการ
ใบงานสมการkanjana2536
 
Chapter2 ลำดับ
Chapter2 ลำดับChapter2 ลำดับ
Chapter2 ลำดับPumPui Oranuch
 
ลำดับและอนุกรม Sequences & Series
ลำดับและอนุกรม Sequences & Seriesลำดับและอนุกรม Sequences & Series
ลำดับและอนุกรม Sequences & SeriesChomsurangUpathamSchool
 
Sheet arithmetic series
Sheet  arithmetic  seriesSheet  arithmetic  series
Sheet arithmetic seriesseelopa
 
ชุดที่ 1 59-ลำดับและอนุกรม-p1-p48-blog
ชุดที่ 1 59-ลำดับและอนุกรม-p1-p48-blogชุดที่ 1 59-ลำดับและอนุกรม-p1-p48-blog
ชุดที่ 1 59-ลำดับและอนุกรม-p1-p48-blogSutthi Kunwatananon
 
Sheet series
Sheet  seriesSheet  series
Sheet seriesseelopa
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงRitthinarongron School
 

Similar a 5.7อนุกรมเลขคณิตแก้ไข (20)

ลำดับเลขคณิต (Arithmetic sequence)
ลำดับเลขคณิต (Arithmetic sequence)ลำดับเลขคณิต (Arithmetic sequence)
ลำดับเลขคณิต (Arithmetic sequence)
 
ลำดับเลขคณิต (Arithmetic sequence)
ลำดับเลขคณิต (Arithmetic sequence)ลำดับเลขคณิต (Arithmetic sequence)
ลำดับเลขคณิต (Arithmetic sequence)
 
ลำดับเลขคณิต
ลำดับเลขคณิตลำดับเลขคณิต
ลำดับเลขคณิต
 
ลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรมลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรม
 
ลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรมลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรม
 
ลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรมลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรม
 
ลำดับ11
ลำดับ11ลำดับ11
ลำดับ11
 
อนุกรมเรขาคณิต
อนุกรมเรขาคณิตอนุกรมเรขาคณิต
อนุกรมเรขาคณิต
 
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
 
ลำดับเลขคณิต 2
ลำดับเลขคณิต 2ลำดับเลขคณิต 2
ลำดับเลขคณิต 2
 
ใบงานสมการ
ใบงานสมการใบงานสมการ
ใบงานสมการ
 
P2a
P2aP2a
P2a
 
Chapter2 ลำดับ
Chapter2 ลำดับChapter2 ลำดับ
Chapter2 ลำดับ
 
ลำดับและอนุกรม Sequences & Series
ลำดับและอนุกรม Sequences & Seriesลำดับและอนุกรม Sequences & Series
ลำดับและอนุกรม Sequences & Series
 
Sheet arithmetic series
Sheet  arithmetic  seriesSheet  arithmetic  series
Sheet arithmetic series
 
ชุดที่ 1 59-ลำดับและอนุกรม-p1-p48-blog
ชุดที่ 1 59-ลำดับและอนุกรม-p1-p48-blogชุดที่ 1 59-ลำดับและอนุกรม-p1-p48-blog
ชุดที่ 1 59-ลำดับและอนุกรม-p1-p48-blog
 
Math4
Math4Math4
Math4
 
Math1
Math1Math1
Math1
 
Sheet series
Sheet  seriesSheet  series
Sheet series
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
 

5.7อนุกรมเลขคณิตแก้ไข

  • 1. 28 อนุกรมเลขคณิต วัตถุประสงค 1. นักเรียนสามารถสังเกต วิเคราะห เชื่อมโยงความสัมพันธของตัวเลข 2. นักเรียนสามารถจัดลําดับและหาอนุกรมของจํานวนได 3. นักเรียนสามารถนําอนุกรมเลขคณิตไปประยุกตใชในชีวตจริงได ิ ความพรอม 1. ระบบจํานวน 2. เลขยกกําลัง 3. สมการ 4. ตัวแปร สาระสําคัญ ลําดับ (Sequences) หมายถึง จํานวนหรือพจนที่เขียนเรียงกันภายใตกฎเกณฑอยางใดอยางหนึ่ง ลําดับทั่วๆ ไปแบงเปน 2 ชนิดคือ 1. ลําดับจํากัด คือลําดับซึ่งมีจํานวนพจนจํากัด เชน 1, 3, 5, 7, . . ., 19 2. ลําดับอนันต คือ ลําดับซึ่งมีจํานวนพจนไมจํากัด เชน 1, 3, 5, 7, . . . ชนิดของลําดับ 1. ลําดับเลขคณิต หมายถึง ลําดับซึ่งมีผลตางระหวางพจนที่ n + 1 กับ มีคาคงตัว คาคงตัวนี้ เรียกวา “ผลตางรวม” เขียนแทนดวย d ให a1 , a2, a3 , . . . เปนลําดับเลขคณิต ผลตางระหวางพจนที่ n+1 กับพจนที่ n คา d d = a2 − a1 = a3 − a2 = a4 − a3 = a5 − a4 ดังนั้น a1 , a1 + d , a1 + 2d , a1 + 3d , a1 + 4d , .... เปนพจนที่ 1 2 3 4 5 ถา an เปนพจนทั่วไปของลําดับเลขคณิต an = a1 + (n −1)d กลุม 5 อนุกรมเลขคณิต แกไขวันที่ 20 กันยายน 2547
  • 2. 29 วิธีการนําเสนอ ตัวอยาง จงหาพจนที่ 15 ของลําดับ -5 , -1, 3, 7, 11,… วิธีทํา a n = a1 + (n −1)d จากโจทย a1 = −5 , n = 15 , d = −1− (−5) = −1+ 5 = 4 ดังนั้น a 15 = −5 + (15 − 1)4 = −5 + (14 × 4) = −5+ 56 พจนที่ 15 ของลําดับ = 51 ตัวอยาง กําหนดลําดับเลขคณิตหนึ่ง มีพจนที่ 5 เปน 29 และ พจนที่ 51 เปน 397 จงหาพจนที่ 1 ถึง พจนที่ 4 วิธีทํา (พจนที่ 5 หรือ a 5 ) a1 + 4d = 29 (พจนท่ี 51 หรือ a 51 ) a1 + 50d = 397 - (a1 + 50d )− (a1 + 4d ) = 397 - 29 a1 + 50d − a1 − 4d = 368 46d = 368 d = 368 46 d = 8 แทนคา d ดวย 8 ใน a1 + 4d = 29 a1 + (4× 8) = 29 a1 = 29 - 32 = -3 ดังนั้นพจนที่ 1 คือ a 1 = -3 ดังนั้นพจนที่ 2 คือ a 1 + d = −3 + 8 = 5 ดังนั้นพจนที่ 3 คือ a1 + 2d = −3 + (2×8) = 13 ดังนั้นพจนที่ 4 คือ a1 + 3d = −3 + (3×8) = 21 พจนที่ 1 ถึงพจนที่ 4 คือ -3, 5, 13, 21 กลุม 5 อนุกรมเลขคณิต แกไขวันที่ 20 กันยายน 2547
  • 3. 30 แบบฝกทักษะ 1. จงหาพจนที่ 20 ของลําดับ -13, -9, -5, -1, 3, … 2. ลําดับเลขคณิตลําดับหนึ่ง มีพจนที่ 10 เปน -28 และพจนที่ 12 เปน -50 จงหาผลบวกของพจนที่ 5 กับพจนที่ 6 เฉลยแบบฝกทักษะ 1. จงหาพจนที่ 20 ของลําดับ -13, -9, -5, -1, 3, … แนวคิด a n = a1 + (n −1)d จากโจทย a 1 = -13, n = 20, d = -9- (-13) = -9 +13 = 4 ดังนั้น a 20 = -13 + (20-1) 4 = -13 + (19 x 4) = -13 + 76 พจนที่ 20 ของลําดับ = 63 ตอบ 63 2. ลําดับเลขคณิตลําดับหนึ่ง มีพจนที่ 10 เปน -28 และพจนที่ 12 เปน -50 จงหาผลบวกของพจนที่ 5 กับพจนที่ 6 แนวคิด (พจนที่ 10 หรือ a 10 ) a1 + 9d = -28 (พจนท่ี 12 หรือ a 12 ) a1 +11d = -50 - (a1 +11d )− (a1 + 9d ) = - 50 - (-28) a1 +11d − a1 − 9d = - 50 + 28 2d = - 22 d = −2 22 = - 11 กลุม 5 อนุกรมเลขคณิต แกไขวันที่ 20 กันยายน 2547
  • 4. 31 แทนคา d ดวย -11 ใน a1 + 9d = - 28 a1 + [9 × (−11)] = - 28 a1 − 99 = - 28 a1 = - 28 + 99 = 71 ดังนั้น a5 = a1 + 4d = 71 + [4 × (− 11)] = 71 – 44 = 27 a6 = a1 + 5d = 71+ [5× (−11)] = 71 – 55 = 16 a5 + a6 = 27 + 16 = 43 ตอบ 43 2. ลําดับอื่น ๆ 2.1 ลําดับหลายชั้น เปนเลขอนุกรม มีคาความแตกตางระหวางตัวเลขมีลักษณะเปนเลขอนุกรมดวย เชน 256 233 208 181 152 121 -23 -25 -27 -29 -31 -2 -2 -2 -2 5 10 30 120 600 3600 x2 x3 x4 x5 x6 +1 +1 +1 +1 17 20 28 45 75 122 +3 +8 +17 +30 +47 +5 +9 +13 +17 +4 +4 +4 กลุม 5 อนุกรมเลขคณิต แกไขวันที่ 20 กันยายน 2547
  • 5. 32 2.2 ลําดับเวนระยะ คือ เลขอนุกรม ซึ่งประกอบดวยอนุกรมมากกวา 1 ซอนกันอยูภายใน  โจทยเดียวกัน เชน -3 -3 7 11 11 8 15 5 19 +4 +4 +4 2.3 ลําดับแบบมีคาแตกตางเปนชุด อนุกรมแบบนี้ เกิดจากคาความแตกตางที่เปนชุด คือหลายตัว ประกอบขึ้นมาและใชคาแตกตางที่เปนชุดดังกลาวในการพิจารณาเลขอนุกรมลําดับถัดไป เชน 5 20 30 120 130 520 530 ×4 +10 ×4 +10 ×4 +10 2.4 ลําดับยกกําลัง เปนเลขอนุกรม ซึ่งเกิดจากการยกกําลังของตัวเลขตาง ๆ หรืออาจเกิดจาก คาความแตกตางที่อาจเปนเลขยกกําลัง เชน 100 512 1,296 1,024 64 10 2 83 64 45 26 10 91 42 67 58 59 +81 -49 +25 -9 +1 92 72 52 32 12 กลุม 5 อนุกรมเลขคณิต แกไขวันที่ 20 กันยายน 2547
  • 6. 33 แบบฝกทักษะ 1. จงหาลําดับของจํานวนถัดไป 5 -10 20 -40 2. จงหาลําดับของจํานวนถัดไป 108 43 100 39 92 3. จงหาลําดับของจํานวนถัดไป 25 29 13 49 กลุม 5 อนุกรมเลขคณิต แกไขวันที่ 20 กันยายน 2547
  • 7. 34 เฉลยแบบฝกทักษะ 1. จงหาลําดับของจํานวนถัดไป 5 -10 20 -40 ________ _________ แนวคิด ×4 ×4 5 -10 20 -40 80 -160 ×4 ×4 ตอบ ลําดับของจํานวนถัดไปคือ 80 และ -160 2. จงหาลําดับของจํานวนถัดไป 108 43 100 39 92 _______ _________ แนวคิด -4 -4 100 43 100 39 92 35 84 -8 -8 -8 ตอบ ลําดับของจํานวนถัดไปคือ 35 และ 84 3. จงหาลําดับของจํานวนถัดไป 25 29 13 49 แนวคิด 25 29 13 49 -15 85 +4 -16 +36 -64 +100 22 42 62 82 10 2 ตอบ ลําดับของจํานวนถัดไปคือ -15 และ 84 กลุม 5 อนุกรมเลขคณิต แกไขวันที่ 20 กันยายน 2547
  • 8. 35 อนุกรมเลขคณิต คือ ผลบวก ของลําดับเลขคณิต เชน a1 + a2 + a3 + a4 + ... + an + ... ให เปนผลบวก s n เปนผลบวก n พจนแรกของลําดับเลขคณิต s n = a1 + a2 + a3 + ... + an สูตรผลบวก n พจนแรกของลําดับเลขคณิต sn = n [2a1 + (n −1)d ] 2 หรือ sn = n (a1 + an ) 2 ตัวอยาง จงหาผลบวกของ 1 + 2 + 3 + … 200 แนวคิด จากโจทย a1 = 1 , an = 200 , n = 200 sn = n (a + an ) 2 1 sn = 200 2 (1+ 200) = 100 + 201 = 20,100 ตัวอยาง จงหาผลบวกของเลขคี่ตั้งแต 1 ถึง 200 แนวคิด จากโจทย 1 + 3 + 5 + 7 +…+199 a1 = 1 , a n = 199 , n = 100 sn = n (a1 + an ) 2 s100 = 100 2 (1+199) = 50 × 200 = 10,000 กลุม 5 อนุกรมเลขคณิต แกไขวันที่ 20 กันยายน 2547
  • 9. 36 แบบฝกทักษะ 1. จงหาผลบวกของเลขคูต้งแต 1 ถึง 200 ั 2. จงหาผลบวก 50 พจนแรกของลําดับ 12, 7, 2, … เฉลยแบบฝกทักษะ 1. จงหาผลบวกของเลขคูต้งแต 1 ถึง 200 ั แนวคิด จากโจทย 2 + 4 + 6 +8 + … + 200 a1 = 2 , a n = 200 , n = 100 sn = n (a1 + an ) 2 s100 = 100 2 (2 + 200) = 50× 202 = 10,100 ตอบ ผลบวกของเลขคูต้งแต 1 ถึง 200 คือ 10,100 ั 2. จงหาผลบวก 50 พจนแรกของลําดับ 12, 7, 2, … แนวคิด sn n [2a + (n −1)d ] 2 1 a1 = 12 , n = 50 , d = 7−2 = −5 s50 = 50 2 [(2 ×12) + (50 −1)(− 5)] = 25[24 + (49 × (− 5))] = 25(24 − 245) = 25× (−221) = −5,525 ตอบ ผลบวก 50 พจนแรกของลําดับ 12, 7, 2,... คือ −5,525 กลุม 5 อนุกรมเลขคณิต แกไขวันที่ 20 กันยายน 2547
  • 10. 37 แบบฝกทักษะ 1. ดวงแกวทํางานบริษัทแหงหนึ่งไดเงินเดือน เดือนแรก 5,000 บาท ไดเงินเดือนขึ้นเดือนละ 150 บาท จงหาวาเดือนสุดทายของปที่หาเขาจะไดรับเงินเดือนเทาไร และในหาปเขาจะไดเงินเดือนทั้งหมดเทาไร 2. ถา A เปนจํานวนเต็มที่มีคามากกวา 192 และนอยกวา 222 ซึ่ง 11 หารลงตัว และผลคูณของเลขโดด  ของ A มีคานอยที่สุดแลว A มีคาเทาใด 3. จงหาผลบวกพจนที่ 51 คาพจนที่ 60 ของลําดับ 12, 7, 2... 4. นําเลขโดด 1, 2, 3,..., 9 มาจัดวางลงในวงกลมที่กําหนดให โดยไมมการใชตัวเลขโดดซ้ํากัน โดยกําหนด ี ใหผลบวกของเลขโดดสี่จํานวนที่อยูดานเดียวกันมีคาเทากัน จงหาวาจํานวนใดมีผลคูณมากที่สุด 5. จํานวนนับที่มคาตั้งแต 1 ถึง 100 มีผลบวกของจํานวนคี่นอยกวาผลบวกของจํานวนคูเทาใด ี 6. แดงและดําอยูหางกัน 255 กิโลเมตร และตั้งใจจะเดินทางมาพบกันโดยตั้งตนเดินทางพรอม ๆ กัน  แดงเดินทางวันแรก 1 กิโลเมตร วันที่สอง 3 กิโลเมตร วันที่สาม 5 กิโลเมตร เชนนี้ไปเรื่อย ๆ สวนดําเดินทางวันแรก 20 กิโลเมตร วันที่สอง 19 กิโลเมตร วันที่สาม 18 กิโลเมตร เชนนี้ไปเรื่อย ๆ จงหาวาในเวลากี่วนเขาทั้งสองจึงจะพบกัน ั 7. จงหาพจน 4 พจน ของลําดับเลขคณิตที่อยูระหวาง 9 และ 34 8. การแขงขันกีฬาเก็บของ โดยเก็บกอนหิน 10 กอน ซึ่งวางหางกันกอนละ 1 เมตร โดยวางกอนที่ 1 หางจากจุดเริ่มตน 2 เมตร กอนที่ 10 หางจากเสนชัย 3 เมตร ซึ่งกติกาการแขงขันคือผูเขาแขงขัน ตองเก็บกอนทีหนึ่งมาวางไวที่เสนเริ่มตน แลวเก็บกนทีสองมาวางไวที่เสนเริ่มตน ดังนี้เรื่อย ๆ ไป ่ ่ จนครบ 10 กอน แลวจึงนํากอนหินทั้งหมดไปวางไวที่เสนชัย ดังนันถาวิ่งตามกติกาผูแขงขันแตละคน ้ จะตองวิ่งเปนระยะทางเทาไร กลุม 5 อนุกรมเลขคณิต แกไขวันที่ 20 กันยายน 2547
  • 11. 38 9. กําหนดตัวเลข 10 ถึง 1000 จํานวนที่หารดวย 7 ลงตัวมีกี่จํานวน 10. เด็กคนหนึ่งเรียงลูกหินเปนแถว ๆ เพื่อประกอบรูปสามเหลี่ยม โดยจัดลูกหินแถวบนใหนอยกวาลูกหิน  ในแถวลาง ๆ ที่อยูติดกันหนึงลูกเสมอ ถาแถวบนสุดมีลกหินเพียงลูกเดียว ซึ่งอยูในตําแหนงของจุดยอด ่ ู ของสามเหลี่ยมดวย และเขามีลูกหินอยูทั้งหมด 190 ลูก จงหาวามีลกหินในแถวลางสุดของรูปสามเหลี่ยมกี่ลูก ู 11. ถา a, x, y, b เรียงกันเปนลําดับเลขคณิต จงหา x และ y 12. จากอนุกรม 100 + 99 + 98 + 97 + ... ตองการบวก 30 พจน ติดตอกันในอนุกรมนี้ เพื่อใหไดผลบวก เทากัน 1, 155 อยากทราบวาจะเริ่มบวกจากพจนทเี่ ทาใด 13. ถา a1, a2, a3, … เปนลําดับเลขคณิตที่มี a3 − a5 + a7 = 8 จงหาผลบวกของ a1 + a2 + … + a9 14. กําหนดให a1, a2, a3, …, a13 เปนลําดับเลขคณิตที่มีผลตางรวมเปน −14 และ a7 = 183 จงหา a1 + a2 + a3 + …+ a13 มีคาเทาไร 15. กําหนดตัวเลข 200 ถึง 1,000 1) มีกี่พจนทหารดวย 3 ลงตัว ี่ 2) มีกี่พจนทหารดวย 7 ลงตัว ี่ 3) มีกี่พจนทหารดวย 3 และ 7 ลงตัว ี่ 16. ให 5, x, 20, … เปนลําดับเลขคณิตที่ผลบวกของ 12 พจนแรกเปน a และ 5, y, 20, … เปนลําดับ เรขาคณิตที่มพจนที่ 6 เปน b โดย y < 0 จงหา a + b ี 17. กําหนดให n เปนจํานวนเต็มบวกที่ทําใหผลบวก n พจนแรกของอนุกรมเลขคณิต 2 n + 2 n +1... + 2 2 n 7 + 15 + 23 ... เทากับ 217 จงหา 28 กลุม 5 อนุกรมเลขคณิต แกไขวันที่ 20 กันยายน 2547
  • 12. 39 18. กําหนดให a, b, c เปน 3 พจน เรียงติดกันในลําดับเลขคณิต และมีผลคูณเปน 27 ถา a, b + 3, c + 2 เปน 3 พจน เรียงติดกันในลําดับเลขคณิตแลว a + b + c มีคาเทาไร  19. หนังสือเลมหนึ่งมีจํานวนหนาไมเกิน 500 หนา ถูกฉีกออกไป 1 แผน ผลบวกของหนาทั้งหมดที่เหลืออยู มีคาเทากับ 19,905 จงหาวาผลบวกของเลขหนาทั้งสองของแผนที่ถูกฉีกออกไปเปนเทาไร 20. หนังสือคณิตศาสตรเลมหนึ่งมีจํานวนหนาไมเกิน 300 หนา ถูกฉีกหนากลางออกไป 1 คู ทําใหผลบวก ของหนาที่เหลือมีคาเทากับ 26,103 จงหาวาหนาหนังสือที่ถูกฉีกออกไปเปนหนาอะไรบาง 21. จํานวนลําดับที่ 1,988 ของลําดับตอไปนี้ คือ จํานวนใด 1, −2, 2, −3, 3, −3, 4, −4, 4, −4, 5, −5, 5, −5, 5, −6, 6, −6, 6, −6, 6,... กลุม 5 อนุกรมเลขคณิต แกไขวันที่ 20 กันยายน 2547
  • 13. 40 แนวคิดแบบฝกทักษะอนุกรมเลขคณิต 1. ดวงแกวทํางานบริษัทแหงหนึ่งไดเงินเดือน เดือนแรก 5,000 บาท ไดเงินเดือนขึ้นเดือนละ 150 บาท จงหาวาเดือนสุดทายของปที่หาเขาจะไดรับเงินเดือนเทาไร และในหาปเขาจะไดเงินเดือนทั้งหมดเทาไร แนวคิด ลําดับเงินเดือน 5,000, 5,150, 5,300,… จากโจทย a1 = 5,000 , d = 150, n = 60 (5 ป) an = a1 + (n −1)d a 60 = 5,000 + (60 −1)(150) = 5,000 + (59×150) = 5,000 + 8,850 เดือนสุดทายของปที่หาไดรบเงินเดือน 13,850 บาท ั หาปเขาจะไดรับเงินเดือนทังหมด s60 = 60 (5,000 + 13,850) ้ 2 = 30 × 18,850 = 565,500 บาท ตอบ 565,500 บาท 2. ถา A เปนจํานวนเต็มที่มีคามากกวา 19 2 และนอยกวา 22 2 ซึ่ง 11 หารลงตัวและผลคูณของเลขโดด ของ A มีคานอยที่สุด แลว A มีคาเทาใด แนวคิด 19 2 < A < 22 2 คา A ที่เปนไปไดทั้งหมด ไดแก 19 × 20, 19 × 21, 19 × 22, 20 × 20, 20 × 21, 20 × 22, 21 × 22 จํานวนที่ 11 หารไดลงตัว ไดแก 19 × 22 = 418 ผลคูณของเลขโดด 4 × 1 × 8 = 32 20 × 22 = 440 ผลคูณของเลขโดด 4 × 4 × 0 = 0 21 × 22 = 412 ผลคูณของเลขโดด 4 × 1 × 2 = 8 ∴ 440 เปนจํานวนที่มีผลคูณของเลขโดดที่มีคานอยที่สุด ดังนั้น A มีคา 440 ตอบ 440 เปนจํานวนที่มผลคูณของเลขโดดที่มีคานอยที่สุด ดังนั้น A มีคา 440 ี กลุม 5 อนุกรมเลขคณิต แกไขวันที่ 20 กันยายน 2547
  • 14. 41 3. จงหาผลบวกพจนที่ 51 ถึงพจนที่ 60 ของลําดับ 12, 7, 2,... แนวคิด หาผลบวกของพจนที่ 1 ถึงพจนที่ 60 sn = n [2a + (n −1)d ] 2 1 s 60 = 60 2 [(2 ×12) + (60 −1)(− 5)] = 30[24 + (59 )(− 5)] = 30(24 − 295) = 30 × (−271) = - 8,130 หาผลบวกของพจนที่ 1 ถึงพจนที่ 50 s 50 = 50 2 [(2 ×12) + (50 −1)(− 5)] = 25[24 + (49 )(− 5)] = 25(24 − 245) = 25× (−221) = - 5,525 ผลบวก พจนที่ 51 ถึงพจนที่ 60 = -8,130 – (-5,525) = -2,605 ตอบ -2,605 4. นําเลขโดด 1, 2, 3,…,9 มาจัดลงในตารางที่กําหนดให โดยไมมการใชตัวเลขโดดซ้ํากัน โดยกําหนดให ี ผลบวกของเลขโดดสี่จํานวนที่อยูบนดานเดียวกันมีคาเทากัน จงหาวาจํานวนใดมีผลคูณมากที่สุด แนวคิด ผลบวกที่มคานอยที่สุดที่เปนไปไดคือ ี (45 + 6) ÷ 3 = 17 ผลบวกทั้งหมดเปน 1 + 2 + ...+ 9 = 45 ผลบวกที่มีคานอยที่สุดของตัวเลขที่ใชซํากัน ้ 1+2+3 =6 กลุม 5 อนุกรมเลขคณิต แกไขวันที่ 20 กันยายน 2547
  • 15. 42 ผลบวกที่มีคามากที่สุดที่เปนไปได คือ (45 + 24) ÷ 3 = 23 ผลบวกที่มคามากที่สุดของตัวเลขที่ใชซ้ํากัน ี 9 + 8+ 7 = 24 ดังนั้น ผลบวกของแตละดานของรูปสามเหลี่ยมทีอาจเปนคําตอบจะอยูในชวง 17, 23 ่  1 2 5 7 9 4 9 6 5 6 2 8 4 3 3 1 8 7 ผลบวกเปน 17 ผลบวกเปน 19 5 9 9 8 2 1 2 1 4 8 4 3 7 6 6 5 7 3 ผลบวกเปน 20 ผลบวกเปน 21 9 3 5 4 1 7 6 2 8 ผลบวกเปน 23 ดังนั้น 9 × 3 × 4 × 7 = 756 ตอบ 756 กลุม 5 อนุกรมเลขคณิต แกไขวันที่ 20 กันยายน 2547
  • 16. 43 5. จํานวนนับที่มคาตั้งแต 1 ถึง 100 มีผลบวกของจํานวนคีนอยกวาผลบวกของจํานวนคูเ ทาใด ี ่  แนวคิด 1 + 3 + 5 + ... + 99 มีคา 50 จํานวน s 50 = 50 2 (1− 99) = 25 × 100 = 2,500 2 + 4 + 6 + … + 100 มีคา 50 จํานวน s 50 = 50 2 (1−100) = 25 × 102 = 2,550 ผลบวกจํานวนคี่นอยกวาผลบวกจํานวนคู = 2,500 – 2,500 = 50 หรือ ให A แทนผลบวกของจํานวนคู ตั้งแต 1 ถึง 100 A = 2 + 4 + 6 + …+100 ให B แทนผลบวกของจํานวนคี่ ตั้งแต 1 ถึง 100 B = 1 + 3 + 5 + …+99 A–B = (2 – 1) + (4 – 3) + (6 – 5) + ...+(100 + 99) = 50 ตอบ 50 6. แดงและดําอยูหางกัน 255 กิโลเมตร และตั้งใจจะเดินทางมาพบกัน โดยตั้งตนเดินทางพรอม ๆ กัน  แดงเดินทางวันแรก 1 กิโลเมตร วันที่สอง 3 กิโลเมตร วันที่สาม 5 กิโลเมตร เชนนี้ไปเรื่อย ๆ สวนดําเดินทางวันแรก 20 กิโลเมตร วันที่สอง 19 กิโลเมตร วันที่สาม 18 กิโลเมตร เชนนี้ไปเรื่อย ๆ จงหาวาในเวลากี่วันเขาทั้งสองจึงจะพบกัน แนวคิด ใหแดงและดํา เดินทางมาพบกันเปนเวลา n วัน การเดินทางของแดง คือ 1 + 3 + 5 + ... (อนุกรมเลขคณิต) Sn = n [2a1 + (n – 1) d] 2 = n 2 [(2 ×1) + (n – 1)(2)] = n 2 (2n) = n2 กลุม 5 อนุกรมเลขคณิต แกไขวันที่ 20 กันยายน 2547
  • 17. 44 การเดินทางของดํา คือ 20 + 19 + 18 + ... (อนุกรมเลขคณิต) Sn = n [2a1 + (n – 1) d] 2 = n 2 [(2 ×20) + (n – 1)(-1)] = n 2 (41 - n) จากโจทยแดงและดําอยูหางกัน 255 กิโลเมตร จะได + = 255 กิโลเมตร n2 + n (41 - n) 2 = 255 กิโลเมตร 2 n2 + 41 n - n2 = 510 กิโลเมตร (n – 10) (n + 51) = 0 จะได n = 10 , -51 แดงและดําจะพบกันใน 10 วัน ตอบ 10 วัน 7. จงหาพจน 4 พจน ของลําดับเลขคณิตที่อยูระหวาง 9 และ 34 แนวคิด ถา x , 1 , 2 , 3 , …, k , y d = y −1k+ x จากโจทย x = 9 , y = 34 , k = 4 − d = 34+ 19 4 = 25 5 ผลตางรวม = 5 ลําดับเลขคณิต คือ 9 , 14 , 19 , 24 , 29 ตอบ 9 , 14 , 19 , 24 , 29 กลุม 5 อนุกรมเลขคณิต แกไขวันที่ 20 กันยายน 2547
  • 18. 45 8. การแขงขันกีฬาเก็บของ โดยเก็บกอนหิน 10 กอน ซึ่งวางหางกันกอนละ 1 เมตร โดยวางกอนที่ 1 หางจากจุดเริ่มตน 2 เมตร กอนที่ 10 หางจากเสนชัย 3 เมตร ซึ่งกติกาการแขงขันคือ ผูแขงขันตองเก็บ กอนที่หนึ่งมาวางไวท่เี สนเริมตน แลวเก็บกอนที่สองมาไวที่เสนเริ่มตนดังนี้เรื่อยๆ ไป จนครบ 10 กอน ่ แลวจึงนํากอนหินทั้งหมดไปวางไวท่เี สนชัย ดังนันถาวิ่งตามกติกาผูแขงขันแตละคนจะตองวิ่งเปน ้ ระยะทางเทาไร แนวคิด จุดเริ่มตน 2 1 1 1 1 1 1 1 1 1 3 เสนชัย 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ให S แทนระยะทางที่วิ่งไดทั้งหมด จะได S = [2(2) + 2(3) + 2(4) + … + 2(11)] + 14 = [2(2 + 3 + 4 + … + 11)] + 14 = 2 [ n (a1 + a10 )] + 14 2 = 2 [ 10 (2 + 11)] + 14 2 = 2 (65) + 14 = 144 ∴ ผูแขงขันแตละคนจะตองวิ่งเปนระยะทาง 144 เมตร ตอบ 144 เมตร 9. กําหนดตัวเลข 10 ถึง 1,000 จํานวนที่หารดวย 7 ลงตัวมีกี่จํานวน แนวคิด 14 , 21 , 28 , ... , 994 a1 = 14 , an = 994 , d = 7 an = a1 + ( n - 1 ) d 994 = 14 + ( n – 1 ) ( 7 ) 994 = 7n + 7 7n = 987 n = 987 7 = 141 ตัว กลุม 5 อนุกรมเลขคณิต แกไขวันที่ 20 กันยายน 2547
  • 19. 46 หรือ a n − a1 n = d +1 994 −14 = 7 +1 = 980 7 +1 = 140 + 1 = 141 ตัว ตอบ 141 ตัว 10. เด็กคนหนึ่งเรียงลูกหินเปนแถว ๆ เพื่อประกอบรูปสามเหลี่ยม โดยจัดลูกหินในแถวบนใหนอยกวา ลูกหินในแถวลางที่อยูตดกันหนึ่งลูกเสมอ ถาแถวบนสุดมีลูกหินเพียงลูกเดียว ซึ่งอยูในตําแหนงของ ิ จุดยอดของสามเหลี่ยมดวย และเขามีลูกหินอยูทั้งหมด 190 ลูก จงหาวามีลูกหินในแถวลางสุดของ รูปสามเหลี่ยมกี่ลูก แนวคิด O O O O O O O O O ให sn แทนจํานวนลูกหินทังหมด และ n แทนจํานวนแถว ้ จากโจทย sn = 190 ลูก = 1+2+ 3+...+n sn = n [ 2a + ( n −1) d ] 2 1 190 = n 2 [( 2×1) + ( n −1)(1)] 190 = n 2 ( n +1) n2 + n – 360 = 0 ( n – 19 ) ( n + 20 ) = 0 n = 19 , -20 จะไดวาเรียงลูกหินไดทั้งหมด 19 ชั้น ตอบ แถวลางสุดของรูปสามเหลี่ยมมีลูกหิน 19 ลูก กลุม 5 อนุกรมเลขคณิต แกไขวันที่ 20 กันยายน 2547
  • 20. 47 11. ถา a , x , y , b เรียงกันเปนลําดับเลขคณิต จงหา x และ y แนวคิด a , x , y,b เปนลําดับเลขคณิต จะได a4 = a1 + 3d (พจนที่ 4) b = a + 3d b−a d = 3 จะได x = a1 + d (พจนที่ 2) = a + b−a3 3a + b − a = 3 2a + b = 3 y = a1 + 2d (พจนที่ 3) = a + 2( b − a ) 3 2b − 2a = a+ 3 3a + 2b − 2a = 3 a + 2b = 3 a + 2b ตอบ 3 12. จากอนุกรม 100 + 99 + 98 + 97 + . . . ตองการบวก 30 พจน ติดตอกันในอนุกรมนี้ เพื่อใหได ผลบวกเทากับ 1,155 อยากทราบวา จะเริ่มบวกจากพจนที่เทาใด แนวคิด sn = n [ 2a + ( n −1) d ] 2 1 1,155 = 30 2 [ 2a1 + (30 −1)( −1)] 1,155 = 15( 2a1 - 29 ) 1,155 = 30a1 – 435 a1 = 53 ให an = 53 an = a1 + ( n – 1 ) d 53 = 100 + ( n – 1 ) ( -1 ) 53 = 101 - n N = 48 ตอบ เริ่มบวกจากพจนที่ 48 กลุม 5 อนุกรมเลขคณิต แกไขวันที่ 20 กันยายน 2547
  • 21. 48 13. ถา a1 , a2 , a3 , . . . เปนลําดับเลขคณิต ที่มี a3 – a5 + a7 = 8 จงหาผลบวกของ a1 + a2 + . . . + a9 แนวคิด จากโจทย a3 – a5 + a7 = 8 จะได ( a1 + 2d ) – ( a1 + 4d ) + ( a1 + 6d ) = 8 a1 + 2d – a1 – 4d + a1 + 6d = 8 a1 + 4d = 8 a1 + a2 + . . . + a9 = n [ 2a + ( n −1) d ] 2 1 = 9 2 [( 2a1 ) + (9 −1)d ] = 9 ( 2 a + 8d ) 2 1 = 9 ( a1 + 4d ) = 9×8 = 72 ตอบ 72 14. กําหนดให a1 , a2 , a3 , . . . , a13 เปนลําดับเลขคณิตที่มีผลตางรวมเปน -14 และ a7 = 183 จงหา a1 + a2 + a3 + . . . + a13 มีคาเทาไร แนวคิด an = a1 + ( n – 1 ) d a7 = a1 + ( 7 – 1 ) d 183 = a1 + 6 ( -14 ) 183 = a1 – 84 a1 = 267 Sn = n [ 2a + ( n −1) d ] 2 1 S13 = 13 2 [( 2 × 267) + (13 −1)( −14)] = 13 2 (534 −168) = 13 2 × 366 = 2379 ตอบ 2,379 กลุม 5 อนุกรมเลขคณิต แกไขวันที่ 20 กันยายน 2547
  • 22. 49 15. กําหนดตัวเลข 200 ถึง 1,000 1) มีกี่พจนทหารดวย 3 ลงตัว ี่ 2) มีกี่พจนทหารดวย 7 ลงตัว ่ี 3) มีกี่พจนทหารดวย 3 และ 7 ลงตัว ี่ แนวคิด แนวคิด 1) มีกี่พจนทหารดวย 3 ลงตัว ี่ 1000 3 = 333.3ํ 333 - n = 333 – 66 = 267 200 3 = 66.6ํ 66 ดังนั้น มี 267 พจนที่หารดวย 3 ลงตัว แนวคิด 2) มีกี่พจนทหารดวย 7 ลงตัว ี่ 1000 7 = 142.9 142 - n = 142 - 28 = 114 200 7 = 28.6 28 ดังนั้น มี 114 พจนที่หารดวย 7 ลงตัว แนวคิด 3) มีกี่พจนทหารดวย 3 และ 7 ลงตัว ี่ ค.ร.น. ของ 3 และ 7 คือ 21 1000 21 = 47.6 47 - n = 47 – 9 = 38 200 21 = 9.5 9 ดังนั้น มี 38 พจน ที่หารดวย 3 และ 7 ลงตัว ตอบ 267 พจนที่หารดวย 3 ลงตัว 114 พจนที่หารดวย 7 ลงตัว 38 พจน ทีหารดวย 3 และ 7 ลงตัว ่ กลุม 5 อนุกรมเลขคณิต แกไขวันที่ 20 กันยายน 2547
  • 23. 50 16. ให 5 , x , 20 , . . . เปนลําดับเลขคณิต มีผลบวกของ 12 พจนแรก เปน a และ 5 , y , 20 , . . . เปนลําดับเรขาคณิต ที่มพจนที่ 6 เปน b โดย y < 0 จงหา a + b ี แนวคิด ให 5 , x , 20 , . . . มีผลบวกของ 12 พจนแรก เปน a d = x-5 = 20 - x 2x = 25 x = 12.5 แสดงวา d = 12.5 – 5 = 7.5 จากสูตร Sn = n [ 2a + ( n −1) d ] 2 1 S12 = 12 2 [ 2(5) + 11( 7.5)] a = 6 ( 10 + 82.5 ) จะได a = 555 จากโจทย 5 , y , 20 , . . . เปนลําดับเรขาคณิต ที่มีพจนที่ 6 เปน b โดย y < 0 จะได r = 5 = y 20 y y2 = 100 y = - 10 เนื่องจาก y < 0 แสดงวา r = −10 5 = -2 จากสูตร an = a1r n −1 a6 = 5 ( -2 )6-1 b = 5 ( -2 )5 b = -160 ดังนั้น a + b เทากับ 555 – 160 = 395 ตอบ 395 กลุม 5 อนุกรมเลขคณิต แกไขวันที่ 20 กันยายน 2547
  • 24. 51 17. กําหนดให n เปนจํานวนเต็มบวก ที่ทําใหผลบวก n พจนแรกของอนุกรมเลขคณิต 2 n + 2 n+1 + ... + 2 2 n 7 + 15 + 23 + . . . เทากับ 217 จงหา 28 แนวคิด Sn = n [2a + ( n − 1)d ] 2 1 217 = n 2 [( 2 + 7 ) + ( n −1)(8)] 4n2 + 3n – 217 = 0 ( 4n + 31 )( n – 7 ) = 0 n = 7 2 n + 2 n+1 + ... + 2 2 n = 27 + 28 + . . . + 214 28 = 2-1 + 20 + 21 + 22 + 23 + 24 + 25 + 26 เปนอนุกรมเรขาคณิต -1 a1 = 2 , r = 2 a1 (1 − r 4) Sn = 1− r 2 −1 (1 − 2 8 ) = 1− 2 = 127.5 ตอบ 127.5 18. กําหนดให a , b , c เปน 3 พจน เรียงติดกันในลําดับเลขคณิต และมีผลคูณเปน 27 ถา a , b + 3 , c + 2 เปน 3 พจน เรียงติดกันในลําดับเลขคณิตแลว a + b + c มีคาเทาไร แนวคิด a , b , c เปนลําดับเลขคณิต b a = c b b2 = ac นํา b คูณทั้ง 2 ขาง b3 = abc b3 = 27 (b=3) a , b + 3 , c + 2 เปนลําดับเลขคณิต (b + 3) – a = (c+2)–(b+3) a – 2b + c = 4 กลุม 5 อนุกรมเลขคณิต แกไขวันที่ 20 กันยายน 2547
  • 25. 52 แทนคา b a–6+c = 4 a+c = 10 a+b+c = 10 + 3 = 13 ตอบ 13 19. หนังสือเลมหนึ่งมีจํานวนหนาไมเกิน 500 หนา ถูกฉีกออกไป 1 แผน ผลบวกของหนาทั้งหมด ที่เหลืออยูมีคาเทากับ 19,905 จงหาวา ผลบวกของเลขหนาทั้งสองของแผนที่ถูกฉีกออกไปเปนเทาไร แนวคิด สมมุติหนังสือ มี n หนา ∴ ผลบวกของหนาทั้งหมด = 1+2+3+...+ n = n(n2+1) n < 500 เนื่องจากถูกฉีกออกไป 1 แผน n(n + 1) ดังนั้น จะหาคา n ที่นอยทีสุดที่จะทําให ่ 2 มากกวา 19905 พบวา ถา n = 300 n(n + 1) 2 = 300(300 + 1) 2 = 45,150 มากไป ดังนั้น ถา n = 200 n(n + 1) 2 = 200(200 + 1) 2 = 20,100 ∴ ผลบวกของเลขหนาของสองหนาที่ถูกฉีกไป คือ 20,100 − 19,905 = 195 ตอบ 195 กลุม 5 อนุกรมเลขคณิต แกไขวันที่ 20 กันยายน 2547
  • 26. 53 20. หนังสือคณิตศาสตรเลมหนึ่งมีจํานวนหนาไมเกิน 300 หนา ถูกฉีกหนากลางออกไป 1 คู ทําใหผลบวก ของหนาที่เหลือมีคาเทากับ 26,103 จงหาวาหนาหนังสือที่ถูกฉีกออกไปเปนหนาอะไรบาง แนวคิด สมมุติหนังสือมี n หนา ∴ ผลบวกของหนังสือหนาทั้งหมด = 1 + 2 + 3 + . . . + n = n(n2+ 1) n < 300 เนื่องจากหนังสือถูกฉีกไป 1 คู n(n + 1) ดังนั้น จะหาคา n ที่มีคานอยที่สุดที่ทาให ํ 2 มากกวา 26,103 n(n + 1) 230(230 + 1) จากการสุม พบวา เมื่อ n = 230 จะได 2 = 2 ดังนั้น เลขหนาคูกลางมีผลรวมเปน 26,565 - 26,103 = 462 แสดงวา หนากลางมีผลรวม = 231 แตหนาคูกลางมีผลรวมตางกันอยู 1 จะได A + ( A + 1 ) = 231  ∴ A = 115 ดังนั้นเลขหนาคูกลาง คือ 114 , 115 , 116 และ 117  ตอบ หนาหนังสือที่ถกฉีกออกคือ 114 , 115 , 116 และ 117 ู 21. จํานวนลําดับที่ 1,988 ของลําดับตอไปนี้ คือ จํานวนใด 1 , -2 , 2 , -3 , 3 , -3 , 4 , -4 , 4 , -4 , 5 , -5 , 5 , -5 , 5 , -6 , 6 , -6 , 6 , -6 , 6 , . . . แนวคิด สังเกตวา พจนคจะเปนลบเสมอ ู ตองหาจํานวนที่อยูระหวาง 1,988 จากสมการ n(n2+ 1) 62(62 + 1) สุมจํานวน ถา n = 62 จะได = 2 = 1,953 ( ไมถึง ) 63(63 + 1) ถา n = 63 จะได = 2 = 2,016 จากการสุม n = 62 หมายความวา 62 จํานวนสุดทายสิ้นสุดที่ลําดับที่ 1,953 และคาดวา 63 จํานวนแรกเริ่มตนที่ ลําดับที่ 1,954 และไปสิ้นสุดทีลําดับที่ 2,016 ่ เพราะฉะนั้น ลําดับที่ 1,988 คือจํานวน 63 ตอบ 63 กลุม 5 อนุกรมเลขคณิต แกไขวันที่ 20 กันยายน 2547