Publicidad
ตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอน
Publicidad
ตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอน
Próximo SlideShare
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
Cargando en ... 3
1 de 9
Publicidad

Más contenido relacionado

Presentaciones para ti(20)

Similar a ตัวอย่างโครงการสอน(20)

Publicidad

Más de Krupol Phato(20)

ตัวอย่างโครงการสอน

  1. โครงการสอน รายวิชาชีววิทยาพื้นฐาน (ว30103) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1 จัดทาโดย นายสุรชัย ผิวเหลือง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 11 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
  2. คานา โครงการสอน รายวิชาชีววิทยาพื้นฐาน (ว30103) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จัดทาขึ้นเพื่อให้นักเรียนได้ทราบถึงข้อมูลทั่วไป คาอธิบายรายวิชา ตัวชี้วัด ตลอดจน การวัดผลประเมินผล ที่นักเรียนและครูได้ตกลงร่วมกันเป็นแนวทางในการจัดการเรียน การสอนให้เกิดประสิทธิภาพมากที่สุด ดังนั้น ขอให้นักเรียนได้ศึกษารายละเอียด แนวทางการจัดการเรียนรู้ตาม โครงการสอนนี้ หากมีข้อสงสัย สามารถสอบถามครูผู้สอนได้ตลอดการจัดกระบวนการ เรียนรู้ สุรชัย ผิวเหลือง
  3. สารบัญ เรื่อง หน้า ข้อมูลทั่วไป 1 คาอธิบายรายวิชา 1 ตัวชี้วัด 2 เนื้อหา กิจกรรม และสื่อการเรียนการสอน 3 การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้ 5 เอกสารอ้างอิง 6
  4. โครงการสอน รายวิชา ชีววิทยาพื้นฐาน ว30103 ระดับการศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ จานวนหน่วยกิต 1.5 หน่วย / ภาค เรียน 1. ข้อมูลทั่วไป 1.1 ประเภทวิชา สาระการเรียนรู้พื้นฐาน 1.2 จานวนหน่วยการเรียน 1.5 หน่วยการเรียน / ภาคเรียน (3 ชั่วโมง / สัปดาห์) 1.3 ภาคเรียนที่เปิดสอน ภาคเรียนที่ 1 / 2557 1.4 ครูผู้สอน นายสุรชัย ผิวเหลือง 2. คาอธิบายรายวิชา ศึกษา สืบค้นข้อมูล สารวจตรวจสอบ อภิปราย อธิบาย ทดลอง เกี่ยวกับธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต การศึกษาชีววิทยา การรักษาดุลยภาพของเซลล์สิ่งมีชีวิต กลไกการรักษาดุลยภาพของน้าในพืช กลไกการ ควบคุมดุลยภาพของน้า แร่ธาตุ อุณหภูมิของมนุษย์รวมถึงสัตว์อื่น ๆ ศึกษาระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย กระบวนการถ่ายทอด สารพันธุกรรม การแปรผันทางพันธุกรรม มิวเทชัน การเกิดความหลากหลายทาง ชีวภาพ กระบวนการคัดเลือก ตามธรรมชาติ ผลของการคัดเลือกตามธรรมชาติต่อความหลากหลายของ สิ่งมีชีวิต อภิปรายผลของความหลากหลายทางชีวภาพที่มีต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม ดุลยภาพของระบบนิเวศ กระบวนการเปลี่ยนแปลงแทนที่ของสิ่งมีชีวิต ความสาคัญของความหลากหลายทางชีวภาพ เสนอแนะ แนวทางในการดูแลรักษา วิเคราะห์สภาพปัญหา สาเหตุของปัญหาสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรในท้องถิ่น ระดับประเทศและระดับโลก อภิปรายแนวทางในการป้ องกัน แก้ปัญหาสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ วางแผนและดาเนินการเฝ้าระวัง อนุรักษ์พัฒนาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
  5. 2 3. ตัวชี้วัด 1. สารวจตรวจสอบ สืบค้นข้อมูล อภิปราย และสรุปเกี่ยวกับธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตและการศึกษา ชีววิทยา 2. สารวจตรวจสอบ สืบค้นข้อมูล อภิปรายและสรุปเกี่ยวกับการรักษาดุลยภาพของเซลล์สิ่งมีชีวิต 3. สารวจตรวจสอบ สืบค้นข้อมูล อภิปรายและสรุปเกี่ยวกับกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทาง พันธุกรรม การแปรผันทางพันธุกรรมและมิวเทชัน 4. สารวจตรวจสอบ สืบค้นข้อมูล อภิปรายและสรุปเกี่ยวกับความหลากหลายทางชีวภาพ 5. สารวจตรวจสอบ สืบค้นข้อมูล อภิปรายและสรุปเกี่ยวกับดุลยภาพของระบบนิเวศ กระบวนการ เปลี่ยนแปลงแทนที่ การดูแลรักษา วิเคราะห์สภาพปัญหาและสาเหตุของปัญหาสิ่งแวดล้อมรวมถึง การวางแผน เฝ้าระวัง อนุรักษ์พัฒนาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
  6. 3 4. เนื้อหา กิจกรรม และสื่อการเรียนการสอน สัปดาห์ ที่ เนื้อหาสาระ กิจกรรม การเรียนการสอน กิจกรรม สื่อการเรียนการสอน 1-2 แนะนารายวิชาและข้อตกลงในการเรียน (1 ชั่วโมง) 1. อธิบายรายวิชา 2. อภิปราย 3. ตอบคาถาม 1. โครงการสอน 2. แบบทดสอบก่อน / หลังเรียน บทที่ 1 : ความรู้พื้นฐานทางชีววิทยา 1.1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต (3 ชั่วโมง) 1.1.1 สิ่งมีชีวิตคืออะไร 1.1.2 ชีววิทยาคืออะไร 1.1.3 ชีววิทยากับการดารงชีวิต 1.1.4 ชีวจริยธรรม 2-3 1.2 การศึกษาชีววิทยา (3 ชั่วโมง) 1.2.1 การศึกษาชีววิทยา 1.1.2 กล้องจุลทรรศน์ 1. อภิปราย 2. ตอบคาถาม 3. กิจกรรม / ปฏิบัติการ 1. กิจกรรม / ปฏิบัติการ 2. แบบฝึกหัด 3-5 บทที่ 2 : การรักษาดุลยภาพของเซลล์ 2.1 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต (6 ชั่วโมง) 2.1.1 เซลล์และทฤษฎีเซลล์ 2.1.2 โครงสร้างของเซลล์ที่ศึกษาด้วยกล้อง จุลทรรศน์อิเล็กตรอน 1. อภิปราย 2. ตอบคาถาม 3. กิจกรรม / ปฏิบัติการ 1. กิจกรรม / ปฏิบัติการ 2. แบบฝึกหัด 5-7 2.2 การรักษาดุลยภาพของเซลล์(6 ชั่วโมง) 2.2.1 การลาเลียงสารระหว่างเซลล์ 2.2.2 การสื่อสาระหว่างเซลล์ 1. อภิปราย 2. ตอบคาถาม 3. กิจกรรม / ปฏิบัติการ 1. กิจกรรม / ปฏิบัติการ 2. แบบฝึกหัด 7-9 2.3 การแบ่งเซลล์(6 ชั่วโมง) 2.2.1 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส 2.2.2 การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส 1. อภิปราย 2. ตอบคาถาม 3. กิจกรรม / ปฏิบัติการ 1. กิจกรรม/ปฏิบัติการ 2. แบบฝึกหัด สอบกลางภาค
  7. 4 สัปดาห์ ที่ เนื้อหาสาระ กิจกรรม การเรียนการสอน กิจกรรม สื่อการเรียนการสอน 9-13 บทที่ 3 : พันธุกรรม 3.1 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม (12 ชั่วโมง) 3.1.1 โครงสร้างและหน้าที่ของสารพันธุกรรม 3.1.2 กลไกการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม 3.1.3 กฎของเมนเดล 3.1.4 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมใน มนุษย์ 3.1.5 การแปรผันทางพันธุกรรม 3.1.6 ความผิดปกติทางพันธุกรรม 3.1.7 พันธุกรรมและสิ่งแวดล้อม 1. อภิปราย 2. ตอบคาถาม 3. กิจกรรม / ปฏิบัติการ 1. กิจกรรม / ปฏิบัติการ 2. แบบฝึกหัด แบบทดสอบประจาบท (2 ชั่วโมง) 14-16 บทที่ 4 : ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต ( 9 ชั่วโมง) 4.1 ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต 4.1.1 ความหลากหลายทางชีวภาพ 4.1.2 ปัจจัยต่าง ๆ ที่มีผลต่อการอยู่รอดของ สิ่งมีชีวิต 4.1.3 ประโยชน์ของเทคโนโลยีชีวภาพ 4.1.4 เทคโนโลยีชีวภาพกับความหลากหลายของ สิ่งมีชีวิต 1. อภิปราย 2. ตอบคาถาม 3. กิจกรรม / ปฏิบัติการ 1. กิจกรรม / ปฏิบัติการ 2. แบบฝึกหัด 3. แบบทดสอบ 17-18 บทที่ 5 : ระบบนิเวศ ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม 5.1 ระบบนิเวศ ( 6 ชั่วโมง) 5.1.1 การสารวจระบบนิเวศในท้องถิ่น 5.1.2 การเปลี่ยนแปลงแทนที่ 5.1.3 การถ่ายทอดพลังงาน 5.1.4 ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ 5.1.5 การรักษาดุลยภาพของระบบนิเวศ 1. อภิปราย 2. ตอบคาถาม 3. กิจกรรม / ปฏิบัติการ 1. กิจกรรม / ปฏิบัติการ 2. แบบฝึกหัด 3. แบบทดสอบ
  8. 5 19 5.2 ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ( 6 ชั่วโมง) 5.2.1 สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรในท้องถิ่น 5.2.2 การใช้และข้อจากัดของทรัพยากรธรรมชาติ 5.2.3 การอนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม 1. อภิปราย 2. ตอบคาถาม 3. กิจกรรม / ปฏิบัติการ 1. กิจกรรม / ปฏิบัติการ 2. แบบฝึกหัด 20 สอบปลายภาค 5. การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้ 5.1 การวัดผล  วัดความรู้ตลอดภาคการศึกษา 100 % o คะแนนระหว่างภาค : ปลายภาค 70 : 30  ระหว่างภาค 70 % o การประเมินการสื่อสารระหว่างบุคคล 20 %  ใบงาน / แบบฝึก 10 %  สอบย่อย/สอบประจาบท 10 % o การประเมินตามสภาพจริง 10 %  ทัศนศึกษาแหล่งเรียนรู้ภายใน / ภายนอก 10 % o การประเมินการปฏิบัติ 15 %  กิจกรรมกลุ่ม 10 %  กิจกรรมการทดลอง / ปฏิบัติ 5 % o การประเมินแฟ้มสะสมงาน 5 % ********************สอบกลางภาค 20 %****************************** ********************สอบกลางภาค 30 %****************************** 5.2 การประเมินผล คะแนน ผลการเรียน 80 – 100 4.0 75 – 79 3.5 70 – 74 3.0 65 – 69 2.5 60 – 64 2.0 55 – 59 1.5 50 – 54 1.0 ต่ากว่า 50 0
  9. 6 6. เอกสารอ้างอิง กระทรวงศึกษาธิการ.หนังสือแบบเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานและเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 2.กลุ่มสาระการ เรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 .2550. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว. เกษม ศรีพงษ์. เฉลยข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย ชีววิทยา รวม 10 พ.ศ. . 2848. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์ภูมิ บัณฑิต. ชูชาติ ยังบรรเทา. พจนานุกรม ศัพท์ชีววิทยา.2548. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์โอเดียนสต์. ดร.นิพนธ์ พจนะพิบูลย์. 2539. วิทยาการ วิทยาศาสตร์ ชีวภาพ (I) พื้นฐานของสิ่งมีชีวิต. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์สื่อสุขภาพ. ดร.นิพนธ์ พจนะพิบูลย์. 2539. วิทยาการ วิทยาศาสตร์ ชีวภาพ (I) พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์สื่อสุขภาพ. ดร.นงนุช ชาญปริยวาทีวงศ์และคณะ.ข้อสอบแข่งขันชีววิทยาโอลิมปิกระหว่างประเทศ ครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์ภูมิแม็ค จากัด. สิริภัทร์ พราหมณีย์และคณะ. ชีววิทยา ปฏิบัติการ.2548. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. http://krupol555.wordpress.com รวบรวมเนื้อหาและกิจกรรมการสอนทั้งหมด https://www.facebook.com/KrupolBio สรุปบทเรียน บันทึกการเรียนการสอนย้อนหลังและ แหล่งแลกเปลี่ยนเรียนรู้ข้อมูล ลงชื่อ ผู้สอน (นายสุรชัย ผิวเหลือง) 15 พฤษภาคม 2557 ความคิดเห็นของผู้บริหาร .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ลงชื่อ ผู้บริหาร (นายเจริญ ทองศิริ) ....../........../.......... ง
Publicidad