1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง

Wareerut Hunter
Wareerut Hunterศึกษานิเทศก์ en กลุ่มนิเทศฯ สพป. พะเยา 2
รช.7
แผนการจัดการเรียนรู้ Backward design ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ. 1
เอกสารประกอบ
แนวทางการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ด้านครูสอน ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดการเรียนรู้
ประเด็น /หลักพอเพียง พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
เนื้อหา กาหนดเนื้อหาได้สอดคล้องกับ
มาตรฐาน ตัวชี้วัด และ
เหมาะสมกับเวลา วัย
ความสามารถของนักเรียน และ
บริบทของท้องถิ่น
นักเรียนได้เรียนรู้ ตรงตาม
มาตรฐานและตัวชี้วัดและ
ครบถ้วนตามกระบวนการ
บรรลุตามเป้าหมาย
การศึกษา
-ลาดับเนื้อหาจากง่ายไปหา
ยาก เพื่อให้นักเรียนเข้าใจ
ง่าย อยากเรียนรู้
-เตรียมเนื้อหาในการเรียนรู้
ให้ครอบคลุมตามมาตรฐาน
และตัวชี้วัด ตรงตาม
หลักสูตร
- นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ผ่าน
เกณฑ์มาตรฐาน
เวลา กาหนดเวลาได้เหมาะสม กับ
เนื้อหา และกิจกรรมการเรียนรู้
-เพื่อให้จัดกิจกรรมการ
เรียนรู้ได้ครบถ้วนตามที่
กาหนด ตรงตาม
โครงสร้างหลักสูตร
-ส่งเสริมให้นักเรียนทา
กิจกรรมอย่างมี
ประสิทธิภาพ
-มีการจัดสรรเวลาเพิ่ม
สาหรับนักเรียนที่ไม่สามารถ
ปฏิบัติกิจกรรมได้ตาม
ขั้นตอน เช่น การสอนซ่อม
เสริม
วิธี
การจัดกิจกรรม
ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ได้
เหมะสมสาหรับนักเรียนเพื่อ
นาสู่เป้าหมาย และเหมาะสม
กับความแตกต่างระหว่างบุคคล
และสภาพนักเรียน
เพื่อให้นักเรียนมีคุณภาพ
ตามมาตรฐานและตัวชี้วัด
เพื่อให้มีแนวทางเทคนิควิธี
ในการจัดการเรียนรู้ที่
เหมาะสมกับนักเรียน
-มีแนวทางการพัฒนา
ปรับปรุงวิธีสอนในครั้งต่อไป
แหล่งเรียนรู้ เลือกแหล่งเรียนรู้ได้เหมาะสม
กับกิจกรรม เนื้อหา และความ
สนใจของนักเรียน
-ส่งเสริมการใช้แหล่ง
เรียนรู้ในโรงเรียนและนอก
โรงเรียน
-เสริมสร้างให้นักเรียน
เข้าใจในบทเรียนได้ง่ายขึ้น
-มีความพร้อมในการจัดการ
เรียนรู้ และเป็นไปตามแผน
- ประหยัดเวลาและ
ระยะทางในการเรียนรู้
รช.7
แผนการจัดการเรียนรู้ Backward design ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ. 1
เอกสารประกอบ
แนวทางการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ด้านครูสอนใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดการเรียนรู้
ประเด็น /หลัก
พอเพียง
พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
สื่อ/อุปกรณ์ -เลือกสื่อที่เหมาะสมกับ
เป้าหมาย เนื้อหา กิจกรรม
การเรียนรู้ และความสนใจ
ของนักเรียน
-ครูเตรียมสื่อให้เพียงพอ
กับจานวนนักเรียน
-เพื่อกระตุ้นความสนใจของ
นักเรียน
-เสริมสร้างให้นักเรียนเข้าใจ
ในบทเรียนได้ง่ายขึ้น
-เตรียมสื่อ/อุปกรณ์สารอง
-ครูเตรียมสื่อ/อุปกรณ์ได้
เหมาะสมกับนักเรียน
-ลดภาระการอธิบายของครู
- เพิ่มความรู้ความเข้าใจที่เป็น
รูปธรรมที่ชัดเจน
การประเมินผล -ออกแบบการวัดและ
ประเมินผลได้เหมาะสมกับ
ตัวชี้วัด กิจกรรม และ
นักเรียน
-เพื่อประเมินนักเรียนตรงตาม
สภาพจริง หรือเป้าหมายที่
ต้องการรู้
-ศึกษาและสร้างเครื่องมือวัดผล
ให้ตรงตามตัวชี้วัด
และผ่านการตรวจสอบคุณภาพ
ความรู้ที่ครู
จาเป็นต้องมี
ครูมีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐาน ตัวชี้วัด เทคนิคการสอนแบบ5 E จิตวิทยาการเรียนรู้ การวัด
และประเมินผล หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง. บริบทโรงเรียน การรักษาสิ่งแวดล้อม
และการใช้ภาษาอังกฤษ
คุณธรรมของครู มีความรักเมตตาศิษย์ มีความรับผิดชอบ มีความยุติธรรม มีความอดทน
รช.7
แผนการจัดการเรียนรู้ Backward design ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ. 1
แนวทางการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ด้านครูสอนใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดการเรียนรู้
หลักพอเพียง
พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
1. กาหนดเนื้อหา
ได้สอดคล้องกับมาตรฐาน ตัวชี้วัด และ
เหมาะสมกับเวลา วัย ความสามารถขอ
นักเรียน และบริบทของท้องถิ่น
2. กาหนดเวลาได้
เหมาะสมกับเนื้อหาและกิจกรรมการ
เรียนรู้
3. ออกแบบกิจกรรม
การเรียนรู้ได้เหมะสมสาหรับนักเรียน
เพื่อนาสู่เป้าหมาย และเหมาะสมกับ
ความแตกต่างระหว่างบุคคลและสภาพ
นักเรียน
4. เลือกแหล่งเรียนรู้ได้
เหมาะสมกับกิจกรรม เนื้อหา และความ
สนใจของนักเรียนเลือกสื่อที่เหมาะสม
กับเป้าหมาย เนื้อหา กิจกรรม
5. การเรียนรู้ และความสนใจของ
นักเรียน ครูเตรียมสื่อให้เพียงพอกับ
จานวนนักเรียน
6. ออกแบบการวัดและประเมินผลได้
เหมาะสมกับตัวชี้วัด กิจกรรม และความ
สามรถของนักเรียน
1. นักเรียนได้เรียนรู้ ตรง
ตามมาตรฐานและตัวชี้วัดและ
ครบถ้วนตามกระบวนการบรรลุ
ตามเป้าหมายการศึกษา
2. มีการจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้ได้ครบถ้วนตามที่กาหนด
ตรงตามโครงสร้างหลักสูตร
ส่งเสริมให้นักเรียนทากิจกรรม
อย่างมีประสิทธิภาพ
3. นักเรียนมีคุณภาพตาม
มาตรฐานและตัวชี้วัด
4.มีแนวทางเทคนิควิธีในการ
จัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับ
นักเรียน
5. ส่งเสริมการใช้แหล่ง
เรียนรู้ในโรงเรียนและนอก
โรงเรียน
6. เสริมสร้างให้นักเรียน
เข้าใจในบทเรียนได้ง่ายขึ้น
7. ประเมินนักเรียนตรงตาม
สภาพจริง หรือเป้าหมาย
ที่ต้องการรู้
1. นักเรียนเข้าใจง่าย อยากเรียนรู้
จากการลาดับเนื้อหาจากง่ายไปหา
ยาก 2. นักเรียนเรียนรู้ใด้
ครอบคลุมตามมาตรฐานและ
ตัวชี้วัด ตรงตามหลักสูตรจาก
เตรียมเนื้อหาใน
3. นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ผ่านเกณฑ์
มาตรฐาน
4. มีแนวทางการพัฒนาปรับปรุง
วิธีสอนในครั้งต่อไป
5. จัดสรรเวลาเพิ่มสาหรับนักเรียน
ที่ไม่สามารถปฏิบัติกิจกรรมได้ตาม
ขั้นตอน เช่น การสอนซ่อมเสริม
6. มีความพร้อมในการจัดการ
เรียนรู้ และเป็นไปตามแผน
ประหยัดเวลาและระยะทางในการ
เรียนรู้
7. ครูเตรียมสื่อ/อุปกรณ์ได้
เหมาะสมกับนักเรียน ช่วยลดภาระ
การอธิบายของครู เพิ่มความรู้
ความเข้าใจที่เป็นรูปธรรมที่ชัดเจน
8. วัดผลใด้ตรงตาม
ตัวชี้วัด ตามสภาพจริง
ความรู้ ครูมีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐาน ตัวชี้วัด เทคนิคการสอนแบบ5 E จิตวิทยาการเรียนรู้ การวัดและ
ประเมินผล หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง. บริบทโรงเรียน การรักษาสิ่งแวดล้อม และการใช้ภาษาอังกฤษ
คุณธรรม มีความรักเมตตาศิษย์ มีความรับผิดชอบ มีความยุติธรรม มีความอดทน
รช.7
แผนการจัดการเรียนรู้ Backward design ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ. 1
ผลที่เกิดกับนักเรียนสอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ด้านนักเรียนได้เรียนรู้หลักคิดและฝึกปฏิบัติตามหลัก 3 ห่วง 2 เงื่อนไข ดังนี้
หลักพอเพียง
พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
-นักเรียนใช้เวลาปฏิบัติ
กิจกรรมได้เหมาะสม
ตามลาดับขั้นตอน
-นักเรียนแบ่งหน้าที่การ
ทางานภายในกลุ่มได้
เหมาะสมกับ
ความสามารถของแต่ละ
คน
-นักเรียนใช้วัสดุอุปกรณ์
ในการทดลองที่มีอยู่
อย่างประหยัดและคุ้มค่า
-ปฏิบัติกิจกรรมได้ครบถ้วน ตามขั้นตอนและสาเร็จ
ตามเป้าหมาย
-แก้ปัญหาในการทางานให้สาเร็จตามเป้าหมาย
นักเรียนสามารถเห็นถึงความสาคัญของการอนุรักษ์
ทรัพยากรดิน
- นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในสมบัติทั่วไปของ
ดินการอนุรักษ์ และการพัฒนาดิน
และสามารถนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน
ได้
- รู้จักวิธีการปรับปรุงดิน
โดยวิธีการธรรมชาติ
- นักเรียนเกิดทักษะ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และกระบวนการทางาน
- การเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์
การทดลองที่เหมาะสม ประหยัด ปลอดภัย
-รู้จักการวางแผน การ
ทางานอย่างเป็นระบบให้
ประสบความสาเร็จ
-ปรับตัวในการทางานกับ
เพื่อนพร้อมรับการ
เปลี่ยนแปลงในสังคม
- นักเรียนรู้จักปฏิบัติตน
และกิจกรรมที่ช่วย
อนุรักษ์และเสนอแนะ
แนวทางป้องกัน
ทรัพยากรดิน
- รู้คุณค่าของทรัพยากร
ดินและรู้จักเลือกใช้อย่าง
คุ้มค่าและยั่งยืน
- สร้างความเข้มแข็งใน
ชุมชน
ความรู้ นักเรียนมีความรู้ เรื่อง การวางแผนการทางาน วิธีการทางานร่วมกับผู้อื่น และนักเรียนสามารถเห็นถึง
ความสาคัญของการอนุรักษ์ทรัพยากรดิน
- นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในสมบัติทั่วไป
- กาเนิดและสมบัติทั่วไปของดิน
- ความเป็นกรด-เบสของดิน
- การพังทลาย การอนุรักษ์ และการพัฒนาดิน การชะล้างพังทลายของดิน
- การอนุรักษ์และพัฒนาดิน วิธีการจัดการดินเพื่อการอนุรักษ์และการพัฒนา
คุณธรรม นักเรียน
- มีความตั้งใจใฝ่เรียนรู้ ความมีระเบียบวินัย - มีมุ่งมั่นในการทางาน - มีความสามัคคี
- พอเพียงประหยัดอดออม - จิตวิทยาศาสตร์
- มีจิตสาธารณะในการอนุรักษ์ทรัพยากร หิน ดิน น้า และโลก การรักษ์สิ่งแวดล้อม
รช.7
แผนการจัดการเรียนรู้ Backward design ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ. 1
ด้านนักเรียนได้เรียนรู้การใช้ชีวิตที่สมดุลและพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงใน ๔ มิติ ตาม
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ดังนี้
ด้าน/องค์ประกอบ วัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม
ความรู้
มีความรู้ในการเลือกใช้วัสดุ
อุปกรณ์การทดลองให้คุ้มค่า
และประหยัด
มีความรู้ในการ
วางแผนงานและการ
ทางานร่วมกันเป็นกลุ่ม
รู้จักรับผิดชอบในการ
ใช้ทรัพยากรดินใน
ชุมชนร่วมกัน
มีความรู้ในการ
รักษาสิ่งแวดล้อม
ทรัพยากรดินใช
ชุมชน
- นักเรียนรู้จักปฏิบัติ
ตนและกิจกรรมที่ช่วย
อนุรักษ์และเสนอแนะ
แนวทางป้องกัน
ทรัพยากรดิน
- เห็นคุณค่า ภูมิ
ปัญญาท้องถิ่นในการ
ปรับปรุงดิน
ทักษะ
-มีทักษะในการใช้วัสดุ
อุปกรณ์ทดลองอย่างประหยัด
และคุ้มค่า
-การเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์
ทดลองได้อย่างเหมาะสม
- การเลือกใช้วิธีการปรับปรุง
ดินที่ไม่ทาลายทรัพยาการดิน
-มีทักษะในการทางาน
ร่วมกับผู้อื่น
-มีทักษะในการ
นาเสนอและ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้
การรักษาทรัพยากร
ดิน
การใช้ประโยชน์
ทรัพยากรดินอย่าง
คุ้มค่า
- มีทักษะ การปฏิบัติ
วิธีการในการปรับปรุง
ทรัพยากรดินที่ถูกวิธี
- มีส่วนร่วมในการ
รักษาดิน
ค่านิยม
-มีความตระหนักในการนา
วัสดุอุปกรณ์มาใช้ในการ
ปฏิบัติงานให้คุ้มค่า
- เห็นคุณค่าทรัพยากรดิน
-ตระหนักถึงความ
รับผิดชอบต่อหน้าที่
การทางานในกลุ่ม
-ยอมรับความคิดเห็น
ซึ่งกันและกัน
-ความมีจิตอาสา
- มีมุ่งมั่นในการทางาน
- มีความสามัคคี
ตระหนักถึง
ความสาคัญของ
ทรัพยากรดิน
ใช้พัฒนา ปรับปรุง
อย่าประหยัดคุ้มค่า
- เกิดค่านิยมวิธีการ
ปฏิบัติในการ
บารุงรักษาดินที่ถูกวิธี
และวิธีการปลูกพืช
ที่รักษาหน้าดิน
-เกิดความภาคภูมิใจใน
การมีส่วนร่วม
รช.7
แผนการจัดการเรียนรู้ Backward design ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ. 1
แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง โลกและการเปลี่ยนแปลง จานวนชั่วโมง 10 ชั่วโมง
แผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เรียนรู้เรื่องดิน
1. สาระสาคัญ
ดินเป็นวัตถุธรรมชาติที่เกิดจากการสลายตัวของหิน แร่ และสารอินทรีย์ ดินชั้นบนมีสารอินทรีย์มาก มีสี
คล้า และเนื้อดินหยาบกว่าดินชั้นล่าง จึงมีความพรุนมากกว่า ด้วยดินจากที่ต่างกันจะมีลักษณะที่แตกต่างกัน
ในเรื่องของสีดิน ปริมาณฮิวมัส และความเป็นกรดและเบส พื้นดินอาจเกิดการชะล้างพังทลายได้โดยธรรมชาติ
และการกระทาของมนุษย์ ดังนั้น จึงต้องดูแลรักษาให้ดินมีสภาพอุดมสมบูรณ์ตลอดไป
2. มาตรฐานการเรียนรู้ / เป้าหมายการเรียนรู้
สาระที่ 6 กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก
มาตรฐาน ว 6. 1 เข้าใจกระบวนการต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นบนผิวโลกและภายในโลก ความสัมพันธ์ของ
กระบวนการต่าง ๆ ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ภูมิประเทศ และสัณฐานของโลก มีกระบวนการสืบ
เสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์
ข้อ 1 สารวจ ทดลองและอธิบายลักษณะของชั้นหน้าตัดดิน สมบัติของดิน และกระบวนการเกิดดิน
ข้อ 2 สารวจ วิเคราะห์และอธิบายการใช้ประโยชน์และการปรับปรุงคุณภาพของดิน
สาระที่ 8 ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 8. 1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การ
แก้ปัญหา รู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบ
ได้ ภายใต้ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม
มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
ข้อ 1 ตั้งคาถามที่เกี่ยวกับประเด็น หรือเรื่อง หรือสถานการณ์ที่จะศึกษาตามที่กาหนดให้
หรือตามความสนใจ
ข้อ 2 วางแผนการสังเกต สารวจตรวจสอบ หรือศึกษาค้นคว้าหลายๆ วิธี คาดการณ์สิ่งที่
จะพบจากการสารวจตรวจสอบ และเสนอวิธีการสารวจตรวจสอบ
ข้อ 3 เลือกวิธีการสารวจตรวจสอบที่สามารถปฏิบัติได้และใช้อุปกรณ์อย่างถูกต้อง
เหมาะสมในการสังเกต การวัด ให้ได้ข้อมูลครอบคลุมและเชื่อถือได้
ข้อ 4 บันทึกข้อมูล วิเคราะห์ ประเมินผลข้อมูลในเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ
รช.7
แผนการจัดการเรียนรู้ Backward design ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ. 1
และตรวจสอบผลที่ได้กับสิ่งที่คาดการณ์ไว้ล่วงหน้า นาเสนอผลและข้อสรุปที่ได้
ข้อ 5 สร้างคาถามใหม่ที่นาไปสู่การสารวจตรวจสอบในเรื่องที่เกี่ยวข้อง
ข้อ 6 แสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ อธิบาย ลงความเห็นและสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้
ข้อ 7 บันทึกและอธิบายผลการสังเกตอย่างตรงไปตรงมา มีเหตุผลและมี
ประจักษ์พยานอ้างอิง
ข้อ 8 นาเสนอ จัดแสดงผลงานโดยอธิบายด้วยวาจาหรือเขียนเกี่ยวกับแนวคิด
กระบวนการ และผลของโครงงานหรือชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ
3. สาระการเรียนรู้
ความรู้
- กาเนิดและสมบัติทั่วไปของดิน
- ความเป็นกรด-เบสของดิน
- การพังทลาย การอนุรักษ์ และการพัฒนาดิน การชะล้างพังทลายของดิน
- การอนุรักษ์และพัฒนาดิน วิธีการจัดการดินเพื่อการอนุรักษ์และการพัฒนา
ทักษะ/กระบวนการ
- สารวจ ทดลองและอธิบายลักษณะของชั้นหน้าตัดดิน สมบัติของดิน และกระบวนการเกิดดิน
- สารวจ วิเคราะห์และอธิบายการใช้ประโยชน์และการปรับปรุงคุณภาพของดิน
ทักษะเฉพาะวิชา
- ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
- ทักษะการปฏิบัติทดลอง
ทักษะร่วมวิชา
-ทักษะกระบวนการกลุ่ม
-ทักษะการร่วมอภิปราย
-ทักษะการคิดวิเคราะห์
คุณลักษณะที่พึงประสงค์
- มีความตั้งใจใฝ่เรียนรู้
- มุ่งมั่นในการทางาน
- พอเพียงประหยัดอดออม
- จิตวิทยาศาสตร์
- มีจิตสาธารณะในการอนุรักษ์ทรัพยากร หิน ดิน น้า และโลก
รช.7
แผนการจัดการเรียนรู้ Backward design ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ. 1
4. ตัวชี้วัด
ว 6.1 ม.2/1 สารวจ ทดลองและอธิบายลักษณะของชั้นหน้าตัดดิน สมบัติของดิน และกระบวนการเกิดดิน
ว 6.1 ม.2/2 สารวจ วิเคราะห์และอธิบายการใช้ประโยชน์และการปรับปรุงคุณภาพของดิน
5. การบูรณาการโดยใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ความพอประมาณ
- นักเรียนใช้เวลาปฏิบัติกิจกรรมได้เหมาะสมตามลาดับขั้นตอน
- นักเรียนแบ่งหน้าที่การทางานภายในกลุ่มได้เหมาะสมกับความสามารถของแต่ละคน
- นักเรียนใช้วัสดุอุปกรณ์ในการทดลองที่มีอยู่อย่างประหยัดและคุ้มค่า
ความมีเหตุผล
- นักเรียนสามารถเห็นถึงความสาคัญของการอนุรักษ์ทรัพยากรดิน
- นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในสมบัติทั่วไปของดิน การอนุรักษ์ และการพัฒนาปรับปรุงดิน
- และสามารถนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้
- รู้จักวิธีการปรับปรุงดินโดยวิธีการธรรมชาติ
- นักเรียนเกิดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และกระบวนการทางาน
- การเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์การทดลองที่เหมาะสม ประหยัด ปลอดภัย
การมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
- นักเรียนรู้จักปฏิบัติตนและกิจกรรมที่ช่วยอนุรักษ์และเสนอแนะแนวทางป้องกันทรัพยากรดิน
- รู้คุณค่าของทรัพยากรดินและรู้จักเลือกใช้อย่างคุ้มค่าและยั่งยืน
- สร้างความเข้มแข็งในชุมชน
เงื่อนไขความรู้
- กาเนิดและสมบัติทั่วไปของดิน
- ความเป็นกรด-เบสของดิน
- การพังทลาย การอนุรักษ์ และการพัฒนาดิน การชะล้างพังทลายของดิน
- การอนุรักษ์และพัฒนาดิน วิธีการจัดการดินเพื่อการอนุรักษ์และการพัฒนา
เงื่อนไขคุณธรรม
- มีความตั้งใจใฝ่เรียนรู้
- มีมุ่งมั่นในการทางาน
- พอเพียงประหยัดอดออม
- จิตวิทยาศาสตร์
- มีจิตสาธารณะ จิตอาสา ในการอนุรักษ์ทรัพยากร หิน ดิน น้า และโลก การรักษ์สิ่งแวดล้อม
รช.7
แผนการจัดการเรียนรู้ Backward design ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ. 1
6.ความรู้เดิม (ประสบการณ์เดิม)
นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับองค์ประกอบหลักของดิน PH ของสาร
7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
การจัดการเรียนรู้แบบกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ โดยเน้นนักเรียนเป็นสาคัญ
8. ขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
(การจัดการเรียนการสอนแบบกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 5 E)
1.ขั้นสร้างความสนใจ
- นักเรียนดูตัวอย่างดินแต่ละชนิด จากนั้นนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเรื่อง กาเนิดของดิน
ตามแนวความคิดของตนเอง เขียนความคิดเห็นของแต่ละคนบนกระดานเพื่อนาสรุปเป็นแนวคิดของห้อง
2.ขั้นสารวจและค้นหา
- นักเรียนแบ่งกลุ่มเป็น กลุ่มละ 5 คน ทากิจกรรมการทดลองเรื่อง ลักษณะของดิน โดยให้ใช้
เวลาในอย่างพอประมาณการทากิจกรรม 15 นาที และใช้วัสดุอุปกรณ์ตามที่กาหนดให้อย่างคุ้มค่า
- สารวจและบันทึกลักษณะของดินในท้องถิ่น เกี่ยวกับสีของดิน เนื้อดินและความเป็นกรด-เบส
โดยให้ระบุสีและค่า PH เป็นภาษาอังกฤษ
- นักเรียนชมวิดีทัศน์เรื่อง “การพังทลายของดิน” จากนั้นและเปิดโอกาสให้นักเรียนแสดงความ
คิดเห็นด้วยเหตุและผลจากการชมวิดีทัศน์ ว่า “ทาไมจึงเกิดเหตุการพังทลายของดินและจะมีวิธีการแก้ไข
อย่างไร” เพื่อนาสู่การหาแนวทางการแก้ไข โดยที่ครูยังไม่สรุป
- นักเรียนแต่ละกลุ่ม สืบค้นข้อมูล เรื่อง การพังทลาย การอนุรักษ์และการพัฒนาดิน เพื่อหาแนว
ทางการปฏิบัติตนและกิจกรรมที่ช่วยอนุรักษ์และเสนอแนะแนวทางป้องกันทรัพยากรดิน (สร้างภูมิคุ้มกัน)
โดยสืบค้นข้อมูลจากอินเตอร์เน็ตจากแหล่งเรียนรู้ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์
3. ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป
- แต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายและสรุปผลจากการทากิจกรรมการทดลองเรื่อง ลักษณะของดิน และ
นาเสนอผลการสืบค้นข้อมูล
4. ขั้นขยายความรู้
1. ครูเชิญวิทยากรจากเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรพื้นที่สูง โครงการหลวงปังค่าเป็น
วิทยากรบรรยายให้ความรู้กับนักเรียนเรื่อง หมอดิน
2. นักเรียนฟังบรรยาย จากวิทยากร ในรายละเอียดดังนี้
- การพัฒนาและปรับปรุงดิน
รช.7
แผนการจัดการเรียนรู้ Backward design ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ. 1
- แนวทางในการอนุรักษ์ดิน
- การทาปุ๋ยชีวภาพ เพื่อบารุงดิน
- หญ้าแฝกกับการป้องกันการพังทลายของดิน
3. วิทยากรสาธิตการทาปุ๋ยหมักชีวภาพจากเศษผัก ผลไม้ เศษอาหาร
4. นักเรียนช่วยกันทาปุ๋ยหมักชีวภาพ (โดยให้คานึงถึงความพอประมาณในระยะเวลาในการทา
ความปลอดภัยวัสดุอุปกรณ์ การแบ่งหน้าที่รับผิดชอบในกลุ่มให้เหมาะสมและลงมือทาตามขั้นตอนที่ได้
เรียนรู้ตามลาดับ ตลอดจนวางแผนการใช้อุปกรณ์อย่างปลอดภัยและได้ปุ๋ยชีวภาพที่มีคุณภาพ)
5. ครูแจกใบงานให้นักเรียน
6.ครูเสนอแนะให้นักเรียนนาความรู้เกี่ยวกับการทาปุ๋ยชีวภาพไปทดลองทาในครอบครัว เพื่อ
พัฒนาและบารุงดินที่บ้านและพื้นที่ทาการเกษตรของนักเรียน (การสร้างภูมิคุ้มกัน)
7. เสนอแนะให้นักเรียนจัดทาเป็นโครงงานแบบบูรณาการ
9. สื่อ /แหล่งเรียนรู้
1. แผนภาพการกาเนิดดิน
2. วีดิทัศน์ เรื่อง การพังทลายของดิน
3. แบบทดสอบ
4. ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์
5. ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์
6. ศูนย์เศรษฐกิจพอพียงในโรงเรียน
7. โครงการหลวงปังค่า
8. ใบงาน/ใบความรู้
9. ห้องสมุด
รช.7
แผนการจัดการเรียนรู้ Backward design ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ. 1
10. การวัดผลและประเมินผล
ประเด็นที่ประเมิน วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล
ความรู้ความเข้าใจเรื่อง
- กาเนิดและสมบัติทั่วไปของดิน
- ความเป็นกรด-เบสของดิน
- การพังทลาย การอนุรักษ์ และการพัฒนาดินการชะล้าง
พังทลายของดิน
- การอนุรักษ์และพัฒนาดิน วิธีการจัดการดินเพื่อการ
อนุรักษ์และการพัฒนา
- ตรวจใบงาน
- ตรวจชิ้นงาน
-ตรวจแบบทดสอบ
ใบงาน
แบบทดสอบ
- ทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์
- ประเมินทักษะ/
กระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ผ่านการทา
กิจกรรมทดลอง
- ตรวจการรายงานการ
ทดลอง
-แบบประเมินทักษะ
กระบวนการการทดลอง
- ใบงาน
- ทักษะกระบวนการกลุ่ม - ประเมินการทางานกลุ่ม - แบบประเมินการทางาน
กลุ่ม
- คุณลักษณะอันพึงประสงค์ คุณธรรม จริยธรรม และ
ค่านิยม
- สังเกตจากพฤติกรรม
การเรียนและการร่วม
กิจกรรมในชั้นเรียน
- แบบประเมินด้าน
คุณลักษณะที่พึงประสงค์
รช.7
แผนการจัดการเรียนรู้ Backward design ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ. 1
เกณฑ์การประเมินคุณภาพ
ทักษะการปฏิบัติการทดลอง
1. องค์ประกอบที่ 1 แบบแผนวิธีการทดลอง
ระดับคุณภาพ คะแนน
ทดลองตามวิธีการและขั้นตอนที่กาหนดไว้อย่างถูกต้อง 4
ทดลองตามวิธีการและขั้นตอนที่กาหนดไว้อย่างถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ 3
ทดลองตามวิธีการและขั้นตอนที่กาหนดไว้อย่างถูกต้องโดยครูเป็นผู้แนะนาในบางขั้นตอน 2
ทดลองตามวิธีการและขั้นตอนที่กาหนดไว้อย่างถูกต้องบางส่วนและต้องอาศัยครูเป็นผู้ชี้นา
เป็นส่วนใหญ่
1
2. องค์ประกอบที่ 2 การใช้อุปกรณ์การทดลอง
ระดับคุณภาพ คะแนน
ใช้อุปกรณ์การทดลองได้อย่างคล่องแคล่วและถูกต้องตามหลักการปฏิบัติ 4
ใช้อุปกรณ์การทดลองได้อย่างคล่องแคล่วเป็นส่วนใหญ่และถูกต้องตามหลักการปฏิบัติ 3
ใช้อุปกรณ์การทดลองขาดวามคล่องแคล่วและไม่ถูกต้องตามหลักการปฏิบัติ 2
ใช้อุปกรณ์การทดลองเกิดการเสียหาย โดยไม่ระมัดระวังได้ในการใช้อุปกรณ์ 1
3. องค์ประกอบที่ 3 การบันทึกผลการทดลอง
ระดับคุณภาพ คะแนน
บันทึกผลการทดลองอย่างถูกต้อง มีระเบียบและเป็นไปตามผลการทดลอง 4
บันทึกผลการทดลองอย่างถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ มีระเบียบและเป็นไปตามผลการทดลอง 3
บันทึกผลการทดลองอย่างถูกต้อง ไม่มีระเบียบและเป็นไปตามผลการทดลอง 2
บันทึกผลการทดลองไม่ครบ ไม่มีระเบียบและเป็นไปตามผลการทดลองน้อย 1
4. องค์ประกอบที่ 4 การจัดกระทาข้อมูลและการนาเสนอ
ระดับคุณภาพ คะแนน
จัดกระทาข้อมูลอย่างเป็นระบบและการนาเสนอด้วยรูปแบบต่างๆที่ถูกต้องชัดเจน 4
จัดกระทาข้อมูลอย่างเป็นระบบและการนาเสนอด้วยรูปแบบต่างๆถูกต้องชัดเจนเป็นส่วนใหญ่ 3
จัดกระทาข้อมูลเป็นระบบและการนาเสนอด้วยรูปแบบต่างๆยังขาดถูกต้องชัดเจน 2
จัดกระทาข้อมูลและการนาเสนอไม่ถูกต้องชัดเจนและไม่เป็นระบบ 1
รช.7
แผนการจัดการเรียนรู้ Backward design ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ. 1
เกณฑ์การประเมินคุณภาพ
ทักษะการปฏิบัติการทดลอง
5. องค์ประกอบที่ 5 การสรุปผลการทดลอง
ระดับคุณภาพ คะแนน
สรุปผลการทดลองได้อย่างถูกต้อง กระชับ ชัดเจนและครอบคลุม 4
สรุปผลการทดลองได้ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ ชัดเจนและครอบคลุมแต่ยังขาดความกระชับ 3
สรุปผลการทดลองได้ถูกต้องบางส่วน ยังขาดความกระชับ ชัดเจนและครอบคลุม 2
สรุปผลการทดลองได้ถูกต้องน้อย ไม่ความกระชับ ไม่ชัดเจนและไม่ครอบคลุม 1
6. องค์ประกอบที่ 6 การดูแลและเก็บอุปกรณ์เครื่องมือ
ระดับคุณภาพ คะแนน
ดูแลอุปกรณ์และเครื่องมือ มีการทาความสะอาดและเก็บอย่างถูกต้องตามหลักการ 4
ดูแลอุปกรณ์และเครื่องมือ มีการทาความสะอาดและแต่ยังเก็บไม่ถูกต้องตามหลักการในบาง
รายการ
3
ดูแลอุปกรณ์และเครื่องมือ ไม่มีการทาความสะอาดและเก็บไม่ถูกต้องตามหลักการ 2
ไม่ดูแลอุปกรณ์และเครื่องมือ ไม่มีการทาความสะอาดและเก็บไม่ถูกต้องตามหลักการ 1
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
25 - 30 คะแนน = ดีมาก
19 - 24 คะแนน = ดี
13- 18 คะแนน = พอใช้
7 -12 คะแนน = ปรับปรุงบางส่วน
1 - 6 คะแนน = ต้องปรับปรุง
รช.7
แผนการจัดการเรียนรู้ Backward design ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ. 1
เกณฑ์การประเมินคุณภาพ
ทักษะการทางานกลุ่ม
1. องค์ประกอบที่ 1 ความร่วมมือในการทางาน
ระดับคุณภาพ คะแนน
ให้ความร่วมมือในการทางานกลุ่มดีเยี่ยม 4
ให้ความร่วมมือในการทางานกลุ่มดี 3
ให้ความร่วมมือในการทางานกลุ่มพอใช้ 2
ให้ความร่วมมือในการทางานกลุ่มน้อย 1
2. องค์ประกอบที่ 2 ตั้งใจทางาน
ระดับคุณภาพ คะแนน
มีความตั้งใจในการทางานอย่างดีเยี่ยม 4
มีความตั้งใจในการทางานดี 3
มีความตั้งใจในการทางานพอใช้ 2
มีความตั้งใจในการทางานน้อย 1
3. องค์ประกอบที่ 3 ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
ระดับคุณภาพ คะแนน
ร่วมแสดงความคิดเห็นและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นอย่างดี 4
ร่วมแสดงความคิดเห็นและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นบางครั้ง 3
ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและร่วมแสดงความคิดเห็นแต่น้อยครั้ง 2
ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นแต่ขาดการร่วมแสดงความคิดเห็น 1
4. องค์ประกอบที่ 1 ตรงต่อเวลา
ระดับคุณภาพ คะแนน
ทางานเสร็จช้ากว่าเวลาที่กาหนดไม่เกิน 3 นาที 4
ทางานเสร็จช้ากว่าเวลาที่กาหนดไม่เกิน 6 นาที 3
ทางานเสร็จช้ากว่าเวลาที่กาหนดไม่เกิน 9 นาที 2
ทางานเสร็จช้ากว่าเวลาที่กาหนดไม่เกิน 12 นาที 1
รช.7
แผนการจัดการเรียนรู้ Backward design ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ. 1
5. องค์ประกอบที่ 5 ความเสียสละ
ระดับคุณภาพ คะแนน
มีความเสียสละในการทางานดีเยี่ยม 4
มีความเสียสละในการทางานดี 3
มีความเสียสละในการทางานพอใช้ 2
มีความเสียสละในการทางานน้อย 1
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
16- 20 คะแนน = ดีมาก
11 - 15 คะแนน = ดี
6 - 10 คะแนน = พอใช้
2- 5 คะแนน = ปรับปรุง
รช.7
แผนการจัดการเรียนรู้ Backward design ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ. 1
เกณฑ์การประเมินพฤติกรรมการเรียน
( Rubric Assessment)
พฤติกรรมการเรียน
ระดับคะแนน
4 3 2 1
ความตั้งใจใฝ่เรียนรู้ มีความกระตือรือร้น
สนใจซักถามข้อสงสัย
ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม
เข้าร่วมกิจกรมทุกครั้ง
มีความกระตือรือร้น
สนใจซักถามข้อสงสัย
ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม
มีความกระตือรือร้น
สนใจซักถามข้อสงสัย
มีความ
กระตือรือร้น
มุ่งมั่นในการทางาน มุ่งมั่นตั้งใจปฏิบัติ
กิจกรรม
ผลงานเรียบร้อย
ถูกต้อง สมบูรณ์
เสร็จทันเวลาที่กาหนด
มุ่งมั่น ตั้งใจปฏิบัติ
กิจกรรม
ผลงานเรียบร้อย
ถูกต้อง สมบูรณ์
มุ่งมั่น ตั้งใจปฏิบัติ
กิจกรรม
ผลงานเรียบร้อย
ตั้งใจปฏิบัติ
กิจกรรม
พอเพียงประหยัดอด ใช้วัสดุอุปกรณ์ในการ
ทดลองเพียงพอกับ
กิจกรรม สภาพหลัง
กิจกรรม สะอาด
ครบถ้วน
ใช้วัสดุอุปกรณ์ในการ
ทดลองเพียงพอกับ
กิจกรรม
ใช้วัสดุอุปกรณ์ในการ
ทดลองเพียงพอกับ
กิจกรรม
ใช้วัสดุอุปกรณ์
ในการทดลอง
เพียงพอกับ
กิจกรรม
จิตสาธารณะ
เกณฑ์การให้คะแนน
คะแนน 4 3 2 1
ระดับคุณภาพ ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง
เกณฑ์การสรุประดับคุณภาพพฤติกรรมการเรียน
คะแนน 0-8 9-11 12-14 15-16
ระดับคุณภาพ ปรับปรุง พอใช้ ดี ดีมาก
รช.7
แผนการจัดการเรียนรู้ Backward design ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ. 1
ภาคผนวก
รช.7
แผนการจัดการเรียนรู้ Backward design ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ. 1
ดิน (Soil) คือ วัตถุธรรมชาติที่ปกคลุมผิวโลกอยู่บางๆ เกิดขึ้นจากผลของการแปรสภาพหรือผุพัง
ของหินและแร่ และอินทรียวัตถุผสมคลุกเคล้ากัน โดยมีส่วนประกอบดังนี้
อนินทรียวัตถุ (Mineral matter) ได้แก่ส่วนของแร่ต่างๆ ภายในหินซึ่งผุพังสึกกร่อนเป็นชิ้นเล็ก
ชิ้นน้อย โดยทางเคมี ฟิสิกส์ และชีวเคมี
อินทรียวัตถุ (Organic matter) ได้แก่ส่วนที่เกิดจากการเน่าเปื่อยผุพังหรือสลายตัวของซากพืชซาก
สัตว์ที่ทับถมกัน มีอยู่ประมาณ
น้า ในสารละลายซึ่งพบอยู่ในช่องระหว่างเม็ดดิน (Aggregate) หรืออนุภาคดิน (Particle)
อากาศ อยู่ในที่ว่างระหว่างเม็ดดินหรืออนุภาคดิน ก๊าซส่วนใหญ่ที่พบทั่วไปในดิน ได้แก่
ไนโตรเจน ออกซิเจน และคาร์บอนไดออกไซด์
ปริมาตรของแต่ละส่วนประกอบของดินที่เหมาะสมแก่การเพาะปลูก โดยทั่วไปจะมีแร่ 45%
อินทรียวัตถุ 5% น้า 25% และอากาศ 25% ดังภาพที่ 1
ภาพที่ 1 องค์ประกอบของดิน
กาเนิดดิน
ดินประกอบขึ้นจากหินที่ผุพัง จึงมีองค์ประกอบเป็นแร่ดินเหนียว (Clay mineral) ซึ่งพัฒนามาจากแร่
ประกอบหินบนเปลือกโลก ได้แก่ เฟลด์สปาร์ ควอรตซ์ ไมก้า เป็นต้น
รช.7
แผนการจัดการเรียนรู้ Backward design ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ. 1
คุณสมบัติของดินจะเป็นอย่างไรนั้น ขึ้นอยู่กับปัจจัยหลักสาคัญ 5 ประการ ดังนี้
1. วัตถุต้นกาเนิดดิน ดินจะเป็นอย่างไรขึ้นกับวัตถุต้นกาเนิดดิน ได้แก่ หินพื้น (Parent rock)
อินทรียวัตถุ ผิวดินดั้งเดิม หรือชั้นหินตะกอนที่เกิดจากการพัดพาของน้า ลม ธารน้าแข็ง ภูเขาไฟ หรือวัตถุ
ที่เคลี่อนที่ลงมาจากพื้นที่ลาดชัน
2. สภาพภูมิอากาศ ความร้อน ฝน น้าแข็ง หิมะ ลม แสงแดด และแรงกระทบจากสิ่งแวดล้อม
อื่นๆ ซึ่งทาให้วัตถุต้นกาเนิดผุพัง แตกหัก และมีผลต่อกระบวนการเกิดดินว่า จะเกิดเร็วหรือช้า
3. สิ่งมีชีวิต พืชและสัตว์ทั้งหมดที่อาศัยอยู่ในดินหรือบนดิน (รวมถึงจุลินทรีย์และมนุษย์)
ปริมาณน้าและธาตุอาหารที่พืชต้องการมีผลต่อการเกิดดิน สัตว์ที่อาศัยอยู่ในดินจะช่วยย่อยสลายของเสียและ
ช่วยเคลื่อนย้ายวัตถุต่างๆ ไปตามหน้าตัดดิน ซากพืชและสัตว์ที่ตายแล้วจะกลายเป็นอินทรียวัตถุ ซึ่งทาให้ดิน
สมบูรณ์ขึ้น การใช้ที่ดินของมนุษย์ก็มีผลต่อการสร้างดิน
4. ภูมิประเทศ สภาพภูมิอากาศจะมีผลต่อดินอย่างไรนั้น ขึ้นอยู่กับตาแหน่งของดินตามลักษณะ
ภูมิประเทศเช่น ดินที่เชิงเขาจะมีความชื้นมากกว่าดินในบริเวณพื้นที่ลาด และพื้นที่ที่ได้รับแสงอาทิตย์
โดยตรงจะทาให้ดินแห้งเร็วขึ้น
5. เวลา ปัจจัยข้างต้นทั้งหมดเกี่ยวข้องกับเวลา เนื่องจากเมื่อเวลาผ่านไปการพัฒนาของชั้นดินจะ
เพิ่มขึ้น
ชั้นของดิน
ภาพที่ 4 ชั้นดิน
รช.7
แผนการจัดการเรียนรู้ Backward design ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ. 1
ชั้นโอ (O Horizon) เป็นดินชั้นบนสุดมักมีสีคล้าเนื่องจากประกอบด้วยอินทรียวัตถุ (Organic) หรือ
ฮิวมัส ซึ่งเป็นซากพืชซากสัตว์ซึ่งทาให้เกิดความเป็นกรด ดินชั้นโอส่วนใหญ่จะพบในพื้นที่ป่า ส่วนในพื้นที่
การเกษตรจะไม่มีชั้นโอในหน้าตัดดิน เนื่องจากถูกไถพรวนไปหมด
ชั้นเอ (A Horizon) เป็นดินชั้นบน (Top soil) เป็นส่วนที่มีน้าซึมผ่าน ดินชั้นเอส่วนใหญ่
ประกอบด้วยหินแร่และอินทรียวัตถุที่ย่อยสลายสมบูรณ์แล้วอยู่ด้วย ทาให้ดินมีสีเข้ม ในพื้นที่เกษตรกรรม
ดินชั้นเอจะถูกไถพรวน เมื่อมีการย่อยสลายของรากพืชและมีการสะสมอินทรียวัตถุ โดยปกติโครงสร้างของ
ดินจะเป็นแบบก้อนกลม แต่ถ้าดินมีการอัดตัวกันแน่น โครงสร้างของดินในชั้นเอจะเป็นแบบแผ่น
ชั้นบี (B Horizon) เป็นชั้นดินล่าง (subsoil) เนื้อดินและโครงสร้างเป็นแบบก้อนเหลี่ยม หรือแท่ง
ผลึก เกิดจากการชะล้างแร่ธาตุต่างๆ ของสารละลายต่างๆ เคลื่อนตัวผ่านชั้นเอ ลงมามาสะสมในชั้นบี ในเขต
ภูมิอากาศชื้น ดินในชั้นบีส่วนใหญ่จะมีสีน้าตาลปนแดง เนื่องจากการสะสมตัวของเหล็กออกไซด์
ชั้นซี (C Horizon) เกิดจากการผุพังของหินกาเนิดดิน (Parent rock) ไม่มีการตกตะกอนของวัสดุ
ดินจากการชะล้าง และไม่มีการสะสมของอินทรียวัตถุ
ชั้นอาร์ (R Horizon) เป็นชั้นของวัตถุต้นกาเนิดดิน หรือ หินพื้น (Bedrock)
รช.7
แผนการจัดการเรียนรู้ Backward design ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ. 1
ใบงาน เรื่อง ลักษณะของดิน
คาชี้แจง ให้นักเรียนทากิจกรรมและตอบคาถามต่อไปนี้
ชื่อ……………………สกุล…………………เลขที่……….ชั้น……….
อุปกรณ์การทดลอง
1. บีกเกอร์ขนาดใหญ่ 2 ใบ
2. กระดาษยูนิเวอร์แซลอินดิเคเตอร์
3. พลั่วขุดดิน
4. แท่งแก้วคน
5. น้ากลั่น
6. กระดาษขาว
7. ตลับเมตร
วิธีทดลอง
1. นักเรียนช่วยกันขุดดินในบริเวณแห่งหนึ่งให้ลึก 20 เซนติเมตร นาดินที่ขุดไปใส่ในบีก
เกอร์ใบที่ 1 แล้วขุดต่อไปอีก 20 เซนติเมตร แล้วนาดินไปใส่ในบีกเกอร์ที่ 2
2. สังเกตลักษณะดินของทั้งสองบีกเกอร์ โดยให้นักเรียนเปรียบเทียบลักษณะต่าง ๆ ของดิน
ในบีกเกอร์ใบที่ 1 และใบที่ 2
3. เทน้าลงในบีกเกอร์ใบที่ 1 และใบที่ 2 จนเกือบเต็ม ปิดฝา เขย่าแล้วทิ้งไว้ให้
ตกตะกอน
4. ใช้แท่งแก้วคนแตะน้าในบีกเกอร์ใบที่ 1 และนาไปหยดบนกระดาษยูนิเวอร์แซลอินดิเค
เตอร์ สังเกตและเทียบสีกับแถบสีแดงแสดงค่า pH
5. ทาซ้าในข้อ 4 แต่เปลี่ยนจากน้าในบีกเกอร์ใบที่ 1 เป็นใบที่ 2
6. เทน้าในบีกเกอร์ทั้งสองใบออก แล้วเทตะกอนลงบนกระดาษขาว
7. สังเกตสิ่งมีชีวิต ลักษณะของกรวดและหินในดินทั้งสองบีกเกอร์ บันทึกผลการทดลองใน
ตาราง
รช.7
แผนการจัดการเรียนรู้ Backward design ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ. 1
ตารางบันทึกผลการทดลอง
ดิน
ลักษณะทั่วไป
ค่า pH สิ่งมีชีวิต
ลักษณะของ
ตะกอนสีดิน เนื้อดิน
บีกเกอร์ใบที่ 1 ความลึก 20 cm.
บีกเกอร์ใบที่ 2 ความลึก 40 cm.
วิเคราะห์ผลการทดลอง
..........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
สรุปผลการทดลอง
..........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
คาถามเพื่อการวิเคราะห์
1. ดินในบีกเกอร์ทั้งสองใบ มีลักษณะเหมือนกันหรือต่างกันอย่างไร
........................................................................................................................................................................
2. เพราะเหตุใดสีของดินในบีกเกอร์ทั้งสองจึงแตกต่างกัน จงอธิบาย
..........................................................................................................................................................................
... .....................................................................................................................................................................
3. ดินนบีกเกอร์ทั้งสองมีค่า pH เป็นอย่างไร
........................................................................................................................................................................
4. นักเรียนคิดว่าความเป็นกรด – เบสของดิน มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืชหรือไม่ อย่างไร
.........................................................................................................................................................................
รช.7
แผนการจัดการเรียนรู้ Backward design ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ. 1
ใบงาน เรื่อง ทรัพยากรดิน
คาชี้แจง ให้นักเรียนทากิจกรรมตามใบงาน ( 10 คะแนน )
ชื่อ……………………สกุล…………………เลขที่……….ชั้น……….
สารวจและบันทึกลักษณะของดินในท้องถิ่น เกี่ยวกับสีของดิน เนื้อดินและความเป็นกรด-เบส โดยให้ระบุสี
และค่า PH เป็นภาษาอังกฤษ ( วิทยาศาสตร์ + คณิตศาสตร์ + ภาษาอังกฤษ) 3 คะแนน
ตารางบันทึกผลการทดลอง
บริเวณที่
สารวจ
สี ลักษณะ
กรด-
เบส
ค่า PH
ขนาดของ
พื้นที่
ปริมาณของ
สิ่งมีชีวิต
อัตราส่วน
การใช้ประโยชน์ของดินในท้องถิ่น ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ( สังคมศึกษา+ ภาษาไทย ) 2 คะแนน
1........................................................................................................................................................
2........................................................................................................................................................
3........................................................................................................................................................
4........................................................................................................................................................
5........................................................................................................................................................
รช.7
แผนการจัดการเรียนรู้ Backward design ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ. 1
วิเคราะห์สภาพปัญหาของดินและแนวทางในการปรับปรุงดินในท้องถิ่น การส่งผลต่อสุขภาพ
( สังคมศึกษา + วิทยาศาสตร์ +การงาน ) 3 คะแนน
 สภาพปัญหา
1........................................................................................................................................................
2........................................................................................................................................................
3........................................................................................................................................................
4........................................................................................................................................................
 แนวทางในการปรับปรุงดิน
1........................................................................................................................................................
2........................................................................................................................................................
3........................................................................................................................................................
4........................................................................................................................................................
 ปัญหาที่เกิดจากดินก่อให้เกิดผลเสียต่อสุขภาพอย่างไร
1........................................................................................................................................................
2........................................................................................................................................................
3........................................................................................................................................................
4........................................................................................................................................................
รช.7
แผนการจัดการเรียนรู้ Backward design ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ. 1
ใบงาน เรื่อง การพังทลายของดิน
ชื่อ……………………สกุล…………………เลขที่……….ชั้น……….
1. จากวีดิทัศน์การพังทลายของดินโดยธรรมชาติที่มนุษย์ไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง และมีน้าเป็นตัวการ ได้แก่กรณี
ใดบ้าง
2. การพังทลายของดินโดยฝีมือมนุษย์ได้แก่กรณีใดบ้าง
3. สาเหตุที่ทาให้ดินขาดความอุดมสมบูรณ์มีอะไรบ้าง
รช.7
แผนการจัดการเรียนรู้ Backward design ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ. 1
4. การอนุรักษ์ดินมีหลักการสาคัญอย่างไร
5. อธิบายวิธีการจัดการดิน เพื่อการอนุรักษ์และพัฒนา ในประเด็นต่อไปนี้
5.1 การอนุรักษ์โดยวิธี
5.2 การคงไว้ซึ่งความสมบูรณ์ของดิน
5.3 การอาศัยพืชป้ องกัน

Recomendados

แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์ por
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
47.9K vistas5 diapositivas
แบบประเมินทักษะกระบวนการ por
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการsomdetpittayakom school
61K vistas4 diapositivas
แบบประเมินต่างๆ por
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆNaphachol Aon
246.5K vistas11 diapositivas
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4 por
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4supphawan
13.9K vistas7 diapositivas
แบบประเมินชิ้นงาน por
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานkrunueng1
19K vistas2 diapositivas

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

กำหนดการโครงการต่าง ๆ por
กำหนดการโครงการต่าง ๆกำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆLooktan Kp
85.9K vistas6 diapositivas
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ por
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้poms0077
17.7K vistas21 diapositivas
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่ por
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่Apirak Potpipit
19.6K vistas14 diapositivas
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1 por
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1สายฝน ต๊ะวันนา
124.2K vistas9 diapositivas
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.) por
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)kroofon fon
32.3K vistas115 diapositivas
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6 por
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6teerachon
68K vistas52 diapositivas

La actualidad más candente(20)

กำหนดการโครงการต่าง ๆ por Looktan Kp
กำหนดการโครงการต่าง ๆกำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆ
Looktan Kp85.9K vistas
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ por poms0077
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
poms007717.7K vistas
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่ por Apirak Potpipit
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
Apirak Potpipit19.6K vistas
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.) por kroofon fon
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
kroofon fon32.3K vistas
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6 por teerachon
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6
teerachon68K vistas
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1 por KruKaiNui
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
KruKaiNui109.6K vistas
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ por krupornpana55
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
krupornpana5518.4K vistas
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย... por Prachoom Rangkasikorn
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...
Prachoom Rangkasikorn22.7K vistas
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน por pupphawittayacom
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมินคำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
pupphawittayacom155K vistas
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน por Mypoom Poom
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
Mypoom Poom4K vistas
ตัวอย่างโครงการสอน por Krupol Phato
ตัวอย่างโครงการสอนตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอน
Krupol Phato33.4K vistas
ตุ๊กตาล้มลุก por nansupas
ตุ๊กตาล้มลุกตุ๊กตาล้มลุก
ตุ๊กตาล้มลุก
nansupas2.9K vistas
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ por srkschool
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
srkschool71.4K vistas
หัวกระดาษข้อสอบ por worapanthewaha
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบ
worapanthewaha54.6K vistas
รายงานการใช้สื่อ5บท por Jiraporn Chaimongkol
รายงานการใช้สื่อ5บทรายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บท
Jiraporn Chaimongkol45.5K vistas

Destacado

ผังมโนทัศน์สังคม ป.4-6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-soc_mindmap por
ผังมโนทัศน์สังคม ป.4-6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-soc_mindmapผังมโนทัศน์สังคม ป.4-6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-soc_mindmap
ผังมโนทัศน์สังคม ป.4-6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-soc_mindmapPrachoom Rangkasikorn
1.5K vistas22 diapositivas
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง por
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงkrupornpana55
29.3K vistas7 diapositivas
Plan por
PlanPlan
Planyuy-kan
2.3K vistas62 diapositivas
7.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.3 por
7.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.37.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.3
7.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.3Wareerut Hunter
20.9K vistas9 diapositivas
การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ por
การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ
การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการวัชรา เชื้อรามัญ
27.6K vistas10 diapositivas

Destacado(8)

ผังมโนทัศน์สังคม ป.4-6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-soc_mindmap por Prachoom Rangkasikorn
ผังมโนทัศน์สังคม ป.4-6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-soc_mindmapผังมโนทัศน์สังคม ป.4-6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-soc_mindmap
ผังมโนทัศน์สังคม ป.4-6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-soc_mindmap
Prachoom Rangkasikorn1.5K vistas
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง por krupornpana55
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
krupornpana5529.3K vistas
Plan por yuy-kan
PlanPlan
Plan
yuy-kan2.3K vistas
7.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.3 por Wareerut Hunter
7.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.37.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.3
7.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.3
Wareerut Hunter20.9K vistas
เค้าโครงสอน ม.1 por Kobwit Piriyawat
เค้าโครงสอน ม.1เค้าโครงสอน ม.1
เค้าโครงสอน ม.1
Kobwit Piriyawat100.4K vistas

Similar a 1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง

ตัวอย่างแผนเศรษฐกิจพอเพียง por
ตัวอย่างแผนเศรษฐกิจพอเพียงตัวอย่างแผนเศรษฐกิจพอเพียง
ตัวอย่างแผนเศรษฐกิจพอเพียงสุภาพ เนื่องโนราช
8.7K vistas14 diapositivas
ออกแบบหน่วยงานช่าง por
ออกแบบหน่วยงานช่างออกแบบหน่วยงานช่าง
ออกแบบหน่วยงานช่างsrkschool
2.5K vistas12 diapositivas
ข้าวหลามสมุนไพร por
ข้าวหลามสมุนไพรข้าวหลามสมุนไพร
ข้าวหลามสมุนไพรkruhome1
2.1K vistas14 diapositivas
ครูปฏิบัติการ por
ครูปฏิบัติการครูปฏิบัติการ
ครูปฏิบัติการPamkritsaya3147
178 vistas14 diapositivas
Chapter 9 por
Chapter 9Chapter 9
Chapter 9Jutharat_thangsattayawiroon
167 vistas10 diapositivas
Chap9 ppt por
Chap9 pptChap9 ppt
Chap9 pptAungwara Saisangjunt
225 vistas9 diapositivas

Similar a 1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง(20)

ออกแบบหน่วยงานช่าง por srkschool
ออกแบบหน่วยงานช่างออกแบบหน่วยงานช่าง
ออกแบบหน่วยงานช่าง
srkschool2.5K vistas
ข้าวหลามสมุนไพร por kruhome1
ข้าวหลามสมุนไพรข้าวหลามสมุนไพร
ข้าวหลามสมุนไพร
kruhome12.1K vistas
ครูปฏิบัติการ por Pamkritsaya3147
ครูปฏิบัติการครูปฏิบัติการ
ครูปฏิบัติการ
Pamkritsaya3147178 vistas
ภารกิจ ระดับครูผู้ช่วย por Aekapong Hemathulin
ภารกิจ ระดับครูผู้ช่วยภารกิจ ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจ ระดับครูผู้ช่วย
Aekapong Hemathulin186 vistas
โครงการปี 56 por krupornpana55
โครงการปี 56โครงการปี 56
โครงการปี 56
krupornpana55789 vistas
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา por Nanzzy Sutthanont
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยาMko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
Nanzzy Sutthanont2.9K vistas
1 ทดสอบก่อนเรียน por krupornpana55
1 ทดสอบก่อนเรียน1 ทดสอบก่อนเรียน
1 ทดสอบก่อนเรียน
krupornpana55325 vistas
ภารกิจครูผู้ช่วย por Blade HurthurtHurt
ภารกิจครูผู้ช่วยภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วย
Blade HurthurtHurt347 vistas
ภารกิจครูผู้ช่วย por Blade HurthurtHurt
ภารกิจครูผู้ช่วยภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วย
Blade HurthurtHurt973 vistas
ขอบข่ายของโครงงาน ดำเนินงานโดยนักเรียนเป็นผู้ริเริ่มสร้างสรรค์ และครูอาจารย์เ... por teddy Pongdanai
ขอบข่ายของโครงงาน ดำเนินงานโดยนักเรียนเป็นผู้ริเริ่มสร้างสรรค์ และครูอาจารย์เ...ขอบข่ายของโครงงาน ดำเนินงานโดยนักเรียนเป็นผู้ริเริ่มสร้างสรรค์ และครูอาจารย์เ...
ขอบข่ายของโครงงาน ดำเนินงานโดยนักเรียนเป็นผู้ริเริ่มสร้างสรรค์ และครูอาจารย์เ...
teddy Pongdanai202 vistas
จุดเน้นที่ 6 por Bankhaoluem
จุดเน้นที่ 6จุดเน้นที่ 6
จุดเน้นที่ 6
Bankhaoluem223 vistas
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง por Aon Narinchoti
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
Aon Narinchoti2.6K vistas

Más de Wareerut Hunter

เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556ading por
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556adingเตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556ading
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556adingWareerut Hunter
851 vistas130 diapositivas
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556 por
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556Wareerut Hunter
2.3K vistas98 diapositivas
เก็บมาฝากตอนรับเปิดเทอมค่ะ ประกาศ สพฐ. เรื่อง แนวปฏิบัติในการยกระดับคุณภาพนัก... por
เก็บมาฝากตอนรับเปิดเทอมค่ะ ประกาศ สพฐ. เรื่อง แนวปฏิบัติในการยกระดับคุณภาพนัก...เก็บมาฝากตอนรับเปิดเทอมค่ะ ประกาศ สพฐ. เรื่อง แนวปฏิบัติในการยกระดับคุณภาพนัก...
เก็บมาฝากตอนรับเปิดเทอมค่ะ ประกาศ สพฐ. เรื่อง แนวปฏิบัติในการยกระดับคุณภาพนัก...Wareerut Hunter
214 vistas2 diapositivas
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 7 por
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 7แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 7
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 7Wareerut Hunter
920 vistas56 diapositivas
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 6 por
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 6แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 6
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 6Wareerut Hunter
367 vistas55 diapositivas
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 5 por
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 5แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 5
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 5Wareerut Hunter
4K vistas64 diapositivas

Más de Wareerut Hunter(20)

เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556ading por Wareerut Hunter
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556adingเตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556ading
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556ading
Wareerut Hunter851 vistas
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556 por Wareerut Hunter
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556
Wareerut Hunter2.3K vistas
เก็บมาฝากตอนรับเปิดเทอมค่ะ ประกาศ สพฐ. เรื่อง แนวปฏิบัติในการยกระดับคุณภาพนัก... por Wareerut Hunter
เก็บมาฝากตอนรับเปิดเทอมค่ะ ประกาศ สพฐ. เรื่อง แนวปฏิบัติในการยกระดับคุณภาพนัก...เก็บมาฝากตอนรับเปิดเทอมค่ะ ประกาศ สพฐ. เรื่อง แนวปฏิบัติในการยกระดับคุณภาพนัก...
เก็บมาฝากตอนรับเปิดเทอมค่ะ ประกาศ สพฐ. เรื่อง แนวปฏิบัติในการยกระดับคุณภาพนัก...
Wareerut Hunter214 vistas
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 7 por Wareerut Hunter
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 7แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 7
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 7
Wareerut Hunter920 vistas
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 6 por Wareerut Hunter
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 6แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 6
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 6
Wareerut Hunter367 vistas
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 5 por Wareerut Hunter
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 5แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 5
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 5
Wareerut Hunter4K vistas
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 3 por Wareerut Hunter
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 3แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 3
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 3
Wareerut Hunter832 vistas
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 2 por Wareerut Hunter
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 2แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 2
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 2
Wareerut Hunter724 vistas
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 1 por Wareerut Hunter
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 1แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 1
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 1
Wareerut Hunter4.5K vistas
ปกแนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 4 por Wareerut Hunter
ปกแนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 4 ปกแนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 4
ปกแนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 4
Wareerut Hunter2.3K vistas
6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง por Wareerut Hunter
6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง
6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง
Wareerut Hunter15.7K vistas
5.แผนอากาศเศรษฐกิจพอเพียง por Wareerut Hunter
5.แผนอากาศเศรษฐกิจพอเพียง5.แผนอากาศเศรษฐกิจพอเพียง
5.แผนอากาศเศรษฐกิจพอเพียง
Wareerut Hunter14.9K vistas
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน por Wareerut Hunter
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
Wareerut Hunter11.3K vistas
3.แผนไฟฟ้าเศรษฐกิจพอเพียง por Wareerut Hunter
3.แผนไฟฟ้าเศรษฐกิจพอเพียง3.แผนไฟฟ้าเศรษฐกิจพอเพียง
3.แผนไฟฟ้าเศรษฐกิจพอเพียง
Wareerut Hunter10.1K vistas
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ por Wareerut Hunter
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ
Wareerut Hunter6.1K vistas
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน por Wareerut Hunter
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐานการออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
Wareerut Hunter19.8K vistas
การขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญา por Wareerut Hunter
การขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาการขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญา
การขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญา
Wareerut Hunter497 vistas
การขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญา por Wareerut Hunter
การขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาการขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญา
การขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญา
Wareerut Hunter272 vistas
การคิด ประถม ภาษาไทย por Wareerut Hunter
การคิด ประถม ภาษาไทยการคิด ประถม ภาษาไทย
การคิด ประถม ภาษาไทย
Wareerut Hunter583 vistas
หนังสือดี ที่คุณครูวิทย์ต้องกด like การสอนคิด ^___^ por Wareerut Hunter
หนังสือดี ที่คุณครูวิทย์ต้องกด like การสอนคิด ^___^หนังสือดี ที่คุณครูวิทย์ต้องกด like การสอนคิด ^___^
หนังสือดี ที่คุณครูวิทย์ต้องกด like การสอนคิด ^___^
Wareerut Hunter411 vistas

1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง

  • 1. รช.7 แผนการจัดการเรียนรู้ Backward design ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ. 1 เอกสารประกอบ แนวทางการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ด้านครูสอน ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดการเรียนรู้ ประเด็น /หลักพอเพียง พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี เนื้อหา กาหนดเนื้อหาได้สอดคล้องกับ มาตรฐาน ตัวชี้วัด และ เหมาะสมกับเวลา วัย ความสามารถของนักเรียน และ บริบทของท้องถิ่น นักเรียนได้เรียนรู้ ตรงตาม มาตรฐานและตัวชี้วัดและ ครบถ้วนตามกระบวนการ บรรลุตามเป้าหมาย การศึกษา -ลาดับเนื้อหาจากง่ายไปหา ยาก เพื่อให้นักเรียนเข้าใจ ง่าย อยากเรียนรู้ -เตรียมเนื้อหาในการเรียนรู้ ให้ครอบคลุมตามมาตรฐาน และตัวชี้วัด ตรงตาม หลักสูตร - นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ผ่าน เกณฑ์มาตรฐาน เวลา กาหนดเวลาได้เหมาะสม กับ เนื้อหา และกิจกรรมการเรียนรู้ -เพื่อให้จัดกิจกรรมการ เรียนรู้ได้ครบถ้วนตามที่ กาหนด ตรงตาม โครงสร้างหลักสูตร -ส่งเสริมให้นักเรียนทา กิจกรรมอย่างมี ประสิทธิภาพ -มีการจัดสรรเวลาเพิ่ม สาหรับนักเรียนที่ไม่สามารถ ปฏิบัติกิจกรรมได้ตาม ขั้นตอน เช่น การสอนซ่อม เสริม วิธี การจัดกิจกรรม ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ได้ เหมะสมสาหรับนักเรียนเพื่อ นาสู่เป้าหมาย และเหมาะสม กับความแตกต่างระหว่างบุคคล และสภาพนักเรียน เพื่อให้นักเรียนมีคุณภาพ ตามมาตรฐานและตัวชี้วัด เพื่อให้มีแนวทางเทคนิควิธี ในการจัดการเรียนรู้ที่ เหมาะสมกับนักเรียน -มีแนวทางการพัฒนา ปรับปรุงวิธีสอนในครั้งต่อไป แหล่งเรียนรู้ เลือกแหล่งเรียนรู้ได้เหมาะสม กับกิจกรรม เนื้อหา และความ สนใจของนักเรียน -ส่งเสริมการใช้แหล่ง เรียนรู้ในโรงเรียนและนอก โรงเรียน -เสริมสร้างให้นักเรียน เข้าใจในบทเรียนได้ง่ายขึ้น -มีความพร้อมในการจัดการ เรียนรู้ และเป็นไปตามแผน - ประหยัดเวลาและ ระยะทางในการเรียนรู้
  • 2. รช.7 แผนการจัดการเรียนรู้ Backward design ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ. 1 เอกสารประกอบ แนวทางการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ด้านครูสอนใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดการเรียนรู้ ประเด็น /หลัก พอเพียง พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี สื่อ/อุปกรณ์ -เลือกสื่อที่เหมาะสมกับ เป้าหมาย เนื้อหา กิจกรรม การเรียนรู้ และความสนใจ ของนักเรียน -ครูเตรียมสื่อให้เพียงพอ กับจานวนนักเรียน -เพื่อกระตุ้นความสนใจของ นักเรียน -เสริมสร้างให้นักเรียนเข้าใจ ในบทเรียนได้ง่ายขึ้น -เตรียมสื่อ/อุปกรณ์สารอง -ครูเตรียมสื่อ/อุปกรณ์ได้ เหมาะสมกับนักเรียน -ลดภาระการอธิบายของครู - เพิ่มความรู้ความเข้าใจที่เป็น รูปธรรมที่ชัดเจน การประเมินผล -ออกแบบการวัดและ ประเมินผลได้เหมาะสมกับ ตัวชี้วัด กิจกรรม และ นักเรียน -เพื่อประเมินนักเรียนตรงตาม สภาพจริง หรือเป้าหมายที่ ต้องการรู้ -ศึกษาและสร้างเครื่องมือวัดผล ให้ตรงตามตัวชี้วัด และผ่านการตรวจสอบคุณภาพ ความรู้ที่ครู จาเป็นต้องมี ครูมีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐาน ตัวชี้วัด เทคนิคการสอนแบบ5 E จิตวิทยาการเรียนรู้ การวัด และประเมินผล หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง. บริบทโรงเรียน การรักษาสิ่งแวดล้อม และการใช้ภาษาอังกฤษ คุณธรรมของครู มีความรักเมตตาศิษย์ มีความรับผิดชอบ มีความยุติธรรม มีความอดทน
  • 3. รช.7 แผนการจัดการเรียนรู้ Backward design ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ. 1 แนวทางการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ด้านครูสอนใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดการเรียนรู้ หลักพอเพียง พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี 1. กาหนดเนื้อหา ได้สอดคล้องกับมาตรฐาน ตัวชี้วัด และ เหมาะสมกับเวลา วัย ความสามารถขอ นักเรียน และบริบทของท้องถิ่น 2. กาหนดเวลาได้ เหมาะสมกับเนื้อหาและกิจกรรมการ เรียนรู้ 3. ออกแบบกิจกรรม การเรียนรู้ได้เหมะสมสาหรับนักเรียน เพื่อนาสู่เป้าหมาย และเหมาะสมกับ ความแตกต่างระหว่างบุคคลและสภาพ นักเรียน 4. เลือกแหล่งเรียนรู้ได้ เหมาะสมกับกิจกรรม เนื้อหา และความ สนใจของนักเรียนเลือกสื่อที่เหมาะสม กับเป้าหมาย เนื้อหา กิจกรรม 5. การเรียนรู้ และความสนใจของ นักเรียน ครูเตรียมสื่อให้เพียงพอกับ จานวนนักเรียน 6. ออกแบบการวัดและประเมินผลได้ เหมาะสมกับตัวชี้วัด กิจกรรม และความ สามรถของนักเรียน 1. นักเรียนได้เรียนรู้ ตรง ตามมาตรฐานและตัวชี้วัดและ ครบถ้วนตามกระบวนการบรรลุ ตามเป้าหมายการศึกษา 2. มีการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ได้ครบถ้วนตามที่กาหนด ตรงตามโครงสร้างหลักสูตร ส่งเสริมให้นักเรียนทากิจกรรม อย่างมีประสิทธิภาพ 3. นักเรียนมีคุณภาพตาม มาตรฐานและตัวชี้วัด 4.มีแนวทางเทคนิควิธีในการ จัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับ นักเรียน 5. ส่งเสริมการใช้แหล่ง เรียนรู้ในโรงเรียนและนอก โรงเรียน 6. เสริมสร้างให้นักเรียน เข้าใจในบทเรียนได้ง่ายขึ้น 7. ประเมินนักเรียนตรงตาม สภาพจริง หรือเป้าหมาย ที่ต้องการรู้ 1. นักเรียนเข้าใจง่าย อยากเรียนรู้ จากการลาดับเนื้อหาจากง่ายไปหา ยาก 2. นักเรียนเรียนรู้ใด้ ครอบคลุมตามมาตรฐานและ ตัวชี้วัด ตรงตามหลักสูตรจาก เตรียมเนื้อหาใน 3. นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ผ่านเกณฑ์ มาตรฐาน 4. มีแนวทางการพัฒนาปรับปรุง วิธีสอนในครั้งต่อไป 5. จัดสรรเวลาเพิ่มสาหรับนักเรียน ที่ไม่สามารถปฏิบัติกิจกรรมได้ตาม ขั้นตอน เช่น การสอนซ่อมเสริม 6. มีความพร้อมในการจัดการ เรียนรู้ และเป็นไปตามแผน ประหยัดเวลาและระยะทางในการ เรียนรู้ 7. ครูเตรียมสื่อ/อุปกรณ์ได้ เหมาะสมกับนักเรียน ช่วยลดภาระ การอธิบายของครู เพิ่มความรู้ ความเข้าใจที่เป็นรูปธรรมที่ชัดเจน 8. วัดผลใด้ตรงตาม ตัวชี้วัด ตามสภาพจริง ความรู้ ครูมีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐาน ตัวชี้วัด เทคนิคการสอนแบบ5 E จิตวิทยาการเรียนรู้ การวัดและ ประเมินผล หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง. บริบทโรงเรียน การรักษาสิ่งแวดล้อม และการใช้ภาษาอังกฤษ คุณธรรม มีความรักเมตตาศิษย์ มีความรับผิดชอบ มีความยุติธรรม มีความอดทน
  • 4. รช.7 แผนการจัดการเรียนรู้ Backward design ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ. 1 ผลที่เกิดกับนักเรียนสอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ด้านนักเรียนได้เรียนรู้หลักคิดและฝึกปฏิบัติตามหลัก 3 ห่วง 2 เงื่อนไข ดังนี้ หลักพอเพียง พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี -นักเรียนใช้เวลาปฏิบัติ กิจกรรมได้เหมาะสม ตามลาดับขั้นตอน -นักเรียนแบ่งหน้าที่การ ทางานภายในกลุ่มได้ เหมาะสมกับ ความสามารถของแต่ละ คน -นักเรียนใช้วัสดุอุปกรณ์ ในการทดลองที่มีอยู่ อย่างประหยัดและคุ้มค่า -ปฏิบัติกิจกรรมได้ครบถ้วน ตามขั้นตอนและสาเร็จ ตามเป้าหมาย -แก้ปัญหาในการทางานให้สาเร็จตามเป้าหมาย นักเรียนสามารถเห็นถึงความสาคัญของการอนุรักษ์ ทรัพยากรดิน - นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในสมบัติทั่วไปของ ดินการอนุรักษ์ และการพัฒนาดิน และสามารถนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน ได้ - รู้จักวิธีการปรับปรุงดิน โดยวิธีการธรรมชาติ - นักเรียนเกิดทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และกระบวนการทางาน - การเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ การทดลองที่เหมาะสม ประหยัด ปลอดภัย -รู้จักการวางแผน การ ทางานอย่างเป็นระบบให้ ประสบความสาเร็จ -ปรับตัวในการทางานกับ เพื่อนพร้อมรับการ เปลี่ยนแปลงในสังคม - นักเรียนรู้จักปฏิบัติตน และกิจกรรมที่ช่วย อนุรักษ์และเสนอแนะ แนวทางป้องกัน ทรัพยากรดิน - รู้คุณค่าของทรัพยากร ดินและรู้จักเลือกใช้อย่าง คุ้มค่าและยั่งยืน - สร้างความเข้มแข็งใน ชุมชน ความรู้ นักเรียนมีความรู้ เรื่อง การวางแผนการทางาน วิธีการทางานร่วมกับผู้อื่น และนักเรียนสามารถเห็นถึง ความสาคัญของการอนุรักษ์ทรัพยากรดิน - นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในสมบัติทั่วไป - กาเนิดและสมบัติทั่วไปของดิน - ความเป็นกรด-เบสของดิน - การพังทลาย การอนุรักษ์ และการพัฒนาดิน การชะล้างพังทลายของดิน - การอนุรักษ์และพัฒนาดิน วิธีการจัดการดินเพื่อการอนุรักษ์และการพัฒนา คุณธรรม นักเรียน - มีความตั้งใจใฝ่เรียนรู้ ความมีระเบียบวินัย - มีมุ่งมั่นในการทางาน - มีความสามัคคี - พอเพียงประหยัดอดออม - จิตวิทยาศาสตร์ - มีจิตสาธารณะในการอนุรักษ์ทรัพยากร หิน ดิน น้า และโลก การรักษ์สิ่งแวดล้อม
  • 5. รช.7 แผนการจัดการเรียนรู้ Backward design ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ. 1 ด้านนักเรียนได้เรียนรู้การใช้ชีวิตที่สมดุลและพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงใน ๔ มิติ ตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ดังนี้ ด้าน/องค์ประกอบ วัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม ความรู้ มีความรู้ในการเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์การทดลองให้คุ้มค่า และประหยัด มีความรู้ในการ วางแผนงานและการ ทางานร่วมกันเป็นกลุ่ม รู้จักรับผิดชอบในการ ใช้ทรัพยากรดินใน ชุมชนร่วมกัน มีความรู้ในการ รักษาสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรดินใช ชุมชน - นักเรียนรู้จักปฏิบัติ ตนและกิจกรรมที่ช่วย อนุรักษ์และเสนอแนะ แนวทางป้องกัน ทรัพยากรดิน - เห็นคุณค่า ภูมิ ปัญญาท้องถิ่นในการ ปรับปรุงดิน ทักษะ -มีทักษะในการใช้วัสดุ อุปกรณ์ทดลองอย่างประหยัด และคุ้มค่า -การเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ ทดลองได้อย่างเหมาะสม - การเลือกใช้วิธีการปรับปรุง ดินที่ไม่ทาลายทรัพยาการดิน -มีทักษะในการทางาน ร่วมกับผู้อื่น -มีทักษะในการ นาเสนอและ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ การรักษาทรัพยากร ดิน การใช้ประโยชน์ ทรัพยากรดินอย่าง คุ้มค่า - มีทักษะ การปฏิบัติ วิธีการในการปรับปรุง ทรัพยากรดินที่ถูกวิธี - มีส่วนร่วมในการ รักษาดิน ค่านิยม -มีความตระหนักในการนา วัสดุอุปกรณ์มาใช้ในการ ปฏิบัติงานให้คุ้มค่า - เห็นคุณค่าทรัพยากรดิน -ตระหนักถึงความ รับผิดชอบต่อหน้าที่ การทางานในกลุ่ม -ยอมรับความคิดเห็น ซึ่งกันและกัน -ความมีจิตอาสา - มีมุ่งมั่นในการทางาน - มีความสามัคคี ตระหนักถึง ความสาคัญของ ทรัพยากรดิน ใช้พัฒนา ปรับปรุง อย่าประหยัดคุ้มค่า - เกิดค่านิยมวิธีการ ปฏิบัติในการ บารุงรักษาดินที่ถูกวิธี และวิธีการปลูกพืช ที่รักษาหน้าดิน -เกิดความภาคภูมิใจใน การมีส่วนร่วม
  • 6. รช.7 แผนการจัดการเรียนรู้ Backward design ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ. 1 แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง โลกและการเปลี่ยนแปลง จานวนชั่วโมง 10 ชั่วโมง แผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เรียนรู้เรื่องดิน 1. สาระสาคัญ ดินเป็นวัตถุธรรมชาติที่เกิดจากการสลายตัวของหิน แร่ และสารอินทรีย์ ดินชั้นบนมีสารอินทรีย์มาก มีสี คล้า และเนื้อดินหยาบกว่าดินชั้นล่าง จึงมีความพรุนมากกว่า ด้วยดินจากที่ต่างกันจะมีลักษณะที่แตกต่างกัน ในเรื่องของสีดิน ปริมาณฮิวมัส และความเป็นกรดและเบส พื้นดินอาจเกิดการชะล้างพังทลายได้โดยธรรมชาติ และการกระทาของมนุษย์ ดังนั้น จึงต้องดูแลรักษาให้ดินมีสภาพอุดมสมบูรณ์ตลอดไป 2. มาตรฐานการเรียนรู้ / เป้าหมายการเรียนรู้ สาระที่ 6 กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก มาตรฐาน ว 6. 1 เข้าใจกระบวนการต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นบนผิวโลกและภายในโลก ความสัมพันธ์ของ กระบวนการต่าง ๆ ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ภูมิประเทศ และสัณฐานของโลก มีกระบวนการสืบ เสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ข้อ 1 สารวจ ทดลองและอธิบายลักษณะของชั้นหน้าตัดดิน สมบัติของดิน และกระบวนการเกิดดิน ข้อ 2 สารวจ วิเคราะห์และอธิบายการใช้ประโยชน์และการปรับปรุงคุณภาพของดิน สาระที่ 8 ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มาตรฐาน ว 8. 1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การ แก้ปัญหา รู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบ ได้ ภายใต้ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ข้อ 1 ตั้งคาถามที่เกี่ยวกับประเด็น หรือเรื่อง หรือสถานการณ์ที่จะศึกษาตามที่กาหนดให้ หรือตามความสนใจ ข้อ 2 วางแผนการสังเกต สารวจตรวจสอบ หรือศึกษาค้นคว้าหลายๆ วิธี คาดการณ์สิ่งที่ จะพบจากการสารวจตรวจสอบ และเสนอวิธีการสารวจตรวจสอบ ข้อ 3 เลือกวิธีการสารวจตรวจสอบที่สามารถปฏิบัติได้และใช้อุปกรณ์อย่างถูกต้อง เหมาะสมในการสังเกต การวัด ให้ได้ข้อมูลครอบคลุมและเชื่อถือได้ ข้อ 4 บันทึกข้อมูล วิเคราะห์ ประเมินผลข้อมูลในเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ
  • 7. รช.7 แผนการจัดการเรียนรู้ Backward design ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ. 1 และตรวจสอบผลที่ได้กับสิ่งที่คาดการณ์ไว้ล่วงหน้า นาเสนอผลและข้อสรุปที่ได้ ข้อ 5 สร้างคาถามใหม่ที่นาไปสู่การสารวจตรวจสอบในเรื่องที่เกี่ยวข้อง ข้อ 6 แสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ อธิบาย ลงความเห็นและสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ ข้อ 7 บันทึกและอธิบายผลการสังเกตอย่างตรงไปตรงมา มีเหตุผลและมี ประจักษ์พยานอ้างอิง ข้อ 8 นาเสนอ จัดแสดงผลงานโดยอธิบายด้วยวาจาหรือเขียนเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการ และผลของโครงงานหรือชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ 3. สาระการเรียนรู้ ความรู้ - กาเนิดและสมบัติทั่วไปของดิน - ความเป็นกรด-เบสของดิน - การพังทลาย การอนุรักษ์ และการพัฒนาดิน การชะล้างพังทลายของดิน - การอนุรักษ์และพัฒนาดิน วิธีการจัดการดินเพื่อการอนุรักษ์และการพัฒนา ทักษะ/กระบวนการ - สารวจ ทดลองและอธิบายลักษณะของชั้นหน้าตัดดิน สมบัติของดิน และกระบวนการเกิดดิน - สารวจ วิเคราะห์และอธิบายการใช้ประโยชน์และการปรับปรุงคุณภาพของดิน ทักษะเฉพาะวิชา - ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ - ทักษะการปฏิบัติทดลอง ทักษะร่วมวิชา -ทักษะกระบวนการกลุ่ม -ทักษะการร่วมอภิปราย -ทักษะการคิดวิเคราะห์ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ - มีความตั้งใจใฝ่เรียนรู้ - มุ่งมั่นในการทางาน - พอเพียงประหยัดอดออม - จิตวิทยาศาสตร์ - มีจิตสาธารณะในการอนุรักษ์ทรัพยากร หิน ดิน น้า และโลก
  • 8. รช.7 แผนการจัดการเรียนรู้ Backward design ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ. 1 4. ตัวชี้วัด ว 6.1 ม.2/1 สารวจ ทดลองและอธิบายลักษณะของชั้นหน้าตัดดิน สมบัติของดิน และกระบวนการเกิดดิน ว 6.1 ม.2/2 สารวจ วิเคราะห์และอธิบายการใช้ประโยชน์และการปรับปรุงคุณภาพของดิน 5. การบูรณาการโดยใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ความพอประมาณ - นักเรียนใช้เวลาปฏิบัติกิจกรรมได้เหมาะสมตามลาดับขั้นตอน - นักเรียนแบ่งหน้าที่การทางานภายในกลุ่มได้เหมาะสมกับความสามารถของแต่ละคน - นักเรียนใช้วัสดุอุปกรณ์ในการทดลองที่มีอยู่อย่างประหยัดและคุ้มค่า ความมีเหตุผล - นักเรียนสามารถเห็นถึงความสาคัญของการอนุรักษ์ทรัพยากรดิน - นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในสมบัติทั่วไปของดิน การอนุรักษ์ และการพัฒนาปรับปรุงดิน - และสามารถนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้ - รู้จักวิธีการปรับปรุงดินโดยวิธีการธรรมชาติ - นักเรียนเกิดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และกระบวนการทางาน - การเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์การทดลองที่เหมาะสม ประหยัด ปลอดภัย การมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี - นักเรียนรู้จักปฏิบัติตนและกิจกรรมที่ช่วยอนุรักษ์และเสนอแนะแนวทางป้องกันทรัพยากรดิน - รู้คุณค่าของทรัพยากรดินและรู้จักเลือกใช้อย่างคุ้มค่าและยั่งยืน - สร้างความเข้มแข็งในชุมชน เงื่อนไขความรู้ - กาเนิดและสมบัติทั่วไปของดิน - ความเป็นกรด-เบสของดิน - การพังทลาย การอนุรักษ์ และการพัฒนาดิน การชะล้างพังทลายของดิน - การอนุรักษ์และพัฒนาดิน วิธีการจัดการดินเพื่อการอนุรักษ์และการพัฒนา เงื่อนไขคุณธรรม - มีความตั้งใจใฝ่เรียนรู้ - มีมุ่งมั่นในการทางาน - พอเพียงประหยัดอดออม - จิตวิทยาศาสตร์ - มีจิตสาธารณะ จิตอาสา ในการอนุรักษ์ทรัพยากร หิน ดิน น้า และโลก การรักษ์สิ่งแวดล้อม
  • 9. รช.7 แผนการจัดการเรียนรู้ Backward design ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ. 1 6.ความรู้เดิม (ประสบการณ์เดิม) นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับองค์ประกอบหลักของดิน PH ของสาร 7. กระบวนการจัดการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้แบบกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ โดยเน้นนักเรียนเป็นสาคัญ 8. ขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (การจัดการเรียนการสอนแบบกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 5 E) 1.ขั้นสร้างความสนใจ - นักเรียนดูตัวอย่างดินแต่ละชนิด จากนั้นนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเรื่อง กาเนิดของดิน ตามแนวความคิดของตนเอง เขียนความคิดเห็นของแต่ละคนบนกระดานเพื่อนาสรุปเป็นแนวคิดของห้อง 2.ขั้นสารวจและค้นหา - นักเรียนแบ่งกลุ่มเป็น กลุ่มละ 5 คน ทากิจกรรมการทดลองเรื่อง ลักษณะของดิน โดยให้ใช้ เวลาในอย่างพอประมาณการทากิจกรรม 15 นาที และใช้วัสดุอุปกรณ์ตามที่กาหนดให้อย่างคุ้มค่า - สารวจและบันทึกลักษณะของดินในท้องถิ่น เกี่ยวกับสีของดิน เนื้อดินและความเป็นกรด-เบส โดยให้ระบุสีและค่า PH เป็นภาษาอังกฤษ - นักเรียนชมวิดีทัศน์เรื่อง “การพังทลายของดิน” จากนั้นและเปิดโอกาสให้นักเรียนแสดงความ คิดเห็นด้วยเหตุและผลจากการชมวิดีทัศน์ ว่า “ทาไมจึงเกิดเหตุการพังทลายของดินและจะมีวิธีการแก้ไข อย่างไร” เพื่อนาสู่การหาแนวทางการแก้ไข โดยที่ครูยังไม่สรุป - นักเรียนแต่ละกลุ่ม สืบค้นข้อมูล เรื่อง การพังทลาย การอนุรักษ์และการพัฒนาดิน เพื่อหาแนว ทางการปฏิบัติตนและกิจกรรมที่ช่วยอนุรักษ์และเสนอแนะแนวทางป้องกันทรัพยากรดิน (สร้างภูมิคุ้มกัน) โดยสืบค้นข้อมูลจากอินเตอร์เน็ตจากแหล่งเรียนรู้ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ 3. ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป - แต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายและสรุปผลจากการทากิจกรรมการทดลองเรื่อง ลักษณะของดิน และ นาเสนอผลการสืบค้นข้อมูล 4. ขั้นขยายความรู้ 1. ครูเชิญวิทยากรจากเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรพื้นที่สูง โครงการหลวงปังค่าเป็น วิทยากรบรรยายให้ความรู้กับนักเรียนเรื่อง หมอดิน 2. นักเรียนฟังบรรยาย จากวิทยากร ในรายละเอียดดังนี้ - การพัฒนาและปรับปรุงดิน
  • 10. รช.7 แผนการจัดการเรียนรู้ Backward design ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ. 1 - แนวทางในการอนุรักษ์ดิน - การทาปุ๋ยชีวภาพ เพื่อบารุงดิน - หญ้าแฝกกับการป้องกันการพังทลายของดิน 3. วิทยากรสาธิตการทาปุ๋ยหมักชีวภาพจากเศษผัก ผลไม้ เศษอาหาร 4. นักเรียนช่วยกันทาปุ๋ยหมักชีวภาพ (โดยให้คานึงถึงความพอประมาณในระยะเวลาในการทา ความปลอดภัยวัสดุอุปกรณ์ การแบ่งหน้าที่รับผิดชอบในกลุ่มให้เหมาะสมและลงมือทาตามขั้นตอนที่ได้ เรียนรู้ตามลาดับ ตลอดจนวางแผนการใช้อุปกรณ์อย่างปลอดภัยและได้ปุ๋ยชีวภาพที่มีคุณภาพ) 5. ครูแจกใบงานให้นักเรียน 6.ครูเสนอแนะให้นักเรียนนาความรู้เกี่ยวกับการทาปุ๋ยชีวภาพไปทดลองทาในครอบครัว เพื่อ พัฒนาและบารุงดินที่บ้านและพื้นที่ทาการเกษตรของนักเรียน (การสร้างภูมิคุ้มกัน) 7. เสนอแนะให้นักเรียนจัดทาเป็นโครงงานแบบบูรณาการ 9. สื่อ /แหล่งเรียนรู้ 1. แผนภาพการกาเนิดดิน 2. วีดิทัศน์ เรื่อง การพังทลายของดิน 3. แบบทดสอบ 4. ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ 5. ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ 6. ศูนย์เศรษฐกิจพอพียงในโรงเรียน 7. โครงการหลวงปังค่า 8. ใบงาน/ใบความรู้ 9. ห้องสมุด
  • 11. รช.7 แผนการจัดการเรียนรู้ Backward design ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ. 1 10. การวัดผลและประเมินผล ประเด็นที่ประเมิน วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล ความรู้ความเข้าใจเรื่อง - กาเนิดและสมบัติทั่วไปของดิน - ความเป็นกรด-เบสของดิน - การพังทลาย การอนุรักษ์ และการพัฒนาดินการชะล้าง พังทลายของดิน - การอนุรักษ์และพัฒนาดิน วิธีการจัดการดินเพื่อการ อนุรักษ์และการพัฒนา - ตรวจใบงาน - ตรวจชิ้นงาน -ตรวจแบบทดสอบ ใบงาน แบบทดสอบ - ทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ - ประเมินทักษะ/ กระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ผ่านการทา กิจกรรมทดลอง - ตรวจการรายงานการ ทดลอง -แบบประเมินทักษะ กระบวนการการทดลอง - ใบงาน - ทักษะกระบวนการกลุ่ม - ประเมินการทางานกลุ่ม - แบบประเมินการทางาน กลุ่ม - คุณลักษณะอันพึงประสงค์ คุณธรรม จริยธรรม และ ค่านิยม - สังเกตจากพฤติกรรม การเรียนและการร่วม กิจกรรมในชั้นเรียน - แบบประเมินด้าน คุณลักษณะที่พึงประสงค์
  • 12. รช.7 แผนการจัดการเรียนรู้ Backward design ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ. 1 เกณฑ์การประเมินคุณภาพ ทักษะการปฏิบัติการทดลอง 1. องค์ประกอบที่ 1 แบบแผนวิธีการทดลอง ระดับคุณภาพ คะแนน ทดลองตามวิธีการและขั้นตอนที่กาหนดไว้อย่างถูกต้อง 4 ทดลองตามวิธีการและขั้นตอนที่กาหนดไว้อย่างถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ 3 ทดลองตามวิธีการและขั้นตอนที่กาหนดไว้อย่างถูกต้องโดยครูเป็นผู้แนะนาในบางขั้นตอน 2 ทดลองตามวิธีการและขั้นตอนที่กาหนดไว้อย่างถูกต้องบางส่วนและต้องอาศัยครูเป็นผู้ชี้นา เป็นส่วนใหญ่ 1 2. องค์ประกอบที่ 2 การใช้อุปกรณ์การทดลอง ระดับคุณภาพ คะแนน ใช้อุปกรณ์การทดลองได้อย่างคล่องแคล่วและถูกต้องตามหลักการปฏิบัติ 4 ใช้อุปกรณ์การทดลองได้อย่างคล่องแคล่วเป็นส่วนใหญ่และถูกต้องตามหลักการปฏิบัติ 3 ใช้อุปกรณ์การทดลองขาดวามคล่องแคล่วและไม่ถูกต้องตามหลักการปฏิบัติ 2 ใช้อุปกรณ์การทดลองเกิดการเสียหาย โดยไม่ระมัดระวังได้ในการใช้อุปกรณ์ 1 3. องค์ประกอบที่ 3 การบันทึกผลการทดลอง ระดับคุณภาพ คะแนน บันทึกผลการทดลองอย่างถูกต้อง มีระเบียบและเป็นไปตามผลการทดลอง 4 บันทึกผลการทดลองอย่างถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ มีระเบียบและเป็นไปตามผลการทดลอง 3 บันทึกผลการทดลองอย่างถูกต้อง ไม่มีระเบียบและเป็นไปตามผลการทดลอง 2 บันทึกผลการทดลองไม่ครบ ไม่มีระเบียบและเป็นไปตามผลการทดลองน้อย 1 4. องค์ประกอบที่ 4 การจัดกระทาข้อมูลและการนาเสนอ ระดับคุณภาพ คะแนน จัดกระทาข้อมูลอย่างเป็นระบบและการนาเสนอด้วยรูปแบบต่างๆที่ถูกต้องชัดเจน 4 จัดกระทาข้อมูลอย่างเป็นระบบและการนาเสนอด้วยรูปแบบต่างๆถูกต้องชัดเจนเป็นส่วนใหญ่ 3 จัดกระทาข้อมูลเป็นระบบและการนาเสนอด้วยรูปแบบต่างๆยังขาดถูกต้องชัดเจน 2 จัดกระทาข้อมูลและการนาเสนอไม่ถูกต้องชัดเจนและไม่เป็นระบบ 1
  • 13. รช.7 แผนการจัดการเรียนรู้ Backward design ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ. 1 เกณฑ์การประเมินคุณภาพ ทักษะการปฏิบัติการทดลอง 5. องค์ประกอบที่ 5 การสรุปผลการทดลอง ระดับคุณภาพ คะแนน สรุปผลการทดลองได้อย่างถูกต้อง กระชับ ชัดเจนและครอบคลุม 4 สรุปผลการทดลองได้ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ ชัดเจนและครอบคลุมแต่ยังขาดความกระชับ 3 สรุปผลการทดลองได้ถูกต้องบางส่วน ยังขาดความกระชับ ชัดเจนและครอบคลุม 2 สรุปผลการทดลองได้ถูกต้องน้อย ไม่ความกระชับ ไม่ชัดเจนและไม่ครอบคลุม 1 6. องค์ประกอบที่ 6 การดูแลและเก็บอุปกรณ์เครื่องมือ ระดับคุณภาพ คะแนน ดูแลอุปกรณ์และเครื่องมือ มีการทาความสะอาดและเก็บอย่างถูกต้องตามหลักการ 4 ดูแลอุปกรณ์และเครื่องมือ มีการทาความสะอาดและแต่ยังเก็บไม่ถูกต้องตามหลักการในบาง รายการ 3 ดูแลอุปกรณ์และเครื่องมือ ไม่มีการทาความสะอาดและเก็บไม่ถูกต้องตามหลักการ 2 ไม่ดูแลอุปกรณ์และเครื่องมือ ไม่มีการทาความสะอาดและเก็บไม่ถูกต้องตามหลักการ 1 เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ 25 - 30 คะแนน = ดีมาก 19 - 24 คะแนน = ดี 13- 18 คะแนน = พอใช้ 7 -12 คะแนน = ปรับปรุงบางส่วน 1 - 6 คะแนน = ต้องปรับปรุง
  • 14. รช.7 แผนการจัดการเรียนรู้ Backward design ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ. 1 เกณฑ์การประเมินคุณภาพ ทักษะการทางานกลุ่ม 1. องค์ประกอบที่ 1 ความร่วมมือในการทางาน ระดับคุณภาพ คะแนน ให้ความร่วมมือในการทางานกลุ่มดีเยี่ยม 4 ให้ความร่วมมือในการทางานกลุ่มดี 3 ให้ความร่วมมือในการทางานกลุ่มพอใช้ 2 ให้ความร่วมมือในการทางานกลุ่มน้อย 1 2. องค์ประกอบที่ 2 ตั้งใจทางาน ระดับคุณภาพ คะแนน มีความตั้งใจในการทางานอย่างดีเยี่ยม 4 มีความตั้งใจในการทางานดี 3 มีความตั้งใจในการทางานพอใช้ 2 มีความตั้งใจในการทางานน้อย 1 3. องค์ประกอบที่ 3 ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น ระดับคุณภาพ คะแนน ร่วมแสดงความคิดเห็นและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นอย่างดี 4 ร่วมแสดงความคิดเห็นและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นบางครั้ง 3 ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและร่วมแสดงความคิดเห็นแต่น้อยครั้ง 2 ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นแต่ขาดการร่วมแสดงความคิดเห็น 1 4. องค์ประกอบที่ 1 ตรงต่อเวลา ระดับคุณภาพ คะแนน ทางานเสร็จช้ากว่าเวลาที่กาหนดไม่เกิน 3 นาที 4 ทางานเสร็จช้ากว่าเวลาที่กาหนดไม่เกิน 6 นาที 3 ทางานเสร็จช้ากว่าเวลาที่กาหนดไม่เกิน 9 นาที 2 ทางานเสร็จช้ากว่าเวลาที่กาหนดไม่เกิน 12 นาที 1
  • 15. รช.7 แผนการจัดการเรียนรู้ Backward design ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ. 1 5. องค์ประกอบที่ 5 ความเสียสละ ระดับคุณภาพ คะแนน มีความเสียสละในการทางานดีเยี่ยม 4 มีความเสียสละในการทางานดี 3 มีความเสียสละในการทางานพอใช้ 2 มีความเสียสละในการทางานน้อย 1 เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ 16- 20 คะแนน = ดีมาก 11 - 15 คะแนน = ดี 6 - 10 คะแนน = พอใช้ 2- 5 คะแนน = ปรับปรุง
  • 16. รช.7 แผนการจัดการเรียนรู้ Backward design ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ. 1 เกณฑ์การประเมินพฤติกรรมการเรียน ( Rubric Assessment) พฤติกรรมการเรียน ระดับคะแนน 4 3 2 1 ความตั้งใจใฝ่เรียนรู้ มีความกระตือรือร้น สนใจซักถามข้อสงสัย ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม เข้าร่วมกิจกรมทุกครั้ง มีความกระตือรือร้น สนใจซักถามข้อสงสัย ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม มีความกระตือรือร้น สนใจซักถามข้อสงสัย มีความ กระตือรือร้น มุ่งมั่นในการทางาน มุ่งมั่นตั้งใจปฏิบัติ กิจกรรม ผลงานเรียบร้อย ถูกต้อง สมบูรณ์ เสร็จทันเวลาที่กาหนด มุ่งมั่น ตั้งใจปฏิบัติ กิจกรรม ผลงานเรียบร้อย ถูกต้อง สมบูรณ์ มุ่งมั่น ตั้งใจปฏิบัติ กิจกรรม ผลงานเรียบร้อย ตั้งใจปฏิบัติ กิจกรรม พอเพียงประหยัดอด ใช้วัสดุอุปกรณ์ในการ ทดลองเพียงพอกับ กิจกรรม สภาพหลัง กิจกรรม สะอาด ครบถ้วน ใช้วัสดุอุปกรณ์ในการ ทดลองเพียงพอกับ กิจกรรม ใช้วัสดุอุปกรณ์ในการ ทดลองเพียงพอกับ กิจกรรม ใช้วัสดุอุปกรณ์ ในการทดลอง เพียงพอกับ กิจกรรม จิตสาธารณะ เกณฑ์การให้คะแนน คะแนน 4 3 2 1 ระดับคุณภาพ ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง เกณฑ์การสรุประดับคุณภาพพฤติกรรมการเรียน คะแนน 0-8 9-11 12-14 15-16 ระดับคุณภาพ ปรับปรุง พอใช้ ดี ดีมาก
  • 17. รช.7 แผนการจัดการเรียนรู้ Backward design ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ. 1 ภาคผนวก
  • 18. รช.7 แผนการจัดการเรียนรู้ Backward design ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ. 1 ดิน (Soil) คือ วัตถุธรรมชาติที่ปกคลุมผิวโลกอยู่บางๆ เกิดขึ้นจากผลของการแปรสภาพหรือผุพัง ของหินและแร่ และอินทรียวัตถุผสมคลุกเคล้ากัน โดยมีส่วนประกอบดังนี้ อนินทรียวัตถุ (Mineral matter) ได้แก่ส่วนของแร่ต่างๆ ภายในหินซึ่งผุพังสึกกร่อนเป็นชิ้นเล็ก ชิ้นน้อย โดยทางเคมี ฟิสิกส์ และชีวเคมี อินทรียวัตถุ (Organic matter) ได้แก่ส่วนที่เกิดจากการเน่าเปื่อยผุพังหรือสลายตัวของซากพืชซาก สัตว์ที่ทับถมกัน มีอยู่ประมาณ น้า ในสารละลายซึ่งพบอยู่ในช่องระหว่างเม็ดดิน (Aggregate) หรืออนุภาคดิน (Particle) อากาศ อยู่ในที่ว่างระหว่างเม็ดดินหรืออนุภาคดิน ก๊าซส่วนใหญ่ที่พบทั่วไปในดิน ได้แก่ ไนโตรเจน ออกซิเจน และคาร์บอนไดออกไซด์ ปริมาตรของแต่ละส่วนประกอบของดินที่เหมาะสมแก่การเพาะปลูก โดยทั่วไปจะมีแร่ 45% อินทรียวัตถุ 5% น้า 25% และอากาศ 25% ดังภาพที่ 1 ภาพที่ 1 องค์ประกอบของดิน กาเนิดดิน ดินประกอบขึ้นจากหินที่ผุพัง จึงมีองค์ประกอบเป็นแร่ดินเหนียว (Clay mineral) ซึ่งพัฒนามาจากแร่ ประกอบหินบนเปลือกโลก ได้แก่ เฟลด์สปาร์ ควอรตซ์ ไมก้า เป็นต้น
  • 19. รช.7 แผนการจัดการเรียนรู้ Backward design ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ. 1 คุณสมบัติของดินจะเป็นอย่างไรนั้น ขึ้นอยู่กับปัจจัยหลักสาคัญ 5 ประการ ดังนี้ 1. วัตถุต้นกาเนิดดิน ดินจะเป็นอย่างไรขึ้นกับวัตถุต้นกาเนิดดิน ได้แก่ หินพื้น (Parent rock) อินทรียวัตถุ ผิวดินดั้งเดิม หรือชั้นหินตะกอนที่เกิดจากการพัดพาของน้า ลม ธารน้าแข็ง ภูเขาไฟ หรือวัตถุ ที่เคลี่อนที่ลงมาจากพื้นที่ลาดชัน 2. สภาพภูมิอากาศ ความร้อน ฝน น้าแข็ง หิมะ ลม แสงแดด และแรงกระทบจากสิ่งแวดล้อม อื่นๆ ซึ่งทาให้วัตถุต้นกาเนิดผุพัง แตกหัก และมีผลต่อกระบวนการเกิดดินว่า จะเกิดเร็วหรือช้า 3. สิ่งมีชีวิต พืชและสัตว์ทั้งหมดที่อาศัยอยู่ในดินหรือบนดิน (รวมถึงจุลินทรีย์และมนุษย์) ปริมาณน้าและธาตุอาหารที่พืชต้องการมีผลต่อการเกิดดิน สัตว์ที่อาศัยอยู่ในดินจะช่วยย่อยสลายของเสียและ ช่วยเคลื่อนย้ายวัตถุต่างๆ ไปตามหน้าตัดดิน ซากพืชและสัตว์ที่ตายแล้วจะกลายเป็นอินทรียวัตถุ ซึ่งทาให้ดิน สมบูรณ์ขึ้น การใช้ที่ดินของมนุษย์ก็มีผลต่อการสร้างดิน 4. ภูมิประเทศ สภาพภูมิอากาศจะมีผลต่อดินอย่างไรนั้น ขึ้นอยู่กับตาแหน่งของดินตามลักษณะ ภูมิประเทศเช่น ดินที่เชิงเขาจะมีความชื้นมากกว่าดินในบริเวณพื้นที่ลาด และพื้นที่ที่ได้รับแสงอาทิตย์ โดยตรงจะทาให้ดินแห้งเร็วขึ้น 5. เวลา ปัจจัยข้างต้นทั้งหมดเกี่ยวข้องกับเวลา เนื่องจากเมื่อเวลาผ่านไปการพัฒนาของชั้นดินจะ เพิ่มขึ้น ชั้นของดิน ภาพที่ 4 ชั้นดิน
  • 20. รช.7 แผนการจัดการเรียนรู้ Backward design ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ. 1 ชั้นโอ (O Horizon) เป็นดินชั้นบนสุดมักมีสีคล้าเนื่องจากประกอบด้วยอินทรียวัตถุ (Organic) หรือ ฮิวมัส ซึ่งเป็นซากพืชซากสัตว์ซึ่งทาให้เกิดความเป็นกรด ดินชั้นโอส่วนใหญ่จะพบในพื้นที่ป่า ส่วนในพื้นที่ การเกษตรจะไม่มีชั้นโอในหน้าตัดดิน เนื่องจากถูกไถพรวนไปหมด ชั้นเอ (A Horizon) เป็นดินชั้นบน (Top soil) เป็นส่วนที่มีน้าซึมผ่าน ดินชั้นเอส่วนใหญ่ ประกอบด้วยหินแร่และอินทรียวัตถุที่ย่อยสลายสมบูรณ์แล้วอยู่ด้วย ทาให้ดินมีสีเข้ม ในพื้นที่เกษตรกรรม ดินชั้นเอจะถูกไถพรวน เมื่อมีการย่อยสลายของรากพืชและมีการสะสมอินทรียวัตถุ โดยปกติโครงสร้างของ ดินจะเป็นแบบก้อนกลม แต่ถ้าดินมีการอัดตัวกันแน่น โครงสร้างของดินในชั้นเอจะเป็นแบบแผ่น ชั้นบี (B Horizon) เป็นชั้นดินล่าง (subsoil) เนื้อดินและโครงสร้างเป็นแบบก้อนเหลี่ยม หรือแท่ง ผลึก เกิดจากการชะล้างแร่ธาตุต่างๆ ของสารละลายต่างๆ เคลื่อนตัวผ่านชั้นเอ ลงมามาสะสมในชั้นบี ในเขต ภูมิอากาศชื้น ดินในชั้นบีส่วนใหญ่จะมีสีน้าตาลปนแดง เนื่องจากการสะสมตัวของเหล็กออกไซด์ ชั้นซี (C Horizon) เกิดจากการผุพังของหินกาเนิดดิน (Parent rock) ไม่มีการตกตะกอนของวัสดุ ดินจากการชะล้าง และไม่มีการสะสมของอินทรียวัตถุ ชั้นอาร์ (R Horizon) เป็นชั้นของวัตถุต้นกาเนิดดิน หรือ หินพื้น (Bedrock)
  • 21. รช.7 แผนการจัดการเรียนรู้ Backward design ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ. 1 ใบงาน เรื่อง ลักษณะของดิน คาชี้แจง ให้นักเรียนทากิจกรรมและตอบคาถามต่อไปนี้ ชื่อ……………………สกุล…………………เลขที่……….ชั้น………. อุปกรณ์การทดลอง 1. บีกเกอร์ขนาดใหญ่ 2 ใบ 2. กระดาษยูนิเวอร์แซลอินดิเคเตอร์ 3. พลั่วขุดดิน 4. แท่งแก้วคน 5. น้ากลั่น 6. กระดาษขาว 7. ตลับเมตร วิธีทดลอง 1. นักเรียนช่วยกันขุดดินในบริเวณแห่งหนึ่งให้ลึก 20 เซนติเมตร นาดินที่ขุดไปใส่ในบีก เกอร์ใบที่ 1 แล้วขุดต่อไปอีก 20 เซนติเมตร แล้วนาดินไปใส่ในบีกเกอร์ที่ 2 2. สังเกตลักษณะดินของทั้งสองบีกเกอร์ โดยให้นักเรียนเปรียบเทียบลักษณะต่าง ๆ ของดิน ในบีกเกอร์ใบที่ 1 และใบที่ 2 3. เทน้าลงในบีกเกอร์ใบที่ 1 และใบที่ 2 จนเกือบเต็ม ปิดฝา เขย่าแล้วทิ้งไว้ให้ ตกตะกอน 4. ใช้แท่งแก้วคนแตะน้าในบีกเกอร์ใบที่ 1 และนาไปหยดบนกระดาษยูนิเวอร์แซลอินดิเค เตอร์ สังเกตและเทียบสีกับแถบสีแดงแสดงค่า pH 5. ทาซ้าในข้อ 4 แต่เปลี่ยนจากน้าในบีกเกอร์ใบที่ 1 เป็นใบที่ 2 6. เทน้าในบีกเกอร์ทั้งสองใบออก แล้วเทตะกอนลงบนกระดาษขาว 7. สังเกตสิ่งมีชีวิต ลักษณะของกรวดและหินในดินทั้งสองบีกเกอร์ บันทึกผลการทดลองใน ตาราง
  • 22. รช.7 แผนการจัดการเรียนรู้ Backward design ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ. 1 ตารางบันทึกผลการทดลอง ดิน ลักษณะทั่วไป ค่า pH สิ่งมีชีวิต ลักษณะของ ตะกอนสีดิน เนื้อดิน บีกเกอร์ใบที่ 1 ความลึก 20 cm. บีกเกอร์ใบที่ 2 ความลึก 40 cm. วิเคราะห์ผลการทดลอง .......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... สรุปผลการทดลอง .......................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................ คาถามเพื่อการวิเคราะห์ 1. ดินในบีกเกอร์ทั้งสองใบ มีลักษณะเหมือนกันหรือต่างกันอย่างไร ........................................................................................................................................................................ 2. เพราะเหตุใดสีของดินในบีกเกอร์ทั้งสองจึงแตกต่างกัน จงอธิบาย .......................................................................................................................................................................... ... ..................................................................................................................................................................... 3. ดินนบีกเกอร์ทั้งสองมีค่า pH เป็นอย่างไร ........................................................................................................................................................................ 4. นักเรียนคิดว่าความเป็นกรด – เบสของดิน มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืชหรือไม่ อย่างไร .........................................................................................................................................................................
  • 23. รช.7 แผนการจัดการเรียนรู้ Backward design ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ. 1 ใบงาน เรื่อง ทรัพยากรดิน คาชี้แจง ให้นักเรียนทากิจกรรมตามใบงาน ( 10 คะแนน ) ชื่อ……………………สกุล…………………เลขที่……….ชั้น………. สารวจและบันทึกลักษณะของดินในท้องถิ่น เกี่ยวกับสีของดิน เนื้อดินและความเป็นกรด-เบส โดยให้ระบุสี และค่า PH เป็นภาษาอังกฤษ ( วิทยาศาสตร์ + คณิตศาสตร์ + ภาษาอังกฤษ) 3 คะแนน ตารางบันทึกผลการทดลอง บริเวณที่ สารวจ สี ลักษณะ กรด- เบส ค่า PH ขนาดของ พื้นที่ ปริมาณของ สิ่งมีชีวิต อัตราส่วน การใช้ประโยชน์ของดินในท้องถิ่น ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ( สังคมศึกษา+ ภาษาไทย ) 2 คะแนน 1........................................................................................................................................................ 2........................................................................................................................................................ 3........................................................................................................................................................ 4........................................................................................................................................................ 5........................................................................................................................................................
  • 24. รช.7 แผนการจัดการเรียนรู้ Backward design ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ. 1 วิเคราะห์สภาพปัญหาของดินและแนวทางในการปรับปรุงดินในท้องถิ่น การส่งผลต่อสุขภาพ ( สังคมศึกษา + วิทยาศาสตร์ +การงาน ) 3 คะแนน  สภาพปัญหา 1........................................................................................................................................................ 2........................................................................................................................................................ 3........................................................................................................................................................ 4........................................................................................................................................................  แนวทางในการปรับปรุงดิน 1........................................................................................................................................................ 2........................................................................................................................................................ 3........................................................................................................................................................ 4........................................................................................................................................................  ปัญหาที่เกิดจากดินก่อให้เกิดผลเสียต่อสุขภาพอย่างไร 1........................................................................................................................................................ 2........................................................................................................................................................ 3........................................................................................................................................................ 4........................................................................................................................................................
  • 25. รช.7 แผนการจัดการเรียนรู้ Backward design ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ. 1 ใบงาน เรื่อง การพังทลายของดิน ชื่อ……………………สกุล…………………เลขที่……….ชั้น………. 1. จากวีดิทัศน์การพังทลายของดินโดยธรรมชาติที่มนุษย์ไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง และมีน้าเป็นตัวการ ได้แก่กรณี ใดบ้าง 2. การพังทลายของดินโดยฝีมือมนุษย์ได้แก่กรณีใดบ้าง 3. สาเหตุที่ทาให้ดินขาดความอุดมสมบูรณ์มีอะไรบ้าง
  • 26. รช.7 แผนการจัดการเรียนรู้ Backward design ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ครูคศ. 1 4. การอนุรักษ์ดินมีหลักการสาคัญอย่างไร 5. อธิบายวิธีการจัดการดิน เพื่อการอนุรักษ์และพัฒนา ในประเด็นต่อไปนี้ 5.1 การอนุรักษ์โดยวิธี 5.2 การคงไว้ซึ่งความสมบูรณ์ของดิน 5.3 การอาศัยพืชป้ องกัน