SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
Download to read offline
บทที่ 4 โลกของเรา
รายวิชาวิทยาศาสตร์ 3 (ว22101)
ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2558
โลกตาวเคราะห์บริวารดวงที่ 3 ของดวงอาทิตย์
 โลกของเรามีรูปร่างเป็นทรงกลม มีเส้นผ่านศูนย์กลางจากขั้วโลกเหนือถึงขั้วโลกใต้ยาว
12711 กิโลเมตร และสั้นกว่าเส้นผ่านศูนย์กลางในแนวเส้นศูนย์สูตรซึ่งมีค่าประมาณ
12755 กิโลเมตร ขณะที่โลกหมุนรอบดวงอาทิตย์นั้น แกนของโลกจะเอียงทามุมประมาณ
23.5 องศา กับเส้นที่ตั้งฉากกับระนาบการโคจรของโลก ทาให้เกิดฤดูกาลต่างๆ
1.1 โครงสร้างของโลก
 โครงสร้างของโลก แบ่งออกเป็น 3 ชั้นดังนี้
1. เปลือกโลก (crust) เป็นชั้นนอกสุด มีความหนาน้อยที่สุด ประมาณ 70
กิโลเมตร ประกอบด้วย แผ่นดินประมาณ 1 ส่วนใน 4 ส่วน และพื้น้าประมาณ 3 ส่วน
แบ่งเป็น 2 ชั้น ดังนี้
1.1 เปลือกโลกส่วนบน เป็นส่วนนอกสุด ประกอบด้วยชั้นดินและกลุ่มไซอัล
(sial) ซึ่งส่วนใหญ่มีองค์ประกอบเป็นซิลิกา และอลูมินา
1.2 เปลือกโลกส่วนล่าง เป็นส่วนที่เป็นมหาสมุทร ประกอบด้วย หินที่เป็นเบส
ปานกลางหรือไซมา ซึ่งมีองค์ประกอบเป็นซิลิกา และ แมกนิเซียม
2. เนื้อโลก (mantle) เป็นชั้นของโลกที่อยู่ลึกถัดจากชั้นเปลือกโลก
ประกอบด้วย หินและแร่ธาตุหลายชนิด มีอุณหภูมิประมาณ 2000-3700 ํc มีความหนา
ประมาณ 3000 กิโลเมตร
1.1 โครงสร้างของโลก
 3. แกนโลก (core) อยู่ชั้นในสุดหรือเป็นแก่นกลางของโลก แบ่งเป็น 2 ชั้น คือ แก่นโลกชั้นนอก
เป็นชั้นของเหลวที่ร้อนจัด และแก่นโลกชั้นใน เป็นชั้นของแข็ง ประกอบด้วยธาตุเหล็ก และนิกเกิล
แก่นโลกมีความหนามากประมาณ 3440 กม. มีอุณหภูมิสูงประมาณ 4300-6400 ํc
ระบบในโลกของเรา
 ธรณีภาค (Lithosphere)
 อุทกภาค (Hydrosphere)
 บรรยากาศ (Atmosphere)
 ชีวภาพ (Biosphere)
ความสัมพันธ์ของระบบต่างๆในโลก
การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นตลอดเวลา >>> เสียสมดุล/ปัญหาสิ่งแวดล้อม
กระบวนการเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยาบนเปลือกโลก
 1. การผุพังอยู่กับที่ (Weathering) หมายถึง การที่หินผุพังทาลายลงด้วยกรรมวิธีต่างๆ
จากลมฟ้ าอากาศกับน้าฝน รวมทั้งการกระทาของต้นไม้กับแบคทีเรียตลอดจนการแตกตัวทาง
กลศาสตร์ มีการเพิ่ม-ลดอุณหภูมิสลับกัน เป็นต้น สาเหตุของการผุพังอยู่กับที่ ได้แก่ ความร้อน ความ
เย็น น้า น้าแข็ง แก็สออกซิเจนและแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ในชั้นบรรยากาศ
 ประเภทของการผุพังอยู่กับที่ การผุพังอยู่กับที่แบ่งไก้เป็น 2 ประเภทคือ
1)การผุพังเชิงกล : ความร้อนและความเย็น การแข็งตัวและการละลาย การเจริญเติบโตของต้นไม้ การ
ครูดถู การกระทาของสัตว์ การกัดเซาะของแม่น้า
2)การผุพังเชิงเคมี : น้าเป็นตัวการสาคัญที่สุด แก็สออกซิเจน แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ สิ่งมีชีวิต
 ซึ่งการผุพังทั้งสองประเภทนี้จะเกิดขึ้นอย่างช้าๆ แต่เมื่อผ่านไปนานๆก็สามารถทาให้หินหรือสสาร
อื่นๆพังทลายลงได้
กระบวนการเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยาบนเปลือกโลก
1) การผุพังเชิงกล 2) การผุพังเชิงเคมี
กระบวนการเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยาบนเปลือกโลก
 2. การกร่อน
กระบวนการเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยาบนเปลือกโลก
 2. การกร่อน (ต่อ)
กระบวนการเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยาบนเปลือกโลก
 3. การพัดพาและการสะสมตัวของตะกอน
การพัดพาและการสะสมตัวของตะกอน
 1. ตะกอนรูปพัด 2. ตะกอนรูปดินดอนสามเหลี่ยม
ภูเขา (mountain)
 คือ บริเวณที่มีความสูงมากกว่า 3,000 ฟุตขึ้นไป จากพื้นดิน
 กระบวนการเกิดภูเขา ดังนี้
1. ภูเขาเกิดจากการเลื่อนตัวของหิน ส่วนหนึ่งของหินเปลือกโลก เลื่อนขึ้น อีกส่วนหนึ่งจะเลื่อนลง
ภูเขาแบบนี้มีหน้าผาสูงชัน เช่น เขาพระวิหาร ภูเขาเพชรบูรณ์
2. ภูเขาเกิดจากการดันของแมกมา แมกมาหรือหินจะดันให้เปลือกโลกสูงขึ้น แต่แมกมาเย็นตัวก่อนที่
จะไหลออกมาถึงผิวโลก จึงเกิดภูเขาซึ่งมียอดซึ่งมียอดมนกลมเชิงเขาแผ่กว้าง คือ ภูเขารูปดดม
เช่น ภูเขาแบลคฮิลค์และเฮนรีของสหรัฐอเมริกา ภูเขาแกรนิตทางทิศตะวันตกของภาคกลาง
ได้แก่ ภุเขาลพบุรี ภูเขาสอยดาว จังหวัดจันทบุรี
3. ภูเขาเกิดจากการโค้งงอ การชนกันของแผ่นเปลือกโลกสองแผ่น แต่ละแผ่นจะโค้งงอ เนื่องจากมี
แรงผลักซึ่งกันและกันดันให้ส่วนโค้งงอนี้ค่อยๆ สูงขึ้น เช่น ภูเขาหิมาลัย เกิดจากแผ่นออสเตรเลีย
ชนกับแผ่นยูเรเซีย และเทือกเขาภูพาน
4. ภูเขาเกิดจากการโค้งงอ ผิวโลกมีความทนทานต่อการกร่อนไม่เท่ากัน ส่วนที่ไม่แข็งจะถูกกักร่อน
ทาลายไป ส่วนที่แข็งยังคงอยู่จึงเกิดเป็นภูเขาขึ้น เช่น ภูกระดึง จังหวัดเลย
กระบวนการเกิดภูเขา
กระบวนการเกิดหินงอก หินย้อย
 หินงอกหินย้อย คือปรากฏการณ์ชนิดหนึ่งที่เกิดต่อเนื่องกันมาเป็นเวลาหลายๆ พันหรือหมื่นปี ซึ่ง
ส่วนใหญ่นั้นมักเกิดขึ้นในถ้าหินปูน เพราะมีความชื้นอันเป็นปัจจัยของการเกิดขึ้นของปรากฏการณ์
ประเภทนี้ ลักษณะของหินงอกหินย้อยนั้น เป็นหินที่ยื่นหรือหยดเข้าหากันคล้ายกับเป็นของเหลว
โดยมากเราเรียกหินที่หยดลงมาจากด้านบนว่าหินย้อย และเรียกหินที่ยื่นขึ้นไปจากทางด้านล่างว่าหิน
งอก ซึ่งกระบวนการต่างๆ ที่ทาให้เกิดสภาพนี้นั้นสามารถอธิบายได้ดังต่อไปนี้
1. หินงอกหินย้อยเกิดจากความชื้นต่างๆ ที่สะสมอยู่ในดิ้น คือเมื่อปลายยุคน้าแข็ง หิมะเริ่มละลายตัว และ
ความชื้นต่างๆ ก็ไหลมาสะสมในดิน หรือช่องว่างระหว่างดิน กลายเป็นธารน้าใต้ดิน
2. เมื่อน้าใต้ดินนั้นรวมตัวกับคาร์บอนไดออกไซด์ ทาให้เกิดกระบวนการสึกกร่อน และเกิดเป็นกรดคาร์
บอนิก ซึ่งเป็นกรดอ่อนชนิดหนึ่ง ซึ่งเมื่อหินปูนนั้นเจอกับกรดคาร์บอนิกที่สามารถกัดกร่อนหินปูน
ได้นั้น ก็จะทาให้เกิดช่องว่างขึ้น เล็กบ้างใหญ่บ้าง ซึ่งเราเรียกช่องว่างที่เกิดขึ้นใหม่นี้ว่า ถ้า
กระบวนการเกิดหินงอก หินย้อย
3. หินย้อย เกิดได้จากกระบวนการเหล่านี้เอง คือกล่าวกันได้ว่า หินย้อยคือหินปูนที่ จับตัวกันเป็นแท่ง
หรือแผ่นย้อยลงมาจากเพดานถ้า ซึ่งเมื่อมีน้าที่มีหินปูนสะสมอยู่หยดลงมาตามรอยแตกหรือรอยแยก
ซึ่งเมื่อน้านั้นสูญเสียคาร์บอนไดออกไซด์ออกไป ก็จะทาให้เกิดสารประกอบประเภทคาร์บอเนต
จากนั้นเมื่อเกิดการสะสมตัวพอกพูนมากขึ้นเรื่อยๆ ทาให้เกิดเป็นแท่งหินที่ย้อยลงมาจากเพดานถ้า
โดยมากมักมีลักษณะกลวงด้านใน
4. หินงอก เป็นกระบวนการที่คล้ายกันก็คือ เกิดจากน้าที่มีหินปูนสะสมอยู่ที่หยดลงมาจากเพดานถ้า สู่
ชั้นหินเบื้องล่าง ความที่น้านั้นมีตะกอนหินปูนอยู่มาก เมื่อเกิดการสูญเสียคาร์บอนไดออกไซด์ไปจึง
ทาให้เกิดสะสมเป็นแท่ง ยื่นไปในอากาศสูงจากพื้นถ้า ซึ่งกระบวนการเกิดหินงอกหินย้อยนี้มี
ความสัมพันธ์กัน ดังนั้นเมื่อเกิดหินย้อยแล้วต้องมีหินงอกด้วย (ยกเว้นถ้าที่ไม่มีพื้น) และเมื่อมีหิน
งอกต้องมีหินย้อยด้วยเช่นกัน
กระบวนการเกิดหินงอก หินย้อย
การอนุรักษ์ภูมิลักษณ์ของโลก
 การที่จะให้บรรลุเป้ าหมาย คือ การที่จะทาให้มีทรัพยากรธรรมชาติไว้ใช้และอยู่คู่กับโลกตลอดไปได้
นั้น มีหลักการอนุรักษ์ 3 ประการ คือ
1. ใช้อย่างฉลาด การจะใช้ ต้องพิจารณาให้รอบคอบถึงผลดี ผลเสีย ความขาดแคลนหรือความหายากใน
อนาคต อีกทั้งพิจารณาหลักเศรษฐศาสตร์ถึงต้นทุนและผลตอบแทนอย่างถี่ถ้วน
2. ประหยัด (เก็บ รักษา สงวน) ของที่หายาก หมายถึง ทรัพยากรใดที่มีน้อยหรือหายาก ควรเก็บรักษาไว้
มิให้สูญไป บางครั้งถ้ามีของบางชนิดที่พอจะใช้ได้ ต้องใช้อย่างประหยัด
3. ฟื้นฟูสิ่งแวดล้อมที่ไม่ดีหรือเสื่อมโทรมให้ดีขึ้น (ซ่อมแซม ปรับปรุง) กล่าวคือ ทรัพยากรใดก็ตามมี
สภาพล่อแหลมต่อการสูญเปล่า หรือจะหมดไปถ้าดาเนินการไม่ถูกต้องตามหลักวิชา ควรหาทาง
ปรับปรุงให้อยู่ในลักษณะที่ดีขึ้น
“THE END”
THANK YOU FOR YOUR ATTENTION!

More Related Content

What's hot

หินอัคนี หินแปร หินตะกอน
หินอัคนี หินแปร หินตะกอนหินอัคนี หินแปร หินตะกอน
หินอัคนี หินแปร หินตะกอน
website22556
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
Khwankamon Changwiriya
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำ
savokclash
 
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
website22556
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
dalarat
 

What's hot (20)

สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
 
หินอัคนี หินแปร หินตะกอน
หินอัคนี หินแปร หินตะกอนหินอัคนี หินแปร หินตะกอน
หินอัคนี หินแปร หินตะกอน
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
 
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำ
 
บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
 
แรง (Force)
แรง (Force)แรง (Force)
แรง (Force)
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หายใจ
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หายใจบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หายใจ
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หายใจ
 
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสาร
 
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
 

Viewers also liked

การแยกสารเนื้อเดียว
การแยกสารเนื้อเดียวการแยกสารเนื้อเดียว
การแยกสารเนื้อเดียว
medfai
 
การแยกสารเนื้อผสม
การแยกสารเนื้อผสมการแยกสารเนื้อผสม
การแยกสารเนื้อผสม
medfai
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
Jariya Jaiyot
 
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี49
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี49ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี49
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี49
Wichai Likitponrak
 
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี51
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี51ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี51
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี51
Wichai Likitponrak
 
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี54
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี54ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี54
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี54
Wichai Likitponrak
 
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี52
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี52ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี52
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี52
Wichai Likitponrak
 
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี50
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี50ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี50
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี50
Wichai Likitponrak
 
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี53
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี53ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี53
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี53
Wichai Likitponrak
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป. 6 2550.1
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป. 6 2550.1ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป. 6 2550.1
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป. 6 2550.1
สำเร็จ นางสีคุณ
 
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลงสื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
พัน พัน
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
teerachon
 

Viewers also liked (20)

บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2
บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2
บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2
 
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
 
บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2
 
บทที่ 1 สารอาหารม.2
บทที่ 1 สารอาหารม.2บทที่ 1 สารอาหารม.2
บทที่ 1 สารอาหารม.2
 
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
 
ส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลกส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลก
 
การแยกสารเนื้อเดียว
การแยกสารเนื้อเดียวการแยกสารเนื้อเดียว
การแยกสารเนื้อเดียว
 
การแยกสารเนื้อผสม
การแยกสารเนื้อผสมการแยกสารเนื้อผสม
การแยกสารเนื้อผสม
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี49
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี49ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี49
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี49
 
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี51
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี51ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี51
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี51
 
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี54
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี54ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี54
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี54
 
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี52
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี52ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี52
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี52
 
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี50
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี50ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี50
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี50
 
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี53
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี53ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี53
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี53
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป. 6 2550.1
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป. 6 2550.1ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป. 6 2550.1
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป. 6 2550.1
 
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลงสื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
แสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็นแสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็น
 

Similar to บทที่4โลกของเราม 2

โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
nasanunwittayakom
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
kalita123
 
ดวงอาทิตย์ The sun
ดวงอาทิตย์  The sunดวงอาทิตย์  The sun
ดวงอาทิตย์ The sun
native
 
ภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลายภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลาย
Kroo Mngschool
 

Similar to บทที่4โลกของเราม 2 (20)

โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ M6
โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ M6โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ M6
โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ M6
 
โลกของเรา
โลกของเราโลกของเรา
โลกของเรา
 
Earth1
Earth1Earth1
Earth1
 
โครงสร้างโลกและการกำเนิดโลก
โครงสร้างโลกและการกำเนิดโลกโครงสร้างโลกและการกำเนิดโลก
โครงสร้างโลกและการกำเนิดโลก
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
 
บท4โลกดาวเคราะห์ของเรา
บท4โลกดาวเคราะห์ของเราบท4โลกดาวเคราะห์ของเรา
บท4โลกดาวเคราะห์ของเรา
 
Earth1
Earth1Earth1
Earth1
 
Earth1
Earth1Earth1
Earth1
 
Earth
EarthEarth
Earth
 
Earth
EarthEarth
Earth
 
ดวงอาทิตย์ The sun
ดวงอาทิตย์  The sunดวงอาทิตย์  The sun
ดวงอาทิตย์ The sun
 
โครงสร้างโลก บท1
โครงสร้างโลก บท1โครงสร้างโลก บท1
โครงสร้างโลก บท1
 
Earthscience
EarthscienceEarthscience
Earthscience
 
Solarsystem
SolarsystemSolarsystem
Solarsystem
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลก
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลกโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลก
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลก
 
ภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลายภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลาย
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
42101 3
42101 342101 3
42101 3
 

More from Wichai Likitponrak

Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
Wichai Likitponrak
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
Wichai Likitponrak
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

บทที่4โลกของเราม 2

  • 1. บทที่ 4 โลกของเรา รายวิชาวิทยาศาสตร์ 3 (ว22101) ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2558
  • 2. โลกตาวเคราะห์บริวารดวงที่ 3 ของดวงอาทิตย์  โลกของเรามีรูปร่างเป็นทรงกลม มีเส้นผ่านศูนย์กลางจากขั้วโลกเหนือถึงขั้วโลกใต้ยาว 12711 กิโลเมตร และสั้นกว่าเส้นผ่านศูนย์กลางในแนวเส้นศูนย์สูตรซึ่งมีค่าประมาณ 12755 กิโลเมตร ขณะที่โลกหมุนรอบดวงอาทิตย์นั้น แกนของโลกจะเอียงทามุมประมาณ 23.5 องศา กับเส้นที่ตั้งฉากกับระนาบการโคจรของโลก ทาให้เกิดฤดูกาลต่างๆ
  • 3. 1.1 โครงสร้างของโลก  โครงสร้างของโลก แบ่งออกเป็น 3 ชั้นดังนี้ 1. เปลือกโลก (crust) เป็นชั้นนอกสุด มีความหนาน้อยที่สุด ประมาณ 70 กิโลเมตร ประกอบด้วย แผ่นดินประมาณ 1 ส่วนใน 4 ส่วน และพื้น้าประมาณ 3 ส่วน แบ่งเป็น 2 ชั้น ดังนี้ 1.1 เปลือกโลกส่วนบน เป็นส่วนนอกสุด ประกอบด้วยชั้นดินและกลุ่มไซอัล (sial) ซึ่งส่วนใหญ่มีองค์ประกอบเป็นซิลิกา และอลูมินา 1.2 เปลือกโลกส่วนล่าง เป็นส่วนที่เป็นมหาสมุทร ประกอบด้วย หินที่เป็นเบส ปานกลางหรือไซมา ซึ่งมีองค์ประกอบเป็นซิลิกา และ แมกนิเซียม 2. เนื้อโลก (mantle) เป็นชั้นของโลกที่อยู่ลึกถัดจากชั้นเปลือกโลก ประกอบด้วย หินและแร่ธาตุหลายชนิด มีอุณหภูมิประมาณ 2000-3700 ํc มีความหนา ประมาณ 3000 กิโลเมตร
  • 4. 1.1 โครงสร้างของโลก  3. แกนโลก (core) อยู่ชั้นในสุดหรือเป็นแก่นกลางของโลก แบ่งเป็น 2 ชั้น คือ แก่นโลกชั้นนอก เป็นชั้นของเหลวที่ร้อนจัด และแก่นโลกชั้นใน เป็นชั้นของแข็ง ประกอบด้วยธาตุเหล็ก และนิกเกิล แก่นโลกมีความหนามากประมาณ 3440 กม. มีอุณหภูมิสูงประมาณ 4300-6400 ํc
  • 5. ระบบในโลกของเรา  ธรณีภาค (Lithosphere)  อุทกภาค (Hydrosphere)  บรรยากาศ (Atmosphere)  ชีวภาพ (Biosphere)
  • 7. กระบวนการเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยาบนเปลือกโลก  1. การผุพังอยู่กับที่ (Weathering) หมายถึง การที่หินผุพังทาลายลงด้วยกรรมวิธีต่างๆ จากลมฟ้ าอากาศกับน้าฝน รวมทั้งการกระทาของต้นไม้กับแบคทีเรียตลอดจนการแตกตัวทาง กลศาสตร์ มีการเพิ่ม-ลดอุณหภูมิสลับกัน เป็นต้น สาเหตุของการผุพังอยู่กับที่ ได้แก่ ความร้อน ความ เย็น น้า น้าแข็ง แก็สออกซิเจนและแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ในชั้นบรรยากาศ  ประเภทของการผุพังอยู่กับที่ การผุพังอยู่กับที่แบ่งไก้เป็น 2 ประเภทคือ 1)การผุพังเชิงกล : ความร้อนและความเย็น การแข็งตัวและการละลาย การเจริญเติบโตของต้นไม้ การ ครูดถู การกระทาของสัตว์ การกัดเซาะของแม่น้า 2)การผุพังเชิงเคมี : น้าเป็นตัวการสาคัญที่สุด แก็สออกซิเจน แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ สิ่งมีชีวิต  ซึ่งการผุพังทั้งสองประเภทนี้จะเกิดขึ้นอย่างช้าๆ แต่เมื่อผ่านไปนานๆก็สามารถทาให้หินหรือสสาร อื่นๆพังทลายลงได้
  • 10.
  • 14. ภูเขา (mountain)  คือ บริเวณที่มีความสูงมากกว่า 3,000 ฟุตขึ้นไป จากพื้นดิน  กระบวนการเกิดภูเขา ดังนี้ 1. ภูเขาเกิดจากการเลื่อนตัวของหิน ส่วนหนึ่งของหินเปลือกโลก เลื่อนขึ้น อีกส่วนหนึ่งจะเลื่อนลง ภูเขาแบบนี้มีหน้าผาสูงชัน เช่น เขาพระวิหาร ภูเขาเพชรบูรณ์ 2. ภูเขาเกิดจากการดันของแมกมา แมกมาหรือหินจะดันให้เปลือกโลกสูงขึ้น แต่แมกมาเย็นตัวก่อนที่ จะไหลออกมาถึงผิวโลก จึงเกิดภูเขาซึ่งมียอดซึ่งมียอดมนกลมเชิงเขาแผ่กว้าง คือ ภูเขารูปดดม เช่น ภูเขาแบลคฮิลค์และเฮนรีของสหรัฐอเมริกา ภูเขาแกรนิตทางทิศตะวันตกของภาคกลาง ได้แก่ ภุเขาลพบุรี ภูเขาสอยดาว จังหวัดจันทบุรี 3. ภูเขาเกิดจากการโค้งงอ การชนกันของแผ่นเปลือกโลกสองแผ่น แต่ละแผ่นจะโค้งงอ เนื่องจากมี แรงผลักซึ่งกันและกันดันให้ส่วนโค้งงอนี้ค่อยๆ สูงขึ้น เช่น ภูเขาหิมาลัย เกิดจากแผ่นออสเตรเลีย ชนกับแผ่นยูเรเซีย และเทือกเขาภูพาน 4. ภูเขาเกิดจากการโค้งงอ ผิวโลกมีความทนทานต่อการกร่อนไม่เท่ากัน ส่วนที่ไม่แข็งจะถูกกักร่อน ทาลายไป ส่วนที่แข็งยังคงอยู่จึงเกิดเป็นภูเขาขึ้น เช่น ภูกระดึง จังหวัดเลย
  • 16. กระบวนการเกิดหินงอก หินย้อย  หินงอกหินย้อย คือปรากฏการณ์ชนิดหนึ่งที่เกิดต่อเนื่องกันมาเป็นเวลาหลายๆ พันหรือหมื่นปี ซึ่ง ส่วนใหญ่นั้นมักเกิดขึ้นในถ้าหินปูน เพราะมีความชื้นอันเป็นปัจจัยของการเกิดขึ้นของปรากฏการณ์ ประเภทนี้ ลักษณะของหินงอกหินย้อยนั้น เป็นหินที่ยื่นหรือหยดเข้าหากันคล้ายกับเป็นของเหลว โดยมากเราเรียกหินที่หยดลงมาจากด้านบนว่าหินย้อย และเรียกหินที่ยื่นขึ้นไปจากทางด้านล่างว่าหิน งอก ซึ่งกระบวนการต่างๆ ที่ทาให้เกิดสภาพนี้นั้นสามารถอธิบายได้ดังต่อไปนี้ 1. หินงอกหินย้อยเกิดจากความชื้นต่างๆ ที่สะสมอยู่ในดิ้น คือเมื่อปลายยุคน้าแข็ง หิมะเริ่มละลายตัว และ ความชื้นต่างๆ ก็ไหลมาสะสมในดิน หรือช่องว่างระหว่างดิน กลายเป็นธารน้าใต้ดิน 2. เมื่อน้าใต้ดินนั้นรวมตัวกับคาร์บอนไดออกไซด์ ทาให้เกิดกระบวนการสึกกร่อน และเกิดเป็นกรดคาร์ บอนิก ซึ่งเป็นกรดอ่อนชนิดหนึ่ง ซึ่งเมื่อหินปูนนั้นเจอกับกรดคาร์บอนิกที่สามารถกัดกร่อนหินปูน ได้นั้น ก็จะทาให้เกิดช่องว่างขึ้น เล็กบ้างใหญ่บ้าง ซึ่งเราเรียกช่องว่างที่เกิดขึ้นใหม่นี้ว่า ถ้า
  • 17. กระบวนการเกิดหินงอก หินย้อย 3. หินย้อย เกิดได้จากกระบวนการเหล่านี้เอง คือกล่าวกันได้ว่า หินย้อยคือหินปูนที่ จับตัวกันเป็นแท่ง หรือแผ่นย้อยลงมาจากเพดานถ้า ซึ่งเมื่อมีน้าที่มีหินปูนสะสมอยู่หยดลงมาตามรอยแตกหรือรอยแยก ซึ่งเมื่อน้านั้นสูญเสียคาร์บอนไดออกไซด์ออกไป ก็จะทาให้เกิดสารประกอบประเภทคาร์บอเนต จากนั้นเมื่อเกิดการสะสมตัวพอกพูนมากขึ้นเรื่อยๆ ทาให้เกิดเป็นแท่งหินที่ย้อยลงมาจากเพดานถ้า โดยมากมักมีลักษณะกลวงด้านใน 4. หินงอก เป็นกระบวนการที่คล้ายกันก็คือ เกิดจากน้าที่มีหินปูนสะสมอยู่ที่หยดลงมาจากเพดานถ้า สู่ ชั้นหินเบื้องล่าง ความที่น้านั้นมีตะกอนหินปูนอยู่มาก เมื่อเกิดการสูญเสียคาร์บอนไดออกไซด์ไปจึง ทาให้เกิดสะสมเป็นแท่ง ยื่นไปในอากาศสูงจากพื้นถ้า ซึ่งกระบวนการเกิดหินงอกหินย้อยนี้มี ความสัมพันธ์กัน ดังนั้นเมื่อเกิดหินย้อยแล้วต้องมีหินงอกด้วย (ยกเว้นถ้าที่ไม่มีพื้น) และเมื่อมีหิน งอกต้องมีหินย้อยด้วยเช่นกัน
  • 19. การอนุรักษ์ภูมิลักษณ์ของโลก  การที่จะให้บรรลุเป้ าหมาย คือ การที่จะทาให้มีทรัพยากรธรรมชาติไว้ใช้และอยู่คู่กับโลกตลอดไปได้ นั้น มีหลักการอนุรักษ์ 3 ประการ คือ 1. ใช้อย่างฉลาด การจะใช้ ต้องพิจารณาให้รอบคอบถึงผลดี ผลเสีย ความขาดแคลนหรือความหายากใน อนาคต อีกทั้งพิจารณาหลักเศรษฐศาสตร์ถึงต้นทุนและผลตอบแทนอย่างถี่ถ้วน 2. ประหยัด (เก็บ รักษา สงวน) ของที่หายาก หมายถึง ทรัพยากรใดที่มีน้อยหรือหายาก ควรเก็บรักษาไว้ มิให้สูญไป บางครั้งถ้ามีของบางชนิดที่พอจะใช้ได้ ต้องใช้อย่างประหยัด 3. ฟื้นฟูสิ่งแวดล้อมที่ไม่ดีหรือเสื่อมโทรมให้ดีขึ้น (ซ่อมแซม ปรับปรุง) กล่าวคือ ทรัพยากรใดก็ตามมี สภาพล่อแหลมต่อการสูญเปล่า หรือจะหมดไปถ้าดาเนินการไม่ถูกต้องตามหลักวิชา ควรหาทาง ปรับปรุงให้อยู่ในลักษณะที่ดีขึ้น
  • 20. “THE END” THANK YOU FOR YOUR ATTENTION!