SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 43
เป็นกระบวนการที่นักวิทยาศาสตร์ใช้ในการค้นคว้าหาความรู้จากธรรมชาติได้อย่างมีระบบ มีองค์ประกอบดังนี้ กระบวนการแสวงหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ 1.  วิธีการทางวิทยาศาสตร์   (Scientific Method) 2.  เจตคติทางวิทยาศาสตร์  (Scientific attitude) 3.  ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์  (Scientific skill)
Let’s think!    1.  วิธีการทางวิทยาศาสตร์   (Scientific Method)
ความรู้ใหม่ กำหนดขอบเขตของปัญหา ตั้งสมมติฐาน ทดลองและรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล สรุปผลและนำไปใช้ เผชิญปัญหา เป็นวิธีการที่นักวิทยาศาสตร์ใช้แสวงหาความรู้ แก้ปัญหา โดยมีขั้นตอน ดังนี้   Scientific Method
คือ แนวคิดหรือความรู้สึกของบุคคลที่มีแนวโน้มแสดงพฤติกรรมต่อไปนี้ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],www.generativeart.com /.../p03.M.T.Krasek.htm   2.  เจตคติทางวิทยาศาสตร์  (Scientific attitude) A n artist needs a scientific attitude to his/her work as the scientist must have an artistic attitude to his/her.
www.act.waterwatch.org.au/primary.htm   3.  ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์   (Scientific Skill)
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ประกอบด้วย  13  ทักษะ  ดังนี้ ทักษะขั้นมูลฐาน  ( Basic process skills ) 8  ทักษะ ได้แก่
12.  ทักษะการทดลอง  (  Experimenting  ) 9.  ทักษะการตั้งสมมติฐาน  (  Formulating Hypothesis  ) 11.  ทักษะการควบคุมตัวแปร  (  Controlling Variables  ) 13.  ทักษะการตีความและลงข้อสรุป  (  Interpreting data  ) 10.  ทักษะการกำหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ  ( Operational   Definition ) แนวของสมาคมอเมริกาเพื่อความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์  ( The   American   Association   for   the   Advancement   of   Science  –  AAAS )  ทักษะขั้นสูงหรือทักษะขั้นบูรณาการ  ( Integrated process skills ) 5  ทักษะ ได้แก่
ใช้ตาดูรูปร่าง  ใช้หูฟังเสียง ใช้ลิ้นชิมรส ใช้จมูกดมกลิ่น  และใช้ผิวกายสัมผัสความร้อนเย็น  ,[object Object],หมายถึง   การใช้ประสาทสัมผัสทั้ง   5  ในการสังเกต ได้แก่ การใช้ประสาทสัมผัสเหล่านี้จะใช้ทีละอย่างหรือหลายอย่างพร้อมกัน  เพื่อรวบรวมข้อมูลก็ได้โดย ไม่เพิ่มความคิดเห็นของผู้สังเกตลงไป
ข้อมูลที่ได้จากการสังเกต 1.  ข้อมูลเชิงคุณภาพ 2.  ข้อมูลเชิงปริมาณ 3.  ข้อมูลเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลง
-  หินแต่ละก้อนขนาดและรูปร่างต่างกัน -  มีสีต่างกัน -  ผิวขรุขระและแข็ง ฯลฯ -  มีก้อนหินซ้อนกันจำนวน  5  ก้อน -  ก้อนล่างสุดหนาประมาณ  5  ซม . -  ถ้าเลื่อนตำแหน่งของก้อนที่  2  นับจากด้านล่าง ก็จะทำให้ก้อนด้านบน พังครืนลงมา ฯลฯ การสังเกตการเรียงตัวของก้อนหิน 1.  ข้อมูลเชิงคุณภาพ 2.  ข้อมูลเชิงปริมาณ 3.  ข้อมูลเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลง
หมายถึง  การเลือกและการใช้เครื่องมือวัดปริมาณของสิ่งของออกมาเป็น ตัวเลขที่แน่นอนได้อย่างเหมาะสม และถูกต้องโดยมีหน่วยกำกับเสมอ ในการวัดเพื่อหาปริมาณของสิ่งที่วัดต้องฝึกให้ผู้เรียนหาคำตอบ  4  ค่า ? ,[object Object],จะวัดอะไร วัดทำไม ใช้เครื่องมืออะไรวัด จะวัดได้อย่างไร
หมายถึง  การแบ่งพวกหรือการเรียงลำดับวัตถุ หรือสิ่งที่อยู่ในปรากฏการณ์โดยการหาเกณฑ์หรือสร้างเกณฑ์ในการจำแนกประเภท ซึ่งอาจใช้เกณฑ์อย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้  แล้วแต่ผู้เรียนจะเลือกใช้เกณฑ์ใด ความเหมือน  ความแตกต่าง  ความสัมพันธ์  ,[object Object],เกณฑ์ที่ใช้ในการจำแนกประเภทมี  3   อย่าง   ได้แก่      
การจำแนกประเภทโดยอาศัยคุณสมบัติของวัตถุเป็นเกณฑ์  1 2 2 3 4 5 6 ที่  คุณลักษณะที่สังเกตได้  1 ตามลำตัวมีจุด  2 รูปร่างกลม  3 ลำตัวมีขอบหยัก  4 มีลายยาวตามลำตัว  5 มีสี่เหลี่ยมอยู่ภายในลำตัว  มี  ไม่มี  1,5 ,6  2 ,3,4  1,4  2,3,5,6  2 , 3 , 6  1,4,5  2 1,3,4,5,6  3 1,2,4,5,6
หมายถึง  การหาความสัมพันธ์ระหว่างมิติต่างๆ ที่เกี่ยวกับสถานที่ รูปทรง ทิศทาง ระยะทาง พื้นที่ เวลา ฯลฯ ,[object Object],[object Object],การหาความสัมพันธ์ระหว่าง สเปสกับสเปส  เช่น การหารูปร่างของวัตถุ โดยสังเกตจากเงาของวัตถุ เมื่อให้แสงตกกระทบวัตถุในมุมต่างๆ กัน ฯลฯ การหาความสัมพันธ์ระหว่าง เวลากับเวลา  เช่น การหาความสัมพันธ์ระหว่างจังหวะการแกว่งของลูกตุ้มนาฬิกากับจังหวะการเต้นของชีพจรฯลฯ การหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับเวลา  เช่น การหาตำแหน่งของวัตถุที่เคลื่อนที่ไปเมื่อเวลาเปลี่ยนไป ฯลฯ
บอกรูป  (  2  มิติ  )  ที่เกิดจากรอยตัด เมื่อตัดวัตถุ  (  3  มิติ  )  ออกเป็น  2  ส่วน  บอกเงา  (  2  มิติ  )  ของวัตถุที่เกิดขึ้น เมื่อเห็นวัตถุ  (  3  มิติ  )  วาดรูป  2  มิติ จากวัตถุหรือรูปทรง  3  มิติได้
หมายถึง การนำเอาจำนวนที่ได้จากการวัด การสังเกต และการทดลองมาจัดกระทำให้เกิดค่าใหม่ เช่น การบวก ลบ คูณ หาร การหาค่าเฉลี่ย การหาค่าต่างๆ ทางคณิตศาสตร์ เพื่อนำค่าที่ได้จากการคำนวณ ไปใช้ประโยชน์ในการแปลความหมาย และการลงข้อสรุป ,[object Object]
หมายถึง การนำเอาข้อมูล ซึ่งได้มาจากการสังเกต การทดลอง ฯลฯ  มาจัดกระทำเสียใหม่  ,[object Object],นำมาจัดเรียงลำดับ หาค่าความถี่ แยกประเภท คำนวณหาค่าใหม่ นำมาจัดเสนอในรูปแบบใหม่ 1.  ตาราง 2.  แผนภูมิ 3.  วงจร 4.  กราฟ 5.  สมการ 6.  บรรยาย  การจัดกระทำข้อมูล การสื่อความหมาย ข้อมูลดิบ
หมายถึง   ความชำนาญในการอธิบายสิ่งที่ได้จากการสังเกตเกี่ยวกับวัตถุหรือเหตุการณ์เฉพาะอย่าง  ,[object Object],- สามารถแยกความแตกต่างระหว่างการสังเกต และการลงความคิดเห็น  - แปลความหมายข้อมูลที่บันทึกไว้หรือได้มาทางอ้อมแล้วนำมาทำนายเหตุการณ์จากข้อมูล - เป็นการอธิบายที่อาศัยความรู้หรือประสบการณ์เดิมหรือความคิดเห็นส่วนตัวเพิ่มเติมลงไปด้วย
เอาน้ำแข็งใส่ถ้วยแก้วทิ้งไว้ สักครู่หนึ่งจะสังเกตเห็นหยดน้ำเกาะอยู่ที่ผิวแก้วด้านนอก ตัวอย่างการลงความเห็นข้อมูล หยดน้ำที่เกาะข้างถ้วยแก้วด้านนอกมาจากไอน้ำในอากาศ
หมายถึง  การคาดคะเนหาคำตอบล่วงหน้าก่อนการทดลองโดยอาศัยข้อมูลที่ได้จากการสังเกต การวัด รวมไปถึงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรที่ได้ศึกษามาแล้ว หรืออาศัยประสบการณ์ที่เกิดซ้ำ ๆ ,[object Object],[object Object],[object Object],ความสามารถในการพยากรณ์มี  2  ลักษณะ
1.  การพยากรณ์ข้อมูลทั่วไป ประสบการณ์เดิมหรือความรู้เดิม สถานการณ์ การพยากรณ์ ตัวอย่างการพยากรณ์ เมื่อมีเมฆแผ่นสีคล้ำลอยต่ำต่อมาจะมีฝนตก วันนี้มีเมฆแผ่นสีคล้ำลอยต่ำ วันนี้ฝนต้องตกแน่ๆ
2. การพยากรณ์เชิงปริมาณ ตารางข้อมูลระยะเวลาที่ปลูกกับความสูงของต้นไม้ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ระยะเวลา  ( สัปดาห์ ) ความสูง  ( เซนติเมตร ) 2 2.5 4 5.5 6 8.5
หมายถึง  การคิดหาค่าคำตอบล่วงหน้าก่อนจะทำการทดลอง โดยอาศัยการสังเกต ความรู้ ประสบการณ์เดิมเป็นพื้นฐาน คำตอบที่คิดล่วงหน้ายังไม่เป็นหลักการ กฎ หรือทฤษฎีมาก่อน  ทักษะขั้นสูงหรือทักษะขั้นบูรณาการ  5  ทักษะ ได้แก่ 9.  ทักษะการตั้งสมมติฐาน  (  Formulating Hypothesis  ) คำตอบที่คิดไว้ล่วงหน้านี้ มักกล่าวไว้เป็นข้อความที่ บอกความสัมพันธ์ ระหว่างตัวแปรต้นกับตัวแปรตาม
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ข้อความใดเป็นสมมติฐาน ? การตั้งสมมติฐาน มักนิยมเขียนในรูป  ถ้า … ดังนั้น หรือ ถ้า ... แล้ว
หมายถึง  การกำหนดความหมาย และขอบเขตของคำต่าง ๆที่มีอยู่ในสมมติฐานที่จะทดลองให้มีความรัดกุม เป็น ที่เข้าใจตรงกันและสามารถสังเกตและวัดได้ 10.  ทักษะการกำหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ  ( Operational   Definition ) เช่น ออกซิเจนเป็นก๊าซที่ช่วยให้ไฟติดเมื่อนำก้านไม้ขีดที่คุแดงอยู่แหย่ลงไปในก๊าซนั้นแล้วก้านไม้ขีดจะลุกเป็นเปลวไฟ
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ข้อความใดต่อไปนี้เป็นนิยามเชิงปฏิบัติการ
หมายถึง  การควบคุมสิ่งอื่นๆ นอกเหนือจากตัวแปรอิสระ ที่จะทำให้ผลการทดลองคลาดเคลื่อน ถ้าหากว่าไม่ควบคุมให้เหมือนๆกัน และเป็นการป้องกันเพื่อมิให้มีข้อโต้แย้ง ข้อผิดพลาดหรือตัดความไม่น่าเชื่อถือออกไป 11.  ทักษะการควบคุมตัวแปร  (  Controlling Variables  ) 3.  ตัวแปรที่ต้องควบคุม ตัวแปรแบ่งออกเป็น  3  ประเภท คือ 1.  ตัวแปรอิสระหรือตัวแปรต้น 2.  ตัวแปรตาม
-  ตัวแปรควบคุม  คือ ความร้อนของไฟ ระยะของก้อนเทียนขี้ผึ้ง ขนาดและรูปร่างของก้อนเทียนขี้ผึ้ง ความแน่นของก้อนเทียนขี้ผึ้งที่ติดกับแท่งวัสดุ  วัสดุใดนำความร้อนได้ดี ถ้าจะทดลองโดยการนำแท่งวัสดุต่างชนิดกัน มาติดด้วยเทียนขี้ผึ้ง แล้วนำปลายวัสดุแต่ละชนิดไปลนไฟ เพื่อดูว่าเทียนขี้ผึ้งที่ติดอยู่บนวัสดุใด หลอมเหลวและหลุดออกไปก่อนกัน -  ตัวแปรต้น  คือ ชนิดของแท่งวัสดุ -  ตัวแปรตาม  คือ ระยะเวลาที่เทียนขี้ผึ้งหลุดจากแท่งวัสดุ ตัวแปรที่เกี่ยวข้องคือ
หมายถึง  กระบวนการปฏิบัติการโดยใช้ทักษะต่างๆ เช่น การสังเกต การวัด การพยากรณ์ การตั้งสมมติฐาน ฯลฯ มาใช้ร่วมกันเพื่อหาคำตอบ หรือทดลองสมมุติฐานที่ตั้งไว้ ซึ่งประกอบด้วยกิจกรรม  3  ขั้นตอน   12.  ทักษะการทดลอง  (  Experimenting  ) การบันทึกผลการทดลอง การออกแบบการทดลอง การปฏิบัติการทดลอง
[object Object],[object Object],[object Object],1.  ปัญหาของการทดลองคืออะไร มีจุดประสงค์ในการทดลองอย่างไร 2.  จะทำการทดลองอย่างไรจึงจะได้คำตอบของปัญหาหรือจุดประสงค์ 3.  จะบันทึกผลการทดลองย่างไร รวมทั้งวิธีการได้ข้อมูลด้วย 4.  จะลงข้อสรุปอย่างไรจึงจะได้ผลตรงกับปัญหาและจุดประสงค์ การออกแบบการทดลอง  ข้อคำนึงในการออกแบบการทดลอง
หมายถึง   การจดบันทึกข้อมูลที่ได้จากการทดลองซึ่งอาจจะเป็นผลจากการสังเกต การวัดและอื่นๆ  ได้อย่างคล่องแคล่วและถูกต้อง หมายถึง  การลงมือปฏิบัติการทดลองจริงๆ  การปฏิบัติการทดลอง การบันทึกผลการทดลอง
ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ ส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปของลักษณะตาราง  รูปภาพ กราฟ ฯลฯ การนำข้อมูลไปใช้จึงจำเป็นต้องตีความให้ สะดวกที่จะสื่อความหมายได้ถูกต้องและเข้าใจตรงกัน 13.  ทักษะการตีความและลงข้อสรุป  (  Interpreting data  ) การตีความหมายข้อมูล   คือ   การบรรยายลักษณะและคุณสมบัติ   การลงข้อสรุป   คือ การบอกความสัมพันธ์ของข้อมูลที่มีอยู่  เช่น  ถ้าความดันน้อย น้ำจะเดือด ที่อุณหภูมิต่ำหรือน้ำจะเดือดเร็ว  ถ้าความดันมาก น้ำจะเดือดที่อุณหภูมิสูงหรือน้ำจะเดือดช้าลง
แสง เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า  สามารถเคลื่อนที่ได้โดยไม่ต้องอาศัยตัวลาง และมีการเคลื่อนที่แนวเส้นตรงในตัวกลางชนิดอื่น ๆ จะเคลื่อนที่ผ่านตัวกลางแต่ละชนิดด้วยความเร็วไม่เท่ากัน ตัวกลางใดมีความหนาแน่นมากแสงจะเคลื่อนที่ผ่านตัวกลางนั้นด้วยความเร็วน้อย ถ้าแสงเคลื่อนที่ผ่านไม่ได้ก็เป็นเพราะ วัตถุมีการดูดกลืน สะท้อนแสง หรือการแทรกสอดของแสง  นั่นคือ  คุณสมบัติของแสง แสงและสี
1.  การสะท้อนแสง  ( Reflection)  2.  การหักเหของแสง  ( Refraction) 3.  การกระจายแสง  ( Diffusion)  4.  การทะลุผ่าน  ( Transmission) 5.  การดูดกลืน  ( Absorption)  6.  การแทรกสอด  ( Interference)  คุณสมบัติของแสง
หมายถึง  พฤติกรรมที่แสงตกกระทบวัตถุแล้วถูกวัตถุดูดกลืนหายเข้าไปในตัวกลาง เช่น การฉายแสงลงบน ผนังสีแดง แสงสีอื่นๆจะถูกดูดกลืน  ยกเว้นสีแดงที่จะสะท้อนออกมาสู่ดวงตา ทำให้ เห็นผนังเป็นสีแดง พลังงานที่ถูกดูดกลืนจะเกิดการเปลี่ยนรูป ซึ่งโดยทั่วไปแล้วจะเปลี่ยนรูปเป็น พลังงานความร้อน การดูดกลืนแสง  ( Light absorption)
แยกตามสมบัติการดูดกลืนแสง เมื่อมีแสงตกกระทบวัตถุซึ่งสามารถแยกได้  3  ชนิด คือ วัตถุโปร่งใส  หมายถึง วัตถุที่ยอมให้แสงเดินทางทะลุผ่านไปได้อย่างเป็นระเบียบ เช่น กระจกใส   วัตถุโปร่งแสง  หมายถึง วัตถุที่ยอมให้แสงเดินทางผ่านทะลุไปได้อย่างไม่เป็นระเบียบ เช่น กระจกฝ้า   วัตถุทึบแสง  หมายถึง วัตถุที่ไม่ยอมให้แสงผ่านไปได้เลย   แสงและสี ชนิดของวัตถุ
 
[object Object],2.  แผ่นกรองแสงสีแดง  จะยอมให้แสงสีแดงทะลุผ่านได้เท่านั้น ส่วนแสงสีอื่นจะดูดกลืนหมด  ทำให้เห็นวงแสงบนฉากเป็นสีแดง 3.  แผ่นกรองแสงสีเหลือง  จะยอมให้แสงสีแสด เหลืองและเขียว ทะลุผ่านได้  ทำให้เห็นวงแสงบนฉากเป็นสีเหลือง  ( อาจเห็นได้ทั้ง  3  สี ถ้าจัดมุมมองได้ถูกต้อง ) 4.  แผ่นกรองแสงสีเขียว  จะยอมให้แสงสีเหลือง เขียว และน้ำเงิน ทะลุผ่านได้  ทำให้เห็นวงแสงบนฉากเป็นสีเขียว  ( อาจเห็นได้ทั้ง  3  สี ถ้าจัดมุมมองได้ถูกต้อง ) คุณสมบัติของแผ่นกรองแสง
สี ในที่นี้หมายถึง ความรู้สึกของมนุษย์ในการมองเห็นคลื่นแสงซึ่งมี  7  สี  ได้แก่ ม่วง คราม น้ำเงิน เขียว เหลือง แสดและแดง มีความยาวคลื่นประมาณ   430, 450, 500, 535, 580, 600,  และ  700  นาโนเมตรตามลำดับ  การผสมแสงสี
สีของแสงที่ถือว่าเป็น แม่สี หรือ แสงสีปฐมภูมิ   ( primary color )  ได้แก่ สีเหล่านี้เป็นสีที่มีความบริสุทธิ์ ไม่สามารถแยกออกเป็นสีอื่นๆ ได้อีกแล้ว  แสงสีประกอบ  สีที่เกิดจากการผสมสีปฐมภูมิ เช่น แสงสีเหลืองเกิดจากการใช้แสงสีแดง และเขียวผสมกันในอัตราส่วนของความเข็มแสง  1 : 1 สำหรับคู่แสงที่ผสมกันแล้วได้แสงขาว  เช่น แสงสีเขียวกับสีแดงม่วงเรียกว่า  แสงสีเติมเต็ม  แดง เขียว และน้ำเงิน
 
ตอนหลัง  เมื่อตามองผ่านกระดาษสีขาว ซึ่งจะมีแสงสีทุกสีตกกระทบเรตินา เซลล์รูปกรวยที่ไวต่อแสงสีแดงและแสงสีเขียวเท่านั้นที่ยังคงทำงานตามปกติ จึงทำให้ตา ขณะนี้เห็นแสงสีแดงและสีเขียวผสมกันเท่านั้น ซึ่งจะผสมออกมาแล้วเห็นเป็นสีเหลือง   ตัวอย่าง   คนปกติเมื่อให้มองแผ่นกระดาษ สีน้ำเงินนานประมาณ  1  นาที  แล้วละสายตาไปมอง แผ่นกระดาษสีขาว  เขาจะ มองเห็นกระดาษสีขาวเป็นสีอะไร   วิธีทำ  ตอนแรก  ขณะมองกระดาษสีน้ำเงินเซลล์รูปกรวยที่ไวต่อแสงสีน้ำเงินของเรตินาจะทำงานหนักมากจนเกิดความล้า   ทำให้ตาบอดสีน้ำเงินชั่ว คราว  นั่นคือ ตาจะเห็นกระดาษสีขาวเป็นสีเหลือง
การกระเจิง  ( Scattering )   เป็นกระบวนการโดยทั่วไปทางฟิสิกส์ที่อยู่ในรูปของการแผ่รังสีเช่น แสง เสียง หรือการเคลื่อนที่ของอนุภาคโดยถูกแรงกระทำให้เกิดการหักเหหรือเบี่ยงเบนไปจากการเคลื่อนที่แนวเดิมอย่างไม่สม่ำเสมอในตัวกลางที่แสง เสียง หรืออนุภาคเคลื่อนที่ผ่าน การกระเจิงของแสง  ( Scattering   of light )  ปรากฏการณ์ที่แสงจากเคลื่อนที่ผ่านตัวกลางแล้วเกิดการหักเหไปทุกทิศทางเรียกการหักเหนี้ว่า การกระเจิงของแสง เช่น แสงอาทิตย์เกิดการหักเหในชั้นบรรยากาศแล้งทำให้เกิดการกระเจิงไปทุกทิศทาง และการที่เรามองเห็นท้องฟ้าเป็นสีฟ้าเนื่องจากแสงสีฟ้าหรือน้ำเงินมีความยาวคลื่นสั้นและเป็นสีที่อยู่ขอบสุดท้ายของสเปกตรัมซึ่งจะเกิดการกระเจิงในชั้นบรรยากาศมากกว่าสีแดงซึ่งมีความยาวคลื่นยาวกว่า

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

ชื่อเรื่อง การฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ชื่อเรื่อง การฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ชื่อเรื่อง การฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ชื่อเรื่อง การฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์sudaphud
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์krupornpana55
 
01 มองอนาคตด้วยเดลฟาย
01 มองอนาคตด้วยเดลฟาย01 มองอนาคตด้วยเดลฟาย
01 มองอนาคตด้วยเดลฟายKruBeeKa
 
44444444444444
4444444444444444444444444444
44444444444444bow4903
 
การให้เหตุผล
การให้เหตุผลการให้เหตุผล
การให้เหตุผลkrukanteera
 
การตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียน
การตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียนการตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียน
การตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียนPrachyanun Nilsook
 
บทที่๑ ความรู้เบืองต้นของการวิจัย (Research)
บทที่๑ ความรู้เบืองต้นของการวิจัย (Research)บทที่๑ ความรู้เบืองต้นของการวิจัย (Research)
บทที่๑ ความรู้เบืองต้นของการวิจัย (Research)Marine Meas
 
การให้เหตุผลอุปนัย
การให้เหตุผลอุปนัยการให้เหตุผลอุปนัย
การให้เหตุผลอุปนัยLaongphan Phan
 
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์korakate
 
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัยKruBeeKa
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจkhuwawa2513
 
07 final exam
07 final exam07 final exam
07 final examKruBeeKa
 
หน่วยที่ 1 หลักการวิจัยทางธุรกิจเบื้องต้นและชนิดของงานวิจัย
หน่วยที่ 1 หลักการวิจัยทางธุรกิจเบื้องต้นและชนิดของงานวิจัยหน่วยที่ 1 หลักการวิจัยทางธุรกิจเบื้องต้นและชนิดของงานวิจัย
หน่วยที่ 1 หลักการวิจัยทางธุรกิจเบื้องต้นและชนิดของงานวิจัยChamada Rinzine
 
นำเสนอการให้เหตุผลนิรนัย(ภาษาไทย)
นำเสนอการให้เหตุผลนิรนัย(ภาษาไทย)นำเสนอการให้เหตุผลนิรนัย(ภาษาไทย)
นำเสนอการให้เหตุผลนิรนัย(ภาษาไทย)lovelyya2553
 

La actualidad más candente (19)

ชื่อเรื่อง การฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ชื่อเรื่อง การฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ชื่อเรื่อง การฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ชื่อเรื่อง การฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 
01 มองอนาคตด้วยเดลฟาย
01 มองอนาคตด้วยเดลฟาย01 มองอนาคตด้วยเดลฟาย
01 มองอนาคตด้วยเดลฟาย
 
44444444444444
4444444444444444444444444444
44444444444444
 
การให้เหตุผล
การให้เหตุผลการให้เหตุผล
การให้เหตุผล
 
เหตุผลกับภาษา
เหตุผลกับภาษาเหตุผลกับภาษา
เหตุผลกับภาษา
 
การตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียน
การตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียนการตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียน
การตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียน
 
123
123123
123
 
Intro sciproject
Intro sciprojectIntro sciproject
Intro sciproject
 
บทที่๑ ความรู้เบืองต้นของการวิจัย (Research)
บทที่๑ ความรู้เบืองต้นของการวิจัย (Research)บทที่๑ ความรู้เบืองต้นของการวิจัย (Research)
บทที่๑ ความรู้เบืองต้นของการวิจัย (Research)
 
การให้เหตุผลอุปนัย
การให้เหตุผลอุปนัยการให้เหตุผลอุปนัย
การให้เหตุผลอุปนัย
 
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
 
Reasoning
ReasoningReasoning
Reasoning
 
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจ
 
07 final exam
07 final exam07 final exam
07 final exam
 
06 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ บทนำ
06 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ บทนำ06 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ บทนำ
06 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ บทนำ
 
หน่วยที่ 1 หลักการวิจัยทางธุรกิจเบื้องต้นและชนิดของงานวิจัย
หน่วยที่ 1 หลักการวิจัยทางธุรกิจเบื้องต้นและชนิดของงานวิจัยหน่วยที่ 1 หลักการวิจัยทางธุรกิจเบื้องต้นและชนิดของงานวิจัย
หน่วยที่ 1 หลักการวิจัยทางธุรกิจเบื้องต้นและชนิดของงานวิจัย
 
นำเสนอการให้เหตุผลนิรนัย(ภาษาไทย)
นำเสนอการให้เหตุผลนิรนัย(ภาษาไทย)นำเสนอการให้เหตุผลนิรนัย(ภาษาไทย)
นำเสนอการให้เหตุผลนิรนัย(ภาษาไทย)
 

Destacado

วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 1(20มิ ย 53)
วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 1(20มิ ย 53)วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 1(20มิ ย 53)
วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 1(20มิ ย 53)kulwadee
 
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)peter dontoom
 
ร่างหลักสูตร ปวส. 2558 สาขาวิชาเทคนิคขึ้นรูปพลาสติก
ร่างหลักสูตร ปวส. 2558 สาขาวิชาเทคนิคขึ้นรูปพลาสติกร่างหลักสูตร ปวส. 2558 สาขาวิชาเทคนิคขึ้นรูปพลาสติก
ร่างหลักสูตร ปวส. 2558 สาขาวิชาเทคนิคขึ้นรูปพลาสติกTotsaporn Inthanin
 
ลักษณะเฉพะของข้อสอบวัดทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์
ลักษณะเฉพะของข้อสอบวัดทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ลักษณะเฉพะของข้อสอบวัดทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์
ลักษณะเฉพะของข้อสอบวัดทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์สมพงษ์ หาคำ
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมdnavaroj
 
ใบความรู้+โครงงานวิทยาศาสตร์3(ประเภทสิ่งประดิษฐ์)+ป.5+274+dltvscip5+54sc p05 ...
ใบความรู้+โครงงานวิทยาศาสตร์3(ประเภทสิ่งประดิษฐ์)+ป.5+274+dltvscip5+54sc p05 ...ใบความรู้+โครงงานวิทยาศาสตร์3(ประเภทสิ่งประดิษฐ์)+ป.5+274+dltvscip5+54sc p05 ...
ใบความรู้+โครงงานวิทยาศาสตร์3(ประเภทสิ่งประดิษฐ์)+ป.5+274+dltvscip5+54sc p05 ...Prachoom Rangkasikorn
 
บทที่2 ระบบนิเวศ
บทที่2 ระบบนิเวศบทที่2 ระบบนิเวศ
บทที่2 ระบบนิเวศGreen Greenz
 
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์Attapon Phonkamchon
 
ข้อสอบกระบวนวิชา Psy1001 (pc 103) จิตวิทยาทั่วไป
ข้อสอบกระบวนวิชา Psy1001 (pc 103) จิตวิทยาทั่วไปข้อสอบกระบวนวิชา Psy1001 (pc 103) จิตวิทยาทั่วไป
ข้อสอบกระบวนวิชา Psy1001 (pc 103) จิตวิทยาทั่วไปPijak Insawang
 
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)Aom S
 
แบบฝึกชุดที่ 1
แบบฝึกชุดที่ 1แบบฝึกชุดที่ 1
แบบฝึกชุดที่ 1kruking2
 
ทักษะชีวิต
ทักษะชีวิตทักษะชีวิต
ทักษะชีวิตkrupornpana55
 
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัยการวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัยTupPee Zhouyongfang
 
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55Decode Ac
 
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุลบทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุลoraneehussem
 
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไปtanapongslide
 

Destacado (20)

แนวข้อสอบ 100 ข้อ
แนวข้อสอบ  100  ข้อแนวข้อสอบ  100  ข้อ
แนวข้อสอบ 100 ข้อ
 
วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 1(20มิ ย 53)
วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 1(20มิ ย 53)วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 1(20มิ ย 53)
วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 1(20มิ ย 53)
 
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
 
ร่างหลักสูตร ปวส. 2558 สาขาวิชาเทคนิคขึ้นรูปพลาสติก
ร่างหลักสูตร ปวส. 2558 สาขาวิชาเทคนิคขึ้นรูปพลาสติกร่างหลักสูตร ปวส. 2558 สาขาวิชาเทคนิคขึ้นรูปพลาสติก
ร่างหลักสูตร ปวส. 2558 สาขาวิชาเทคนิคขึ้นรูปพลาสติก
 
ลักษณะเฉพะของข้อสอบวัดทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์
ลักษณะเฉพะของข้อสอบวัดทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ลักษณะเฉพะของข้อสอบวัดทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์
ลักษณะเฉพะของข้อสอบวัดทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
 
ใบความรู้+โครงงานวิทยาศาสตร์3(ประเภทสิ่งประดิษฐ์)+ป.5+274+dltvscip5+54sc p05 ...
ใบความรู้+โครงงานวิทยาศาสตร์3(ประเภทสิ่งประดิษฐ์)+ป.5+274+dltvscip5+54sc p05 ...ใบความรู้+โครงงานวิทยาศาสตร์3(ประเภทสิ่งประดิษฐ์)+ป.5+274+dltvscip5+54sc p05 ...
ใบความรู้+โครงงานวิทยาศาสตร์3(ประเภทสิ่งประดิษฐ์)+ป.5+274+dltvscip5+54sc p05 ...
 
งานวิทย์
งานวิทย์งานวิทย์
งานวิทย์
 
บทที่2 ระบบนิเวศ
บทที่2 ระบบนิเวศบทที่2 ระบบนิเวศ
บทที่2 ระบบนิเวศ
 
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
 
ข้อสอบกระบวนวิชา Psy1001 (pc 103) จิตวิทยาทั่วไป
ข้อสอบกระบวนวิชา Psy1001 (pc 103) จิตวิทยาทั่วไปข้อสอบกระบวนวิชา Psy1001 (pc 103) จิตวิทยาทั่วไป
ข้อสอบกระบวนวิชา Psy1001 (pc 103) จิตวิทยาทั่วไป
 
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
 
แบบฝึกชุดที่ 1
แบบฝึกชุดที่ 1แบบฝึกชุดที่ 1
แบบฝึกชุดที่ 1
 
ทักษะชีวิต
ทักษะชีวิตทักษะชีวิต
ทักษะชีวิต
 
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัยการวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
 
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
 
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุลบทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
 
แสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็นแสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็น
 
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
 

Similar a วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 3(4ก ค 53)

การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2korakate
 
9789740330592
97897403305929789740330592
9789740330592CUPress
 
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4supphawan
 
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตรตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตรทับทิม เจริญตา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศJiraporn
 
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์korakate
 
Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01korakate
 
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2Aroonswat
 
Backward Design
Backward  DesignBackward  Design
Backward Designkrumew
 
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดNote Na-ngam
 
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551Weerachat Martluplao
 
ตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslideตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำsliderubtumproject.com
 

Similar a วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 3(4ก ค 53) (20)

การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
 
บทที่๘
บทที่๘บทที่๘
บทที่๘
 
กระบวนการแก้โจทย์ปัญหาสมการของนักเรียนระดับชั้นม.3
 กระบวนการแก้โจทย์ปัญหาสมการของนักเรียนระดับชั้นม.3 กระบวนการแก้โจทย์ปัญหาสมการของนักเรียนระดับชั้นม.3
กระบวนการแก้โจทย์ปัญหาสมการของนักเรียนระดับชั้นม.3
 
9789740330592
97897403305929789740330592
9789740330592
 
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
 
บทความวิชาการ
บทความวิชาการบทความวิชาการ
บทความวิชาการ
 
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตรตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
 
การศึกษา
การศึกษาการศึกษา
การศึกษา
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Expand
ExpandExpand
Expand
 
ทดลองส่ง 538144213
ทดลองส่ง 538144213ทดลองส่ง 538144213
ทดลองส่ง 538144213
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
 
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
 
Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01
 
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
 
Backward Design
Backward  DesignBackward  Design
Backward Design
 
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
 
123
123123
123
 
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
 
ตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslideตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslide
 

วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 3(4ก ค 53)

  • 1. เป็นกระบวนการที่นักวิทยาศาสตร์ใช้ในการค้นคว้าหาความรู้จากธรรมชาติได้อย่างมีระบบ มีองค์ประกอบดังนี้ กระบวนการแสวงหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ 1. วิธีการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Method) 2. เจตคติทางวิทยาศาสตร์ (Scientific attitude) 3. ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific skill)
  • 2. Let’s think!    1. วิธีการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Method)
  • 3. ความรู้ใหม่ กำหนดขอบเขตของปัญหา ตั้งสมมติฐาน ทดลองและรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล สรุปผลและนำไปใช้ เผชิญปัญหา เป็นวิธีการที่นักวิทยาศาสตร์ใช้แสวงหาความรู้ แก้ปัญหา โดยมีขั้นตอน ดังนี้ Scientific Method
  • 4.
  • 5. www.act.waterwatch.org.au/primary.htm 3. ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Skill)
  • 6.
  • 7. 12. ทักษะการทดลอง ( Experimenting ) 9. ทักษะการตั้งสมมติฐาน ( Formulating Hypothesis ) 11. ทักษะการควบคุมตัวแปร ( Controlling Variables ) 13. ทักษะการตีความและลงข้อสรุป ( Interpreting data ) 10. ทักษะการกำหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ ( Operational Definition ) แนวของสมาคมอเมริกาเพื่อความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ ( The American Association for the Advancement of Science – AAAS ) ทักษะขั้นสูงหรือทักษะขั้นบูรณาการ ( Integrated process skills ) 5 ทักษะ ได้แก่
  • 8.
  • 9. ข้อมูลที่ได้จากการสังเกต 1. ข้อมูลเชิงคุณภาพ 2. ข้อมูลเชิงปริมาณ 3. ข้อมูลเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลง
  • 10. - หินแต่ละก้อนขนาดและรูปร่างต่างกัน - มีสีต่างกัน - ผิวขรุขระและแข็ง ฯลฯ - มีก้อนหินซ้อนกันจำนวน 5 ก้อน - ก้อนล่างสุดหนาประมาณ 5 ซม . - ถ้าเลื่อนตำแหน่งของก้อนที่ 2 นับจากด้านล่าง ก็จะทำให้ก้อนด้านบน พังครืนลงมา ฯลฯ การสังเกตการเรียงตัวของก้อนหิน 1. ข้อมูลเชิงคุณภาพ 2. ข้อมูลเชิงปริมาณ 3. ข้อมูลเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลง
  • 11.
  • 12.
  • 13. การจำแนกประเภทโดยอาศัยคุณสมบัติของวัตถุเป็นเกณฑ์ 1 2 2 3 4 5 6 ที่ คุณลักษณะที่สังเกตได้ 1 ตามลำตัวมีจุด 2 รูปร่างกลม 3 ลำตัวมีขอบหยัก 4 มีลายยาวตามลำตัว 5 มีสี่เหลี่ยมอยู่ภายในลำตัว มี ไม่มี 1,5 ,6 2 ,3,4 1,4 2,3,5,6 2 , 3 , 6 1,4,5 2 1,3,4,5,6 3 1,2,4,5,6
  • 14.
  • 15. บอกรูป ( 2 มิติ ) ที่เกิดจากรอยตัด เมื่อตัดวัตถุ ( 3 มิติ ) ออกเป็น 2 ส่วน บอกเงา ( 2 มิติ ) ของวัตถุที่เกิดขึ้น เมื่อเห็นวัตถุ ( 3 มิติ ) วาดรูป 2 มิติ จากวัตถุหรือรูปทรง 3 มิติได้
  • 16.
  • 17.
  • 18.
  • 20.
  • 21. 1. การพยากรณ์ข้อมูลทั่วไป ประสบการณ์เดิมหรือความรู้เดิม สถานการณ์ การพยากรณ์ ตัวอย่างการพยากรณ์ เมื่อมีเมฆแผ่นสีคล้ำลอยต่ำต่อมาจะมีฝนตก วันนี้มีเมฆแผ่นสีคล้ำลอยต่ำ วันนี้ฝนต้องตกแน่ๆ
  • 22.
  • 23. หมายถึง การคิดหาค่าคำตอบล่วงหน้าก่อนจะทำการทดลอง โดยอาศัยการสังเกต ความรู้ ประสบการณ์เดิมเป็นพื้นฐาน คำตอบที่คิดล่วงหน้ายังไม่เป็นหลักการ กฎ หรือทฤษฎีมาก่อน ทักษะขั้นสูงหรือทักษะขั้นบูรณาการ 5 ทักษะ ได้แก่ 9. ทักษะการตั้งสมมติฐาน ( Formulating Hypothesis ) คำตอบที่คิดไว้ล่วงหน้านี้ มักกล่าวไว้เป็นข้อความที่ บอกความสัมพันธ์ ระหว่างตัวแปรต้นกับตัวแปรตาม
  • 24.
  • 25. หมายถึง การกำหนดความหมาย และขอบเขตของคำต่าง ๆที่มีอยู่ในสมมติฐานที่จะทดลองให้มีความรัดกุม เป็น ที่เข้าใจตรงกันและสามารถสังเกตและวัดได้ 10. ทักษะการกำหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ ( Operational Definition ) เช่น ออกซิเจนเป็นก๊าซที่ช่วยให้ไฟติดเมื่อนำก้านไม้ขีดที่คุแดงอยู่แหย่ลงไปในก๊าซนั้นแล้วก้านไม้ขีดจะลุกเป็นเปลวไฟ
  • 26.
  • 27. หมายถึง การควบคุมสิ่งอื่นๆ นอกเหนือจากตัวแปรอิสระ ที่จะทำให้ผลการทดลองคลาดเคลื่อน ถ้าหากว่าไม่ควบคุมให้เหมือนๆกัน และเป็นการป้องกันเพื่อมิให้มีข้อโต้แย้ง ข้อผิดพลาดหรือตัดความไม่น่าเชื่อถือออกไป 11. ทักษะการควบคุมตัวแปร ( Controlling Variables ) 3. ตัวแปรที่ต้องควบคุม ตัวแปรแบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ 1. ตัวแปรอิสระหรือตัวแปรต้น 2. ตัวแปรตาม
  • 28. - ตัวแปรควบคุม คือ ความร้อนของไฟ ระยะของก้อนเทียนขี้ผึ้ง ขนาดและรูปร่างของก้อนเทียนขี้ผึ้ง ความแน่นของก้อนเทียนขี้ผึ้งที่ติดกับแท่งวัสดุ วัสดุใดนำความร้อนได้ดี ถ้าจะทดลองโดยการนำแท่งวัสดุต่างชนิดกัน มาติดด้วยเทียนขี้ผึ้ง แล้วนำปลายวัสดุแต่ละชนิดไปลนไฟ เพื่อดูว่าเทียนขี้ผึ้งที่ติดอยู่บนวัสดุใด หลอมเหลวและหลุดออกไปก่อนกัน - ตัวแปรต้น คือ ชนิดของแท่งวัสดุ - ตัวแปรตาม คือ ระยะเวลาที่เทียนขี้ผึ้งหลุดจากแท่งวัสดุ ตัวแปรที่เกี่ยวข้องคือ
  • 29. หมายถึง กระบวนการปฏิบัติการโดยใช้ทักษะต่างๆ เช่น การสังเกต การวัด การพยากรณ์ การตั้งสมมติฐาน ฯลฯ มาใช้ร่วมกันเพื่อหาคำตอบ หรือทดลองสมมุติฐานที่ตั้งไว้ ซึ่งประกอบด้วยกิจกรรม 3 ขั้นตอน 12. ทักษะการทดลอง ( Experimenting ) การบันทึกผลการทดลอง การออกแบบการทดลอง การปฏิบัติการทดลอง
  • 30.
  • 31. หมายถึง การจดบันทึกข้อมูลที่ได้จากการทดลองซึ่งอาจจะเป็นผลจากการสังเกต การวัดและอื่นๆ ได้อย่างคล่องแคล่วและถูกต้อง หมายถึง การลงมือปฏิบัติการทดลองจริงๆ การปฏิบัติการทดลอง การบันทึกผลการทดลอง
  • 32. ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ ส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปของลักษณะตาราง รูปภาพ กราฟ ฯลฯ การนำข้อมูลไปใช้จึงจำเป็นต้องตีความให้ สะดวกที่จะสื่อความหมายได้ถูกต้องและเข้าใจตรงกัน 13. ทักษะการตีความและลงข้อสรุป ( Interpreting data ) การตีความหมายข้อมูล คือ การบรรยายลักษณะและคุณสมบัติ การลงข้อสรุป คือ การบอกความสัมพันธ์ของข้อมูลที่มีอยู่ เช่น ถ้าความดันน้อย น้ำจะเดือด ที่อุณหภูมิต่ำหรือน้ำจะเดือดเร็ว ถ้าความดันมาก น้ำจะเดือดที่อุณหภูมิสูงหรือน้ำจะเดือดช้าลง
  • 33. แสง เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า สามารถเคลื่อนที่ได้โดยไม่ต้องอาศัยตัวลาง และมีการเคลื่อนที่แนวเส้นตรงในตัวกลางชนิดอื่น ๆ จะเคลื่อนที่ผ่านตัวกลางแต่ละชนิดด้วยความเร็วไม่เท่ากัน ตัวกลางใดมีความหนาแน่นมากแสงจะเคลื่อนที่ผ่านตัวกลางนั้นด้วยความเร็วน้อย ถ้าแสงเคลื่อนที่ผ่านไม่ได้ก็เป็นเพราะ วัตถุมีการดูดกลืน สะท้อนแสง หรือการแทรกสอดของแสง นั่นคือ คุณสมบัติของแสง แสงและสี
  • 34. 1. การสะท้อนแสง ( Reflection) 2. การหักเหของแสง ( Refraction) 3. การกระจายแสง ( Diffusion) 4. การทะลุผ่าน ( Transmission) 5. การดูดกลืน ( Absorption) 6. การแทรกสอด ( Interference) คุณสมบัติของแสง
  • 35. หมายถึง พฤติกรรมที่แสงตกกระทบวัตถุแล้วถูกวัตถุดูดกลืนหายเข้าไปในตัวกลาง เช่น การฉายแสงลงบน ผนังสีแดง แสงสีอื่นๆจะถูกดูดกลืน ยกเว้นสีแดงที่จะสะท้อนออกมาสู่ดวงตา ทำให้ เห็นผนังเป็นสีแดง พลังงานที่ถูกดูดกลืนจะเกิดการเปลี่ยนรูป ซึ่งโดยทั่วไปแล้วจะเปลี่ยนรูปเป็น พลังงานความร้อน การดูดกลืนแสง ( Light absorption)
  • 36. แยกตามสมบัติการดูดกลืนแสง เมื่อมีแสงตกกระทบวัตถุซึ่งสามารถแยกได้ 3 ชนิด คือ วัตถุโปร่งใส หมายถึง วัตถุที่ยอมให้แสงเดินทางทะลุผ่านไปได้อย่างเป็นระเบียบ เช่น กระจกใส วัตถุโปร่งแสง หมายถึง วัตถุที่ยอมให้แสงเดินทางผ่านทะลุไปได้อย่างไม่เป็นระเบียบ เช่น กระจกฝ้า วัตถุทึบแสง หมายถึง วัตถุที่ไม่ยอมให้แสงผ่านไปได้เลย แสงและสี ชนิดของวัตถุ
  • 37.  
  • 38.
  • 39. สี ในที่นี้หมายถึง ความรู้สึกของมนุษย์ในการมองเห็นคลื่นแสงซึ่งมี 7 สี ได้แก่ ม่วง คราม น้ำเงิน เขียว เหลือง แสดและแดง มีความยาวคลื่นประมาณ 430, 450, 500, 535, 580, 600, และ 700 นาโนเมตรตามลำดับ การผสมแสงสี
  • 40. สีของแสงที่ถือว่าเป็น แม่สี หรือ แสงสีปฐมภูมิ ( primary color ) ได้แก่ สีเหล่านี้เป็นสีที่มีความบริสุทธิ์ ไม่สามารถแยกออกเป็นสีอื่นๆ ได้อีกแล้ว แสงสีประกอบ สีที่เกิดจากการผสมสีปฐมภูมิ เช่น แสงสีเหลืองเกิดจากการใช้แสงสีแดง และเขียวผสมกันในอัตราส่วนของความเข็มแสง 1 : 1 สำหรับคู่แสงที่ผสมกันแล้วได้แสงขาว เช่น แสงสีเขียวกับสีแดงม่วงเรียกว่า แสงสีเติมเต็ม แดง เขียว และน้ำเงิน
  • 41.  
  • 42. ตอนหลัง เมื่อตามองผ่านกระดาษสีขาว ซึ่งจะมีแสงสีทุกสีตกกระทบเรตินา เซลล์รูปกรวยที่ไวต่อแสงสีแดงและแสงสีเขียวเท่านั้นที่ยังคงทำงานตามปกติ จึงทำให้ตา ขณะนี้เห็นแสงสีแดงและสีเขียวผสมกันเท่านั้น ซึ่งจะผสมออกมาแล้วเห็นเป็นสีเหลือง ตัวอย่าง คนปกติเมื่อให้มองแผ่นกระดาษ สีน้ำเงินนานประมาณ 1 นาที แล้วละสายตาไปมอง แผ่นกระดาษสีขาว เขาจะ มองเห็นกระดาษสีขาวเป็นสีอะไร วิธีทำ ตอนแรก ขณะมองกระดาษสีน้ำเงินเซลล์รูปกรวยที่ไวต่อแสงสีน้ำเงินของเรตินาจะทำงานหนักมากจนเกิดความล้า ทำให้ตาบอดสีน้ำเงินชั่ว คราว นั่นคือ ตาจะเห็นกระดาษสีขาวเป็นสีเหลือง
  • 43. การกระเจิง ( Scattering ) เป็นกระบวนการโดยทั่วไปทางฟิสิกส์ที่อยู่ในรูปของการแผ่รังสีเช่น แสง เสียง หรือการเคลื่อนที่ของอนุภาคโดยถูกแรงกระทำให้เกิดการหักเหหรือเบี่ยงเบนไปจากการเคลื่อนที่แนวเดิมอย่างไม่สม่ำเสมอในตัวกลางที่แสง เสียง หรืออนุภาคเคลื่อนที่ผ่าน การกระเจิงของแสง ( Scattering of light ) ปรากฏการณ์ที่แสงจากเคลื่อนที่ผ่านตัวกลางแล้วเกิดการหักเหไปทุกทิศทางเรียกการหักเหนี้ว่า การกระเจิงของแสง เช่น แสงอาทิตย์เกิดการหักเหในชั้นบรรยากาศแล้งทำให้เกิดการกระเจิงไปทุกทิศทาง และการที่เรามองเห็นท้องฟ้าเป็นสีฟ้าเนื่องจากแสงสีฟ้าหรือน้ำเงินมีความยาวคลื่นสั้นและเป็นสีที่อยู่ขอบสุดท้ายของสเปกตรัมซึ่งจะเกิดการกระเจิงในชั้นบรรยากาศมากกว่าสีแดงซึ่งมีความยาวคลื่นยาวกว่า