SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 20
Descargar para leer sin conexión
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ ๔
     กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๒๑๐๓ ( ดนตรี -นาฏศิลป์ ๓ )                                            ชั้ นมัธยมศึกษาปี ที่ ๒
     หน่ วยการเรียนรู้ ที่ ๒ ความรู้ ทวไปเกี่ยวกับดนตรีไทย
                                            ั่                                                           เวลาเรียน ๓ ชั่วโมง
     เรื่อง ความรู้ ทวไปเกี่ยวกับดนตรีไทย
                       ั่
     ชื่ อผู้สอน นางสาวหยาดพิรุณ พวงสุ วรรณ์                         วนที่ ..................................................................
                                                                      ั
     
     ๑. สาระสํ าคัญ
                การเรี ยนรู้เรื่ องดนตรี ตองอ่าน เขียน และร้องตามโน้ตไทย และโน้ตสากล ระบุปัจจัยสําคัญที่มีอิทธิพลต่อ
                                          ้
     การสร้างสรรค์งานดนตรี และสามารถบรรยายอารมณ์จากเพลง และความรู ้สึกที่มีต่อบทเพลงที่ฟัง
     ๒. มาตรฐานการเรียนร้ ู
                   ศ ๒.๑ เข้าใจและแสดงออกทางดนตรี อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วจารณ์คุณค่าดนตรี ถ่ายทอด
                                                                                                 ิ
     ความรู ้สึก ความคิดต่อดนตรี อย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกตใชในชีวตประจาวน
                                                                  ์ ้ ิ             ํ ั
     ๓. ตัวชี้วด/ผลการเรียนรู้ ทคาดหวัง
                 ั                   ี่
                ๓.๑ ตัวชี้วด ั
                     ศ๒.๑ ม.๒/๒ อ่าน เขียน ร้องโน้ตไทยและโน้ตสากลที่มีเครื่ องหมายแปลงเสี ยง
                             ม.๒/๓ ระบุปัจจัยสําคัญที่มีอิทธิ พลต่อการสร้างสรรค์งานดนตรี
                             ม.๒/๕ บรรยายอารมณ์ของเพลงและความรู ้สึกที่มีต่อบทเพลงที่ฟังของดนตรี ในประเทศไทย
            ๓.๒ ผลการเรียนรู้ ทคาดหวัง
                                   ี่
                  ๑) อ่าน เขียน ร้องโน้ตไทยที่มีเครื่ องหมายแปลงเสี ยงได้
                  ๒) ระบุปัจจัยสําคัญที่มีอิทธิ พลต่อการสร้างสรรค์งานดนตรี ได้
                  ๓) บรรยายอารมณ์ของเพลงและความรู ้สึกที่มีต่อบทเพลงที่ฟังได้
    ๔. สาระการเรียนร้ ู
            ๔.๑ สาระการเรียนร้ ู แกนกลาง
                     ๑)เครื่ องหมายและสัญลักษณ์ทางดนตรี
                               -โน้ตจากเพลงไทยอัตราจังหวะสองชั้น
                     ๒)เทคนิคและการแสดงออกในการ
                               -จินตนาการในการสร้างสรรค์บทเพลง
                               -การถ่ายทอดเรื่ องราวความคิดในบทเพลง
                     ๓)การบรรยายอารมณ์และความรู ้สึกในบทเพลง
            ๔.๒ สาระการเรียนร้ ู ท้องถิ่น
-
๕. สมรรถนะสําคัญของผ้ ูเรียน
                ๕.๑ ความสามารถในการคิด
                    - ทักษะการคิดวิเคราะห์
                ๕.๒ ความสามารถในการใช้ทกษะชีวต     ั       ิ
            -                  กระบวนการปฏิบติ   ั
-                              กระบวนการทํางานกลุ่ม
  ๖. คุณลกษณะอนพงประสงค์
              ั             ั ึ
                ๑. มีวนย ิ ั
                ๒. ใฝ่ เรี ยนรู้
  ๗. กระบวนการจัดการเรียนร้ ู
                ( การจัดการเรี ยนรู้โดยเนนกระบวนการ : กระบวนการปฏิบติ)
                                             ้                             ั
                ๑. ขั้นสังเกตรับรู ้
                ๒. ขั้นทําตามแบบ
                ๓. ขั้นทาเองโดยไม่มีแบบ
                               ํ
                ๔. ฝึ กให้ชานาญ    ํ
                ( การจัดการเรี ยนรู้โดยใช้การอภิปรายกลุ่มย่อย)
                ๑. ขั้นจดผเู ้ รียนเป็นกลุ่มยอย
                             ั                 ่
                                 ํ
                ๒. ขั้นกาหนดประเด็นอภิปราย
                ๓. ขั้นบรรยาย
                ๔. ฝึ กสรุ ปผลการอภิปราย
                ๕. ขั้นสรุ ปบทเรี ยน
                ๖. ขั้นประเมินผลการเรี ยน
  ๘. กจกรรมการจัดการเรียนร้ ู
          ิ
    (ชั่ วโมงที่ ๑) นักเรี ยนทําแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒
                ข้นที่ ๑ ขั้นสังเกตรับร้ ู
                  ั
                ๑.ครู นาบัตรตัวโน้ตเพลงไทย มาให้นกเรี ยนดู แล้วถามนักเรี ยนว่า เคยเห็นเครื่ องหมายเหล่านี้หรื อไม่
                          ํ                              ั
  และรู้หรือไม่วา เครื่องหมายเหล่าน้ ีมีหนาที่อยางไร โดยครูคอยกระตุนใหนกเรียนทุกคนมีส่วนร่วมในการแสดง
                       ่                             ้ ่                 ้ ้ ั
  ความคิดเห็น
                ๒.ครู อธิ บายว่า ตัวโน้ตเพลงไทยเป็ นพื้นฐานที่นกเรียนควรรู้ในการปฏิบติหรือขบร้องเพลงไดถูกตอง
                                                               ั                     ั        ั            ้ ้
  ตามทํานองและจังหวะของเพลงไทย
                ๒. ขั้นทําตามแบบ
                ๓.ครู และนักเรี ยนร่ วมกันอภิปรายเกี่ยวกับลักษณะของตัวโน้ตเพลงไทย โดยครู ฝึกให้นกเรี ยนอ่าน
                                                                                                   ั
  โน้ตเพลงไทย เพื่อให้นกเรี ยนเข้าใจตัวอักษรที่ใช้แทนเสี ยงตัวโน้ตของไทย
                                     ั
๔.ครู ถามนกเรียนวา นกเรียนคนใดเล่นดนตรีไทยเป็นบาง และเล่นดนตรีไทยประเภทใด แลวเคยบนทึก
                                    ั     ่ ั                                   ้                               ้     ั
  โนตเพลงไทยหรือไม่ โดยครูอาจใหนกเรียนออกมาบนทึกโนตเพลงไทยที่เลือกเองมา ๑ เพลง บนกระดานที่หนา
        ้                                         ้ ั               ั       ้                                              ้
  ช้ นเรียน
     ั
                 ๕.ครู และนักเรี ยนร่ วมกันอภิปรายความรู ้เรื่ อง รู ปแบบการบันทึกโน้ตเพลงไทย โดยครู อธิ บายเพิ่มเติม
  เพื่อให้นกเรี ยนมีความรู ้ความเข้าใจมากยิงขึ้น
                 ั                                    ่
                 ๓. ขั้นทําเองโดยไม่ มีแบบ
                 ๖.ครู ให้นกเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ ๕-๖ คน ผลดกนอ่านโนตที่หลากหลายตามที่ครูกาหนดให้ จนเกิด
                                ั                                       ั ั         ้                 ํ
  ความชํานาญ แล้วครู ถามนักเรี ยนว่า จังหวะพื้นฐานเพลงไทยมีอะไรบ้าง แลวใหนกเรียนช่วยกนยกตวอยางเพลง
                                                                                         ้ ้ ั            ั    ั ่
  ตามจังหวะพื้นฐานเพลงไทย ครู คอยตรวจสอบความถูกต้อง
                 ๗.ครู ให้นกเรี ยนแต่ละกลุ่มศึกษาความรู ้เรื่ อง อัตราจังหวะพื้นฐานเพลงไทย ในหนังสื อเรี ยน พร้อมฝึ ก
                                  ั
  เคาะจังหวะตามจนคล่อง โดยครู คอยสังเกตและให้คาแนะนําเพิ่มเติม  ํ
                 ๘.ครู สุ่มเรี ยกนักเรี ยนทีละคนให้ออกมาอ่านและเคาะจังหวะตามโน้ตเพลงต้นวรเชษฐ์สองชั้น เพื่อเป็ น
  การตรวจสอบความรู ้ความเข้าใจ แล้วครู อธิ บายเกี่ยวกับประวัติของเพลงต้นวรเชษฐ์สองชั้น ให้นกเรี ยนฟังว่า เป็ น
                                                                                                            ั
  เพลงเก่าที่มีมาตั้งแต่สมัยกรุ งศรี อยุธยา ไม่ปรากฏนามผูแต่ง เป็ นเพลงที่มีท่วงทํานองไพเราะ สนุกสนาน ง่ายต่อ
                                                                         ้
  การจดจาเพลง  ํ
                 ๙.ครู ให้นกเรี ยนแต่ละกลุ่มฝึ กปฏิบติอ่านโน้ตเพลงต้นวรเชษฐ์สองชั้น โดยในแต่ละกลุ่มต้องช่วยกัน
                              ั                           ั
  อธิ บายให้เพื่อนสมาชิกที่ไม่เข้าใจหรื อมีขอสงสัยปฏิบติให้ถูกต้อง จากนั้นครู สุ่มเรี ยกตัวแทนนักเรี ยน ๔ กลุ่ม
                                                        ้             ั
  ออกมาอ่านโนตและเคาะจังหวะตามท่อนเพลงที่ครู กาหนด โดยครู และเพื่อนนักเรี ยนคอยตรวจสอบความถูกต้อง
                         ้                                        ํ
  และให้คาแนะนําเพิ่มเติม
                   ํ
                 ๑๐.ครู ตีฉิ่งหรื อเปิ ดวีดิทศน์การตีฉิ่งเพลงจีนขิมเล็กสองชั้น ให้นกเรี ยนฟัง แล้วถามนักเรี ยนว่า จังหวะฉิ่ง
                                              ั                                        ั
  ของเพลงมีความเหมือนหรื อแตกต่างจากเพลงอัตราจังหวะสองช้ นทวไปหรือไม่ อยางไร      ั ่ั         ่
                 ๔. ฝึ กให้ ชํานาญ
                 ๑๑.ครูและนกเรียนฝึกตีฉิ่งจงหวะเพลงจีนขิมเล็กสองช้ นไปพร้อมกน ทีละท่อน โดยครูเปิดโอกาสให้
                                      ั            ั                          ั           ั
  นักเรี ยนที่ไม่เข้าใจหรื อมีขอสงสัยซักถามเพิ่มเติม แล้วครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู ้เรื่ อง เครื่ องหมายและ
                                        ้
  สัญลักษณ์ทางดนตรีไทย
                 ๑๒.ครู เน้นยํ้าถึงความสําคัญของเครื่ องหมายและสัญลักษณ์ทางดนตรี ไทย ที่ส่งผลต่อการขับร้องเพลง
  ได้ถูกต้อง จึงให้นกเรี ยนทําความเข้าใจเกี่ยวกับเครื่ องหมายและสัญลักษณ์ พร้อมหมันฝึ กปฏิบติ จนเกิดความ
                            ั                                                                    ่      ั
  ชํานาญ
       (ชั่ วโมงที่ ๒)
                 ๑. ข้ ันจัดผ้ ูเรียนเป็นกล่ ุมย่อย
                 ๑.ครู เปิ ดซี ดีเพลงไทย ได้แก่ เพลงโหมโรงคลื่นกระทบฝั่งสามชั้น เพลงลาวกระทบไม้ เพลงค้างคาว
กินกล้วย และเพลงตระนิมิต ครู สามารถเลือกเปิ ดเพลงได้ตามความเหมาะสม โดยในแต่ละเพลงที่ครู เลือกเปิ ดนั้น
จะต้องเกิดจากปั จจัยสําคัญที่มีอิทธิ พลต่อการสร้างสรรค์งานดนตรี ที่ต่างกัน
๒. ข้ ันกาหนดประเด็นอภิปราย
                         ํ
             ๒ ครูแบ่งนกเรียนออกเป็น ๔ กลุ่ม กลุ่มละเท่าๆ กัน ให้แต่ละกลุ่มส่ งตัวแทนออกมาจับสลากประเด็นที่
                             ั
      ํ
ครูกาหนด ดงน้ ีั
  -           กลุ่มหมายเลข ๑ ศึกษาความรู ้เรื่ อง ปั จจัยสําคัญที่มีอิทธิ พลต่อการสร้างสรรค์งานเพลงโหมโรงคลื่น
กระทบฝั่งสามชั้น
-             กลุ่มหมายเลข ๒ ศึกษาความรู ้เรื่ อง ปั จจัยสําคัญที่มีอิทธิ พลต่อการสร้างสรรค์งานเพลงลาวกระทบไม้
-             กลุ่มหมายเลข ๓ ศึกษาความรู ้เรื่ อง ปั จจัยสําคัญที่มีอิทธิ พลต่อการสร้างสรรค์งานเพลงค้างคาวกินกล้วย
     -        กลุ่มหมายเลข ๔ ศึกษาความรู ้เรื่ อง ปั จจัยสําคัญที่มีอิทธิ พลต่อการสร้างสรรค์งานเพลงตระนิมิตโดยครู
  ให้นกเรี ยนแต่ละกลุ่มศึกษาหาความรู ้เพิ่มเติมจากหนังสื อเรี ยน หนังสื อค้นคว้าเพิ่มเติม หรื อแหล่งข้อมูล
        ั
  สารสนเทศ แลวเตรียมส่งตวแทนกลุ่ม กลุ่มละ ๓ คน ไปอธิ บายความรู ้ให้เพื่อนกลุ่มอื่นฟัง
                     ้            ั
             ๓. ข้ันบรรยาย
             ๓. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู ้เรื่ อง ปั จจัยสําคัญที่มีอิทธิ พลต่อการสร้างสรรค์งานดนตรี ได้แก่
  ธรรมชาติ วิถีชีวต ศาสนาและความเชื่อ อารมณ์และความรู ้สึก
                       ิ
             ๔. ฝึ กสรุ ปผลการอภิปราย
           ๔. ครู ให้นกเรี ยนร่ วมกันอภิปรายเกี่ยวกับเทคนิคและการแสดงออกในการจินตนาการในการสร้างสรรค์
                           ั
  บทเพลง และเทคนิคและการแสดงออกในการถ่ายทอดเรื่ องราวความคิดในบทเพลง โดยให้สรุ ปเป็ นองค์ความรู้
  ในรู ปแบบแผนผังความคิด
             ๕. ข้ ันสรุปบทเรียน
           ๕. ครู สุ่มเรี ยกนักเรี ยน ๑-๒ กลุ่ม ออกมานําเสนอผลการอภิปรายที่หน้าชั้นเรี ยน โดยครู เปิ ดโอกาสให้
  เพื่อนนกเรียนที่มีผลการอภิปรายที่แตกต่างไดเ้ สนอแนะเพิ่มเติม
           ั
           ๖. ครู อธิ บายเพิมเติม โดยอาจยกตัวอย่างเพลงต่างๆ ที่เหมาะสมกับเนื้อหาที่เรี ยน เช่น
                               ่
      -            เพลงที่แสดงถึงเทคนิคในการเลือกใช้เสี ยงที่แสดงออกถึงอารมณ์ต่างๆ เช่น เพลงค้างคาวกินกล้วย
  (อารมณ์สนุกสนาน) เพลงนกเขาขะแมสามชั้น (ชมธรรมชาติ)
   -              เพลงไทยที่เลียนเสี ยงสําเนียงชาติต่างๆ เช่น เพลงจีนไจ้ยอ เพลงพม่ารําขวาน
      -           เพลงที่ใช้เทคนิคและการแสดงออกในการถ่ายทอดเรื่ องราวความคิดเกี่ยวกับความรักในเพลง เช่น
  เพลงบังใบสองชั้น
   -              เพลงที่ใช้เทคนิคและการแสดงออกในการถ่ายทอดเรื่ องราวความคิดเกี่ยวกับความโศกเศร้า
ในเพลง เช่น เพลงลาวครวญสองชั้น
           ๖. ข้ ันประเมินผลการเรียน
          ๗. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันอภิปรายเกี่ยวกับประโยชน์ที่ได้จากการนําเทคนิคและการแสดงออกในการ
จินตนาการในการสร้างสรรค์บทเพลง และเทคนิคและการแสดงออกในการถ่ายทอดเรื่ องราวความคิดในบทเพลง
(ชั่ วโมงที่ ๓)
                      ๑. ข้ ันจัดผ้ ูเรียนเป็นกล่ ุมย่อย
                      ๑.ครู ถามนักเรี ยนว่า เวลานักเรี ยนฟังเพลงจังหวะช้ากับฟังเพลงจังหวะเร็ วนั้น ให้อารมณ์และความรู้สึกที่
       แตกต่างกนหรือไม่ อย่างไร
                    ั
                 ๒.ครู เปิ ดเพลงไทยที่มีท่วงทํานอง อารมณ์เพลง แตกต่างกัน ๓ เพลง ใหนกเรียนฟัง เช่น
                                                                                               ้ ั
                          ๑)เพลงที่ก่อให้เกิดความรู ้สึกเศร้าโศก ทุกข์ใจ เช่น เพลงแขกครวญ เพลงธรณี กนแสง ั
                          ๒)เพลงที่ก่อให้เกิดความรู ้สึกรื่ นเริ ง สนุกสนาน ฮึกเหิ ม เช่น เพลงค้างคาวกินกล้วย เพลงกราวตะลุง
       เพลงมาร์ ชชิ่ง
                          ๓)เพลงที่ก่อให้เกิดความรู ้สึกขลัง ศักดิ์สิทธิ์ น่าเคารพ เช่น เพลงนางนาค เพลงสาธุ การแล้วให้
       นักเรี ยนกลุ่มเดิมร่ วมกันเขียนบรรยายว่า แต่ละเพลงนั้น นักเรี ยนฟังแล้วมีความรู ้สึกอย่างไร และทําให้เกิด
       จินตนาการถึงอะไร
                 ๓.ครู สุ่มเรี ยกนักเรี ยน ๑-๒ กลุ่ม ออกมานําเสนอผลการอภิปรายที่หน้าชั้นเรี ยน โดยครู และเพื่อนนักเรี ยน
       แสดงความคิดเห็นเพิ่มเติม
                      ๒. ข้ ันกาหนดประเด็นอภิปราย
                                  ํ
                      ๔.ครู ให้นกเรี ยนแต่ละกลุ่มช่วยกันศึกษาความรู ้เรื่ อง อารมณ์เพลงและความรู ้สึกในบทเพลง ในหนังสื อ
                                         ั
เรียน แลวใหสมาชิกแต่ละคนในกลุ่มทาใบงานที่ ๑ เรื่ อง อารมณ์ความรู ้สึกจากบทเพลงที่ฟัง โดยใหเ้ ลือกเพลงไทยที่ชื่น
         ้ ้                                     ํ
ชอบ มา ๑ เพลง แล้วให้เขียนบรรยายว่า เพลงนั้นเมื่อฟังแล้วให้อารมณ์ความรู ้สึกอย่างไร โดยนักเรี ยนในแต่ละกลุ่มต้อง
เลือกเพลงไม่ใหซ้ ากน
                   ้ ํ ั
                      ๓. ข้ันบรรยาย
                      ๕.เมื่อสมาชิกในกลุ่มทุกคนทํางานเสร็ จแล้ว ให้แลกเปลี่ยนผลงานกันดู โดยนักเรี ยนที่เป็ นเจ้าของผลงาน
ต้องสามารถอธิ บายให้เพื่อนเข้าใจในผลงานของตนเองได้
                      ๔. ฝึ กสรุ ปผลการอภิปราย
                      ๖.ครู ให้นกเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ ๕-๖ คน เลือกฟังเพลงไทยที่กลุ่มสนใจ มา ๑ เพลง แล้ววิเคราะห์
                                    ั
                                ํ
       ตามประเด็นที่ครูกาหนด ดงน้ ี            ั
                 ๑) การอ่าน เขียน ร้องโน้ตเพลงไทยที่กลุ่มสนใจ
                 ๒) การระบุปัจจัยที่มีอิทธิ พลต่อการสร้างสรรค์งานเพลง
                 ๓) การบรรยายอารมณ์และความรู ้สึกที่มีต่อบทเพลงที่ฟัง
                 ๕. ข้ ันสรุปบทเรียน
                 ๗.ให้รายงานผลการวิเคราะห์ โดยครู เน้นยํ้าให้นกเรี ยนนําความรู ้ที่ได้เรี ยนมาประยุกต์ใช้ในการทําผลงาน
                                                                          ั
       แลวครูและนกเรียนร่วมกนกาหนดระยะเวลาในการส่งผลงาน
            ้           ั                    ั ํ
                 ๖. ข้ ันประเมินผลการเรียน
                 ๘.ครูเป็นผประเมินผล  ู้
                 ๙. นกเรียนทาแบบทดสอบหลงเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒
                          ั                ํ            ั
๙. สื่ อ/แหล่ งการเรียนร้ ู
        ๙.๑ สื่ อการเรียนรู้
                  ๑) หนงสือเรียนดนตรี-นาฏศิลป์ ม.๒
                          ั
                  ๒) ตัวอย่างสื่ อประกอบการสอน
                  ๓) วีดิทศน์การตีฉิ่งเพลงจีนขิมเล็กสองชั้น
                            ั
                  ๔) ซี ดีเพลงไทย ได้แก่ เพลงโหมโรงคลื่นกระทบฝั่งสามชั้น เพลงลาวกระทบไม้
                                                                       ั
    เพลงค้างคาวกินกล้วย เพลงตระนิมิต เพลงแขกครวญ เพลงธรณี กนแสง เพลงกราวตะลุง
      เพลงมาร์ ชชิ่ง เพลงนางนาค เพลงสาธุ การ
                  ๕)ใบงานที่ ๑ เรื่อง อารมณ์ความรู ้สึกจากบทเพลงที่ฟัง
        ๙.๒ แหล่งการเรียนร้ ู
                  ๑) หองสมุด
                       ้
                  ๒) http://kruyatphirun.wordpress.com
    ๑๐. การวัดผลประเมินผล
         ตัวบ่ งชี้ความสํ าเร็จ        วธีวด/ประเมินผล
                                        ิ ั                                  เครื่องมือ
๑) คุณธรรมจริยธรรมค่านิยม       สังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุ่ม       แบบสังเกตพฤติกรรมกลุ่ม
๑.๑)มีความมุ่งมันในการทํางาน
                    ่
รับผิดชอบ ความสามัคคี
ด้านปริ มาณร้อยละ ๑๐๐
ด้านคุณภาพร้อยละ ๗๕
๒) ความรู ้                     ตรวจใบงาน                          แบบประเมินใบงาน
๒.๑) อารมณ์ความรู ้สึกจากบท
เพลงที่ฟัง
ด้านปริ มาณ ร้อยละ ๑๐๐
ดานคุณภาพ ร้อยละ ๗๕
  ้
๓) ด้านทักษะ                    สังเกตการนําเสนอ                   แบบประเมินผลการนําเสนองาน
๓.๑)การนําเสนองานหน้าชั้นเรี ยน
ด้านปริ มาณ ร้อยละ ๑๐๐
ด้านคุณภาพ ร้อยละ ๗๕



                                                                     ลงชื่อ...........................................
                                                                           (นายศราวุธ ไชยเจริ ญ)
ครู โรงเรียนวดพวงนิมิต
                                                                                                       ั

๑๑. ข้อเสนอแนะของผ้ ูบริหาร




                                                                               ลงชื่ อ...........................................
                                                                                       (นายสมยศ เพ็ชรวงษา)
                                                                                ผอานวยการโรงเรียนวดพวงนิมิต
                                                                                 ู้ ํ                              ั

๑๒. บันทึกผลการเรียนรู้
                                           ผลการประเมินผ่านเกณฑ์                                  จํานวนนักเรียน
          ตัวบ่ งชี้ความสํ าเร็จ
                                               คิดเป็ นร้ อยละ                                         (คน)
 ๑) คุณธรรมจริยธรรมค่านิยม                                                                ตัวบ่ งชี้       ผ่าน           ไม่ผ่าน
 ๑.๑)มีความมุ่งมันในการทํางาน
                 ่                    ด้านปริ มาณ..........................%          รับผิดชอบ
 รับผิดชอบ ความสามัคคี                                                                มุ่งมัน
                                                                                            ่
                                      ด้านคุณภาพ..........................%           สามัคคี
 ด้านปริ มาณร้อยละ ๑๐๐
                                                                                      ตรงต่อเวลา
 ด้านคุณภาพร้อยละ ๗๕
 ๒) ความรู ้
 ๒.๑) อารมณ์ความรู ้สึกจากบทเพลง      ด้านปริ มาณ..........................%
                                                                                               ผ่าน                   ไม่ผ่าน
 ที่ฟัง
                                      ด้านคุณภาพ..........................%
 ด้านปริ มาณ ร้อยละ ๑๐๐
 ด้านคุณภาพ ร้อยละ ๗๕
 ๓) ด้านทักษะ
 ๓.๑)การนําเสนองานหน้าชั้นเรี ยน      ด้านปริ มาณ..........................%                   ผ่าน                   ไม่ผ่าน
 ด้านปริ มาณ ร้อยละ ๑๐๐
                                      ด้านคุณภาพ..........................%
 ด้านคุณภาพ ร้อยละ ๗๕

บันทึกผลการจัดการเรี ยนรู้ เพิมเติม
                              ่
นักเรี ยนทีมีความสามารถพิเศษ
           ่




ผลทเี่ กดกบผ้ ูเรียน
        ิ ั



ปัญหาหรื อสิ่ งทีต้องการพัฒนา
                 ่




ข้อเสนอแนะ/แนวทางการปรับปรุงในการสอนคร้ ังต่อไป




                                                  ลงชื่อ...........................................ครู ผสอน
                                                                                                        ู้
                                                    (นางสาวหยาดพิรุณ พวงสุวรรณ์)
                                                                          ครู
ตัวอย่ างสื่ อประกอบการสอน
                                           โน้ ตเพลงไทย
ตวอกษรที่ใชแทนเสียงตวโนตของไทย ไดแก่ ด ใชแทนเสียงโนตตว โด ร ใชแทนเสียงโนตตว เร
 ั ั       ้         ั ้           ้     ้          ้ ั       ้         ้ ั
ม ใชแทนเสียงโนตตว มี ฟ ใชแทนเสียงโนตตว ฟา ซ ใชแทนเสียงโนตตว ซอล ล ใชแทนเสียงโนตตว เล
     ้        ้ ั        ้           ้ ั      ้         ้ ั         ้          ้ ั
ท ใชแทนเสียงโนตตว ที
       ้       ้ ั




                       ตัวอย่ างโน้ ตทั่วไปที่มีความยาวของจังหวะเท่ าๆ กัน
อัตราจังหวะพืนฐานเพลงไทย
             ้
การฝึ กปฏิบัตอ่านและเคาะจังหวะตามโน้ ตเพลงต้ นวรเชษฐ์ สองชั้น
             ิ
การฝึ กปฏิบัตอ่านและเคาะจังหวะตามโน้ ตเพลงจีนขิมเล็กสองชั้น
             ิ
แบบประเมินรายงานผลการฟังเพลงไทยที่สนใจ

กลุ่มที่.....................................
สมาชิกของกลุ่ม ๑. ..........................................................                     ๒. .........................................................
                                ๓. ..........................................................    ๔. .........................................................
                                ๕. ..........................................................    ๖. .........................................................

             ลาดับ
              ํ                                                                                                                        คุณภาพผลงาน
                                                             รายการประเมิน
                ที่                                                                                                   ๔                   ๓                   ๒                   ๑
                ๑            การอาน เขียน ร้องโน้ตเพลงไทยที่กลุ่มสนใจ
                                 ่
                ๒           การระบุปัจจัยที่มีอิทธิ พลต่อการสร้างสรรค์งานเพลง
                             การบรรยายอารมณ์ของเพลงและความรู ้สึกที่มีต่อ
                ๓
                             บทเพลงที่ฟัง
                                                                     รวม

                                                                                                                  ลงชื่อ..............................................................................ผประเมิน
                                                                                                                                                                                                       ู้
                                                                                                                ......................./.........................../........................




เกณฑ์การให้คะแนน                                                                                เกณฑ์การตดสินคุณภาพ
                                                                                                              ั
ดีมาก          =                           ๔                                                      ช่ วงคะแนน ระดับคุณภาพ
ดี              =                          ๓                                                          ๑๑-๑๒       ดีมาก
พอใช้           =                          ๒                                                             ๙-๑๐       ดี
ปรับปรุ ง       =                          ๑                                                             ๖-๘      พอใช้
                                                                                                        ํ ่
                                                                                                      ต่ากวา ๖   ปรับปรุ ง
ใบงานที่ ๑ เรื่อง อารมณ์ ความรู้ สึกจากบทเพลงที่ฟัง

คําชี้แจง ให้นกเรี ยนเลือกเพลงไทยที่ชื่นชอบ มา ๑ เพลง แล้วให้เขียนบรรยายว่า เพลงนั้นเมื่อฟังแล้วให้อารมณ์
                  ั
       ความรู ้สึกอย่างไร

                                     เพลง
   เนือเพลง
      ้




              อารมณ์ ความรู้ สึกทีได้ จากการฟังเพลง
                                  ่
ใบงานที่ ๑ เรื่อง อารมณ์ ความรู้ สึกจากบทเพลงที่ฟัง

คําชี้แจง ให้นกเรี ยนเลือกเพลงไทยที่ชื่นชอบ มา ๑ เพลง แล้วให้เขียนบรรยายว่า เพลงนั้นเมื่อฟังแล้วให้อารมณ์
                  ั
       ความรู ้สึกอย่างไร

                                     เพลง
   เนือเพลง
      ้




              อารมณ์ ความรู้ สึกทีได้ จากการฟังเพลง
                                  ่




                     (พิจารณาตามผลงานของนักเรี ยน โดยให้ อยู่ในดุลยพินิจของครู ผ้ สอน)
                                                                                  ู
แบบประเมินการนําเสนอผลงาน

                                                                                          คุณภาพการปฏิบัติ
      ลําดับที่                    รายการประเมิน
                                                                              ๔                 ๓                 ๒       ๑
         ๑        นาเสนอเน้ือหาในผลงานไดถูกตอง
                   ํ                    ้ ้
         ๒        การลาดบข้ นตอนของเน้ือเรื่อง
                      ํ ั ั
         ๓        การนําเสนอมีความน่าสนใจ
         ๔        การมีส่วนร่ วมของสมาชิกในกลุ่ม
         ๕               ่
                  การตรงตอเวลา
                                                          รวม

                                                                              ลงชื่อ...................................................ผประเมิน
                                                                                                                                        ู้
                                                                  ............../.................../...............


เกณฑ์การให้คะแนน
      ผลงานหรือพฤติกรรมสมบูรณ์ชดเจน
                                ั                  ให้ ๔ คะแนน
      ผลงานหรือพฤติกรรมมีขอบกพร่องบางส่วน
                            ้                      ให้ ๓ คะแนน
      ผลงานหรือพฤติกรรมมีขอบกพร่องเป็นส่วนใหญ่
                              ้                     ให้ ๒ คะแนน
      ผลงานหรือพฤติกรรมมีขอบกพร่องมาก
                          ้                         ให้ ๑ คะแนน
    เกณฑ์การตดสินคุณภาพ
               ั
       ช่ วงคะแนน ระดับคุณภาพ
           ๑๘ - ๒๐      ดีมาก
           ๑๔ -๑๗         ดี
           ๑๐ -๑๓       พอใช้
            ํ ่
          ต่ากวา ๑๐    ปรับปรุ ง
แบบสั งเกตพฤติกรรมการทํางานกลุ่ม
                                              การแบ่ ง                                                                                                     รวม
                                                              ความร่ วมมือกัน           การแสดงความ           การรับฟังความ           ความมีนําใจ
                                                                                                                                                ้
                    ชื่อ – สกล
                             ุ              หน้ าทีกน
                                                   ่ั                                                                                                      ๒๐
ลาดบที่
 ํ ั                                                             ทํางาน                    คิดเห็น               คิดเห็น              ช่ วยเหลือกัน
                ของผู้รับการประเมิน       อย่ างเหมาะสม                                                                                                   คะแนน
                                         ๔ ๓ ๒ ๑          ๔      ๓     ๒        ๑   ๔     ๓   ๒       ๑   ๔      ๓    ๒       ๑   ๔     ๓     ๒       ๑

 ๑.       ด.ช.ราเชษฐ์ เดชชัยภูมิ
 ๒.       ด.ญ.นีระบล รักสงคราม
 ๓.       ด.ญ.พิมพ์วภา สี จนทร์
                           ิ       ั
 ๔.       ด.ช.ทวีศกดิ์ คณาญาติ
                     ั
 ๕.       ด.ช.อินทโชติ ขอประสงค์
 ๖.       ด.ช.จตุพล สงระมาตร์ั
 ๗.       ด.ช.ณัฐพงศ์ สุจริ ตจันทร์
 ๘.       ด.ช.ปิ ยะ ชาญประเสริฐ
 ๙.       ด.ช.สุวท รอดสันเทียะ
                   ิ
๑๐.       ด.ช.ธงไชย พนสาย      ั
๑๑.       ด.ญ.วรรณพร แม่นปื น
๑๒.       ด.ญ.สกาวรัตน์ คําสวรรค์
๑๓.       ด.ญ.เพ็ชรธิดา ผาเผย
๑๔.       ด.ญ.พรรทิพย ์ แผ่วฉิ มพลี
๑๕.       ด.ช.จิตรเทพ บุญยืด
๑๖.       ด.ช.นที เขียวงาม
๑๗.       ด.ช.กิตติศกดิ์ บุญชัยมิ่ง
                         ั
๑๘.       ด.ญ.กัญญารัตน์ เฉลิมแสน
๑๙.       ด.ช.อภินนท์ ศิลป์ชย
                       ั             ั
๒๐.       ด.ญ.นิชาดา ประทุม
๒๑.       ด.ช.ชัยณรงค์ ดีสาโรง   ํ
๒๒.       ด.ช.พฒิพงษ์ ห่อทรัพย์
                 ุ
๒๓. ด.ช.สิ ทธินนท์ เกษมสถิตยวงศ์
                            ์
๒๔. ด.ช.ทัศนัย สุขเกษม
๒๕. ด.ช.กิตติศกดิ์ มูลประโมค
              ั
๒๖. ด.ช.ณัฐพงษ์ บุญมา
๒๗. ด.ช.ธี รพล มิศิริ
๒๘. ด.ช.พรพิพฒน์ เทพสี
             ั
๒๙. ด.ช.ภูมิทตย์ เชื่อมรัมย์
             ั
๓๐. ด.ช.วรวฒิ บารุงจิต
            ุ ํ
๓๑. ด.ช.สุทิน ภู่อาษา
๓๒. ด.ช.สุมงคล แม่งมี
๓๓. ด.ช.อธิ พงษ์ วงศ์ขจร
๓๔. ด.ช.ชัชชัย เทพจินดา
๓๕. ด.ช.บุญฤทธิ์ นริ นทร์ ทอง
๓๖. ด.ช.ชาญยทธ โตะสิงห์
            ุ      ๊
๓๗. ด.ช.นนธวฒน์ บัวแก้ว
          ั ั
๓๘. ด.ช.บุญญลักษณ์ โสภา
๓๙.

เกณฑ์การให้คะแนน                เกณฑ์การตดสินคุณภาพ
                                            ั                ลงชื่อ...................................................ผประเมิน
                                                                                                                       ู้
ดีมาก          =           ๔      ช่ วงคะแนน ระดับคุณภาพ
                                                             ............../.................../................
ดี              =          ๓         ๑๗ – ๒๐      ดีมาก
พอใช้           =          ๒          ๑๓ – ๑๖       ดี
ปรับปรุ ง       =          ๑          ๙ – ๑๒      พอใช้
                                       ๕–๘       ปรับปรุ ง
แบบสังเกตพฤติกรรม ระหว่างเรียน
         เรื่อง ความรู ้ทวไปเกี่ยวกับดนตรี ไทย
                         ั่                               วนที่ ...............................................................
                                                           ั
คําชี้แจง ให้ลงคะแนนในช่องรายการสังเกตพฤติกรรมที่นกเรี ยนปฏิบติ
                                                        ั              ั
                                                                                                                       รายการ                                                                                 สรุ ปผล
                                                                              คุณธรรม                                                ความรู้                             ทักษะ




                                                                                                                                      อารมณ์ความรู้ สึกจากบทเพลงที่ฟัง
                                          รับผดชอบงานที่ได้รับมอบหมาย




                                                                                                                                                                                                    รวมระดบคะแนน
                                                                                              มีความสามัคคีในหมู่คณะ




                                                                                                                                                                         การนําเสนอหน้ าชั้นเรียน
เลขที่           ชื่ อ – สกุล




                                                                                                                                                                                                                        ผ่ าน/ไม่ ผ่าน
                                                                        ม่ งมั่นในการทํางาน




                                                                                                                       ตรงต่ อเวลา




                                                                                                                                                                                                          ั
                                                                           ุ
                                              ิ



  ๑.     ด.ช.ราเชษฐ์ เดชชัยภูมิ
 ๒.      ด.ญ.นีระบล รักสงคราม
 ๓.      ด.ญ.พิมพ์วภา สี จนทร์
                          ิ       ั
 ๔.      ด.ช.ทวีศกดิ์ คณาญาติ
                    ั
 ๕.      ด.ช.อินทโชติ ขอประสงค์
  ๖.     ด.ช.จตุพล สงระมาตร์ั
 ๗.      ด.ช.ณัฐพงศ์ สุจริ ตจันทร์
 ๘.      ด.ช.ปิ ยะ ชาญประเสริฐ
  ๙.     ด.ช.สุวท รอดสันเทียะ
                  ิ
 ๑๐.     ด.ช.ธงไชย พนสาย      ั
 ๑๑.     ด.ญ.วรรณพร แม่นปื น
 ๑๒.     ด.ญ.สกาวรัตน์ คําสวรรค์
 ๑๓.     ด.ญ.เพ็ชรธิดา ผาเผย
 ๑๔.     ด.ญ.พรรทิพย ์ แผ่วฉิ มพลี
 ๑๕.     ด.ช.จิตรเทพ บุญยืด
 ๑๖.     ด.ช.นที เขียวงาม
 ๑๗.     ด.ช.กิตติศกดิ์ บุญชัยมิ่ง
                        ั
 ๑๘.     ด.ญ.กัญญารัตน์ เฉลิมแสน
 ๑๙.     ด.ช.อภินนท์ ศิลป์ชย
                      ั             ั
 ๒๐.     ด.ญ.นิชาดา ประทุม
 ๒๑.     ด.ช.ชัยณรงค์ ดีสาโรง   ํ
๒๒.      ด.ช.พฒิพงษ์ ห่อทรัพย์
                ุ
๒๓. ด.ช.สิ ทธิ นนท์ เกษมสถิตยวงศ์
                             ์
 ๒๔. ด.ช.ทัศนัย สุขเกษม
 ๒๕. ด.ช.กิตติศกดิ์ มูลประโมค
               ั
 ๒๖. ด.ช.ณัฐพงษ์ บุญมา
๒๗. ด.ช.ธี รพล มิศิริ
๒๘. ด.ช.พรพิพฒน์ เทพสี
             ั
๒๙. ด.ช.ภูมิทตย์ เชื่อมรัมย์
             ั
๓๐.   ด.ช.วรวฒิ บารุงจิต
              ุ ํ
๓๑.   ด.ช.สุทิน ภู่อาษา
๓๒.   ด.ช.สุมงคล แม่งมี
๓๓.   ด.ช.อธิพงษ์ วงศ์ขจร
๓๔.   ด.ช.ชัชชัย เทพจินดา
๓๕.   ด.ช.บุญฤทธิ์ นริ นทร์ทอง
๓๖.   ด.ช.ชาญยทธ โตะสิงห์
                ุ      ๊
๓๗.   ด.ช.นนธวฒน์ บัวแก้ว
            ั ั
๓๘.   ด.ช.บุญญลักษณ์ โสภา
๓๙.
           รวมปริมาณ
           รวมคุณภาพ




                                                ลงชื่อ.......................................................ผู้สอน/ผู้สังเกต

เกณฑ์ การประเมินผล
        ร้อยละ ๘๐ ข้ ึนไป        ระดับ ดี
        ร้อยละ ๕๐ - ๗๙           ระดับ พอใช้
        ร้อยละ ๕๐                ระดับ ควรปรับปรุ ง

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

วิชาศิลปะ ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...
วิชาศิลปะ ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...วิชาศิลปะ ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...
วิชาศิลปะ ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...Kruthai Kidsdee
 
Food m1
Food m1Food m1
Food m1umpan
 
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.6
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.6คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.6
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.6อำนาจ ศรีทิม
 
กำหนดการสอนศิลปะ
กำหนดการสอนศิลปะกำหนดการสอนศิลปะ
กำหนดการสอนศิลปะYatphirun Phuangsuwan
 
3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backwardparichat441
 
สาระที่ 2 หน่วยที่ 7
สาระที่ 2 หน่วยที่ 7  สาระที่ 2 หน่วยที่ 7
สาระที่ 2 หน่วยที่ 7 khomkrit2511
 
สาระที่ 2 หน่วยที่ 9
สาระที่ 2 หน่วยที่ 9  สาระที่ 2 หน่วยที่ 9
สาระที่ 2 หน่วยที่ 9 khomkrit2511
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5 ครูอภิชิต กลีบม่วง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5  ครูอภิชิต กลีบม่วงแผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5  ครูอภิชิต กลีบม่วง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5 ครูอภิชิต กลีบม่วงอภิชิต กลีบม่วง
 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศกลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศYatphirun Phuangsuwan
 
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้Yatphirun Phuangsuwan
 
สาระที่ 2 หน่วยที่ 8
สาระที่ 2 หน่วยที่ 8  สาระที่ 2 หน่วยที่ 8
สาระที่ 2 หน่วยที่ 8 khomkrit2511
 
สาระที่ 2 หน่วยที่ 6
สาระที่ 2 หน่วยที่ 6  สาระที่ 2 หน่วยที่ 6
สาระที่ 2 หน่วยที่ 6 khomkrit2511
 
แผนนาฏศิลป์ 1
แผนนาฏศิลป์ 1แผนนาฏศิลป์ 1
แผนนาฏศิลป์ 10898230029
 
ใบงาน หน่วยที่ 1
ใบงาน หน่วยที่ 1ใบงาน หน่วยที่ 1
ใบงาน หน่วยที่ 1sasi SAsi
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์ ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร บุญศรี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์  ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร  บุญศรีเอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์  ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร  บุญศรี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์ ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร บุญศรีครูเย็นจิตร บุญศรี
 
ครูเย็นจิตร บุญศรี เอกสารประกอบการเรียนเรื่อง ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และก...
ครูเย็นจิตร บุญศรี เอกสารประกอบการเรียนเรื่อง ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และก...ครูเย็นจิตร บุญศรี เอกสารประกอบการเรียนเรื่อง ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และก...
ครูเย็นจิตร บุญศรี เอกสารประกอบการเรียนเรื่อง ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และก...Kruple Ratchanon
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔kalayatookta
 

La actualidad más candente (20)

วิชาศิลปะ ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...
วิชาศิลปะ ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...วิชาศิลปะ ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...
วิชาศิลปะ ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...
 
Food m1
Food m1Food m1
Food m1
 
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.6
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.6คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.6
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.6
 
ใบงานวิชาดนตรี ม.5
ใบงานวิชาดนตรี ม.5ใบงานวิชาดนตรี ม.5
ใบงานวิชาดนตรี ม.5
 
กำหนดการสอนศิลปะ
กำหนดการสอนศิลปะกำหนดการสอนศิลปะ
กำหนดการสอนศิลปะ
 
3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward
 
สาระที่ 2 หน่วยที่ 7
สาระที่ 2 หน่วยที่ 7  สาระที่ 2 หน่วยที่ 7
สาระที่ 2 หน่วยที่ 7
 
สาระที่ 2 หน่วยที่ 9
สาระที่ 2 หน่วยที่ 9  สาระที่ 2 หน่วยที่ 9
สาระที่ 2 หน่วยที่ 9
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5 ครูอภิชิต กลีบม่วง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5  ครูอภิชิต กลีบม่วงแผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5  ครูอภิชิต กลีบม่วง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5 ครูอภิชิต กลีบม่วง
 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศกลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ
 
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้
 
สาระที่ 2 หน่วยที่ 8
สาระที่ 2 หน่วยที่ 8  สาระที่ 2 หน่วยที่ 8
สาระที่ 2 หน่วยที่ 8
 
สาระที่ 2 หน่วยที่ 6
สาระที่ 2 หน่วยที่ 6  สาระที่ 2 หน่วยที่ 6
สาระที่ 2 หน่วยที่ 6
 
แผนนาฏศิลป์ 1
แผนนาฏศิลป์ 1แผนนาฏศิลป์ 1
แผนนาฏศิลป์ 1
 
ใบงาน หน่วยที่ 1
ใบงาน หน่วยที่ 1ใบงาน หน่วยที่ 1
ใบงาน หน่วยที่ 1
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์ ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร บุญศรี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์  ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร  บุญศรีเอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์  ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร  บุญศรี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์ ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร บุญศรี
 
กำหนดการสอน
กำหนดการสอนกำหนดการสอน
กำหนดการสอน
 
ครูเย็นจิตร บุญศรี เอกสารประกอบการเรียนเรื่อง ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และก...
ครูเย็นจิตร บุญศรี เอกสารประกอบการเรียนเรื่อง ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และก...ครูเย็นจิตร บุญศรี เอกสารประกอบการเรียนเรื่อง ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และก...
ครูเย็นจิตร บุญศรี เอกสารประกอบการเรียนเรื่อง ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และก...
 
THAI DANCE
THAI  DANCETHAI  DANCE
THAI DANCE
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
 

Similar a แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55

บทความการใช้กิจกรรมประกอบจังหวะประกอบการสอนภาษาอังกฤษ
บทความการใช้กิจกรรมประกอบจังหวะประกอบการสอนภาษาอังกฤษ บทความการใช้กิจกรรมประกอบจังหวะประกอบการสอนภาษาอังกฤษ
บทความการใช้กิจกรรมประกอบจังหวะประกอบการสอนภาษาอังกฤษ Sasithon AnnAnn
 
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลาง
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลางบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลาง
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลางฏิวัตต์ สันทาลุนัย
 
แผนเป็นวิทยากรวิจัย
แผนเป็นวิทยากรวิจัยแผนเป็นวิทยากรวิจัย
แผนเป็นวิทยากรวิจัยppisoot07
 
หรรษากับเพลงภาษาไทย
หรรษากับเพลงภาษาไทยหรรษากับเพลงภาษาไทย
หรรษากับเพลงภาษาไทยMadaow Madaow
 
แบบทดสอบ ป.1
แบบทดสอบ ป.1แบบทดสอบ ป.1
แบบทดสอบ ป.1krumildsarakam25
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนพัน พัน
 
กิจกรรมฐาน
กิจกรรมฐานกิจกรรมฐาน
กิจกรรมฐานwara
 
หน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมหน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมPignoi Chimpong
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมรแผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมรitnogkamix
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1Itnog Kamix
 
ภาษาไทยBbl ป3ภาค1
ภาษาไทยBbl ป3ภาค1 ภาษาไทยBbl ป3ภาค1
ภาษาไทยBbl ป3ภาค1 Amm Orawanp
 
บทความ วิเคราะห์ เพลง
บทความ   วิเคราะห์ เพลงบทความ   วิเคราะห์ เพลง
บทความ วิเคราะห์ เพลงNiran Dankasai
 

Similar a แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55 (20)

บทความการใช้กิจกรรมประกอบจังหวะประกอบการสอนภาษาอังกฤษ
บทความการใช้กิจกรรมประกอบจังหวะประกอบการสอนภาษาอังกฤษ บทความการใช้กิจกรรมประกอบจังหวะประกอบการสอนภาษาอังกฤษ
บทความการใช้กิจกรรมประกอบจังหวะประกอบการสอนภาษาอังกฤษ
 
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลาง
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลางบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลาง
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลาง
 
แผนเป็นวิทยากรวิจัย
แผนเป็นวิทยากรวิจัยแผนเป็นวิทยากรวิจัย
แผนเป็นวิทยากรวิจัย
 
หรรษากับเพลงภาษาไทย
หรรษากับเพลงภาษาไทยหรรษากับเพลงภาษาไทย
หรรษากับเพลงภาษาไทย
 
2 exam-plan
2 exam-plan2 exam-plan
2 exam-plan
 
แบบทดสอบ ป.1
แบบทดสอบ ป.1แบบทดสอบ ป.1
แบบทดสอบ ป.1
 
ใบงานวิชาดนตรี ม.5
ใบงานวิชาดนตรี ม.5ใบงานวิชาดนตรี ม.5
ใบงานวิชาดนตรี ม.5
 
Asean Lesson Plan
Asean Lesson PlanAsean Lesson Plan
Asean Lesson Plan
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
กิจกรรมฐาน
กิจกรรมฐานกิจกรรมฐาน
กิจกรรมฐาน
 
หน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมหน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถม
 
interactive M 4
interactive M 4interactive M 4
interactive M 4
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมรแผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
ภาษาไทยBbl ป3ภาค1
ภาษาไทยBbl ป3ภาค1 ภาษาไทยBbl ป3ภาค1
ภาษาไทยBbl ป3ภาค1
 
บทความ วิเคราะห์ เพลง
บทความ   วิเคราะห์ เพลงบทความ   วิเคราะห์ เพลง
บทความ วิเคราะห์ เพลง
 

แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55

  • 1. แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ ๔ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๒๑๐๓ ( ดนตรี -นาฏศิลป์ ๓ ) ชั้ นมัธยมศึกษาปี ที่ ๒ หน่ วยการเรียนรู้ ที่ ๒ ความรู้ ทวไปเกี่ยวกับดนตรีไทย ั่ เวลาเรียน ๓ ชั่วโมง เรื่อง ความรู้ ทวไปเกี่ยวกับดนตรีไทย ั่ ชื่ อผู้สอน นางสาวหยาดพิรุณ พวงสุ วรรณ์ วนที่ .................................................................. ั  ๑. สาระสํ าคัญ การเรี ยนรู้เรื่ องดนตรี ตองอ่าน เขียน และร้องตามโน้ตไทย และโน้ตสากล ระบุปัจจัยสําคัญที่มีอิทธิพลต่อ ้ การสร้างสรรค์งานดนตรี และสามารถบรรยายอารมณ์จากเพลง และความรู ้สึกที่มีต่อบทเพลงที่ฟัง ๒. มาตรฐานการเรียนร้ ู ศ ๒.๑ เข้าใจและแสดงออกทางดนตรี อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วจารณ์คุณค่าดนตรี ถ่ายทอด ิ ความรู ้สึก ความคิดต่อดนตรี อย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกตใชในชีวตประจาวน ์ ้ ิ ํ ั ๓. ตัวชี้วด/ผลการเรียนรู้ ทคาดหวัง ั ี่ ๓.๑ ตัวชี้วด ั ศ๒.๑ ม.๒/๒ อ่าน เขียน ร้องโน้ตไทยและโน้ตสากลที่มีเครื่ องหมายแปลงเสี ยง ม.๒/๓ ระบุปัจจัยสําคัญที่มีอิทธิ พลต่อการสร้างสรรค์งานดนตรี ม.๒/๕ บรรยายอารมณ์ของเพลงและความรู ้สึกที่มีต่อบทเพลงที่ฟังของดนตรี ในประเทศไทย ๓.๒ ผลการเรียนรู้ ทคาดหวัง ี่ ๑) อ่าน เขียน ร้องโน้ตไทยที่มีเครื่ องหมายแปลงเสี ยงได้ ๒) ระบุปัจจัยสําคัญที่มีอิทธิ พลต่อการสร้างสรรค์งานดนตรี ได้ ๓) บรรยายอารมณ์ของเพลงและความรู ้สึกที่มีต่อบทเพลงที่ฟังได้ ๔. สาระการเรียนร้ ู ๔.๑ สาระการเรียนร้ ู แกนกลาง ๑)เครื่ องหมายและสัญลักษณ์ทางดนตรี -โน้ตจากเพลงไทยอัตราจังหวะสองชั้น ๒)เทคนิคและการแสดงออกในการ -จินตนาการในการสร้างสรรค์บทเพลง -การถ่ายทอดเรื่ องราวความคิดในบทเพลง ๓)การบรรยายอารมณ์และความรู ้สึกในบทเพลง ๔.๒ สาระการเรียนร้ ู ท้องถิ่น -
  • 2. ๕. สมรรถนะสําคัญของผ้ ูเรียน ๕.๑ ความสามารถในการคิด - ทักษะการคิดวิเคราะห์ ๕.๒ ความสามารถในการใช้ทกษะชีวต ั ิ - กระบวนการปฏิบติ ั - กระบวนการทํางานกลุ่ม ๖. คุณลกษณะอนพงประสงค์ ั ั ึ ๑. มีวนย ิ ั ๒. ใฝ่ เรี ยนรู้ ๗. กระบวนการจัดการเรียนร้ ู ( การจัดการเรี ยนรู้โดยเนนกระบวนการ : กระบวนการปฏิบติ) ้ ั ๑. ขั้นสังเกตรับรู ้ ๒. ขั้นทําตามแบบ ๓. ขั้นทาเองโดยไม่มีแบบ ํ ๔. ฝึ กให้ชานาญ ํ ( การจัดการเรี ยนรู้โดยใช้การอภิปรายกลุ่มย่อย) ๑. ขั้นจดผเู ้ รียนเป็นกลุ่มยอย ั ่ ํ ๒. ขั้นกาหนดประเด็นอภิปราย ๓. ขั้นบรรยาย ๔. ฝึ กสรุ ปผลการอภิปราย ๕. ขั้นสรุ ปบทเรี ยน ๖. ขั้นประเมินผลการเรี ยน ๘. กจกรรมการจัดการเรียนร้ ู ิ (ชั่ วโมงที่ ๑) นักเรี ยนทําแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ ข้นที่ ๑ ขั้นสังเกตรับร้ ู ั ๑.ครู นาบัตรตัวโน้ตเพลงไทย มาให้นกเรี ยนดู แล้วถามนักเรี ยนว่า เคยเห็นเครื่ องหมายเหล่านี้หรื อไม่ ํ ั และรู้หรือไม่วา เครื่องหมายเหล่าน้ ีมีหนาที่อยางไร โดยครูคอยกระตุนใหนกเรียนทุกคนมีส่วนร่วมในการแสดง ่ ้ ่ ้ ้ ั ความคิดเห็น ๒.ครู อธิ บายว่า ตัวโน้ตเพลงไทยเป็ นพื้นฐานที่นกเรียนควรรู้ในการปฏิบติหรือขบร้องเพลงไดถูกตอง ั ั ั ้ ้ ตามทํานองและจังหวะของเพลงไทย ๒. ขั้นทําตามแบบ ๓.ครู และนักเรี ยนร่ วมกันอภิปรายเกี่ยวกับลักษณะของตัวโน้ตเพลงไทย โดยครู ฝึกให้นกเรี ยนอ่าน ั โน้ตเพลงไทย เพื่อให้นกเรี ยนเข้าใจตัวอักษรที่ใช้แทนเสี ยงตัวโน้ตของไทย ั
  • 3. ๔.ครู ถามนกเรียนวา นกเรียนคนใดเล่นดนตรีไทยเป็นบาง และเล่นดนตรีไทยประเภทใด แลวเคยบนทึก ั ่ ั ้ ้ ั โนตเพลงไทยหรือไม่ โดยครูอาจใหนกเรียนออกมาบนทึกโนตเพลงไทยที่เลือกเองมา ๑ เพลง บนกระดานที่หนา ้ ้ ั ั ้ ้ ช้ นเรียน ั ๕.ครู และนักเรี ยนร่ วมกันอภิปรายความรู ้เรื่ อง รู ปแบบการบันทึกโน้ตเพลงไทย โดยครู อธิ บายเพิ่มเติม เพื่อให้นกเรี ยนมีความรู ้ความเข้าใจมากยิงขึ้น ั ่ ๓. ขั้นทําเองโดยไม่ มีแบบ ๖.ครู ให้นกเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ ๕-๖ คน ผลดกนอ่านโนตที่หลากหลายตามที่ครูกาหนดให้ จนเกิด ั ั ั ้ ํ ความชํานาญ แล้วครู ถามนักเรี ยนว่า จังหวะพื้นฐานเพลงไทยมีอะไรบ้าง แลวใหนกเรียนช่วยกนยกตวอยางเพลง ้ ้ ั ั ั ่ ตามจังหวะพื้นฐานเพลงไทย ครู คอยตรวจสอบความถูกต้อง ๗.ครู ให้นกเรี ยนแต่ละกลุ่มศึกษาความรู ้เรื่ อง อัตราจังหวะพื้นฐานเพลงไทย ในหนังสื อเรี ยน พร้อมฝึ ก ั เคาะจังหวะตามจนคล่อง โดยครู คอยสังเกตและให้คาแนะนําเพิ่มเติม ํ ๘.ครู สุ่มเรี ยกนักเรี ยนทีละคนให้ออกมาอ่านและเคาะจังหวะตามโน้ตเพลงต้นวรเชษฐ์สองชั้น เพื่อเป็ น การตรวจสอบความรู ้ความเข้าใจ แล้วครู อธิ บายเกี่ยวกับประวัติของเพลงต้นวรเชษฐ์สองชั้น ให้นกเรี ยนฟังว่า เป็ น ั เพลงเก่าที่มีมาตั้งแต่สมัยกรุ งศรี อยุธยา ไม่ปรากฏนามผูแต่ง เป็ นเพลงที่มีท่วงทํานองไพเราะ สนุกสนาน ง่ายต่อ ้ การจดจาเพลง ํ ๙.ครู ให้นกเรี ยนแต่ละกลุ่มฝึ กปฏิบติอ่านโน้ตเพลงต้นวรเชษฐ์สองชั้น โดยในแต่ละกลุ่มต้องช่วยกัน ั ั อธิ บายให้เพื่อนสมาชิกที่ไม่เข้าใจหรื อมีขอสงสัยปฏิบติให้ถูกต้อง จากนั้นครู สุ่มเรี ยกตัวแทนนักเรี ยน ๔ กลุ่ม ้ ั ออกมาอ่านโนตและเคาะจังหวะตามท่อนเพลงที่ครู กาหนด โดยครู และเพื่อนนักเรี ยนคอยตรวจสอบความถูกต้อง ้ ํ และให้คาแนะนําเพิ่มเติม ํ ๑๐.ครู ตีฉิ่งหรื อเปิ ดวีดิทศน์การตีฉิ่งเพลงจีนขิมเล็กสองชั้น ให้นกเรี ยนฟัง แล้วถามนักเรี ยนว่า จังหวะฉิ่ง ั ั ของเพลงมีความเหมือนหรื อแตกต่างจากเพลงอัตราจังหวะสองช้ นทวไปหรือไม่ อยางไร ั ่ั ่ ๔. ฝึ กให้ ชํานาญ ๑๑.ครูและนกเรียนฝึกตีฉิ่งจงหวะเพลงจีนขิมเล็กสองช้ นไปพร้อมกน ทีละท่อน โดยครูเปิดโอกาสให้ ั ั ั ั นักเรี ยนที่ไม่เข้าใจหรื อมีขอสงสัยซักถามเพิ่มเติม แล้วครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู ้เรื่ อง เครื่ องหมายและ ้ สัญลักษณ์ทางดนตรีไทย ๑๒.ครู เน้นยํ้าถึงความสําคัญของเครื่ องหมายและสัญลักษณ์ทางดนตรี ไทย ที่ส่งผลต่อการขับร้องเพลง ได้ถูกต้อง จึงให้นกเรี ยนทําความเข้าใจเกี่ยวกับเครื่ องหมายและสัญลักษณ์ พร้อมหมันฝึ กปฏิบติ จนเกิดความ ั ่ ั ชํานาญ (ชั่ วโมงที่ ๒) ๑. ข้ ันจัดผ้ ูเรียนเป็นกล่ ุมย่อย ๑.ครู เปิ ดซี ดีเพลงไทย ได้แก่ เพลงโหมโรงคลื่นกระทบฝั่งสามชั้น เพลงลาวกระทบไม้ เพลงค้างคาว กินกล้วย และเพลงตระนิมิต ครู สามารถเลือกเปิ ดเพลงได้ตามความเหมาะสม โดยในแต่ละเพลงที่ครู เลือกเปิ ดนั้น จะต้องเกิดจากปั จจัยสําคัญที่มีอิทธิ พลต่อการสร้างสรรค์งานดนตรี ที่ต่างกัน
  • 4. ๒. ข้ ันกาหนดประเด็นอภิปราย ํ ๒ ครูแบ่งนกเรียนออกเป็น ๔ กลุ่ม กลุ่มละเท่าๆ กัน ให้แต่ละกลุ่มส่ งตัวแทนออกมาจับสลากประเด็นที่ ั ํ ครูกาหนด ดงน้ ีั - กลุ่มหมายเลข ๑ ศึกษาความรู ้เรื่ อง ปั จจัยสําคัญที่มีอิทธิ พลต่อการสร้างสรรค์งานเพลงโหมโรงคลื่น กระทบฝั่งสามชั้น - กลุ่มหมายเลข ๒ ศึกษาความรู ้เรื่ อง ปั จจัยสําคัญที่มีอิทธิ พลต่อการสร้างสรรค์งานเพลงลาวกระทบไม้ - กลุ่มหมายเลข ๓ ศึกษาความรู ้เรื่ อง ปั จจัยสําคัญที่มีอิทธิ พลต่อการสร้างสรรค์งานเพลงค้างคาวกินกล้วย - กลุ่มหมายเลข ๔ ศึกษาความรู ้เรื่ อง ปั จจัยสําคัญที่มีอิทธิ พลต่อการสร้างสรรค์งานเพลงตระนิมิตโดยครู ให้นกเรี ยนแต่ละกลุ่มศึกษาหาความรู ้เพิ่มเติมจากหนังสื อเรี ยน หนังสื อค้นคว้าเพิ่มเติม หรื อแหล่งข้อมูล ั สารสนเทศ แลวเตรียมส่งตวแทนกลุ่ม กลุ่มละ ๓ คน ไปอธิ บายความรู ้ให้เพื่อนกลุ่มอื่นฟัง ้ ั ๓. ข้ันบรรยาย ๓. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู ้เรื่ อง ปั จจัยสําคัญที่มีอิทธิ พลต่อการสร้างสรรค์งานดนตรี ได้แก่ ธรรมชาติ วิถีชีวต ศาสนาและความเชื่อ อารมณ์และความรู ้สึก ิ ๔. ฝึ กสรุ ปผลการอภิปราย ๔. ครู ให้นกเรี ยนร่ วมกันอภิปรายเกี่ยวกับเทคนิคและการแสดงออกในการจินตนาการในการสร้างสรรค์ ั บทเพลง และเทคนิคและการแสดงออกในการถ่ายทอดเรื่ องราวความคิดในบทเพลง โดยให้สรุ ปเป็ นองค์ความรู้ ในรู ปแบบแผนผังความคิด ๕. ข้ ันสรุปบทเรียน ๕. ครู สุ่มเรี ยกนักเรี ยน ๑-๒ กลุ่ม ออกมานําเสนอผลการอภิปรายที่หน้าชั้นเรี ยน โดยครู เปิ ดโอกาสให้ เพื่อนนกเรียนที่มีผลการอภิปรายที่แตกต่างไดเ้ สนอแนะเพิ่มเติม ั ๖. ครู อธิ บายเพิมเติม โดยอาจยกตัวอย่างเพลงต่างๆ ที่เหมาะสมกับเนื้อหาที่เรี ยน เช่น ่ - เพลงที่แสดงถึงเทคนิคในการเลือกใช้เสี ยงที่แสดงออกถึงอารมณ์ต่างๆ เช่น เพลงค้างคาวกินกล้วย (อารมณ์สนุกสนาน) เพลงนกเขาขะแมสามชั้น (ชมธรรมชาติ) - เพลงไทยที่เลียนเสี ยงสําเนียงชาติต่างๆ เช่น เพลงจีนไจ้ยอ เพลงพม่ารําขวาน - เพลงที่ใช้เทคนิคและการแสดงออกในการถ่ายทอดเรื่ องราวความคิดเกี่ยวกับความรักในเพลง เช่น เพลงบังใบสองชั้น - เพลงที่ใช้เทคนิคและการแสดงออกในการถ่ายทอดเรื่ องราวความคิดเกี่ยวกับความโศกเศร้า ในเพลง เช่น เพลงลาวครวญสองชั้น ๖. ข้ ันประเมินผลการเรียน ๗. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันอภิปรายเกี่ยวกับประโยชน์ที่ได้จากการนําเทคนิคและการแสดงออกในการ จินตนาการในการสร้างสรรค์บทเพลง และเทคนิคและการแสดงออกในการถ่ายทอดเรื่ องราวความคิดในบทเพลง
  • 5. (ชั่ วโมงที่ ๓) ๑. ข้ ันจัดผ้ ูเรียนเป็นกล่ ุมย่อย ๑.ครู ถามนักเรี ยนว่า เวลานักเรี ยนฟังเพลงจังหวะช้ากับฟังเพลงจังหวะเร็ วนั้น ให้อารมณ์และความรู้สึกที่ แตกต่างกนหรือไม่ อย่างไร ั ๒.ครู เปิ ดเพลงไทยที่มีท่วงทํานอง อารมณ์เพลง แตกต่างกัน ๓ เพลง ใหนกเรียนฟัง เช่น ้ ั ๑)เพลงที่ก่อให้เกิดความรู ้สึกเศร้าโศก ทุกข์ใจ เช่น เพลงแขกครวญ เพลงธรณี กนแสง ั ๒)เพลงที่ก่อให้เกิดความรู ้สึกรื่ นเริ ง สนุกสนาน ฮึกเหิ ม เช่น เพลงค้างคาวกินกล้วย เพลงกราวตะลุง เพลงมาร์ ชชิ่ง ๓)เพลงที่ก่อให้เกิดความรู ้สึกขลัง ศักดิ์สิทธิ์ น่าเคารพ เช่น เพลงนางนาค เพลงสาธุ การแล้วให้ นักเรี ยนกลุ่มเดิมร่ วมกันเขียนบรรยายว่า แต่ละเพลงนั้น นักเรี ยนฟังแล้วมีความรู ้สึกอย่างไร และทําให้เกิด จินตนาการถึงอะไร ๓.ครู สุ่มเรี ยกนักเรี ยน ๑-๒ กลุ่ม ออกมานําเสนอผลการอภิปรายที่หน้าชั้นเรี ยน โดยครู และเพื่อนนักเรี ยน แสดงความคิดเห็นเพิ่มเติม ๒. ข้ ันกาหนดประเด็นอภิปราย ํ ๔.ครู ให้นกเรี ยนแต่ละกลุ่มช่วยกันศึกษาความรู ้เรื่ อง อารมณ์เพลงและความรู ้สึกในบทเพลง ในหนังสื อ ั เรียน แลวใหสมาชิกแต่ละคนในกลุ่มทาใบงานที่ ๑ เรื่ อง อารมณ์ความรู ้สึกจากบทเพลงที่ฟัง โดยใหเ้ ลือกเพลงไทยที่ชื่น ้ ้ ํ ชอบ มา ๑ เพลง แล้วให้เขียนบรรยายว่า เพลงนั้นเมื่อฟังแล้วให้อารมณ์ความรู ้สึกอย่างไร โดยนักเรี ยนในแต่ละกลุ่มต้อง เลือกเพลงไม่ใหซ้ ากน ้ ํ ั ๓. ข้ันบรรยาย ๕.เมื่อสมาชิกในกลุ่มทุกคนทํางานเสร็ จแล้ว ให้แลกเปลี่ยนผลงานกันดู โดยนักเรี ยนที่เป็ นเจ้าของผลงาน ต้องสามารถอธิ บายให้เพื่อนเข้าใจในผลงานของตนเองได้ ๔. ฝึ กสรุ ปผลการอภิปราย ๖.ครู ให้นกเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ ๕-๖ คน เลือกฟังเพลงไทยที่กลุ่มสนใจ มา ๑ เพลง แล้ววิเคราะห์ ั ํ ตามประเด็นที่ครูกาหนด ดงน้ ี ั ๑) การอ่าน เขียน ร้องโน้ตเพลงไทยที่กลุ่มสนใจ ๒) การระบุปัจจัยที่มีอิทธิ พลต่อการสร้างสรรค์งานเพลง ๓) การบรรยายอารมณ์และความรู ้สึกที่มีต่อบทเพลงที่ฟัง ๕. ข้ ันสรุปบทเรียน ๗.ให้รายงานผลการวิเคราะห์ โดยครู เน้นยํ้าให้นกเรี ยนนําความรู ้ที่ได้เรี ยนมาประยุกต์ใช้ในการทําผลงาน ั แลวครูและนกเรียนร่วมกนกาหนดระยะเวลาในการส่งผลงาน ้ ั ั ํ ๖. ข้ ันประเมินผลการเรียน ๘.ครูเป็นผประเมินผล ู้ ๙. นกเรียนทาแบบทดสอบหลงเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ ั ํ ั
  • 6. ๙. สื่ อ/แหล่ งการเรียนร้ ู ๙.๑ สื่ อการเรียนรู้ ๑) หนงสือเรียนดนตรี-นาฏศิลป์ ม.๒ ั ๒) ตัวอย่างสื่ อประกอบการสอน ๓) วีดิทศน์การตีฉิ่งเพลงจีนขิมเล็กสองชั้น ั ๔) ซี ดีเพลงไทย ได้แก่ เพลงโหมโรงคลื่นกระทบฝั่งสามชั้น เพลงลาวกระทบไม้ ั เพลงค้างคาวกินกล้วย เพลงตระนิมิต เพลงแขกครวญ เพลงธรณี กนแสง เพลงกราวตะลุง เพลงมาร์ ชชิ่ง เพลงนางนาค เพลงสาธุ การ ๕)ใบงานที่ ๑ เรื่อง อารมณ์ความรู ้สึกจากบทเพลงที่ฟัง ๙.๒ แหล่งการเรียนร้ ู ๑) หองสมุด ้ ๒) http://kruyatphirun.wordpress.com ๑๐. การวัดผลประเมินผล ตัวบ่ งชี้ความสํ าเร็จ วธีวด/ประเมินผล ิ ั เครื่องมือ ๑) คุณธรรมจริยธรรมค่านิยม สังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุ่ม แบบสังเกตพฤติกรรมกลุ่ม ๑.๑)มีความมุ่งมันในการทํางาน ่ รับผิดชอบ ความสามัคคี ด้านปริ มาณร้อยละ ๑๐๐ ด้านคุณภาพร้อยละ ๗๕ ๒) ความรู ้ ตรวจใบงาน แบบประเมินใบงาน ๒.๑) อารมณ์ความรู ้สึกจากบท เพลงที่ฟัง ด้านปริ มาณ ร้อยละ ๑๐๐ ดานคุณภาพ ร้อยละ ๗๕ ้ ๓) ด้านทักษะ สังเกตการนําเสนอ แบบประเมินผลการนําเสนองาน ๓.๑)การนําเสนองานหน้าชั้นเรี ยน ด้านปริ มาณ ร้อยละ ๑๐๐ ด้านคุณภาพ ร้อยละ ๗๕ ลงชื่อ........................................... (นายศราวุธ ไชยเจริ ญ)
  • 7. ครู โรงเรียนวดพวงนิมิต ั ๑๑. ข้อเสนอแนะของผ้ ูบริหาร ลงชื่ อ........................................... (นายสมยศ เพ็ชรวงษา) ผอานวยการโรงเรียนวดพวงนิมิต ู้ ํ ั ๑๒. บันทึกผลการเรียนรู้ ผลการประเมินผ่านเกณฑ์ จํานวนนักเรียน ตัวบ่ งชี้ความสํ าเร็จ คิดเป็ นร้ อยละ (คน) ๑) คุณธรรมจริยธรรมค่านิยม ตัวบ่ งชี้ ผ่าน ไม่ผ่าน ๑.๑)มีความมุ่งมันในการทํางาน ่ ด้านปริ มาณ..........................% รับผิดชอบ รับผิดชอบ ความสามัคคี มุ่งมัน ่ ด้านคุณภาพ..........................% สามัคคี ด้านปริ มาณร้อยละ ๑๐๐ ตรงต่อเวลา ด้านคุณภาพร้อยละ ๗๕ ๒) ความรู ้ ๒.๑) อารมณ์ความรู ้สึกจากบทเพลง ด้านปริ มาณ..........................% ผ่าน ไม่ผ่าน ที่ฟัง ด้านคุณภาพ..........................% ด้านปริ มาณ ร้อยละ ๑๐๐ ด้านคุณภาพ ร้อยละ ๗๕ ๓) ด้านทักษะ ๓.๑)การนําเสนองานหน้าชั้นเรี ยน ด้านปริ มาณ..........................% ผ่าน ไม่ผ่าน ด้านปริ มาณ ร้อยละ ๑๐๐ ด้านคุณภาพ..........................% ด้านคุณภาพ ร้อยละ ๗๕ บันทึกผลการจัดการเรี ยนรู้ เพิมเติม ่
  • 8. นักเรี ยนทีมีความสามารถพิเศษ ่ ผลทเี่ กดกบผ้ ูเรียน ิ ั ปัญหาหรื อสิ่ งทีต้องการพัฒนา ่ ข้อเสนอแนะ/แนวทางการปรับปรุงในการสอนคร้ ังต่อไป ลงชื่อ...........................................ครู ผสอน ู้ (นางสาวหยาดพิรุณ พวงสุวรรณ์) ครู
  • 9. ตัวอย่ างสื่ อประกอบการสอน โน้ ตเพลงไทย ตวอกษรที่ใชแทนเสียงตวโนตของไทย ไดแก่ ด ใชแทนเสียงโนตตว โด ร ใชแทนเสียงโนตตว เร ั ั ้ ั ้ ้ ้ ้ ั ้ ้ ั ม ใชแทนเสียงโนตตว มี ฟ ใชแทนเสียงโนตตว ฟา ซ ใชแทนเสียงโนตตว ซอล ล ใชแทนเสียงโนตตว เล ้ ้ ั ้ ้ ั ้ ้ ั ้ ้ ั ท ใชแทนเสียงโนตตว ที ้ ้ ั ตัวอย่ างโน้ ตทั่วไปที่มีความยาวของจังหวะเท่ าๆ กัน
  • 13. แบบประเมินรายงานผลการฟังเพลงไทยที่สนใจ กลุ่มที่..................................... สมาชิกของกลุ่ม ๑. .......................................................... ๒. ......................................................... ๓. .......................................................... ๔. ......................................................... ๕. .......................................................... ๖. ......................................................... ลาดับ ํ คุณภาพผลงาน รายการประเมิน ที่ ๔ ๓ ๒ ๑ ๑ การอาน เขียน ร้องโน้ตเพลงไทยที่กลุ่มสนใจ ่ ๒ การระบุปัจจัยที่มีอิทธิ พลต่อการสร้างสรรค์งานเพลง การบรรยายอารมณ์ของเพลงและความรู ้สึกที่มีต่อ ๓ บทเพลงที่ฟัง รวม ลงชื่อ..............................................................................ผประเมิน ู้ ......................./.........................../........................ เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑ์การตดสินคุณภาพ ั ดีมาก = ๔ ช่ วงคะแนน ระดับคุณภาพ ดี = ๓ ๑๑-๑๒ ดีมาก พอใช้ = ๒ ๙-๑๐ ดี ปรับปรุ ง = ๑ ๖-๘ พอใช้ ํ ่ ต่ากวา ๖ ปรับปรุ ง
  • 14. ใบงานที่ ๑ เรื่อง อารมณ์ ความรู้ สึกจากบทเพลงที่ฟัง คําชี้แจง ให้นกเรี ยนเลือกเพลงไทยที่ชื่นชอบ มา ๑ เพลง แล้วให้เขียนบรรยายว่า เพลงนั้นเมื่อฟังแล้วให้อารมณ์ ั ความรู ้สึกอย่างไร เพลง เนือเพลง ้ อารมณ์ ความรู้ สึกทีได้ จากการฟังเพลง ่
  • 15. ใบงานที่ ๑ เรื่อง อารมณ์ ความรู้ สึกจากบทเพลงที่ฟัง คําชี้แจง ให้นกเรี ยนเลือกเพลงไทยที่ชื่นชอบ มา ๑ เพลง แล้วให้เขียนบรรยายว่า เพลงนั้นเมื่อฟังแล้วให้อารมณ์ ั ความรู ้สึกอย่างไร เพลง เนือเพลง ้ อารมณ์ ความรู้ สึกทีได้ จากการฟังเพลง ่ (พิจารณาตามผลงานของนักเรี ยน โดยให้ อยู่ในดุลยพินิจของครู ผ้ สอน) ู
  • 16. แบบประเมินการนําเสนอผลงาน คุณภาพการปฏิบัติ ลําดับที่ รายการประเมิน ๔ ๓ ๒ ๑ ๑ นาเสนอเน้ือหาในผลงานไดถูกตอง ํ ้ ้ ๒ การลาดบข้ นตอนของเน้ือเรื่อง ํ ั ั ๓ การนําเสนอมีความน่าสนใจ ๔ การมีส่วนร่ วมของสมาชิกในกลุ่ม ๕ ่ การตรงตอเวลา รวม ลงชื่อ...................................................ผประเมิน ู้ ............../.................../............... เกณฑ์การให้คะแนน ผลงานหรือพฤติกรรมสมบูรณ์ชดเจน ั ให้ ๔ คะแนน ผลงานหรือพฤติกรรมมีขอบกพร่องบางส่วน ้ ให้ ๓ คะแนน ผลงานหรือพฤติกรรมมีขอบกพร่องเป็นส่วนใหญ่ ้ ให้ ๒ คะแนน ผลงานหรือพฤติกรรมมีขอบกพร่องมาก ้ ให้ ๑ คะแนน เกณฑ์การตดสินคุณภาพ ั ช่ วงคะแนน ระดับคุณภาพ ๑๘ - ๒๐ ดีมาก ๑๔ -๑๗ ดี ๑๐ -๑๓ พอใช้ ํ ่ ต่ากวา ๑๐ ปรับปรุ ง
  • 17. แบบสั งเกตพฤติกรรมการทํางานกลุ่ม การแบ่ ง รวม ความร่ วมมือกัน การแสดงความ การรับฟังความ ความมีนําใจ ้ ชื่อ – สกล ุ หน้ าทีกน ่ั ๒๐ ลาดบที่ ํ ั ทํางาน คิดเห็น คิดเห็น ช่ วยเหลือกัน ของผู้รับการประเมิน อย่ างเหมาะสม คะแนน ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๑. ด.ช.ราเชษฐ์ เดชชัยภูมิ ๒. ด.ญ.นีระบล รักสงคราม ๓. ด.ญ.พิมพ์วภา สี จนทร์ ิ ั ๔. ด.ช.ทวีศกดิ์ คณาญาติ ั ๕. ด.ช.อินทโชติ ขอประสงค์ ๖. ด.ช.จตุพล สงระมาตร์ั ๗. ด.ช.ณัฐพงศ์ สุจริ ตจันทร์ ๘. ด.ช.ปิ ยะ ชาญประเสริฐ ๙. ด.ช.สุวท รอดสันเทียะ ิ ๑๐. ด.ช.ธงไชย พนสาย ั ๑๑. ด.ญ.วรรณพร แม่นปื น ๑๒. ด.ญ.สกาวรัตน์ คําสวรรค์ ๑๓. ด.ญ.เพ็ชรธิดา ผาเผย ๑๔. ด.ญ.พรรทิพย ์ แผ่วฉิ มพลี ๑๕. ด.ช.จิตรเทพ บุญยืด ๑๖. ด.ช.นที เขียวงาม ๑๗. ด.ช.กิตติศกดิ์ บุญชัยมิ่ง ั ๑๘. ด.ญ.กัญญารัตน์ เฉลิมแสน ๑๙. ด.ช.อภินนท์ ศิลป์ชย ั ั ๒๐. ด.ญ.นิชาดา ประทุม ๒๑. ด.ช.ชัยณรงค์ ดีสาโรง ํ ๒๒. ด.ช.พฒิพงษ์ ห่อทรัพย์ ุ ๒๓. ด.ช.สิ ทธินนท์ เกษมสถิตยวงศ์ ์ ๒๔. ด.ช.ทัศนัย สุขเกษม ๒๕. ด.ช.กิตติศกดิ์ มูลประโมค ั ๒๖. ด.ช.ณัฐพงษ์ บุญมา ๒๗. ด.ช.ธี รพล มิศิริ ๒๘. ด.ช.พรพิพฒน์ เทพสี ั ๒๙. ด.ช.ภูมิทตย์ เชื่อมรัมย์ ั ๓๐. ด.ช.วรวฒิ บารุงจิต ุ ํ ๓๑. ด.ช.สุทิน ภู่อาษา
  • 18. ๓๒. ด.ช.สุมงคล แม่งมี ๓๓. ด.ช.อธิ พงษ์ วงศ์ขจร ๓๔. ด.ช.ชัชชัย เทพจินดา ๓๕. ด.ช.บุญฤทธิ์ นริ นทร์ ทอง ๓๖. ด.ช.ชาญยทธ โตะสิงห์ ุ ๊ ๓๗. ด.ช.นนธวฒน์ บัวแก้ว ั ั ๓๘. ด.ช.บุญญลักษณ์ โสภา ๓๙. เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑ์การตดสินคุณภาพ ั ลงชื่อ...................................................ผประเมิน ู้ ดีมาก = ๔ ช่ วงคะแนน ระดับคุณภาพ ............../.................../................ ดี = ๓ ๑๗ – ๒๐ ดีมาก พอใช้ = ๒ ๑๓ – ๑๖ ดี ปรับปรุ ง = ๑ ๙ – ๑๒ พอใช้ ๕–๘ ปรับปรุ ง
  • 19. แบบสังเกตพฤติกรรม ระหว่างเรียน เรื่อง ความรู ้ทวไปเกี่ยวกับดนตรี ไทย ั่ วนที่ ............................................................... ั คําชี้แจง ให้ลงคะแนนในช่องรายการสังเกตพฤติกรรมที่นกเรี ยนปฏิบติ ั ั รายการ สรุ ปผล คุณธรรม ความรู้ ทักษะ อารมณ์ความรู้ สึกจากบทเพลงที่ฟัง รับผดชอบงานที่ได้รับมอบหมาย รวมระดบคะแนน มีความสามัคคีในหมู่คณะ การนําเสนอหน้ าชั้นเรียน เลขที่ ชื่ อ – สกุล ผ่ าน/ไม่ ผ่าน ม่ งมั่นในการทํางาน ตรงต่ อเวลา ั ุ ิ ๑. ด.ช.ราเชษฐ์ เดชชัยภูมิ ๒. ด.ญ.นีระบล รักสงคราม ๓. ด.ญ.พิมพ์วภา สี จนทร์ ิ ั ๔. ด.ช.ทวีศกดิ์ คณาญาติ ั ๕. ด.ช.อินทโชติ ขอประสงค์ ๖. ด.ช.จตุพล สงระมาตร์ั ๗. ด.ช.ณัฐพงศ์ สุจริ ตจันทร์ ๘. ด.ช.ปิ ยะ ชาญประเสริฐ ๙. ด.ช.สุวท รอดสันเทียะ ิ ๑๐. ด.ช.ธงไชย พนสาย ั ๑๑. ด.ญ.วรรณพร แม่นปื น ๑๒. ด.ญ.สกาวรัตน์ คําสวรรค์ ๑๓. ด.ญ.เพ็ชรธิดา ผาเผย ๑๔. ด.ญ.พรรทิพย ์ แผ่วฉิ มพลี ๑๕. ด.ช.จิตรเทพ บุญยืด ๑๖. ด.ช.นที เขียวงาม ๑๗. ด.ช.กิตติศกดิ์ บุญชัยมิ่ง ั ๑๘. ด.ญ.กัญญารัตน์ เฉลิมแสน ๑๙. ด.ช.อภินนท์ ศิลป์ชย ั ั ๒๐. ด.ญ.นิชาดา ประทุม ๒๑. ด.ช.ชัยณรงค์ ดีสาโรง ํ ๒๒. ด.ช.พฒิพงษ์ ห่อทรัพย์ ุ ๒๓. ด.ช.สิ ทธิ นนท์ เกษมสถิตยวงศ์ ์ ๒๔. ด.ช.ทัศนัย สุขเกษม ๒๕. ด.ช.กิตติศกดิ์ มูลประโมค ั ๒๖. ด.ช.ณัฐพงษ์ บุญมา
  • 20. ๒๗. ด.ช.ธี รพล มิศิริ ๒๘. ด.ช.พรพิพฒน์ เทพสี ั ๒๙. ด.ช.ภูมิทตย์ เชื่อมรัมย์ ั ๓๐. ด.ช.วรวฒิ บารุงจิต ุ ํ ๓๑. ด.ช.สุทิน ภู่อาษา ๓๒. ด.ช.สุมงคล แม่งมี ๓๓. ด.ช.อธิพงษ์ วงศ์ขจร ๓๔. ด.ช.ชัชชัย เทพจินดา ๓๕. ด.ช.บุญฤทธิ์ นริ นทร์ทอง ๓๖. ด.ช.ชาญยทธ โตะสิงห์ ุ ๊ ๓๗. ด.ช.นนธวฒน์ บัวแก้ว ั ั ๓๘. ด.ช.บุญญลักษณ์ โสภา ๓๙. รวมปริมาณ รวมคุณภาพ ลงชื่อ.......................................................ผู้สอน/ผู้สังเกต เกณฑ์ การประเมินผล ร้อยละ ๘๐ ข้ ึนไป ระดับ ดี ร้อยละ ๕๐ - ๗๙ ระดับ พอใช้ ร้อยละ ๕๐ ระดับ ควรปรับปรุ ง