SlideShare a Scribd company logo
1 of 24
แนวทางการศึกษาอิสลามเพื่อให้ได้มาซึ่งคำา
              สอนที่แท้จริง


โดย อ. ชะรีฟ วงศ์เสงี่ยม
            บทความนี้เขียนขึ้นเพื่อเป็นแนวทางแก่ผู้ที่
ต้องการที่จะศึกษาอิสลามด้วยความเป็นธรรมและด้วยใจที่
ปราศจากอคติ ทั้งผู้ที่เป็นมุสลิม และไม่ใช่มุสลิม เพื่อให้ได้
มาซึ่งหลักคำาสอนที่แท้จริงของอิสลาม เพราะหลายต่อ
หลายครั้งด้วยกันที่อิสลาม ถูกโจมตี ใส่ร้าย อีกทั้งบิดเบือน
หรืออาจจะถูกนำาเสนออย่างผิดๆ จะโดยตััั้งใจ หรือ รู้
เท่าไม่ถึงการณ์ก็ตาม ซึงเป็นเหตุทำาให้เกิดความเข้าใจที่
                         ่
คลาดเคลื่อนต่อคนโดยทั่วไป อันเป็นเหตุที่นำาไปสู่ความ
เกลียดชัง ที่มีต่ออิสลาม ทั้งนี้ก็เพราะว่าผู้ที่เขียนหนังสือ
ต่างๆ หรือผู้นำาเสนอข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวกับอิสลามไป
เสนอนั้น ไม่รู้ถึงขั้นตอนที่ถูกต้องในการศึกษาอิสลาม อัน
จะได้มาซึ่งหลักคำาสอนของอิสลามที่แท้จริง และถูกต้อง
อีกทั้งเชื่อถือได้ ตอนนี้ถ้าเราจะตั้งเป็นคำาถามขึ้นมาว่า
แล้วคำาสอนของศาสนาอิสลามที่แท้จริง ที่เชือถือได้ว่าเป็น
                                              ่
คำาสอนของอิสลามจริงๆนั้น จะหาได้จากที่ไหนกัน และจะ
หาแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้ เกี่ยวกับอิสลาม จากที่ไหน คำา
ตอบก็คือ หลักคำาสอนของอิสลามที่แท้จริงนั้น มีที่มาจาก
สองแหล่งหลักๆด้วยกัน นั้นก็คือ:
1. คัมภีร์อัล-กุรอาน ทั้งนี้เพราะว่าท่านศาสดามุฮัมหมัด
นั้นได้รับคัมภีร์อัล-กุรอานมาจากพระองค์อัลลอฮฺ พระผู้
เป็นเจ้าที่แท้จริง และยังสามารถพิสูจน์ได้อีกด้วยว่า คัมภีร์
อัล-กุรอานนี้เป็นคัมภีร์ที่มาจากพระผู้เป็นเจ้าจริง ไม่ใช่สิ่ง
ที่มุฮัมหมัดเขียนขึ้น หรือแต่งขึ้นมาเอง คัมภีร์อัล-กุรอาน
เป็นพระดำารัสที่มาจากจากพระผู้เป็นเจ้า ร้อยเปอร์เซ็น
ไม่มีคำาพูดของมนุษย์เจือปนเลยแม้แต่น้อย คัมภีร์นี้ได้ถูก


                                                            1
นำามาให้มุฮัมหมัดโดย ทูตญิบรีล ใช้ระยะเวลาทั้งหมดราว
23 ปีในการประทาน จึงครบถ้วนสมบูรณ์ ข้างต้นนี้เป็น
    ข้อมูลเคร่าๆเกี่ยวกับคัมภีร์อัล-กุรอาน และ
2. ฮะดีษ อันเป็น หลักคำาสอนที่มาจากท่านศาสดามุฮัม
หมัด ไม่ว่าจะเป็นคำาพูด การกระทำา หรือ การยอมรับของ
ท่านในสิ่งหนึ่งสิ่งใดก็ตาม และการยอมรับของท่านก็คือ
การนิ่งเฉย ไม่ว่ากล่าวอะไร เมื่อเห็นใครกระทำาสิ่งหนึ่งสิ่ง
ใด โดยอย่าเข้าใจผิดไปว่าท่านศาสดามุฮัมหมัดเป็นผู้
ตัดสินฟันธงเอาเอง ว่าต้องเป็นอย่างนั้นอย่างนี้...เปล่าเลย
หากแต่ว่าท่านศาสดามุฮัมหมัดได้รับการดลใจจากอัลลอฮฺ
อีกที เพราะฉะนั้นทั้งอัล-           กุรอาน และฮะดีษจึงมาจา
กอัลลอฮฺพระผู้เป็นเจ้าที่แท้จริง เพียงแต่ว่าในฮะดีษนั้น
ท่านศาสดามุฮัมหมัดพูดในสิ่งที่ได้รับการดลใจจากอัลลอฮฺ
ออกมาเป็นคำาพูดของท่านเอง แต่อัล-กุรอานนั้น พระองค์
อัลลอฮฺดำารัสมาอย่างไหน ท่านศาสดามุฮัมหมัดก็จะมานำา
บอกต่อ แบบอักษรต่ออักษร โดยไม่มีคำาพูดของท่านเอง
เจือปนเลย
3. หนังสือประวัติศาสตร์อื่นๆอีก ซึ่งอาจจะกล่าวถึง ประวัติ
ของตัวท่านศาสดาเอง ประวัติของ บรรดาสาวกของท่าน
หรือ ประวัติต่างๆที่เกิดขึ้นในยุคต่างของอิสลาม เริ่มจาก
ยุคของท่านศาสดาเรื่อยมา
           เมื่อพูดถึง คัมภี ร์อั ล -กุรอานนั้ น เราจะต้ องศึก ษา
ควบคู่ ไ ปกั บ หนั ง สื อ ตั ฟ ซี ร ซึ่ ง เป็ น หนั ง สื อ ที่ ม าอธิ บ าย
โองการต่ า งในคั ม ภี ร์ อั ล -กุ ร อานอี ก ที เพื่ อ ให้ เ กิ ด ความ
กระจ่าง และเพื่อให้รู้ถึงที่มาที่ไป หรือภูมิหลังของโองกา
รนั้นๆของคัมภีร์อัล -กุรอาน หรือเพื่อให้รู้ถึงเป้าหมายของ
โองการนั้น ว่าถูกประทานมาเพื่ออะไร หนังสืออธิบายคำา
ภีร์อัล -       กุรอาน หรือที่เรียกเป็นภาษาอาหรับว่า ตัฟ
ซีร นั้นไม่ใช่ว่าใครจะมาอธิบายกันเองหรือ ตีความกันเอง
ตามใจชอบได้ แต่ทว่าเราจะต้ องเข้ าใจคั มภี ร์อั ล -กุรอาน
ตามความเข้าใจของคนในยุคที่มีความรู้และความเข้า ใจ
ในอัล-กุรอานดีที่สุด นั้นก็คือ ยุคที่เรียกเป็นภาษาอาหรับว่า


                                                                        2
สะลัฟ นั้น คือ สามยุค แ รก นับจากยุคของท่านศาสดามุ
ฮั ม หมั ด ด้ วยเหตุ นี้ ใครก็ แ ล้ ว แต่ ที่ อ้ า งคั ม ภี ร์ อั ล -กุ ร อาน
เป็นหลักฐานั้น จะถือว่าไม่สมบูรณ์ และไม่ถูกต้องเท่าที่ควร
และอาจจะพลาดจากความเป็นจริงไปก็ได้ ถ้าเข้าผู้นั้นไม่
หยิบยกคำาอธิบายของคัมภีร์อัล-กุรอานของโองการนั้นๆมา
ด้ ว ย ตำา ราอธิ บ ายคั ม ภี ร์ อั ล -กุ ร อานที่ มี เ ชื่ อ เสี ย งที่ สุ ด ใน
โลกมุ ส ลิ ม และถู ก สอนกั น ในมหาวิ ท ยาลั ย ต่ า งๆของโลก
มุสลิมก็คือ 1.ตัฟซีร อิบนิกะซีร 2. ตัฟซีร กุรตูบีย์ 3. ตัฟ
ซีร อัฏฏอบรี่ ซึ่งในตัฟซีรเหล่านี้ จะประกอบไปด้วยฮะดีษ
ต่ า งๆที่ จ ะถู ก นำา มาอธิ บ ายโองการต่ า งๆของอั ล -กุ ร อาน
หรืออาจจะเป็น คำาพูดของ สาวกของท่านศาสดามุฮัมหมัด
(ซอฮาบะฮฺ ) หรื อ อาจจะเป็ น คำา พู ด ของ ลู ก ศิ ษ ย์ ข องซอ
ฮาบะฮฺอีกที ( ตาบิอีน ) หรือ อาจจะเป็นคำา พูดลูกศิษย์ของ
ตาบิ อี น อี ก ที ( ตาบิ อิ ต ตาบิ อี น ) ซึ่ ง ทั้ ง ส า ม ก ลุ่ ม นี้ ถ ู ก
เ รีย ก ว่า เ ป็น ยุค ส ะ ลัฟ หนังสืออธิบายคัมภีร์อัล -กุรอาน
เหล่านี้ ส่วนใหญ่ยังอยู่ในภาษาอาหรับ ถ้าจะมีแปลก็น้อย
มาก ซึ่งบางส่วนถูกแปลมาเป็นภาษาอังกฤษ
             ต่อมาคือ ฮะดีษดังที่ได้กล่าวความหมายเคร่าๆไป
แล้วว่าฮะดีษคืออะไร และเมื่อได้มีการหยิบยก หรือ อ้าง
ฮะดีษขึ้นมา เราจะต้องพิสูจน์กันให้ได้เสียก่อนว่า ฮะดีษที่
ได้ถูกยกขึ้นมาอ้างนั้น เป็นฮะดีษที่เชื่อถือได้จริงหรือไม่
หรือพูดอีกอย่างก็คือ เป็นสิ่งที่ศาสดามุฮัมหมัดได้ กล่าว
หรือ กระทำา หรือ ให้การยอมรับเอาไว้ เช่นนั้นจริงๆหรือ
ไม่ ทั้งนี้ก็เพราะ หลังจากที่ท่านศาสดามุฮัมหมัดสิ้นชีวิตไป
แล้วได้มีผู้ไม่หวังดีต่ออิสลาม ได้ปลอมคำาสอนขึ้นมาแล้ว
อ้างถึงศาสดามุฮัมหมัด ที่ทำาเช่นนี้โดยมีจุดมุ่งหมายที่ต่าง
กันไป เช่นอาจจะเกี่ยวกับเรื่องการ เมือง หรือ เรื่องลัทธิ
ความเชื่อส่วนตัว หรือจากศัตรูที่แซรกตัวเข้ามาโดยทำาที
ว่าเป็นมุสลิม แต่ในความเป็นจริงแล้วคือ คนหน้าไหว้หลัง
หลอก แต่กระนั้น ฮะดีษทั้งหลายที่ถูกปลอมขึ้นมานั้น ไม่
อาจที่จะรอดสายตาของปวงปราชญ์แห่งอิสลามไปได้ โดย
ท่านเหล่านี้เป็นผู้ที่มีความเชี่ยวชาญในด้าน การตรวจสอบ


                                                                             3
ประวัติบุคคลโดยละเอียด ซึ่งถือเป็นศาสตร์หนึ่งของอิสลาม
ที่เรียกในภาษาอรับว่า อิลมุล ริญาล วิชานี้มีขั้นตอนที่
ละเอียดเป็นอย่างมากซึ่งไม่เคยปรากฏมาก่อนเลยใน
ประวัติศาสตร์โลก หรือไม่ว่าจะในศาสนาไหนก็ตาม ทีมี       ่
การใช้ระบบการตรวจสอบความน่าเชื่อถือของบุคคลต่างๆ
เหมือนกับที่อิสลามได้ใช้ ซึงสิ่งนี้แหละที่ทำาให้เรามั่นใจได้
                              ่
ว่าคำาสอนที่ตกทอดมาถึงเรานั้น เป็นสิ่งที่เชื่อถือได้จริงที่มา
จากท่านศาสดามุฮัมหมัด หรือ เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นจริง
       เมื่อเราได้อ่านหนังสือต่างๆ และมีการอ้างฮะดีษ ขั้น
ตอนการพิสูจน์ว่าฮะดีษบทนั้นๆเชื่อถือได้หรือไม่ก็ให้ทำา
ดังนี้ :
        1. ให้ตงคำาถามแก่ตัวเองว่า ฮะดีษที่ถูกยกมาอ้างนั้น
                 ั้
นำามาจากหนังสือบันทึกฮะดีษของใครกัน เช่น อิหม่ามบุคอ
รีเป็นผู้บันทึกเอาไว้ หรือ อิหม่ามอะฮฺหมัดเป็นผู้บันทึกเอา
ไว้
       2. บันทึกอยู่ในหนังสือเล่มไหนของเขาผู้นั้นหรือ
หนังสือ ชื่ออะไร เช่น หนังสือบันทึกที่ชื่อว่า อัล-มุสนัด
หรือ มุอฺญัม อัลกะบีร และอื่นๆ
       3. ฮะดีษบทนั้นๆเป็นฮะดีษที่เท่าไหร่ในหนังสือบันทึก
นั้นๆ ( ถ้าบอกได้ เพราะจะสะดวกแก่การค้นหา)
       4. เมื่อเจอฮะดีษต้นนั้นๆแล้วให้ ตรวจฮะดีษนั้นๆดูว่า
เชื่อถือได้หรือไม่ โดยปัจจุบันนี้มีปราชญ์ทางด้านฮะดีษที่
ได้ทำาการตรวจความน่าเชื่อถือของฮะดีษต่างๆที่ถูกบันทึก
เอาไว้ในหนังสือต่างๆที่บันทึกฮะดีษ หรือ ถ้าเราไม่
สามารถตรวจสอบความน่าเชื่อถือของฮะดีษต้นนั้นๆได้ด้วย
ตัวเอง ก็แนะนำาให้เราปรึกษาผู้ที่มีความเชี่ยวชาญด้านฮะ
ดีษโดยตรง โดยสอบถามความน่าเชื่อถือของฮะดีษนั้นๆกับ
เขา
       5. สมมุติว่าตรวจสอบดูแล้ว และฮะดีษบทนั้นๆเชื่อถือ
ได้ คือ พิสูจน์แล้วว่า เป็นคำาพูด หรือ การกระทำา หรือ การ
ให้การยอมรับของท่านศาสดามุฮัมหมัดจริงๆ ไม่ใช่ใครมา
โมเม หรือโกหกแต่งขึ้นมาเองแล้วอ้างไปยังท่านศาสดามุ


                                                            4
ฮัมหมัด ต่อไปก็ให้เรา ตรวจสอบดูคำาอธิบายฮะดีษนั้นๆว่า
บรรดาปราชญ์ผู้เชี่ยวชาญด้านฮะดีษได้อธิบายฮะดีษนั้นๆ
เอาไว้อย่างไร หนังสืออธิบายฮะดีษ จะเรียกในภาษา
อาหรับว่า ชัร ฮฺ ซึงแปลว่า การอธิบาย หนังสือบันทึกฮะ
                    ่
ดีษหลายๆเล่มด้วยกันที่ได้รับการอธิบายอย่างเป็นทางการ
เอาไว้เป็นที่เรียบร้อยแล้ว เช่น หนังสือบันทึกฮะดีษบุคอรี มี
หนังสืออธิบายชื่อว่า ฟัตฮุลบารีย์ อันเป็นหนังสือที่รู้จักกัน
ดีในโลกมุสลิม หนังสือบันทึกฮะดีษ สุนันติรมีซี มีหนังสือ
อธิบายชื่อว่า ตัวฮฺฟะตุลอะฮฺวาซี เพราะฉะนั้นแนะนำาให้
ศึกษาดูว่า หนังสือบันทึกฮะดีษแต่ละเล่มนั้น มีหนังสือ
อธิบายชื่ออะไรกันบ้าง เพื่อที่เมื่อเราต้องการคำาอธิบายฮะ
ดีษบทหนึ่งบทใดในหนังสือบันทึกฮะดีษใดๆก็แล้วแต่ที่เรา
อ่านอยู่ เราจะได้ค้นหาได้โดยสะดวก โดยค้นหาได้อย่าง
ถูกที่
            ต่อมาคือหนังสือประวัติศาสตร์ต่างๆ หนังสือเหล่า
นี้ก็เช่นกัน ที่เราจะต้องตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อมูล
ต่างๆที่ถูกระบุเอาไว้ ไม่ใช่ว่าข้อมูลอะไรก็แล้วแต่ที่นัก
บันทึกได้บันทึกเอาไว้แล้วจะเชื่อถือได้ทั้งหมด ทั้งนี้ก็
เพราะนักบันทึกประวัติศาสตร์ต่างๆนั้น เมื่อได้ยินอะไรมา
เขาก็จะบันทึกเอาไว้ก่อน โดยยังไม่ได้ตรวจสอบความน่า
เชื่อถือของสิ่งที่ตนได้ยิน ได้ฟังมา ที่เป็นเช่นนี้ก็เพราะ ขัน
                                                            ้
ตอนการตรวจสอบความน่าเชื่อถือนั้น มีหลายขั้นตอนด้วย
กัน และหลายครั้งด้วยกันที่การตรวจสอบความน่าเชื่อถือ
ของข้อมูลที่ได้รับมานั้นไม่ง่ายเสมอไป รายละเอียดการ
ตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อมูลที่ได้รับมานั้น ก็มขั้น  ี
ตอนเหมือนกับการตรวจสอบความน่าเชื่อถือของฮะดีษต้น
หนึ่งๆที่ถูกยกมาอ้าง และเพื่อความสะดวกแนะนำาให้
สอบถามผู้ที่มีความเชี่ยวชาญด้านการตรวจสอบ ประวัติ
นักรายงานต่างๆ
     ศัตรูอิสลามนั้น พยายามที่จะนำาหลักฐานจากภายนอก
อิสลาม แล้วตัดสินอิสลามด้วยกับหลักฐานนั้น แต่สิ่งที่เรา

                                                            5
จะต้องถามก็คือ หลักฐานนั้นๆ ในความเป็นจริงแล้วตัวมัน
เองสามารถถูกนำามาเป็นหลักฐานได้หรือไม่ เช่น สมมุติว่า
ชาวยิวคนหนึ่งได้เขียนหนังสือเล่มหนึ่งขึ้นมาเกี่ยวกับตัว
ท่านนบีมุฮัมหมัด แต่กระนั้นก็ตามยิวคนนั้น เกิดหลังจาก
ท่านนบี 500 ปี ไม่เคยพบเจอกับท่านศาสดามุฮัมหมัด ถ้า
เป็นเช่นนั้น หนังสือเล่มนี้ที่ยิวคนนี้เขียนนอกจากตัวมันเอง
จะเป็นหลักฐานในเรื่องท่านนบีมุฮัมหมัดไม่ได้แล้ว เรายัง
จะต้องตั้งคำาถามต่อไปเพื่อตรวจสอบหนังสือเล่มนี้อีกว่า
แล้วผู้เขียนชาวยิวผู้นี้ไป นำาข้อมูลเกี่ยวกับตัวท่านนบีมา
จากไหนกัน จะเห็นได้ว่าหนังสือเล่มนี้หมดความน่าเชื่อถือ
ไปในทันที ถ้าผู้เขียนไม่บอกแหล่งที่มาของสิ่งต่างๆที่เขา
ได้เขียนขึ้นในหนังสือเล่มนี้เกี่ยวกับตัวท่านนบีมุฮัมหมัด
แต่สมมุติว่า ชาวยิวคนนี้ได้อ้างอิงแหล่งข้อมูลเกี่ยวกับสิ่งที่
เขาเขียนเกี่ยวกับตัวท่านนบีมุฮัมหมัดมาได้ก็ตาม เราก็จะ
ต้องตรวจสอบต่อไปอีกว่า ข้อมูลอ้างอิงที่ยิวคนนี้นำามาอ้าง
นั้น เชือถือได้มากน้อยเพียงไร เพราะถ้าข้อมูลที่ยิวคนนี้นำา
         ่
มาอ้างอิง ก็ได้มาจาก นักเขียนที่ เกิดคนละยุค คนละสมัย
กับท่านนบีมุฮัมหมัด ข้อมูลอ้างอิงเหล่านั้นก็จะต้องถูกถาม
คำาถาม และตรวจสอบกันต่อไป ว่านำาข้อมูลเกี่ยวกับตัว
ท่านนบีมาจากไหนกัน เพราะฉะนั้นคำาถามสำาคัญที่เราจะ
ต้องถามเพื่อนำาไปสู่ความจริงก็คือ หนังสือเล่มนั้นๆที่ถูก
เขียนมีขึ้นมาเมื่อไหร่ ใครเป็นคนเขียนมันขึ้นมา เขาผู้นั้น
เป็นใครมาจากไหน ผู้เขียนได้อ้างอิงแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือ
ได้หรือไม่ ตามทีได้กล่าวมาแล้วข้างต้น
                    ่
        คำาถามอีกอย่างก็คือ สมมุตมีเหตุการณ์หนึ่งๆเกิดขึ้น
                                    ิ
ในสถานที่แห่งหนึ่ง โดยในสถานที่แห่งนั้นมีคนอยู่ 10
คน ถ้าคุณต้องการได้ข้อมูลที่เชื่อถือได้เกี่ยวกับเหตุการณ์
ที่เกิดขึ้นภายในสถานที่แห่งนั้น คุณ จะถามใครเพื่อที่จะได้
รับข้อมูลที่เชื่อถือได้... ระหว่าง 1. ถามคนที่ไ ม่ไ ด้อ ยูใ น
                                                          ่
เหตุก ารณ์ แต่เป็นคนที่เชื่อได้ หรือ 2. ถามคนที่ อยู่ใ น
เหตุก ารณ์ และรู้เห็นสิ่งที่เกิดขึ้นด้วยตัวเอง และเป็นยังผู้
ที่เชื่อถือได้อีกด้วย... คุณจะถามใครครับเพื่อที่จะได้ข้อมูล


                                                            6
ที่เชื่อถือได้ว่า เกิดอะไรขึ้นในสถานที่แห่งนั้น? ....
แน่นอน ผู้ที่มีใจเป็นกลาง อีกทั้งแสวงหาความจริง ย่อม
เลือกคำาตอบได้อย่างถูกต้อง นั่นก็คือ ถามคนที่ อยู่ใน
เหตุการณ์ และรู้เห็นสิ่งที่เกิดขึ้นด้วยตัวเอง และเป็นยังผู้ที่
เชื่อถือได้อีกด้วย.... แต่สมมุติว่า มีผู้ที่อยู่ในเหตุการณ์
10 คน โดยที่ 4 คนนั้นได้รับการพิสูจน์แล้วว่าเชื่อถือไม่
ได้ .... คำาถามก็คือ เราจะเชื่อใครระหว่าง 6 คนที่เชื่อถือ
ได้ หรือว่า 4 คนที่เชื่อถือไม่ได้ ? ...แน่นอน เราก็จะต้อง
เชื่อคำาบอกเล่าของ คนทั้ง 6 คน แต่ถ้าทั้ง 6 คน เล่าในสิ่ง
ที่เกิดทั้งหมด 20 อย่างด้วยกัน โดยทุกคนเล่าตรงกันหมด
ทุกอย่าง แต่มอยู่หนึ่งคนจาก 6 คนนี้ที่ชื่อว่านาย เอ ที่เล่า
                  ี
ในสิ่งสองสิ่งที่เกิดขึ้นไม่ตรงกับอีก 5 คน ...เช่นนี้เราจะ
เลือกเชื่อใครตามหลักวิชาการ ...แน่นอนเราก็จะเลือกเชื่อ
5 คนที่เล่าเรื่องตรงกัน โดยถือว่า นาย เอ นั้นผิดพลาดใน
สองเรื่องนั้นๆ ที่เล่าไม่ตรงกับคนอื่นอีก 5 คน ตรงนี้เราได้
รับบทเรียนว่า ถึงแม้ว่านาย เอจะเป็นคนที่เชื่อถือได้ แต่ก็
ไม่ได้หมายความว่าเขาจะพลาดไม่ได้ในบางจุด
        หรือมีการเล่ากันต่อๆมาว่า มีเหตุการณ์เช่นนั้นเช่นนี้
เกิดขึ้นในอดีต โดยที่เมื่อพยายามสืบต้นตอของ หรือที่มา
ของเรื่องที่เล่าต่อๆกันมานี้ ปรากฏว่าไม่สามารถหาต้นสาย
ปลายเหตุหรือที่มาของเรื่องนั้นได้ ... ถ้าเราเป็นผู้ที่
แสวงหาความจริง อย่างเป็นวิชาการ มีความซื่อตรง ไม่มี
อคติใดๆทั้งสิ้น อีกทั้งมีใจที่เป็นกลาง คำาถามก็คือ เราจะ
เชื่อเรื่องเล่านั้นๆหรือไม่ ซึงก็ไม่สามารถพิสูจน์ได้ว่า มี
                              ่
ต้นตอมาจากไหน แต่ละคนที่เล่าต่อๆกันมานั้น เชื่อถือได้
มากน้อยเพียงไร.... แน่นอนเราจะไม่ยอมเชือเรื่องเช่นนั้น
                                                  ่
อย่างแน่นอน โดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้าเรื่องนั้นๆ เป็นเหตุ
ทำาให้บุคคลหนึ่งบุคคลใดต้องได้รับความ อับอาย หรือ
ความเสียหาย และถ้ามองกันในทางกฏหมายแล้ว เรื่องเล่า
เช่นนั้นก็เชื่อถือไม่ได้เช่นกัน
        ย้อนกลับไปที่เรื่องฮะดีษอีกครั้ง อย่างที่ได้กล่าวไป
แล้วว่า มีการปลอมฮะดีษกันขึ้นมาภายหลังจากที่ท่าน


                                                             7
ศาสดามุฮัมหมัดได้สิ้นชีวิตไป เนื่องด้วยเหตุนี้เองเราจึงจะ
ต้องตรวจสอบฮะดีษที่ได้รับมาให้ดีเสียก่อนว่า ฮะดีษนั้นๆ
เชื่อถือได้หรือไม่ เพราะอาจจะเป็นฮะดีษที่เชื่อถือไม่ได้ก็
เป็นไปได้ เนื่องจากขาดคุณสมบัติต่างๆที่จะถูกเรียกว่าเป็น
ฮะดีษที่เชื่อถือได้
      ฮะดีษนั้นจะประกอบไปด้วยหลักๆ 2 ส่วน นั้นคือ :
      1. ส่วนที่เป็นสายรายงาน ( เรียกในภาษาอรับว่า สะ
นัด)โดยผู้ที่บันทึกฮะดีษต่างๆเป็นหนังสือ    ( เช่น หนังสือ
บันทึกฮะดีษ มุสนัด ของอิหม่ามอะฮฺหมัด ) จะไล่สาย
รายงาน โดยเริ่มจากตัวเขา ว่าเขาได้รับฮะดีษนั้นๆมาจาก
ใคร ไล่กันเรื่อยจนไปสุดอยู่ที่เจ้าของคำาพูด หรือเจ้าของ
การกระทำานั้นๆ ซึงอาจจะเป็นตัวท่านศาสดามุฮัมหมัดเอง
                    ่
หรือ บรรดาสาวกทั้งหลายของท่าน ซึงในฮะดีษต้นหนึ่งๆ
                                        ่
ที่ถูกยกมาอ้างนั้น จะมีผู้เล่าหรือนักรายงาน ในจำานวนที่
แตกต่างกันไป และโดยทั่วไปแล้วนักรายงานจะเป็นมุสลิม
โดยที่นักรายงานแต่ละคนจะต้องถูกตรวจสอบประวัติโดย
ละเอียด ตามมาตรฐานที่เข้มงวดที่ได้ถูกวางเอาไว้ เพื่อที่
จะได้รู้แน่ชัดว่า นักรายงานแต่ละคนนั้นเชื่อถือได้หรือไม่
โดยจะตรวจสอบดูที่ :
1.1 สายรายงานติดต่อกัน ไม่ขาดตอน เช่น นาย ค. อ้าง
ว่าได้รับฟังฮะดีษมาจากนาย ก. แต่กระนั้นก็ตามเมื่อตรวจ
ประวัติดูแล้ว พบว่า นาย ค. กับนาย ก. นั้น เกิดคนละ
สมัย หรือ อาจจะเกิดในสมัยเดียวกันแต่อยู่คนละที่เลย
โดยวิเคราะห์ดูแล้วไม่มีทางที่ทั้งสองจะพบเจอกันได้เลย
แล้วจะเป็นไปได้อย่างไรที่ นาย ค. อ้างว่าได้รับฟังฮะดี
ษมาจากนาย ก. เมื่อเป็นเช่นนี้จึงทำาให้เกิดปัญหาในเรื่อง
ความน่าเชื่อถือ

1.2 นักรายงานแต่ละคนที่อยู่ในสายรายงานนั้นทุกคนมี
คุณธรรม
1.3 ผู้รายงานทุกคน มีความจำาดี



                                                         8
1.4 ไม่ขดแย้งกับหะดีษที่แข็งแรงกว่า
        ั

1.5 ไม่มีความบกพร่องอันซ่อนเร้นใดๆในหะดีษ
          ทั้ง 5 ข้อที่กล่าวมานั้น เป็นเพียงเคร่าๆ ซึงใน
                                                       ่
ความเป็นจริงแล้วยังมีรายละเอียดในแต่ละข้ออีกมากที่จะ
ต้องมาวิเคราะห์กัน ก่อนที่จะตัดสินฟังธงว่าฮะดีษต้นหนึ่งๆ
นั้น เชือถือได้หรือไม่ ทั้งนี้เพื่อที่เราจะได้มั่นใจว่า สิ่งที่อ้าง
        ่
ไปถึงการกระทำา หรือ คำาพูดของคนหนึ่งคนใด ไม่ว่าจะ
เป็นตัวท่านศาสดามุฮัมหมัดเอง หรือ สาวกของท่าน หรือ
ใครก็ตามในยุคอดีต หรือ เหตุการณ์ต่างๆนั้น เป็นสิ่งที่เป็น
จริง หรือเกิดขึ้นเช่นนั้นจริง
      2. ส่วนที่เป็นคำาพูด หรือการกระทำา ของบุคคลหนึ่ง
บุคคลใดที่ถูกอ้างถึง ส่วนนี้เรียกในภาษาอาหรับว่า มัตนฺ
หรือ ตัวบท และโดยทั่วไปแล้ว มัตนฺ หรือ ตัวบทนี้จะเป็น
จริงหรือเท็จ จะเชื่อถือได้หรือไม่ก็ขึ้นอยู่กับความน่าเชื่อถือ
ของ สายรายงานอีกที ตามที่กล่าวเอาไว้ข้างต้น


                              มีผู้นำาเสนอทฤษฎีใหม่ขึ้นมาว่า
“ผู้ที่เป็นมุสลิม (ในที่นี้หมายถึงนักรายงานฮะดีษ) ย่อมที่จะ
ไม่ ใส่ร้ายศาสนาตัวเอง เพราะฉะนั้นคำาพูดของเขาจึง
ถือว่าเชื่อถือได้” ทั้งนี้ก็เพื่อที่จะใช้ฮะดีษทั้งหลายที่ถูก
ตัดสินแล้วว่าเชื่อถือไม่ได้ มาโจมตีอิสลามในด้านต่างๆ
 โดยอ้างว่า นักรายงานที่อยู่ในสายรายฮะดีษที่ถูกตัดสิน
ว่าเชื่อถือไม่ได้นั้น ถึงอย่างไรก็แล้วแต่เขาก็ยังเป็น
มุสลิม... โดยตั้งสมมุติฐานเอาอีกว่า โดยพื้นฐานทั่วไปแล้ว
มุสลิมย่อมจะไม่ใส่ร้ายศาสนาตัวเอง เพราะฉะนั้นคำาพูด
ของพวกเขา( นักรายงานฮะดีษ) ที่เป็นมุสลิม ที่อ้างไปถึง
ท่านนบีในทางที่ไม่ดี หรืออ้างถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นต่างๆ
ในทางที่ไม่ดต่ออิสลาม จึงเป็นการกล่าวออกมาหรือเล่า
                ี
ออกมาด้วยความซื่อตรง และบริสุทธิ์ใจ ซึ่งถือว่าเชื่อถือ


                                                                  9
ได้... แต่ผู้ที่จ้องที่จะโจมตีอิสลามด้วยกับฮะดีษต่างๆที่เชื่อ
ถือไม่ได้ ลืมที่จะพิจารณาสิ่งดังต่อไปนี้ว่า:
1. สายรายงานของฮะดีษต้นนั้นๆ ติดต่อกันหรือไม่ เพราะ
ถ้าไม่มีตอกันแล้ว นั่นก็เท่ากับว่ามีช่องว่าง ระหว่างนัก
         ่
รายงาน 2 คน เช่น นักรายงาน ก. กับ นักรายงาน ค. อยู่
กันคนละสมัย แล้วจะเป็นไปได้อย่างไรที่นาย ค.จะรายงาน
หรือรับฟังฮะดีษมาจากนาย ก. ทั้งนี้ก็เพราะเกิดไม่ทันกัน
เพราะฉะนั้น ผู้ที่ขาดหายไปคือ นักรายงาน ข. ซึงสถานะ่
ภาพของเขา (นักรายงาน ข.) ไม่เป็นที่รับรู้ได้ และก็เป็น
ไปได้ว่า เขาอาจจะเป็นศัตรูของอิสลามก็ได้ โดยปลอมฮะ
ดีษนั้นๆขึ้นมา พร้อมสายรายงาน โดยมีจุดม่งหมายอย่าง
หนึ่งอย่างใดแอบแฝงอยู่ หรือว่า
2. นักรายงานคนหนึ่งในสายรายงาน ไม่ได้ขาดหายไป
ไหน แถมยังมีชอถูกระบุเอาไว้อีกด้วย แต่กระนั้นก็ตามไม่มี
                   ื่
ใครรู้ประวัติของเขาว่าเป็นใครมาจากไหน เพียงแต่มแค่    ี
ชื่อ เพราะฉะนั้น ก็มีความเป็นไปได้อีกเช่นกันว่า เขาผู้นั้น
อาจจะเป็นผู้ที่ไม่ใช่มุสลิม และอาจจะเป็นศัตรูอิสลามก็เป็น
ไปได้ แต่ผู้ที่ไปรับรายงานจากเขามาโดยไม่ตรวจสอบให้
ดีก่อนว่าเขาเป็นใคร ได้แต่เพียงรับรายงานมา หรืออาจ
จะเป็นผู้ที่มีความจำาแย่เป็นอย่างมาก ถึงขั้นฟังมาอย่าง แต่
พอนำาไปเล่ากลับกลายเป็นอีกอย่าง ซึงหลายๆครั้งด้วยกัน
                                        ่
ที่เราประสบสิ่งนี้ในชีวิตประจำาวันของเรา

       เป็นสิ่งที่ปฏิเสธไม่ได้ว่า ในศาสนาหนึ่งศาสนาใดนั้น
จะมีผู้ที่ได้ชื่อว่าเป็นบุคคลที่นับถือศาสนานั้นๆ เช่น ได้ชื่อ
ว่าเป็นพุทธ ได้ชื่อว่าเป็นคริสต์ หรือได้ชื่อว่าเป็นอิสลาม
แต่กระนั้นก็ตาม เขาผู้นั้นเป็นผู้ที่มีความผิดเพี้ยนในด้าน
หนึ่งด้านใดของศาสนา เช่น มีความผิดเพี้ยนทางด้าน
ความเชื่อ หรือ ทางด้านการปฎิบัติ ด้วยเหตุนี้เอง เพื่อที่จะ
สนับสนุนความเชื่อที่ผิดๆ หรือ การปฎิบัติที่ผิดๆของตัวเอง
จึงทำาให้เขาผู้นั้นปลอมคำาสอนขึ้นมา แล้วอ้างคำาสอนนั้นๆ
กลับไปหาศาสดา มุฮัมหมัด... หรือ ในศาสนาพุทธก็จะอ้าง


                                                           10
กลับไปหาพระพุทธเจ้าอีกที ... หรือศาสนาคริสต์ก็จะอ้าง
กลับไปหาพระเยซู ... แต่อิสลามแทบจะเป็นศาสนาเดียว
เลยก็ว่าได้ที่สามารถตรวจสอบได้อย่างรู้จริงว่า คำาอ้างนั้นๆ
เป็นสิ่งที่ท่านนบีมุฮัมหมัดได้ กล่าว หรือ กระทำา หรือ
ยอมรับ เอาไว้จริง หรือไม่ ... เมื่อมาถึงตอนนี้ ต้องการที่
จะอธิบายเพิ่มเติมถึงสาเหตุที่ทำาให้เกิดการปลอมแปลง
หรือ แต่ง ฮะดีษ เก๋ ขึนมา โดยมีรายละเอียดคร่าวดังต่อไป
                        ้
นี้:

     บรรดานักวิชาการได้พยายามวิเคราะห์หาสาเหตุแห่ง
การกุหะดีษปลอมของบุคคลต่างๆ แล้วพอจะสรุปเหตุผล
แห่งการกุหะดีษปลอมของบุคคลเหล่านั้นได้ดังนี้ ...

     1. เพื่อ ต้อ งการสนับ สนุน หรือ “เชีย ร์” ลัท ธิ
หรือ มัษ ฮับ ที่ตนเองสังกัดและคลั่งไคล้อยู่ ...
     ตัวอย่างจากเหตุผลข้อนี้ ได้แก่การกุหะดีษปลอม
จำานวนมากของพวกชีอะฮ์ เพื่อสนับสนุนท่านอะลีย์ ร.ฎ.
และบรรดา “อะฮ์ลุลบัยต์” ที่พวกเขาจำากัดเอาเองว่า
หมายถึงวงศ์วารของท่านศาสดา ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิวะ
ซัลลัมเป็นการเฉพาะ .. ทั้งๆที่ความจริง คำาว่า “อะฮ์ล ุ
ลบัย ต์” จะมีความหมายครอบคลุมถึงบุคคลทุกคนใน
ครอบครัวของท่านศาสดา อันได้แก่ภริยาทั้งหมดของท่าน
และบุตรหลานของท่าน ...
     หรือตัวอย่างจาก “หะดีษ ปลอม” บทหนึ่งที่ผู้คลั่ง
ไคล้ในมัษฮับหะนะฟีย์ได้กุขึ้นมา โดยอ้างรายงานมาจาก
ท่านศาสดา ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิวะซัลลัม มีข้อความว่า ...

    ‫يكون فى أ ف ُمتى رجل يقلال له محمدف ُ بنف ُ إ ِدريس أ َضر على‬
     َ َ ُ ‫تَّ ف‬ َ ْ‫ُنْ ِ ُن‬ ْ‫َ ف ُ ُنْ ف ُ ِ ُنْ تَّ ِ ُنْ َ ف ُ ي ٌ ف ُ َ ف ُ َ ف ُ ف ُ َ تَّ ُن‬
   ‫أ ف ُمتى من إ ِبليس ، ويكون فى أ ف ُمتى رجف ُل يقلال له أ َبو حنيفة‬
  َ َ ْ‫َ َ ف ُ ُنْ ف ُ ِ ُنْ تَّ ِ ُنْ َ ي ٌ ف ُ َ ف ُ َ ف ُ ف ُ ُنْ َ ِ ُن‬       َ ْ‫تَّ ِ ُنْ ِ ُنْ ُنْ ِ ُن‬
                                                                               ‫... هو سرجاج أ ف ُمتى‬
                                                                            ْ‫ف ُ َ ِ َ ف ُ تَّ ِ ُن‬


                                                                                                         11
“ต่อไปในประชาชาติของฉัน จะมีชายผู้หนึ่งมีชื่อ
เรียกกันว่า “มุหมมัด บิน อิดรีส” (หมายถึงท่านอิหม่าม
                ั
ชาฟิอีย์) เขาจะเป็นภัยต่อประชาชาติของฉันยิ่งกว่าอิบ
ลีส, และก็จะมีในประชาชาติของฉัน ผู้ซึ่งมีชื่อเรียกกัน
ว่า “อบู หะนีฟะฮ์” .. เขาผู้นี้แหละคือดวงประทีปแห่ง
ประชาชาติของฉัน” ...
     (จากหนังสือ “อัล-เมาฎูอาต” ของท่านอิบนุล ญูซีย์,
เล่มที่ 1 หน้า 457)


2. เพราะเข้า ใจว่า ทำา ไปโดยมีเ จตนาดีแ ล้ว จะได้ร ับ
ผลบุญ ...
    กรณีนี้ ส่วนมากจะเป็นผู้ที่กุหะดีษเกี่ยวกับเรื่องอัต-
ตัรฺฆีบ วัต-ตัรฺฮีบ (َ‫ ) جال ت ر غ ي ب وجال ت ر هِ ي ب‬คือ หะดีษเกี่ยว
                                    ُ ‫تَّ ُنْ ِ ُنْ ف ُ َ تَّ ُنْ ُنْ ف‬
กับเรื่องการส่งเสริมให้ทำาความดีบางอย่าง และปรามจาก
การกระทำาความชั่ว, .. หรือกุหะดีษในเรื่องความประเสริฐ
ของการนมาซ หรือการถือศีลอดในวาระต่างๆ, หรือ
ความประเสริฐของอัล-กุรฺอ่านซูเราะฮ์ต่างๆ .. ซึ่งผู้ที่มชื่อ               ี
เสียงมากในด้านการกุหะดีษเรื่องความประเสริฐของอัล-กุรฺ
อ่านซูเราะฮ์ต่างๆนี้ ได้แก่ อบู อิศมะฮ์ นุห์ บิน อบียมัรฺยัม            ์
(‫ ) أ َ ب و ع ص م ة ن و ح ب ن أ َ ب ى م ر ي م‬และมัยสะเราะฮ์ บิน อับ
 َ َ ْ‫ف ُ ُنْ ِ ُنْ َ َ ف ُ ُنْ ف ُ ُنْ ف ُ ِ ُنْ َ ُن‬
ดิร็อบบิฮ์ พวกนอกศาสนาหรือ พวกศัต รูข องอิส ลาม ที่
      3. (‫... ) م ي س ر ة ب ن ع ب د ر ب ه‬
            ِ ِّ‫َ ُنْ َ َ ف ُ ُنْ ف ُ َ ُنْ ِ َ ه‬
ต้องการจะทำาลายหรือบิดเบือนหลักการอันบริสุทธิ์ของ
อิสลาม ด้วยการกุสายรายงานเท็จและกุหะดีษเท็จในเรื่อง
ของอิสลามขึ้นมา ..
     4. พวกกุห ะดีษ เท็จ เพื่อ ประจบสอพลอผู้น ำา
และผู้ป กครอง ...
     5. พวกกุห ะดีษ เท็จ เพื่อ แสวงหาผลประโยชน์
และสร้างความศรัทธาแก่ชาวบ้านที่รู้เท่าไม่ถึงการณ์ ซึ่ง
ส่วนมากมักจะเป็นพวกนักเล่านิทานที่มักจะกุหะดีษอันเป็น


                                                                         12
เรื่องราวแปลกประหลาดที่มีลักษณะเป็นอภินิหาร เพื่อให้
ถูกใจชาวบ้านที่นิยมชมชอบเรื่องประเภทนี้ ...
       6. พวกกุห ะดีษ เท็จ เพราะอยากดัง และต้องการ
มีชื่อเสียงว่า ตนเองเป็นผู้รายงานหะดีษจำานวนมากคน
หนึ่ง ...
       บรรดานักปลอมแปลงหะดีษระดับแนวหน้าที่ถูกเปิด
เผยชื่อ จะมีอยู่เป็นจำานวนมาก ซึงผมจะขอระบุนามของ
                                             ่
บางคน ดังต่อไปนี้ ...
       1. อิบนุ อบีย์ยะห์ยา (‫ ) إ ِ ب ن أ َ ب ى ي ح يى‬แห่งมะดี
                                      َ ْ‫ُنْ ف ُ ِ ُنْ َ ُن‬
นะฮ์,
       2. อัล-วากิดีย์ (‫ ) جا ل وجا ق د ى‬แห่งกรุงบุฆดาด,
                        ّ ِ ِ َ ْ‫َ ُن‬
       3. มุกอติล บิน สุลัยมาน (‫) م قلا ت ل ب ن س ل ي ملا ن‬
                                            َ َ ْ‫ف ُ َ ِ ف ُ ُنْ ف ُ ف ُ َ ُن‬
แห่งคุรอซาน,
       4. มุหมมัด บิน สะอีด อัช-ชามีย์ (ٍ‫م ح م دف ُ ب ن س ع ي د‬
              ั                                           ْ‫ف ُ َ تَّ ُنْ ف ُ َ ِ ُن‬
ّ ِ َّ‫َ ت‬
 ‫ ) جال شلا م ى‬แห่งซีเรีย,
       5. วะฮ์บิน บิน วะฮ์บิน อัล-กอฎีย์ (‫و ه ب ب ن و ه ب‬
                                          ٍ ْ‫َ ُنْ ف ُ ُنْ ف ُ َ ُن‬
ْ‫ُنْ َ ِ ُن‬
   ‫)جا ل قلا ض ى‬
        6. มุหมมัด บิน อัซ-ซาอิบ อัล-กัลบีย์ (‫م ح م دف ُ ب ن‬
                 ั                            ُ ‫ف ُ َ تَّ ُنْ ف‬
ّ ِ ْ‫تَّ ِ ِ ُنْ َ ُن‬
 ‫) جال سلا ئ ب جا ل ك ل ب ى‬
          7. อบู ดาวูด อัน-นะคออีย์ (‫) أ َ ب و دجا ود جال ن خ ع ى‬
                                     ّ ِ َ َّ‫ت‬            ُ ‫ف ُ ُنْ َ ف‬
          8. อิสหาก บิน นะญีห์ อัล-มัลฏีย์ (‫إ ِ س حلا ق ب ن‬
                                               ُ ‫ُنْ َ ف ُ ُنْ ف‬
ّ ِ ْ‫َ ِ ُنْ ٍ ُنْ َ ُن‬
 ‫) ن ج ي ح جا ل م ل ط ى‬
        9. ฆิยาษ บิน อิบรอฮีม อัน-นะคออีย์ (‫غ يلا ث ب ن‬
                                            ُ ‫ِ َ ف ُ ُنْ ف‬
ّ ِ َ َّ‫ُنْ َ ِ ُنْ َ ت‬
 ‫) إ ِ ب رجا ه ي م جال ن خ ع ى‬
      10. อัล-มุฆีเราะฮ์ บิน สะอัด อัล-กูฟีย์ (‫جا ل م غ ي ر ة ب ن‬
                                               ُ ‫َ ُنْ ف ُ ِ ُنْ َ ف ُ ُنْ ف‬
ّ ِ ْ‫ُنْ ٍ ُنْ ُن‬
 ‫) سَ ع د جا ل كف ُ و ف ى‬
          11. อะห์มัด บิน อับดุลลอฮ์ อัล-ญุวัยบารีย์ (‫أ َ ح م د‬
                                                      ُ ‫ُنْ َ ف‬
ّ ِ َ ْ‫ُنْ ف ُ َ ُنْ ِ تَّ ِ ُنْ ف ُ َ ُن‬
 ‫) ب ن ع ب دجال لـ ه جا ل ج و ي بلا ر ى‬
         12. มะอ์มูน บิน อะห์มัด อัล-ฮัรฺวีย์ (‫م أ م و ن ب ن‬
                                               ُ ‫َ ُنْ ف ُ ُنْ ف ُ ُنْ ف‬
 ‫) أ َ حُنْ م د جا ل ه ر و ى‬
ّ ِ ْ‫َ َ ُنْ َ ُن‬
                                                                                13
13. มุหัมมัด บิน อุกกาชะฮ์ อัล-กัรฺมานีย์ (‫م ح م دف ُ ب ن‬
                                                   ُ ‫ف ُ َ تَّ ُنْ ف‬
ّ ِ َ ْ‫َ ُنْ َ ُن‬
 ‫) ع كلا شَ ة جا ل ك ر ملا ن ى‬
                         َّ‫ف ُ ت‬
        14. มุหัมมัด บิน ตะมีม อัล-ฟาเราะยาบีย์ (‫م ح م دف ُ ب ن‬
                                                 ُ ‫ف ُ َ تَّ ُنْ ف‬
ّ ِ َ َ َ ْ‫َ ِ ُنْ ٍ ُن‬
 ‫) ت م ي م جا ل فلا ر يلا ب ى‬
         15. มุหัมมัด บิน ซิยาด อัล-ยัชกุรีย์ (‫م ح م د ب ن‬
                                               ُ ‫ف ُ َ تَّ ف ُ ُنْ ف‬
ّ ِ ُ ‫ِ َ ٍ ُنْ َ ُنْ ف‬
 ‫) ز يلا د جا ل ي ش ك ر ى‬
                    .......... ฯลฯ .........
( อ้างอิงจาก หนังสือ “ ฮะดีษอย่างง่าย” ของ อ. ปราโมทย์
ศรีอุทัย )

       มาถึงตอนนี้ ผู้เขียนต้องการที่จะยกตัวอย่าง ตัวอย่าง
เพื่ อ ให้ เ ห็ น ภาพชั ด ในเรื่ อ งการสื บ ความน่ า เชื่ อ ถื อ ของ
เรื่องๆหนึ่ง ดังต่อไปนี้ : มุสลิมเป็นผู้ที่ละหมาด อย่างน้อย
วั น ละ 5 เวลา และถ้ า เราถามมุ ส ลิ ม ว่ า พวกเขาเอาแบบ
อย่างการละหมาดมาจากใครกัน แน่นอน มุสลิมทุกคนเลย
ก็ว่าได้จะตอบว่า พวกเขาละหมาดตามแบบอย่างของท่าน
นบีมุฮัมหมัด แต่ถ้าเราถามเขากลับไปว่า แล้ว ท่านนบีมุ
ฮัมหมัดมีชีวิตอยู่เมื่อกี่ปีที่แล้วล่ะ มุสลิมคนนั้นก็จ ะตอบว่ า
ประมาณ 1400 กว่ า ปี ที่ แ ล้ ว ถ้ า เราถามต่ อ ไปว่ า “ คุ ณ
อ้างว่าคุณละหมาดตามแบบอย่างของท่านนบีมุฮัมหมัด แต่
คุ ณ ก็ เ กิ ด ไม่ ทั น ท่ า นนบี และคุ ณ อ้ า งได้ อ ย่ า งไรว่ า คุ ณ
ละหมาดตามท่านนบี... คุณไปเห็นท่านนบีละหมาดมาตอน
ไหนกัน ทั้งๆที่เกิดไม่ทัน? ” เมื่อถูกถามเช่นนี้ มุสลิมแทบจะ
ส่วนใหญ่เลยก็ว่าได้ จะลังเลในการตอบ หรือบางคนตอบ
ไม่ ไ ด้ เ ลยว่ า ตกลง เอาเข้ า จริ ง ๆแล้ ว เขาอ้ า งว่ า ละหมาด
ตามท่ า นนบี ไ ด้ อ ย่ า งไรทั้ ง ๆที่ ไ ม่ ไ ด้ พ บเห็ น ว่ า ท่ า นนบี ไ ด้
ละหมาดโดยทำาท่าอย่างไร แต่ถ้าเป็นผู้ที่มีความรู้ถูกถาม
เช่นนี้ เขาก็จะตอบด้วยความมั่นใจว่า “ จริงอยู่ที่เราไม่เห็น
ท่ า นนบี ล ะหมาด เพราะเราเกิ ด คนละสมั ย กั บ ท่ า นนบี แต่
เรามีสายรายงานที่เชื่อถือได้ ที่ได้รายงานเอาไว้ว่าท่านนบี
ได้ ล ะหมาดในลั ก ษณะไหน ทำา ท่ า อย่ า งไหรบ้ า ง โดย
ละเอี ยด ยกตัวอย่า งง่ ายๆเช่น คนที่ 1 เป็นบุค คลที่อ ยู่ใ น

                                                                          14
สมัยเดียวกับท่านนบี และได้เห็นท่านนบีละหมาด และ ตั้ง
ใจสังเกตุด้วยว่าท่านนบีละหมาดอย่างไร จากนั้นคนที่ 1 ก็
มาเล่ า ให้ ค นที่ 2 ฟั ง คนที่ 2 รั บ การบอกเล่ า ถึ ง ลั ก ษณะ
การละหมาดของท่านนบีมา ก็มาเล่าหรือรายงานให้คนที่
3 ฟัง โดยคนที่ 3 รับรายงานมาจากคนที่ 2 ก็มาเล่าให้คน
ที่ 4 ฟัง โดยคนที่ 4 ก็มาเล่าให้คนที่ 5 ฟัง และคนที่ 5 ก็
บั น ทึ ก ในสิ่ ง ที่ ต่ า งๆที่ ต นเองได้ รั บ ฟั ง มาที่ อ้ า งกลั บ ไปหา
ท่านนบี หรือ เหตุการณ์ใดๆก็แล้วแต่ที่เกิดขึ้นในสมัยท่าน
นบี หรื อ หลั ง จากท่ า นนบี โดยยั ง ไม่ ไ ด้ ทำา การตรวจสอบ
ก่อนว่า สิ่งต่างๆที่ตัวเองได้บันทึกเอาไว้นั้นเชื่อถือได้หรือ
ไม่อย่างไร เพียงแต่รับมาบันทึกเอาไว้ก่อน ... รวมถึงเรื่อง
ละหมาดที่กำา ลังพูดถึงอยู่นี้ด้วย ที่ คนที่ 5 ได้รับการบอก
เล่าจากคนที่ 4 และได้บันทึกสิ่งที่ได้รับการบอกเล่าเอาไว้
ในหนังสือบันทึกของตัวเอง และหนังสือบันทึกของคนที่ 5
ก็ได้รับตั้งชื่อว่า ( ยกตัวอย่าง) มุสนัด ของอิหม่ามอะฮฺหมัด
และหนังสือเล่มนี้ก็แพร่กระจายไปทั่วโลก และตกทอดมา
จนถึงยุคเราในปัจจุบันให้ได้ศึกษากัน และหนังสือเล่มนี้ที่
ชื่ อ มุ ส นั ด ของอิ ห ม่ า มอะฮฺ ห มั ด นี่ แ หละที่ เ รี ย กว่ า เป็ น
ตำาราบันทึกฮะดีษ ซึ่งตำาราประเภทนี้มีมากมาย ตามจำานวน
ผู้บันทึก เหมือนกับคนที่ 5 ที่ได้ยกตัวอย่างมาให้ดู โดยที่
ข้อยำ้าว่าผู้ที่บันทึกฮะดีษนั้น จะบันทึกเอาไว้ก่อน โดยไม่ได้
ทำาการตรวจสอบว่าฮะดีษที่ตนเองรับมานั้น เชื่อถือได้หรือ
ไม่ ทั้ ง นี้ เ พราะเป็ น การยากพอสมควรในการที่ จ ะทำา การ
ตรวจสอบได้ ทั น ที เดี๋ ย วนั้ น ด้ว ยเหตุ นี้ ผู้ บั น ทึ ก จึ ง ทำา การ
บันทึกเอาไว้ก่อน ซึ่งผู้ที่ต้องการทำาการตรวจสอบความน่า
เชื่อถื อ ของฮะดี ษ บทนั้ น ก็ ส ามารถทำา ได้ ค ร่ า วๆก็ คื อ นำา ผู้
รายงานทั้งหมดในสายรายงานของฮะดีษบทนั้นมา สมมุติ
ว่ามี 7 คน จากนั้นให้ไปตรวจสอบทั้ง 7 คนนั้นจากตำา รา
บัน ทึก ประวัต ิน ัก รายง านฮะดีษ โดยตรวจดูว่า 7 คนที่
กล่าวมานี้ถูกวิจารณ์เอาไว้อย่างไร ในด้าน ศิลธรรม ( เป็น
ผู้ ที่ทำา บาปใหญ่ หรื อไม่ หรือทำา บาปเล็ ก เป็น ประจำา ) ด้า น
ความจำา ( ความจำา ดี ห รื อ ไม่ หรื อ มี ค วามจำา พอใช้ หรื อ


                                                                        15
ความจำา แย่ หรื อ เกิ ด เป็ น ผู้ ที่ ห ลงๆลื ม ๆในวั ย ชรา ) ด้ า น
ความต่อเนื่อ งระหว่ างบุ ค คลต่ อบุ ค คล ( ทั้ง 7 คนนั้ น เป็น
บุคคลที่สามารถเจอกันและกัน เช่น คนที่ 7 เกิดในสมัยคน
ที่ 6 และมีโอกาศพบเจอกับคนที่ 6 ได้ ( ไม่ใช่ตอนที่คน
ที่ 6 ตาย คนที่ 7 มีอายุเพียง 2 ขวบ เช่นนี้ เกิดปัญหาแน่
เพราะจะเป็นไปได้อย่างไรที่ คนที่ 7 จะไปรับรายงานฮะดี
ษมาจากคนที่ 6 ทั้งๆที่ตัวเอง อายุแค่ 2 ขวบ ในตอนที่คน
ที่ 7 ตาย...และนี่คือความละเอียดของระบบการตรวจสอบ
ความน่าเชื่อถือของบุคคลที่อยู่ในสายรายงานฮะดีษแต่ละ
บท ) โดยที่คนที่ 6 ก็เกิดในสมัยเดียวกับคนที่ 5 และมีโอ
กาศพบเจอกั บ คนที่ 5... ไล่ กั น ไปอย่ า งนี้ จ นถึ ง คนที่ 1
โดยที่คนที่ 1 เป็นผู้ที่เห็น เหตุการณ์ด้วยตัวเอง หรือยินสิ่ง
นั้ น ๆมาด้ ว ยตั ว เอง ) หรื อ เขาเป็ น บุ ค คลที่ มี นิ สั ย โกหก
หรือ เป็นจอมโกหกหรือไม่
       ในตำาราตรวสอบประวัตินักรายงานฮะดีษนั้น จะมีราย
ชื่อต่างๆของบรรดานักรายงานฮะดีษ วันเกิด สถานที่เกิด
วันตาย ชื่ออาจารย์ของเขาที่เขารับหรือเรียนฮะดีษด้วย
ชื่อลูกศิษย์ รวมไปถึงรายละเอียดอื่นๆของนักรายงานคน
นั้น ที่จะมีผลในการตัดสินเขาผู้นั้นว่า เป็นผู้ที่เชื่อถือได้
หรือไม่ ...ระดับความน่าเชื่อถือเขาเขาเป็นเช่นไร... จะ
เชื่อได้มาก หรือ น้อย... หรือ ความจำาพอใช้ หรือ ความ
จำาดีเลิศ ... มาถึงตรงนี้อาจจะมีคำาถามว่า แล้วใครกันที่
เป็นผู้ทำาการบันทึกประวัตินักรายงานฮะดีษ เพราะเป็น
ถือว่าไม่มีเหตุผลที่จะให้นักรายงานฮะดีษเป็นผู้ เขียน
ประวัติตัวเอง เพราะแน่นอน ถ้าเป็นเช่นนั้น แต่ละคนก็จะ
เขียนแต่ในส่วนดีๆของตัวเอง ย่อมไม่มีใครเขียนถึงข้อเสีย
ของตัวเองเป็นแน่ หรือ ถ้าเขียนก็เขียนไม่หมด... ด้วยเหตุ
นี้เองจึงมีกลุ่มบุคคลหนึ่ง ซึงเราสามารถเรียกได้ว่าเป็น
                               ่
คณะกรรมการอิสระที่จะคอยทำาการตรวจสอบประวัตินัก
รายงานฮะดีษให้ได้มากที่สุดเท่าที่จะมากได้ โดยตรวจสอบ
อย่างตรงไปตรงมา โดยที่แต่ละคนในคณะกรรมการอิสระ
นี้จะไม่ใช่แบ่งกันตรวจ แต่จะต่างคนต่างตรวจ เช่น มีคณะ


                                                                 16
กรรมการอยู่ 10 คน โดยทั้ง 10 คนนี้ ก็จะทำาการตรวจ
ประวัติของนาย ก. ที่เป็นนักรายงานฮะดีษ ไม่ใช่ว่า คณะ
กรรมการ 3 คนไปตรวจประวัติของนาย ก. ส่วนอีก 3 คน
ไปตรวจประวัติของนาย ข. ส่วนอีก 3 คนไปตรวจประวัติ
ของนาย ค. ... ไม่ใช่เช่นนี้ แต่คณะกรรมการแต่ละคน
นั้นต่างเป็นอิสระซึ่งกันและกัน ต่างคนต่างก็พยายามตรวจ
ประวัตินักรายงานที่อยู่ในยุคเขาให้มากคนที่สุดเท่าที่จะ
ทำาได้ ซึ่งไม่มใครเลยที่จะรอดพ้นจากการถูกตรวจสอบป
               ี
ประวัติไปได้ ... ใครก็แล้วแต่ที่อ้างว่าได้รับรายงานฮะดีษ
เขาผู้นั้นจะต้องถูกตรวจสอบประวัติโดยละเอียด ด้วยเหตุนี้
เอง ท่านอิบนุฮะญัร ซึ่งเป็นปราชญ์ด้านฮะดีษ และศาสตร์
แห่งการตรวจประวัตินักรายงานฮะดีษ จึงได้เรียบเรียง
ตำาราในด้านนี้ขึ้น เช่น ตำาราเล่มหนึ่งที่มีชื่อว่า ตะฮฺซ ีบ ุต
ตะฮฺซ ีบ ของท่านอิบนุฮะญัร อัล-อัซกอลานีย์ ได้รวบรวม
รายชื่อเอาไว้ถึง 12,455 คน โดยเรียงตามลำาดับอักษร
โดยที่แต่ละคนจะมีวันเกิด วันตาย รายชื่อบรรดาอาจารย์
ของเขา ลูกศิษย์ของเขา เหตุการณ์ต่างๆที่สำาคัญที่เกิดขึ้น
ในชีวิตเขา รวมทั้งความเห็นของบรรดากลุ่มบุคคลที่ได้ไป
สืบเสาะประวัติของเขาผู้นั้นในด้านความน่าเชี่อถือ ว่าเขา
เชื่อถือได้หรือไม่อย่างไร

           ตำาราวิจารณ์นักรายงาน ฮะดีษ หรือผู้ที่เล่าเรื่อง
ต่างๆ มีจำานวนมาก ซึ่งผู้ที่มีความรู้ในภาษาอาหรับสามารถ
ตรวจสอบความน่าเชื่อถือของบุคคลต่างๆได้ ... และวิชาที่
ว่าด้วยการตรวจสอบสิ่งๆหนึ่งที่เกิดขึ้นในอดีตว่าเป็นจริง
หรือไม่ ที่อิสลามมีอยู่นั้น ไม่มศาสนาไหน หรือลัทธิไหน
                                ี
เช่นชีอะฮฺ หรือ วัฒนธรรมไหนมีอย่างที่อิสลามมี ...
เพราะฉะนั้นเรื่องใดๆก็แล้วแต่ในอดีตที่มีการอ้างว่าเกิดขึ้น
เช่นนั้นเช่นนี้ หรือ เป็นอย่างนั้นอย่างนี้และได้รับการตรวจ
สอบโดยบรรดานักวิชาการผู้ที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะ
ด้านตามที่ได้กล่าวไปคร่าวๆในตอนต้นว่าเชื่อถือได้ เช่น
นั้นเรามั่นใจได้เลยว่าสิ่งนั้นเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นจริง


                                                            17
ตอนนี้ขอให้ท่านผู้อ่านย้อนกลับไปที่เรื่องคำาถามที่ว่า
เรารู้ ไ ด้ อ ย่ า งไรว่ า เราละหมาดเหมื อ นกั บ ที่ ท่ า นนบี ไ ด้
ละหมาด ...โดยเราสามารถตอบได้ อ ย่ า งมั่ น ใจว่ า เรา
ละหมาดเหมือ นกั บท่ านนบี อย่ างแน่ นอน เพราะเรามี ส าย
รายงานที่ เ ชื่ อ ถื อ ได้ ที่ สื บ ไปจนถึ ง บุ ค คลที่ เ ห็ น ท่ า นนบี
ละหมาดด้วยตัวเอง โดยได้เฝ้าสังเกตุการละหมาดของท่าน
นบีเป็นอย่างดีโดยละเอียด และได้รายงานกันต่อๆมาดั่งที่
ได้อธิบายไปแล้ว .... และนี่แหละคือขบวนการตรวจสอบ
ความถูกต้อง ความน่าเชื่อถือ
         มาตรงนี้ ต้องการที่จะให้ท่านผู้อ่านได้เห็นตัวอย่างฮะ
ดี ษ ที่ เ ชื่ อ ถื อ ได้ กั น สั ก หนึ่ ง ตั ว อย่ า ง แต่ ข อบอกท่ า นผู้ อ่ า
นก่ อ นน่ ะ ครั บ ว่ า ตั ว ท่ า นนบี นั้ น เป็ น คนอาหรั บ ท่ า นพู ด
ภาษาอาหรั บ เพราะฉะนั้ น คำา พู ดของท่ า นต้ น ฉบั บ จึ ง เป็ น
ภาษาอาหรั บ เพราะฉะนั้ น ที่กล่าวว่า ฮะดีษ ทุก ๆบทที่ เชื่ อ
หรือที่เชื่อถือไม่ได้นั้น นั่นเข้าใจโดยปริยายว่ า ฮะดีษบท
นั้นๆจะมีตัวบทเป็นภาษาอาหรับ แต่การที่ฮะดีษบมหนึ่งบท
ใดมีตัวบทเป็นภาษาอาหรับนั้น ไม่ได้หมายความว่าฮะดีษ
บทนั้นๆจะต้องเชื่อถือได้ เพราะฉะนั้นทั้งฮะดีษที่เชื่อถือได้
และทั้งฮะดีษที่ถูกปลอมขึ้นมาต่างก็มีตัวบทเป็นภาษาด้วย
กั น ทั้ ง สิ้ น แต่ ใดตอนนี้ จ ะเป็ น ตั ว อย่ า งของฮะดี ษ ที่ เ ชื่ อ ถื อ
ได้:

    ท่านบุคอรีย์ได้บันทึกเอาไว้ในตำา ราบันทึกฮะดีษของ
ท่านดังนี้ ...

      ‫حدتَّثنلا عمر بن حفص ، حدثنلا أ َبى ، حدثنلا جال َعمش ، حدثنلا‬
        َ َ َّ‫َ ت‬ ُ ‫َ تَّ َ َ ُنْ ُنْ َ ف‬ ْ‫َ تَّ َ َ ِ ُن‬ ٍ ْ‫َ َ َ ف ُ َ ف ُ ُنْ ف ُ َ ُن‬
   ‫أ َبوصلالح ، عن أ َبى هريرة رضى جاللـه عنه قلال : قلال جالنبى‬
  ّ ِ َّ‫َ َ ت‬    َ َ ُ ‫َ ُنْ ِ ُنْ ف ُ َ ُنْ َ َ َ ِ َ تَّ ف ُ َ ُنْ ف‬ ٍ ِ َ ْ‫ف ُ ُن‬
     ِ َ َ ْ‫َ ِ ِ ُنْ ِ َ ِ تَّ ِ َ ُنْ َ ُن‬
      ‫صلى جاللـه عليه وسلم : تجدف ُ من شرجار جالنلاس يوم جالقِيلامة‬
                                               َ َّ‫تَّ ف ُ َ َ ِ ِ َ َ ت‬ َّ‫َ ت‬
  ٍ ْ‫َ َ ف ُ ِ ِ ُن‬
   ‫عند جاللـه ذجاجالوجهين ، جالذِى يأتى هؤال َء بوجه ، وهؤال َء بوَجه‬
                    ٍ ْ‫ِ ُنْ َ تَّ ِ َ ُنْ َ ُنْ َ ُنْ ِ تَّ ُنْ َ ُنْ ِ ُنْ َ ف ُ ِ ِ َ ُن‬
                                                                                      ...

                                                                                        18
บุคคลที่อยู่ในสายรายงานมี 6 คน โดยไม่นับตัวท่าน
ศาสดานบีมุฮัมหมัด โดยคนที่ 6 ก็คือตัวของท่านอิห ม่า ม
บุค อ รีย ์ ผู้เป็นเจ้าของตำา ราบันทึกฮะดีษ โดยที่ตำา ราของ
ท่ า นเล่ ม นี้ มี ชื่ อ ว่ า ซ อ เ ฮี๊ ย ะ บุ ค อ รี ย ์ และตำา ราเล่ ม นี้ ก็ ไ ด้
แพร่กระจายไปทั่วโลกจนตกทอดมาถึงคนในยุคเราให้ได้
ศึกษากัน ... คนที่ 5 ของสายรายงานฮะดีษนี้มีชื่อว่า อุม ัร ฺ
บิน หัฟ ศ์ ซึ่งท่านก็รับฟังฮะดีษมาจาก หัฟ ศ์ บิน ฆิย าษ
(บิ ด า ข อ ง อุ ม ั ร ฺ ) ซึ่ ง ก็ รั บ ฟั ง ฮะดี ษ มาจาก อั ล -อ ะ อฺ ม ั ช
โดยที่ ท่า นก็ รับ รายงานฮะดี ษมาจาก อ บู ศ อ ลิห ์ ซึ่ง ก็รั บ
รายงานฮะดี ษ บทนี้ ม าจาก อ บู ฮุ ร ็ อ ย เ ร า ะ ฮ์ ร .ฎ . และ
ท่ า น อบู ฮุ ร็ อ ยเราะฮ์ ร.ฎ. ก็ รั บ มาจากท่ า นนบี อี ก ที ซึ่ ง
ท่านนบีก็คือผู้ที่เป็นเจ้าของคำาพูด โดยที่ท่านนบีได้รับการ
วิวรณ์มาจากพระองค์อัลลอฮฺอีกที เพราะท่านนบีมุฮัมหมัด
จะไม่พูดเรื่องราวต่างๆที่เกี่ยวกับศาสนาตามอารมณ์ หรือ
ตามใจชอบ... ไม่ได้เด็ดขาด... แต่ท่านจะได้รับการดลใจ
จากอัลลอฮฺ พระผู้เป็นเจ้าที่แท้จริงให้พูดออกไปเช่นนั้นอีก
ที ... จากสายรายงานข้างต้นเราสามารถเรียงได้ดังนี้ โดย
เริ่มจากอิหม่ามบุคอรีย์ ไล่ไปเรื่อยๆจนถึงท่านนบี:
      1. บุคอรีย์
      2. อุมัรฺ บิน หัฟศ์
      3. หัฟศ์ บิน ฆิยาษ (บิดาของอุมัรฺ)
      4. อัล-อะอฺมช           ั
      5. อบู ศอลิห์
      6. อบู ฮุร็อยเราะฮ์ ร.ฎ.
      7. ท่านนบีย์ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิวะซัลลัม ได้กล่าว
ว่า ...

“ ท่า นจะได้พ บว่า มนุษ ย์ท ี่ช ั่ว ช้า ที่ส ุด ในวัน กิย ามะฮ์
ณ ที่ อ ั ล ล อ ฮ์ ก ็ ค ื อ ผู้ ซ ึ่ ง ตี ส อ ง ห น้ า ! (คื อ ) ผู้ ซ ึ่ ง ไ ป
ห า ค น ห นึ่ ง ด้ ว ย สี ห น้ า แ บ บ ห นึ่ ง แ ล ะ ไ ป ห า อี ก ค น


                                                                                 19
ห นึ่ง ด้ว ย สีห น้า อีก แ บ บ ห นึ่ง ” ... (อิหม่ามบุคอรีย์ได้
บันทึกหะดีษบทนนี้เอาไว้ในเลขที่ 6058)

       ข้อความข้างต้นนี้ เรียกว่า หะดีษ เพราะถูกอ้างว่า
เป็ น คำา พู ด ของท่ า นนบี ย์ มุ หั ม มั ด ศ็ อ ลลั ล ลอฮุ อะลั ย ฮิ ว ะ
ซั ล ลั ม ... นั ก วิ ช าการได้ ต รวจสอบคุ ณ สมบั ติ ข องผู้
รายงานหะดี ษบทนี้ แ ล้ ว พบว่ า ทุ กคนล้ ว นเป็น ผู้ ที่ เ ชื่ อ ถื อ
ได้ , รายงานมาอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง, และข้ อ ความข้ า งต้ น ก็
ปราศจากข้ อ บกพร่ อ ง ... หะดี ษ บทนี้ จึ ง เรี ย กว่ า เป็ น
หะดี ษ เศาะเหี๊ ย ะฮ์ (‫ ) ح د ي ث ص ح ي ح‬หรื อ หะดี ษ ที่ ถู ก ต้ อ ง
                       ٌ ‫َ ِ ُنْ ي ٌ َ ِ ُنْ ي‬
คือ เป็นคำาพูดของท่านนบีย์จริงๆ ...

     ในตอนนี้จะยกตัวอย่างฮะดีษที่เชื่อถือๆไม่ได้มาให้ดู
กัน และเรามาดูกันว่าทำาไมฮะดีษบทนี้จึงเชื่อถือไม่ได้

      ท่านอัด-ดารุกุฏนีย์ ได้บันทึกไว้ว่า ...

                ‫حدتَّثنلا عبدجالصمدِ بن على ، ثنلا إ ِبرجاهيم بن أ َحُنْمد بن‬
               ِ ْ‫َ َ ُن‬     ُ ‫َ َ َ َ ُنْ ف ُ تَّ َ ُنْ ف ُ َ ِ ،ٍّ َ َ ُنْ َ ِ ُنْ ف ُ ُنْ ف‬
    ٍ ْ‫َ ُنْ َ َ َ َ ف ُ َ َ ُنْ ف ُ ف ُ ُنْ َ َ ُنْ ِ َ ِ ٍ َ َ ف ُ َ تَّ ف ُ ُنْ ف ُ َ ُن‬
     ‫مروجان ، ثنلا عمر بن عثملان بن علاصم ، ثنلا محمد بن فضل‬
      ‫عن أ َبيه عن طلاووس ، عن جلابر قلال : قلال رسف ُول جاللـه‬
     ِ َّ‫َ َ َ ُنْ ف ُ ت‬    َ َ ٍ ِ َ ْ‫َ ُن‬ ٍ ْ‫َ ُنْ ِ ُنْ ِ َ ُنْ َ ف ُ ُن‬
      ‫صلى جاللـه عليه وسلم : ال َ يقرأجالحلائض وال َ جالنفسلاء من‬
      َ ِ ُ ‫ّ َ َ ف‬    َ ُ ‫َ ُنْ َ ِ ُنْ َ ِ ف‬ َ َّ‫تَّ ف ُ َ َ ُنْ ِ َ َ ت‬ َّ‫َ ت‬
                                                                           ‫جالقرنآن شيـئلا‬
                                                                             ً‫ُنْ ف ُ ُنْ ِ َ ُنْ ا‬



      บุคคลที่อยู่ในสายรายงานมี 8 คน โดยไม่นับตัวท่าน
ศาสดานบีมุฮัมหมัด โดยคนที่ 8 ก็คือตัวของท่านอิห ม่า ม
อัด -ดารุก ุฏ นีย ์ ผู้เป็นเจ้าของตำาราบันทึกฮะดีษ และตำารา
เล่มนี้ก็ได้แพร่กระจายไปทั่วโลกจนตกทอดมาถึงคนในยุค
เราให้ ไ ด้ ศึ ก ษากั น ... คนที่ 7 ของสายรายงานฮะดี ษ นี้

                                                                                              20
มีชื่อว่า อับ ดุศ ซอมัด บิน อะลีย ์ ซึ่งท่านก็รับฟังฮะดีษมา
จาก อิบ รอ ฮีม บิน อ ะห์ม ัด บิน มัร ฺว า น ซึ่งก็รับฟังฮะดี
ษมาจาก อุ มั รฺ บิ น อุ ษ ม า น บิ น อ า ศิ ม โดยที่ ท่ า นก็ รั บ
รายงานฮะดีษมาจาก มุห ัม มัด บิน ฟัฎ ล์ ซึ่งท่านก็รับฟัง
ฮะดี ษ มาจาก อ ะ ฏี ย ะ ฮ์ บิ น อุ ม ั ร ฺ (บิ ด า ข อ ง มุ ห ั ม มั ด
บิน ฟัฎ ล์ ) ซึ่งท่านก็รับฟังฮะดีษมาจาก ฏ อ วูซ บิน กัย
ซ า น ซึ่ง ก็รั บรายงานฮะดี ษ บทนี้ ม าจาก ญ า บิ ร ฺ บิ น อับ
ดุล ลอฮ์ ร.ฎ. และท่านญาบิรฺ บิน อับดุลลอฮ์ ร.ฎ. ก็รับมา
จากท่ า นนบี อี ก ที ซึ่ ง ท่ า นนบี ก็ คื อ ผู้ ที่ เ ป็ น เจ้ า ของคำา พู ด
โดยที่ท่านนบีได้รับการวิวรณ์มาจากพระองค์อัลลอฮฺอีกที
เพราะท่ า นนบี มุ ฮัม หมัด จะไม่ พู ด เรื่ อ งราวต่ า งๆที่ เ กี่ ย วกั บ
ศาสนาตามอารมณ์ หรื อ ตามใจชอบ... ไม่ไ ด้ เ ด็ ด ขาด...
แต่ท่านจะได้ รับ การดลใจจากอั ลลอฮฺ พระผู้เ ป็ น เจ้ า ที่แ ท้
จริงให้พูดออกไปเช่นนั้นอีกที ... จากสายรายงานข้างต้น
เราสามารถเรียงได้ดังนี้ โดยเริ่มจากอิหม่ามอัด-ดารุกุฏนีย์
ไล่ไปเรื่อยๆจนถึงท่านนบี:

          ลักษณะการรายงานและข้อความของหะดีษบทนี้
เป็นอย่างนี้ ...
          1. อัด-ดารุกุฏนีย์
          2. อับดุศ ซอมัด บิน อะลีย์
          3. อิบรอฮีม บิน อะห์มด บิน มัรฺวาน
                                    ั
          4. อุมัรฺ บิน อุษมาน บิน อาศิม
          5. มุหมมัด บิน ฟัฎล์
                  ั
          6. อะฏี ย ะฮ์ บิ น อุ มั รฺ (บิ ด าของมุ หั ม มั ด บิ น
ฟัฎล์)
          7. ฏอวูซ บิน กัยซาน
          8. ญาบิรฺ บิน อับดุลลอฮ์ ร.ฎ.
          9. ท่ า นรอซู้ ลุ ล ลอฮ์ ศ็ อ ลลั ล ลอฮุ อะลั ย ฮิ ว ะ
ซัลลัม ได้กล่าวว่า ...




                                                                          21
“ ห้ า ม ส ต รี ท ี่ ก ำา ลั ง มี ป ร ะ จำา เ ดื อ น แ ล ะ ส ต รี ท ี่
กำา ลั ง มี น ิฟ า ส (เ ลือ ด ห ลัง จ า ก ค ล อ ด บุ ต ร ) อ่า น ส่ ว น
ใดของอัล -กุร ฺอ ่า นเป็น อัน ขาด ” ...
       (ท่ า อิ ห ม่ า มอั ด -ดารุ กุ ฏ นี ย์ ได้ บั น ทึ ก ฮะดี ษ บทนี้ ใ น
หนังสือของท่านชื่อ สุนัน อัด-ดารุกุฏนีย์, โดยได้บันทึกหะ
ดีษบทนนี้เอาไว้ในเล่มที่ 2 หน้าที่ 87)

         ข้อความข้างต้นนี้ เรียกว่า หะดีษ เพราะถูกอ้างว่า
เป็ น คำา พู ด ของท่ า นรอซู้ ลุ ล ลอฮ์ ศ็ อ ลลั ล ลอฮุ อะลั ย ฮิ ว ะ
ซัลลัม ... แต่เมื่อนักวิชาการได้ตรวจสอบดูแล้ว ปรากฏว่า
บุ ค คลหมายเลข 5 ของสายรายงานหะดี ษ บทนี้ คื อ
“มุห ัม มัด บิน ฟัฎ ล์” ถูกวิจารณ์ว่า เป็น จอมโกหก ซึ่ง
ประวัติของเขาผู้นี้ถูกบันทึกเอาไว้ในหนังสือ “ตักรีบ อัต-
ตะฮ์ซีบ” เล่มที่ 2 หน้า 200                 ดังนั้ น หะดีษ บทนี้จึ ง
มิใช่คำาเป็นคำาพูดของท่านนบีย์อย่างแท้จริง ดังที่ถูกอ้าง ...
นั่ น ก็ ห มายความว่ า ฮะดี ษ บทนี้ ไ ม่ อ าจที่ จ ะนำา มาเป็ น หลั ก
ฐานเพื่อยืนยัน หรือปฏิเสธ หรือ เพื่อพิสูจน์สิ่งหนึ่งสิ ั่งใด
ได้ ... เมื่อเป็นเช่นนี้ เราจึงได้รับบทเรียนว่า ฮะดีษบทไหน
ก็ ต าม ที่ ไ ด้ รั บ การต รวจสอ บแล้ ว ว่ า เชื่ อ ถื อ ได้ นั่ น ก็
หมายความว่า สิ่งนั้นๆ หรือเหตุการณ์นั้น เป็นสิ่งที่เกิดขึ้น
จริ ง ยกตั ว อย่ า งเช่ น ฮะดี ษ ต่ า งๆที่ ยื น ยั น ว่ า ท่ า นนบี มุ ฮั ม
หมัดได้แสดงปาฏิหาริย์ เพื่อยืนยันถึงความเป็ นศาสนฑูต
ที่แท้จริ ง ที่มาจากพระผู้ เ ป็ น เจ้ า เช่น ได้เกิดปฏิห าริ ย์ขึ้ น
จากอาหารและเครื่องดื่มที่เพิ่มขึ้นหลายครั้ง ขณะที่ท่าน
เราะซูล ได้ให้บรรดาซอฮาบะฮ์ มารับประทานอาหาร แต่
อาหารนั้นมีจำานวนไม่เพียงพอ จำากัดประมาณเพียงสิบคน
ท่านเราะซูล ได้วางมือของท่าน หรือพ่นนำ้าลาย(แผ่วๆ)ไป
ที่อาหารนั้น จากนั้นท่านได้ขอดุอาอ์ต่ออัลลอฮ์ซุบฮานะฮู
วะตะอาลา เพื่อ ให้ อ าหารนั้ น มี (บะรอกะฮ์ ) ศิริม งคล จาก
นั้นทหารทั้งกองทัพได้กินกันอย่างถ้วนหน้า และอาหารนั้น
กลั บ ไม่ พ ร่ อ งหรื อ ลดลงเลย เหตุ ก ารณ์ นี้ ไ ด้ เ กิ ด ขึ้ น ใน
สงครามคอนดัก ขณะที่ญาบิร บินอับดิลลาฮ ร่อฎิยัลลอฮุ


                                                                          22
แนวทางศึกษาอิสลามให้ได้ซึ่งคำสอนที่แท้จริง
แนวทางศึกษาอิสลามให้ได้ซึ่งคำสอนที่แท้จริง

More Related Content

What's hot

ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูJani Kp
 
พราหมณ์
พราหมณ์พราหมณ์
พราหมณ์thnaporn999
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูJani Kp
 
คู่มือเพื่อความเข้าใจศาสนาอิสลามพร้อมภาพประกอบฉบับย่อ
 คู่มือเพื่อความเข้าใจศาสนาอิสลามพร้อมภาพประกอบฉบับย่อ  คู่มือเพื่อความเข้าใจศาสนาอิสลามพร้อมภาพประกอบฉบับย่อ
คู่มือเพื่อความเข้าใจศาสนาอิสลามพร้อมภาพประกอบฉบับย่อ Islamic Invitation
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์Padvee Academy
 
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล                โดย ครูอัมพรศาสนาสากล                โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพรampy48
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)Padvee Academy
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาPadvee Academy
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อPadvee Academy
 
ใบความรู้ศาสนาคริสต์
ใบความรู้ศาสนาคริสต์ใบความรู้ศาสนาคริสต์
ใบความรู้ศาสนาคริสต์Proud N. Boonrak
 

What's hot (20)

360
360360
360
 
ฮินดู
ฮินดูฮินดู
ฮินดู
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
Buddha
BuddhaBuddha
Buddha
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
444
444444
444
 
พราหมณ์
พราหมณ์พราหมณ์
พราหมณ์
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
คู่มือเพื่อความเข้าใจศาสนาอิสลามพร้อมภาพประกอบฉบับย่อ
 คู่มือเพื่อความเข้าใจศาสนาอิสลามพร้อมภาพประกอบฉบับย่อ  คู่มือเพื่อความเข้าใจศาสนาอิสลามพร้อมภาพประกอบฉบับย่อ
คู่มือเพื่อความเข้าใจศาสนาอิสลามพร้อมภาพประกอบฉบับย่อ
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
 
Mazhab
MazhabMazhab
Mazhab
 
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล                โดย ครูอัมพรศาสนาสากล                โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)
 
590806 บทที่-5-แก้ไขแล้ว
590806 บทที่-5-แก้ไขแล้ว590806 บทที่-5-แก้ไขแล้ว
590806 บทที่-5-แก้ไขแล้ว
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
 
Al kafi
Al kafiAl kafi
Al kafi
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อ
 
ใบความรู้ศาสนาคริสต์
ใบความรู้ศาสนาคริสต์ใบความรู้ศาสนาคริสต์
ใบความรู้ศาสนาคริสต์
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
 

Viewers also liked

การลงของอัลลอฮฺ
การลงของอัลลอฮฺการลงของอัลลอฮฺ
การลงของอัลลอฮฺMuttakeen Che-leah
 
วิเคราะห์ความโอ้อวด
วิเคราะห์ความโอ้อวดวิเคราะห์ความโอ้อวด
วิเคราะห์ความโอ้อวดMuttakeen Che-leah
 
คิดถึงอิสลามยามมาร์กไม่อยู่
คิดถึงอิสลามยามมาร์กไม่อยู่คิดถึงอิสลามยามมาร์กไม่อยู่
คิดถึงอิสลามยามมาร์กไม่อยู่Muttakeen Che-leah
 
การทำงานศาสนาด้านต่างๆ ในแง่ของการให้ความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับอิสลาม
การทำงานศาสนาด้านต่างๆ ในแง่ของการให้ความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับอิสลามการทำงานศาสนาด้านต่างๆ ในแง่ของการให้ความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับอิสลาม
การทำงานศาสนาด้านต่างๆ ในแง่ของการให้ความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับอิสลามMuttakeen Che-leah
 
พระเยซูเป็นพระเจ้าไม่ได้อย่างแน่นอน ด้วยเงื่อนไขบังคับและเงื่อนไขจำเป็น
พระเยซูเป็นพระเจ้าไม่ได้อย่างแน่นอน ด้วยเงื่อนไขบังคับและเงื่อนไขจำเป็นพระเยซูเป็นพระเจ้าไม่ได้อย่างแน่นอน ด้วยเงื่อนไขบังคับและเงื่อนไขจำเป็น
พระเยซูเป็นพระเจ้าไม่ได้อย่างแน่นอน ด้วยเงื่อนไขบังคับและเงื่อนไขจำเป็นMuttakeen Che-leah
 
เหตุผลหรือข้ออ้างลับที่ไม่ถูกเปิดเผย
เหตุผลหรือข้ออ้างลับที่ไม่ถูกเปิดเผยเหตุผลหรือข้ออ้างลับที่ไม่ถูกเปิดเผย
เหตุผลหรือข้ออ้างลับที่ไม่ถูกเปิดเผยMuttakeen Che-leah
 
บันทึกย่อที่ไม่ได้จัดหมวดหมู่
บันทึกย่อที่ไม่ได้จัดหมวดหมู่บันทึกย่อที่ไม่ได้จัดหมวดหมู่
บันทึกย่อที่ไม่ได้จัดหมวดหมู่Muttakeen Che-leah
 
ในการสนทนากับชาวต่างศาสนิกนั้น มีหลายครั้งด้วยกันที่อีกฝ่ายจะยกข้อความมายาว ซ...
ในการสนทนากับชาวต่างศาสนิกนั้น มีหลายครั้งด้วยกันที่อีกฝ่ายจะยกข้อความมายาว ซ...ในการสนทนากับชาวต่างศาสนิกนั้น มีหลายครั้งด้วยกันที่อีกฝ่ายจะยกข้อความมายาว ซ...
ในการสนทนากับชาวต่างศาสนิกนั้น มีหลายครั้งด้วยกันที่อีกฝ่ายจะยกข้อความมายาว ซ...Muttakeen Che-leah
 
เดินทางโดยไม่มีมะฮฺรอม
เดินทางโดยไม่มีมะฮฺรอมเดินทางโดยไม่มีมะฮฺรอม
เดินทางโดยไม่มีมะฮฺรอมMuttakeen Che-leah
 
ผู้ก่อการร้ายจะต้องเป็นมุสลิมเท่านั้นหรือ
ผู้ก่อการร้ายจะต้องเป็นมุสลิมเท่านั้นหรือผู้ก่อการร้ายจะต้องเป็นมุสลิมเท่านั้นหรือ
ผู้ก่อการร้ายจะต้องเป็นมุสลิมเท่านั้นหรือMuttakeen Che-leah
 
ถามให้คิดสะกิดใจ Complete
ถามให้คิดสะกิดใจ Completeถามให้คิดสะกิดใจ Complete
ถามให้คิดสะกิดใจ CompleteMuttakeen Che-leah
 
การเวียนว่ายตายเกิด
การเวียนว่ายตายเกิดการเวียนว่ายตายเกิด
การเวียนว่ายตายเกิดMuttakeen Che-leah
 
เดินทางโดยไม่มีมะฮฺรอม.Doc
 เดินทางโดยไม่มีมะฮฺรอม.Doc  เดินทางโดยไม่มีมะฮฺรอม.Doc
เดินทางโดยไม่มีมะฮฺรอม.Doc Muttakeen Che-leah
 

Viewers also liked (18)

การลงของอัลลอฮฺ
การลงของอัลลอฮฺการลงของอัลลอฮฺ
การลงของอัลลอฮฺ
 
วิเคราะห์ความโอ้อวด
วิเคราะห์ความโอ้อวดวิเคราะห์ความโอ้อวด
วิเคราะห์ความโอ้อวด
 
คิดถึงอิสลามยามมาร์กไม่อยู่
คิดถึงอิสลามยามมาร์กไม่อยู่คิดถึงอิสลามยามมาร์กไม่อยู่
คิดถึงอิสลามยามมาร์กไม่อยู่
 
การทำงานศาสนาด้านต่างๆ ในแง่ของการให้ความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับอิสลาม
การทำงานศาสนาด้านต่างๆ ในแง่ของการให้ความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับอิสลามการทำงานศาสนาด้านต่างๆ ในแง่ของการให้ความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับอิสลาม
การทำงานศาสนาด้านต่างๆ ในแง่ของการให้ความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับอิสลาม
 
ค็อฏฏ๊อบ.Doc
 ค็อฏฏ๊อบ.Doc  ค็อฏฏ๊อบ.Doc
ค็อฏฏ๊อบ.Doc
 
พระเยซูเป็นพระเจ้าไม่ได้อย่างแน่นอน ด้วยเงื่อนไขบังคับและเงื่อนไขจำเป็น
พระเยซูเป็นพระเจ้าไม่ได้อย่างแน่นอน ด้วยเงื่อนไขบังคับและเงื่อนไขจำเป็นพระเยซูเป็นพระเจ้าไม่ได้อย่างแน่นอน ด้วยเงื่อนไขบังคับและเงื่อนไขจำเป็น
พระเยซูเป็นพระเจ้าไม่ได้อย่างแน่นอน ด้วยเงื่อนไขบังคับและเงื่อนไขจำเป็น
 
เหตุผลหรือข้ออ้างลับที่ไม่ถูกเปิดเผย
เหตุผลหรือข้ออ้างลับที่ไม่ถูกเปิดเผยเหตุผลหรือข้ออ้างลับที่ไม่ถูกเปิดเผย
เหตุผลหรือข้ออ้างลับที่ไม่ถูกเปิดเผย
 
บันทึกย่อที่ไม่ได้จัดหมวดหมู่
บันทึกย่อที่ไม่ได้จัดหมวดหมู่บันทึกย่อที่ไม่ได้จัดหมวดหมู่
บันทึกย่อที่ไม่ได้จัดหมวดหมู่
 
Pramote maolid
Pramote maolidPramote maolid
Pramote maolid
 
ในการสนทนากับชาวต่างศาสนิกนั้น มีหลายครั้งด้วยกันที่อีกฝ่ายจะยกข้อความมายาว ซ...
ในการสนทนากับชาวต่างศาสนิกนั้น มีหลายครั้งด้วยกันที่อีกฝ่ายจะยกข้อความมายาว ซ...ในการสนทนากับชาวต่างศาสนิกนั้น มีหลายครั้งด้วยกันที่อีกฝ่ายจะยกข้อความมายาว ซ...
ในการสนทนากับชาวต่างศาสนิกนั้น มีหลายครั้งด้วยกันที่อีกฝ่ายจะยกข้อความมายาว ซ...
 
เดินทางโดยไม่มีมะฮฺรอม
เดินทางโดยไม่มีมะฮฺรอมเดินทางโดยไม่มีมะฮฺรอม
เดินทางโดยไม่มีมะฮฺรอม
 
Bidah
BidahBidah
Bidah
 
ผู้ก่อการร้ายจะต้องเป็นมุสลิมเท่านั้นหรือ
ผู้ก่อการร้ายจะต้องเป็นมุสลิมเท่านั้นหรือผู้ก่อการร้ายจะต้องเป็นมุสลิมเท่านั้นหรือ
ผู้ก่อการร้ายจะต้องเป็นมุสลิมเท่านั้นหรือ
 
ทาส1
ทาส1ทาส1
ทาส1
 
Radd qardjed
Radd qardjedRadd qardjed
Radd qardjed
 
ถามให้คิดสะกิดใจ Complete
ถามให้คิดสะกิดใจ Completeถามให้คิดสะกิดใจ Complete
ถามให้คิดสะกิดใจ Complete
 
การเวียนว่ายตายเกิด
การเวียนว่ายตายเกิดการเวียนว่ายตายเกิด
การเวียนว่ายตายเกิด
 
เดินทางโดยไม่มีมะฮฺรอม.Doc
 เดินทางโดยไม่มีมะฮฺรอม.Doc  เดินทางโดยไม่มีมะฮฺรอม.Doc
เดินทางโดยไม่มีมะฮฺรอม.Doc
 

Similar to แนวทางศึกษาอิสลามให้ได้ซึ่งคำสอนที่แท้จริง

โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555Panda Jing
 
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสารพระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสารJack Like
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์pentanino
 
หนทางสสะลาฟียฺ
หนทางสสะลาฟียฺหนทางสสะลาฟียฺ
หนทางสสะลาฟียฺMuttakeen Che-leah
 
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่งพัน พัน
 
อิสลามกับคำถามที่คุณอยากรู้คำตอบ
อิสลามกับคำถามที่คุณอยากรู้คำตอบอิสลามกับคำถามที่คุณอยากรู้คำตอบ
อิสลามกับคำถามที่คุณอยากรู้คำตอบKumobarick Achiroki
 
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต) พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต) niralai
 
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้นบทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้นGawewat Dechaapinun
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาpentanino
 
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new 1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
พระไพศาล วิสาโล
พระไพศาล   วิสาโลพระไพศาล   วิสาโล
พระไพศาล วิสาโลPadvee Academy
 
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดpentanino
 
พุทธศาสนากับโหราศาสตร์
พุทธศาสนากับโหราศาสตร์พุทธศาสนากับโหราศาสตร์
พุทธศาสนากับโหราศาสตร์PhusitSudhammo
 
อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์sangworn
 
วัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยวัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยbabyoam
 

Similar to แนวทางศึกษาอิสลามให้ได้ซึ่งคำสอนที่แท้จริง (20)

โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
 
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสารพระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
 
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
 
หนทางสสะลาฟียฺ
หนทางสสะลาฟียฺหนทางสสะลาฟียฺ
หนทางสสะลาฟียฺ
 
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
 
590802 บทที่-2-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-2-แก้ไขแล้ว590802 บทที่-2-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-2-แก้ไขแล้ว
 
Al kafi
Al kafiAl kafi
Al kafi
 
อิสลามกับคำถามที่คุณอยากรู้คำตอบ
อิสลามกับคำถามที่คุณอยากรู้คำตอบอิสลามกับคำถามที่คุณอยากรู้คำตอบ
อิสลามกับคำถามที่คุณอยากรู้คำตอบ
 
Chapter2
Chapter2Chapter2
Chapter2
 
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต) พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
 
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้นบทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
 
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new 1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new
 
พระไพศาล วิสาโล
พระไพศาล   วิสาโลพระไพศาล   วิสาโล
พระไพศาล วิสาโล
 
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
 
พุทธศาสนากับโหราศาสตร์
พุทธศาสนากับโหราศาสตร์พุทธศาสนากับโหราศาสตร์
พุทธศาสนากับโหราศาสตร์
 
My spiritual journey
My spiritual journeyMy spiritual journey
My spiritual journey
 
อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์
 
วัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยวัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทย
 

More from Muttakeen Che-leah

เดินทางโดยไม่มีมะฮฺรอม.Doc
 เดินทางโดยไม่มีมะฮฺรอม.Doc  เดินทางโดยไม่มีมะฮฺรอม.Doc
เดินทางโดยไม่มีมะฮฺรอม.Doc Muttakeen Che-leah
 
วิจารณ์เวียนว่ายตายเิกด
วิจารณ์เวียนว่ายตายเิกดวิจารณ์เวียนว่ายตายเิกด
วิจารณ์เวียนว่ายตายเิกดMuttakeen Che-leah
 
วิเคราะห์ฮะดีษ
วิเคราะห์ฮะดีษวิเคราะห์ฮะดีษ
วิเคราะห์ฮะดีษMuttakeen Che-leah
 
ลัทธิภาคีนิยมในรั้วมหาวิทยาลัย
ลัทธิภาคีนิยมในรั้วมหาวิทยาลัยลัทธิภาคีนิยมในรั้วมหาวิทยาลัย
ลัทธิภาคีนิยมในรั้วมหาวิทยาลัยMuttakeen Che-leah
 
มาตรวจสอบอารมณ์กันก่อนที่จะวิเคราะห์
มาตรวจสอบอารมณ์กันก่อนที่จะวิเคราะห์มาตรวจสอบอารมณ์กันก่อนที่จะวิเคราะห์
มาตรวจสอบอารมณ์กันก่อนที่จะวิเคราะห์Muttakeen Che-leah
 
แผนที่ตรรกะ
แผนที่ตรรกะแผนที่ตรรกะ
แผนที่ตรรกะMuttakeen Che-leah
 
ตรรกเอาความเป็นรูปธรรม
ตรรกเอาความเป็นรูปธรรมตรรกเอาความเป็นรูปธรรม
ตรรกเอาความเป็นรูปธรรมMuttakeen Che-leah
 
ตรรก และ เหตุผลวิบัติ
ตรรก และ เหตุผลวิบัติตรรก และ เหตุผลวิบัติ
ตรรก และ เหตุผลวิบัติMuttakeen Che-leah
 
เล่ห์ชัยฏอน
เล่ห์ชัยฏอนเล่ห์ชัยฏอน
เล่ห์ชัยฏอนMuttakeen Che-leah
 
ถลกหนังไซออนนีส
ถลกหนังไซออนนีสถลกหนังไซออนนีส
ถลกหนังไซออนนีสMuttakeen Che-leah
 
แนวทางของนักปราชญ์ในการพิจารณาตัวบทฮะดีษ
แนวทางของนักปราชญ์ในการพิจารณาตัวบทฮะดีษแนวทางของนักปราชญ์ในการพิจารณาตัวบทฮะดีษ
แนวทางของนักปราชญ์ในการพิจารณาตัวบทฮะดีษMuttakeen Che-leah
 

More from Muttakeen Che-leah (16)

ทุกศาสนา
ทุกศาสนาทุกศาสนา
ทุกศาสนา
 
เดินทางโดยไม่มีมะฮฺรอม.Doc
 เดินทางโดยไม่มีมะฮฺรอม.Doc  เดินทางโดยไม่มีมะฮฺรอม.Doc
เดินทางโดยไม่มีมะฮฺรอม.Doc
 
วิจารณ์เวียนว่ายตายเิกด
วิจารณ์เวียนว่ายตายเิกดวิจารณ์เวียนว่ายตายเิกด
วิจารณ์เวียนว่ายตายเิกด
 
วิเคราะห์ฮะดีษ
วิเคราะห์ฮะดีษวิเคราะห์ฮะดีษ
วิเคราะห์ฮะดีษ
 
ลัทธิภาคีนิยมในรั้วมหาวิทยาลัย
ลัทธิภาคีนิยมในรั้วมหาวิทยาลัยลัทธิภาคีนิยมในรั้วมหาวิทยาลัย
ลัทธิภาคีนิยมในรั้วมหาวิทยาลัย
 
มาตรวจสอบอารมณ์กันก่อนที่จะวิเคราะห์
มาตรวจสอบอารมณ์กันก่อนที่จะวิเคราะห์มาตรวจสอบอารมณ์กันก่อนที่จะวิเคราะห์
มาตรวจสอบอารมณ์กันก่อนที่จะวิเคราะห์
 
แผนที่ตรรกะ
แผนที่ตรรกะแผนที่ตรรกะ
แผนที่ตรรกะ
 
ตรรกเอาความเป็นรูปธรรม
ตรรกเอาความเป็นรูปธรรมตรรกเอาความเป็นรูปธรรม
ตรรกเอาความเป็นรูปธรรม
 
ตรรก และ เหตุผลวิบัติ
ตรรก และ เหตุผลวิบัติตรรก และ เหตุผลวิบัติ
ตรรก และ เหตุผลวิบัติ
 
Names list of_logical_fallacy
Names list of_logical_fallacyNames list of_logical_fallacy
Names list of_logical_fallacy
 
Guide of association
Guide of associationGuide of association
Guide of association
 
เล่ห์ชัยฏอน
เล่ห์ชัยฏอนเล่ห์ชัยฏอน
เล่ห์ชัยฏอน
 
ถลกหนังไซออนนีส
ถลกหนังไซออนนีสถลกหนังไซออนนีส
ถลกหนังไซออนนีส
 
Pramote tarorveah
Pramote tarorveahPramote tarorveah
Pramote tarorveah
 
แนวทางของนักปราชญ์ในการพิจารณาตัวบทฮะดีษ
แนวทางของนักปราชญ์ในการพิจารณาตัวบทฮะดีษแนวทางของนักปราชญ์ในการพิจารณาตัวบทฮะดีษ
แนวทางของนักปราชญ์ในการพิจารณาตัวบทฮะดีษ
 
รับน้อง
รับน้องรับน้อง
รับน้อง
 

แนวทางศึกษาอิสลามให้ได้ซึ่งคำสอนที่แท้จริง

  • 1. แนวทางการศึกษาอิสลามเพื่อให้ได้มาซึ่งคำา สอนที่แท้จริง โดย อ. ชะรีฟ วงศ์เสงี่ยม บทความนี้เขียนขึ้นเพื่อเป็นแนวทางแก่ผู้ที่ ต้องการที่จะศึกษาอิสลามด้วยความเป็นธรรมและด้วยใจที่ ปราศจากอคติ ทั้งผู้ที่เป็นมุสลิม และไม่ใช่มุสลิม เพื่อให้ได้ มาซึ่งหลักคำาสอนที่แท้จริงของอิสลาม เพราะหลายต่อ หลายครั้งด้วยกันที่อิสลาม ถูกโจมตี ใส่ร้าย อีกทั้งบิดเบือน หรืออาจจะถูกนำาเสนออย่างผิดๆ จะโดยตััั้งใจ หรือ รู้ เท่าไม่ถึงการณ์ก็ตาม ซึงเป็นเหตุทำาให้เกิดความเข้าใจที่ ่ คลาดเคลื่อนต่อคนโดยทั่วไป อันเป็นเหตุที่นำาไปสู่ความ เกลียดชัง ที่มีต่ออิสลาม ทั้งนี้ก็เพราะว่าผู้ที่เขียนหนังสือ ต่างๆ หรือผู้นำาเสนอข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวกับอิสลามไป เสนอนั้น ไม่รู้ถึงขั้นตอนที่ถูกต้องในการศึกษาอิสลาม อัน จะได้มาซึ่งหลักคำาสอนของอิสลามที่แท้จริง และถูกต้อง อีกทั้งเชื่อถือได้ ตอนนี้ถ้าเราจะตั้งเป็นคำาถามขึ้นมาว่า แล้วคำาสอนของศาสนาอิสลามที่แท้จริง ที่เชือถือได้ว่าเป็น ่ คำาสอนของอิสลามจริงๆนั้น จะหาได้จากที่ไหนกัน และจะ หาแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้ เกี่ยวกับอิสลาม จากที่ไหน คำา ตอบก็คือ หลักคำาสอนของอิสลามที่แท้จริงนั้น มีที่มาจาก สองแหล่งหลักๆด้วยกัน นั้นก็คือ: 1. คัมภีร์อัล-กุรอาน ทั้งนี้เพราะว่าท่านศาสดามุฮัมหมัด นั้นได้รับคัมภีร์อัล-กุรอานมาจากพระองค์อัลลอฮฺ พระผู้ เป็นเจ้าที่แท้จริง และยังสามารถพิสูจน์ได้อีกด้วยว่า คัมภีร์ อัล-กุรอานนี้เป็นคัมภีร์ที่มาจากพระผู้เป็นเจ้าจริง ไม่ใช่สิ่ง ที่มุฮัมหมัดเขียนขึ้น หรือแต่งขึ้นมาเอง คัมภีร์อัล-กุรอาน เป็นพระดำารัสที่มาจากจากพระผู้เป็นเจ้า ร้อยเปอร์เซ็น ไม่มีคำาพูดของมนุษย์เจือปนเลยแม้แต่น้อย คัมภีร์นี้ได้ถูก 1
  • 2. นำามาให้มุฮัมหมัดโดย ทูตญิบรีล ใช้ระยะเวลาทั้งหมดราว 23 ปีในการประทาน จึงครบถ้วนสมบูรณ์ ข้างต้นนี้เป็น ข้อมูลเคร่าๆเกี่ยวกับคัมภีร์อัล-กุรอาน และ 2. ฮะดีษ อันเป็น หลักคำาสอนที่มาจากท่านศาสดามุฮัม หมัด ไม่ว่าจะเป็นคำาพูด การกระทำา หรือ การยอมรับของ ท่านในสิ่งหนึ่งสิ่งใดก็ตาม และการยอมรับของท่านก็คือ การนิ่งเฉย ไม่ว่ากล่าวอะไร เมื่อเห็นใครกระทำาสิ่งหนึ่งสิ่ง ใด โดยอย่าเข้าใจผิดไปว่าท่านศาสดามุฮัมหมัดเป็นผู้ ตัดสินฟันธงเอาเอง ว่าต้องเป็นอย่างนั้นอย่างนี้...เปล่าเลย หากแต่ว่าท่านศาสดามุฮัมหมัดได้รับการดลใจจากอัลลอฮฺ อีกที เพราะฉะนั้นทั้งอัล- กุรอาน และฮะดีษจึงมาจา กอัลลอฮฺพระผู้เป็นเจ้าที่แท้จริง เพียงแต่ว่าในฮะดีษนั้น ท่านศาสดามุฮัมหมัดพูดในสิ่งที่ได้รับการดลใจจากอัลลอฮฺ ออกมาเป็นคำาพูดของท่านเอง แต่อัล-กุรอานนั้น พระองค์ อัลลอฮฺดำารัสมาอย่างไหน ท่านศาสดามุฮัมหมัดก็จะมานำา บอกต่อ แบบอักษรต่ออักษร โดยไม่มีคำาพูดของท่านเอง เจือปนเลย 3. หนังสือประวัติศาสตร์อื่นๆอีก ซึ่งอาจจะกล่าวถึง ประวัติ ของตัวท่านศาสดาเอง ประวัติของ บรรดาสาวกของท่าน หรือ ประวัติต่างๆที่เกิดขึ้นในยุคต่างของอิสลาม เริ่มจาก ยุคของท่านศาสดาเรื่อยมา เมื่อพูดถึง คัมภี ร์อั ล -กุรอานนั้ น เราจะต้ องศึก ษา ควบคู่ ไ ปกั บ หนั ง สื อ ตั ฟ ซี ร ซึ่ ง เป็ น หนั ง สื อ ที่ ม าอธิ บ าย โองการต่ า งในคั ม ภี ร์ อั ล -กุ ร อานอี ก ที เพื่ อ ให้ เ กิ ด ความ กระจ่าง และเพื่อให้รู้ถึงที่มาที่ไป หรือภูมิหลังของโองกา รนั้นๆของคัมภีร์อัล -กุรอาน หรือเพื่อให้รู้ถึงเป้าหมายของ โองการนั้น ว่าถูกประทานมาเพื่ออะไร หนังสืออธิบายคำา ภีร์อัล - กุรอาน หรือที่เรียกเป็นภาษาอาหรับว่า ตัฟ ซีร นั้นไม่ใช่ว่าใครจะมาอธิบายกันเองหรือ ตีความกันเอง ตามใจชอบได้ แต่ทว่าเราจะต้ องเข้ าใจคั มภี ร์อั ล -กุรอาน ตามความเข้าใจของคนในยุคที่มีความรู้และความเข้า ใจ ในอัล-กุรอานดีที่สุด นั้นก็คือ ยุคที่เรียกเป็นภาษาอาหรับว่า 2
  • 3. สะลัฟ นั้น คือ สามยุค แ รก นับจากยุคของท่านศาสดามุ ฮั ม หมั ด ด้ วยเหตุ นี้ ใครก็ แ ล้ ว แต่ ที่ อ้ า งคั ม ภี ร์ อั ล -กุ ร อาน เป็นหลักฐานั้น จะถือว่าไม่สมบูรณ์ และไม่ถูกต้องเท่าที่ควร และอาจจะพลาดจากความเป็นจริงไปก็ได้ ถ้าเข้าผู้นั้นไม่ หยิบยกคำาอธิบายของคัมภีร์อัล-กุรอานของโองการนั้นๆมา ด้ ว ย ตำา ราอธิ บ ายคั ม ภี ร์ อั ล -กุ ร อานที่ มี เ ชื่ อ เสี ย งที่ สุ ด ใน โลกมุ ส ลิ ม และถู ก สอนกั น ในมหาวิ ท ยาลั ย ต่ า งๆของโลก มุสลิมก็คือ 1.ตัฟซีร อิบนิกะซีร 2. ตัฟซีร กุรตูบีย์ 3. ตัฟ ซีร อัฏฏอบรี่ ซึ่งในตัฟซีรเหล่านี้ จะประกอบไปด้วยฮะดีษ ต่ า งๆที่ จ ะถู ก นำา มาอธิ บ ายโองการต่ า งๆของอั ล -กุ ร อาน หรืออาจจะเป็น คำาพูดของ สาวกของท่านศาสดามุฮัมหมัด (ซอฮาบะฮฺ ) หรื อ อาจจะเป็ น คำา พู ด ของ ลู ก ศิ ษ ย์ ข องซอ ฮาบะฮฺอีกที ( ตาบิอีน ) หรือ อาจจะเป็นคำา พูดลูกศิษย์ของ ตาบิ อี น อี ก ที ( ตาบิ อิ ต ตาบิ อี น ) ซึ่ ง ทั้ ง ส า ม ก ลุ่ ม นี้ ถ ู ก เ รีย ก ว่า เ ป็น ยุค ส ะ ลัฟ หนังสืออธิบายคัมภีร์อัล -กุรอาน เหล่านี้ ส่วนใหญ่ยังอยู่ในภาษาอาหรับ ถ้าจะมีแปลก็น้อย มาก ซึ่งบางส่วนถูกแปลมาเป็นภาษาอังกฤษ ต่อมาคือ ฮะดีษดังที่ได้กล่าวความหมายเคร่าๆไป แล้วว่าฮะดีษคืออะไร และเมื่อได้มีการหยิบยก หรือ อ้าง ฮะดีษขึ้นมา เราจะต้องพิสูจน์กันให้ได้เสียก่อนว่า ฮะดีษที่ ได้ถูกยกขึ้นมาอ้างนั้น เป็นฮะดีษที่เชื่อถือได้จริงหรือไม่ หรือพูดอีกอย่างก็คือ เป็นสิ่งที่ศาสดามุฮัมหมัดได้ กล่าว หรือ กระทำา หรือ ให้การยอมรับเอาไว้ เช่นนั้นจริงๆหรือ ไม่ ทั้งนี้ก็เพราะ หลังจากที่ท่านศาสดามุฮัมหมัดสิ้นชีวิตไป แล้วได้มีผู้ไม่หวังดีต่ออิสลาม ได้ปลอมคำาสอนขึ้นมาแล้ว อ้างถึงศาสดามุฮัมหมัด ที่ทำาเช่นนี้โดยมีจุดมุ่งหมายที่ต่าง กันไป เช่นอาจจะเกี่ยวกับเรื่องการ เมือง หรือ เรื่องลัทธิ ความเชื่อส่วนตัว หรือจากศัตรูที่แซรกตัวเข้ามาโดยทำาที ว่าเป็นมุสลิม แต่ในความเป็นจริงแล้วคือ คนหน้าไหว้หลัง หลอก แต่กระนั้น ฮะดีษทั้งหลายที่ถูกปลอมขึ้นมานั้น ไม่ อาจที่จะรอดสายตาของปวงปราชญ์แห่งอิสลามไปได้ โดย ท่านเหล่านี้เป็นผู้ที่มีความเชี่ยวชาญในด้าน การตรวจสอบ 3
  • 4. ประวัติบุคคลโดยละเอียด ซึ่งถือเป็นศาสตร์หนึ่งของอิสลาม ที่เรียกในภาษาอรับว่า อิลมุล ริญาล วิชานี้มีขั้นตอนที่ ละเอียดเป็นอย่างมากซึ่งไม่เคยปรากฏมาก่อนเลยใน ประวัติศาสตร์โลก หรือไม่ว่าจะในศาสนาไหนก็ตาม ทีมี ่ การใช้ระบบการตรวจสอบความน่าเชื่อถือของบุคคลต่างๆ เหมือนกับที่อิสลามได้ใช้ ซึงสิ่งนี้แหละที่ทำาให้เรามั่นใจได้ ่ ว่าคำาสอนที่ตกทอดมาถึงเรานั้น เป็นสิ่งที่เชื่อถือได้จริงที่มา จากท่านศาสดามุฮัมหมัด หรือ เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นจริง เมื่อเราได้อ่านหนังสือต่างๆ และมีการอ้างฮะดีษ ขั้น ตอนการพิสูจน์ว่าฮะดีษบทนั้นๆเชื่อถือได้หรือไม่ก็ให้ทำา ดังนี้ : 1. ให้ตงคำาถามแก่ตัวเองว่า ฮะดีษที่ถูกยกมาอ้างนั้น ั้ นำามาจากหนังสือบันทึกฮะดีษของใครกัน เช่น อิหม่ามบุคอ รีเป็นผู้บันทึกเอาไว้ หรือ อิหม่ามอะฮฺหมัดเป็นผู้บันทึกเอา ไว้ 2. บันทึกอยู่ในหนังสือเล่มไหนของเขาผู้นั้นหรือ หนังสือ ชื่ออะไร เช่น หนังสือบันทึกที่ชื่อว่า อัล-มุสนัด หรือ มุอฺญัม อัลกะบีร และอื่นๆ 3. ฮะดีษบทนั้นๆเป็นฮะดีษที่เท่าไหร่ในหนังสือบันทึก นั้นๆ ( ถ้าบอกได้ เพราะจะสะดวกแก่การค้นหา) 4. เมื่อเจอฮะดีษต้นนั้นๆแล้วให้ ตรวจฮะดีษนั้นๆดูว่า เชื่อถือได้หรือไม่ โดยปัจจุบันนี้มีปราชญ์ทางด้านฮะดีษที่ ได้ทำาการตรวจความน่าเชื่อถือของฮะดีษต่างๆที่ถูกบันทึก เอาไว้ในหนังสือต่างๆที่บันทึกฮะดีษ หรือ ถ้าเราไม่ สามารถตรวจสอบความน่าเชื่อถือของฮะดีษต้นนั้นๆได้ด้วย ตัวเอง ก็แนะนำาให้เราปรึกษาผู้ที่มีความเชี่ยวชาญด้านฮะ ดีษโดยตรง โดยสอบถามความน่าเชื่อถือของฮะดีษนั้นๆกับ เขา 5. สมมุติว่าตรวจสอบดูแล้ว และฮะดีษบทนั้นๆเชื่อถือ ได้ คือ พิสูจน์แล้วว่า เป็นคำาพูด หรือ การกระทำา หรือ การ ให้การยอมรับของท่านศาสดามุฮัมหมัดจริงๆ ไม่ใช่ใครมา โมเม หรือโกหกแต่งขึ้นมาเองแล้วอ้างไปยังท่านศาสดามุ 4
  • 5. ฮัมหมัด ต่อไปก็ให้เรา ตรวจสอบดูคำาอธิบายฮะดีษนั้นๆว่า บรรดาปราชญ์ผู้เชี่ยวชาญด้านฮะดีษได้อธิบายฮะดีษนั้นๆ เอาไว้อย่างไร หนังสืออธิบายฮะดีษ จะเรียกในภาษา อาหรับว่า ชัร ฮฺ ซึงแปลว่า การอธิบาย หนังสือบันทึกฮะ ่ ดีษหลายๆเล่มด้วยกันที่ได้รับการอธิบายอย่างเป็นทางการ เอาไว้เป็นที่เรียบร้อยแล้ว เช่น หนังสือบันทึกฮะดีษบุคอรี มี หนังสืออธิบายชื่อว่า ฟัตฮุลบารีย์ อันเป็นหนังสือที่รู้จักกัน ดีในโลกมุสลิม หนังสือบันทึกฮะดีษ สุนันติรมีซี มีหนังสือ อธิบายชื่อว่า ตัวฮฺฟะตุลอะฮฺวาซี เพราะฉะนั้นแนะนำาให้ ศึกษาดูว่า หนังสือบันทึกฮะดีษแต่ละเล่มนั้น มีหนังสือ อธิบายชื่ออะไรกันบ้าง เพื่อที่เมื่อเราต้องการคำาอธิบายฮะ ดีษบทหนึ่งบทใดในหนังสือบันทึกฮะดีษใดๆก็แล้วแต่ที่เรา อ่านอยู่ เราจะได้ค้นหาได้โดยสะดวก โดยค้นหาได้อย่าง ถูกที่ ต่อมาคือหนังสือประวัติศาสตร์ต่างๆ หนังสือเหล่า นี้ก็เช่นกัน ที่เราจะต้องตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อมูล ต่างๆที่ถูกระบุเอาไว้ ไม่ใช่ว่าข้อมูลอะไรก็แล้วแต่ที่นัก บันทึกได้บันทึกเอาไว้แล้วจะเชื่อถือได้ทั้งหมด ทั้งนี้ก็ เพราะนักบันทึกประวัติศาสตร์ต่างๆนั้น เมื่อได้ยินอะไรมา เขาก็จะบันทึกเอาไว้ก่อน โดยยังไม่ได้ตรวจสอบความน่า เชื่อถือของสิ่งที่ตนได้ยิน ได้ฟังมา ที่เป็นเช่นนี้ก็เพราะ ขัน ้ ตอนการตรวจสอบความน่าเชื่อถือนั้น มีหลายขั้นตอนด้วย กัน และหลายครั้งด้วยกันที่การตรวจสอบความน่าเชื่อถือ ของข้อมูลที่ได้รับมานั้นไม่ง่ายเสมอไป รายละเอียดการ ตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อมูลที่ได้รับมานั้น ก็มขั้น ี ตอนเหมือนกับการตรวจสอบความน่าเชื่อถือของฮะดีษต้น หนึ่งๆที่ถูกยกมาอ้าง และเพื่อความสะดวกแนะนำาให้ สอบถามผู้ที่มีความเชี่ยวชาญด้านการตรวจสอบ ประวัติ นักรายงานต่างๆ ศัตรูอิสลามนั้น พยายามที่จะนำาหลักฐานจากภายนอก อิสลาม แล้วตัดสินอิสลามด้วยกับหลักฐานนั้น แต่สิ่งที่เรา 5
  • 6. จะต้องถามก็คือ หลักฐานนั้นๆ ในความเป็นจริงแล้วตัวมัน เองสามารถถูกนำามาเป็นหลักฐานได้หรือไม่ เช่น สมมุติว่า ชาวยิวคนหนึ่งได้เขียนหนังสือเล่มหนึ่งขึ้นมาเกี่ยวกับตัว ท่านนบีมุฮัมหมัด แต่กระนั้นก็ตามยิวคนนั้น เกิดหลังจาก ท่านนบี 500 ปี ไม่เคยพบเจอกับท่านศาสดามุฮัมหมัด ถ้า เป็นเช่นนั้น หนังสือเล่มนี้ที่ยิวคนนี้เขียนนอกจากตัวมันเอง จะเป็นหลักฐานในเรื่องท่านนบีมุฮัมหมัดไม่ได้แล้ว เรายัง จะต้องตั้งคำาถามต่อไปเพื่อตรวจสอบหนังสือเล่มนี้อีกว่า แล้วผู้เขียนชาวยิวผู้นี้ไป นำาข้อมูลเกี่ยวกับตัวท่านนบีมา จากไหนกัน จะเห็นได้ว่าหนังสือเล่มนี้หมดความน่าเชื่อถือ ไปในทันที ถ้าผู้เขียนไม่บอกแหล่งที่มาของสิ่งต่างๆที่เขา ได้เขียนขึ้นในหนังสือเล่มนี้เกี่ยวกับตัวท่านนบีมุฮัมหมัด แต่สมมุติว่า ชาวยิวคนนี้ได้อ้างอิงแหล่งข้อมูลเกี่ยวกับสิ่งที่ เขาเขียนเกี่ยวกับตัวท่านนบีมุฮัมหมัดมาได้ก็ตาม เราก็จะ ต้องตรวจสอบต่อไปอีกว่า ข้อมูลอ้างอิงที่ยิวคนนี้นำามาอ้าง นั้น เชือถือได้มากน้อยเพียงไร เพราะถ้าข้อมูลที่ยิวคนนี้นำา ่ มาอ้างอิง ก็ได้มาจาก นักเขียนที่ เกิดคนละยุค คนละสมัย กับท่านนบีมุฮัมหมัด ข้อมูลอ้างอิงเหล่านั้นก็จะต้องถูกถาม คำาถาม และตรวจสอบกันต่อไป ว่านำาข้อมูลเกี่ยวกับตัว ท่านนบีมาจากไหนกัน เพราะฉะนั้นคำาถามสำาคัญที่เราจะ ต้องถามเพื่อนำาไปสู่ความจริงก็คือ หนังสือเล่มนั้นๆที่ถูก เขียนมีขึ้นมาเมื่อไหร่ ใครเป็นคนเขียนมันขึ้นมา เขาผู้นั้น เป็นใครมาจากไหน ผู้เขียนได้อ้างอิงแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือ ได้หรือไม่ ตามทีได้กล่าวมาแล้วข้างต้น ่ คำาถามอีกอย่างก็คือ สมมุตมีเหตุการณ์หนึ่งๆเกิดขึ้น ิ ในสถานที่แห่งหนึ่ง โดยในสถานที่แห่งนั้นมีคนอยู่ 10 คน ถ้าคุณต้องการได้ข้อมูลที่เชื่อถือได้เกี่ยวกับเหตุการณ์ ที่เกิดขึ้นภายในสถานที่แห่งนั้น คุณ จะถามใครเพื่อที่จะได้ รับข้อมูลที่เชื่อถือได้... ระหว่าง 1. ถามคนที่ไ ม่ไ ด้อ ยูใ น ่ เหตุก ารณ์ แต่เป็นคนที่เชื่อได้ หรือ 2. ถามคนที่ อยู่ใ น เหตุก ารณ์ และรู้เห็นสิ่งที่เกิดขึ้นด้วยตัวเอง และเป็นยังผู้ ที่เชื่อถือได้อีกด้วย... คุณจะถามใครครับเพื่อที่จะได้ข้อมูล 6
  • 7. ที่เชื่อถือได้ว่า เกิดอะไรขึ้นในสถานที่แห่งนั้น? .... แน่นอน ผู้ที่มีใจเป็นกลาง อีกทั้งแสวงหาความจริง ย่อม เลือกคำาตอบได้อย่างถูกต้อง นั่นก็คือ ถามคนที่ อยู่ใน เหตุการณ์ และรู้เห็นสิ่งที่เกิดขึ้นด้วยตัวเอง และเป็นยังผู้ที่ เชื่อถือได้อีกด้วย.... แต่สมมุติว่า มีผู้ที่อยู่ในเหตุการณ์ 10 คน โดยที่ 4 คนนั้นได้รับการพิสูจน์แล้วว่าเชื่อถือไม่ ได้ .... คำาถามก็คือ เราจะเชื่อใครระหว่าง 6 คนที่เชื่อถือ ได้ หรือว่า 4 คนที่เชื่อถือไม่ได้ ? ...แน่นอน เราก็จะต้อง เชื่อคำาบอกเล่าของ คนทั้ง 6 คน แต่ถ้าทั้ง 6 คน เล่าในสิ่ง ที่เกิดทั้งหมด 20 อย่างด้วยกัน โดยทุกคนเล่าตรงกันหมด ทุกอย่าง แต่มอยู่หนึ่งคนจาก 6 คนนี้ที่ชื่อว่านาย เอ ที่เล่า ี ในสิ่งสองสิ่งที่เกิดขึ้นไม่ตรงกับอีก 5 คน ...เช่นนี้เราจะ เลือกเชื่อใครตามหลักวิชาการ ...แน่นอนเราก็จะเลือกเชื่อ 5 คนที่เล่าเรื่องตรงกัน โดยถือว่า นาย เอ นั้นผิดพลาดใน สองเรื่องนั้นๆ ที่เล่าไม่ตรงกับคนอื่นอีก 5 คน ตรงนี้เราได้ รับบทเรียนว่า ถึงแม้ว่านาย เอจะเป็นคนที่เชื่อถือได้ แต่ก็ ไม่ได้หมายความว่าเขาจะพลาดไม่ได้ในบางจุด หรือมีการเล่ากันต่อๆมาว่า มีเหตุการณ์เช่นนั้นเช่นนี้ เกิดขึ้นในอดีต โดยที่เมื่อพยายามสืบต้นตอของ หรือที่มา ของเรื่องที่เล่าต่อๆกันมานี้ ปรากฏว่าไม่สามารถหาต้นสาย ปลายเหตุหรือที่มาของเรื่องนั้นได้ ... ถ้าเราเป็นผู้ที่ แสวงหาความจริง อย่างเป็นวิชาการ มีความซื่อตรง ไม่มี อคติใดๆทั้งสิ้น อีกทั้งมีใจที่เป็นกลาง คำาถามก็คือ เราจะ เชื่อเรื่องเล่านั้นๆหรือไม่ ซึงก็ไม่สามารถพิสูจน์ได้ว่า มี ่ ต้นตอมาจากไหน แต่ละคนที่เล่าต่อๆกันมานั้น เชื่อถือได้ มากน้อยเพียงไร.... แน่นอนเราจะไม่ยอมเชือเรื่องเช่นนั้น ่ อย่างแน่นอน โดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้าเรื่องนั้นๆ เป็นเหตุ ทำาให้บุคคลหนึ่งบุคคลใดต้องได้รับความ อับอาย หรือ ความเสียหาย และถ้ามองกันในทางกฏหมายแล้ว เรื่องเล่า เช่นนั้นก็เชื่อถือไม่ได้เช่นกัน ย้อนกลับไปที่เรื่องฮะดีษอีกครั้ง อย่างที่ได้กล่าวไป แล้วว่า มีการปลอมฮะดีษกันขึ้นมาภายหลังจากที่ท่าน 7
  • 8. ศาสดามุฮัมหมัดได้สิ้นชีวิตไป เนื่องด้วยเหตุนี้เองเราจึงจะ ต้องตรวจสอบฮะดีษที่ได้รับมาให้ดีเสียก่อนว่า ฮะดีษนั้นๆ เชื่อถือได้หรือไม่ เพราะอาจจะเป็นฮะดีษที่เชื่อถือไม่ได้ก็ เป็นไปได้ เนื่องจากขาดคุณสมบัติต่างๆที่จะถูกเรียกว่าเป็น ฮะดีษที่เชื่อถือได้ ฮะดีษนั้นจะประกอบไปด้วยหลักๆ 2 ส่วน นั้นคือ : 1. ส่วนที่เป็นสายรายงาน ( เรียกในภาษาอรับว่า สะ นัด)โดยผู้ที่บันทึกฮะดีษต่างๆเป็นหนังสือ ( เช่น หนังสือ บันทึกฮะดีษ มุสนัด ของอิหม่ามอะฮฺหมัด ) จะไล่สาย รายงาน โดยเริ่มจากตัวเขา ว่าเขาได้รับฮะดีษนั้นๆมาจาก ใคร ไล่กันเรื่อยจนไปสุดอยู่ที่เจ้าของคำาพูด หรือเจ้าของ การกระทำานั้นๆ ซึงอาจจะเป็นตัวท่านศาสดามุฮัมหมัดเอง ่ หรือ บรรดาสาวกทั้งหลายของท่าน ซึงในฮะดีษต้นหนึ่งๆ ่ ที่ถูกยกมาอ้างนั้น จะมีผู้เล่าหรือนักรายงาน ในจำานวนที่ แตกต่างกันไป และโดยทั่วไปแล้วนักรายงานจะเป็นมุสลิม โดยที่นักรายงานแต่ละคนจะต้องถูกตรวจสอบประวัติโดย ละเอียด ตามมาตรฐานที่เข้มงวดที่ได้ถูกวางเอาไว้ เพื่อที่ จะได้รู้แน่ชัดว่า นักรายงานแต่ละคนนั้นเชื่อถือได้หรือไม่ โดยจะตรวจสอบดูที่ : 1.1 สายรายงานติดต่อกัน ไม่ขาดตอน เช่น นาย ค. อ้าง ว่าได้รับฟังฮะดีษมาจากนาย ก. แต่กระนั้นก็ตามเมื่อตรวจ ประวัติดูแล้ว พบว่า นาย ค. กับนาย ก. นั้น เกิดคนละ สมัย หรือ อาจจะเกิดในสมัยเดียวกันแต่อยู่คนละที่เลย โดยวิเคราะห์ดูแล้วไม่มีทางที่ทั้งสองจะพบเจอกันได้เลย แล้วจะเป็นไปได้อย่างไรที่ นาย ค. อ้างว่าได้รับฟังฮะดี ษมาจากนาย ก. เมื่อเป็นเช่นนี้จึงทำาให้เกิดปัญหาในเรื่อง ความน่าเชื่อถือ 1.2 นักรายงานแต่ละคนที่อยู่ในสายรายงานนั้นทุกคนมี คุณธรรม 1.3 ผู้รายงานทุกคน มีความจำาดี 8
  • 9. 1.4 ไม่ขดแย้งกับหะดีษที่แข็งแรงกว่า ั 1.5 ไม่มีความบกพร่องอันซ่อนเร้นใดๆในหะดีษ ทั้ง 5 ข้อที่กล่าวมานั้น เป็นเพียงเคร่าๆ ซึงใน ่ ความเป็นจริงแล้วยังมีรายละเอียดในแต่ละข้ออีกมากที่จะ ต้องมาวิเคราะห์กัน ก่อนที่จะตัดสินฟังธงว่าฮะดีษต้นหนึ่งๆ นั้น เชือถือได้หรือไม่ ทั้งนี้เพื่อที่เราจะได้มั่นใจว่า สิ่งที่อ้าง ่ ไปถึงการกระทำา หรือ คำาพูดของคนหนึ่งคนใด ไม่ว่าจะ เป็นตัวท่านศาสดามุฮัมหมัดเอง หรือ สาวกของท่าน หรือ ใครก็ตามในยุคอดีต หรือ เหตุการณ์ต่างๆนั้น เป็นสิ่งที่เป็น จริง หรือเกิดขึ้นเช่นนั้นจริง 2. ส่วนที่เป็นคำาพูด หรือการกระทำา ของบุคคลหนึ่ง บุคคลใดที่ถูกอ้างถึง ส่วนนี้เรียกในภาษาอาหรับว่า มัตนฺ หรือ ตัวบท และโดยทั่วไปแล้ว มัตนฺ หรือ ตัวบทนี้จะเป็น จริงหรือเท็จ จะเชื่อถือได้หรือไม่ก็ขึ้นอยู่กับความน่าเชื่อถือ ของ สายรายงานอีกที ตามที่กล่าวเอาไว้ข้างต้น มีผู้นำาเสนอทฤษฎีใหม่ขึ้นมาว่า “ผู้ที่เป็นมุสลิม (ในที่นี้หมายถึงนักรายงานฮะดีษ) ย่อมที่จะ ไม่ ใส่ร้ายศาสนาตัวเอง เพราะฉะนั้นคำาพูดของเขาจึง ถือว่าเชื่อถือได้” ทั้งนี้ก็เพื่อที่จะใช้ฮะดีษทั้งหลายที่ถูก ตัดสินแล้วว่าเชื่อถือไม่ได้ มาโจมตีอิสลามในด้านต่างๆ โดยอ้างว่า นักรายงานที่อยู่ในสายรายฮะดีษที่ถูกตัดสิน ว่าเชื่อถือไม่ได้นั้น ถึงอย่างไรก็แล้วแต่เขาก็ยังเป็น มุสลิม... โดยตั้งสมมุติฐานเอาอีกว่า โดยพื้นฐานทั่วไปแล้ว มุสลิมย่อมจะไม่ใส่ร้ายศาสนาตัวเอง เพราะฉะนั้นคำาพูด ของพวกเขา( นักรายงานฮะดีษ) ที่เป็นมุสลิม ที่อ้างไปถึง ท่านนบีในทางที่ไม่ดี หรืออ้างถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นต่างๆ ในทางที่ไม่ดต่ออิสลาม จึงเป็นการกล่าวออกมาหรือเล่า ี ออกมาด้วยความซื่อตรง และบริสุทธิ์ใจ ซึ่งถือว่าเชื่อถือ 9
  • 10. ได้... แต่ผู้ที่จ้องที่จะโจมตีอิสลามด้วยกับฮะดีษต่างๆที่เชื่อ ถือไม่ได้ ลืมที่จะพิจารณาสิ่งดังต่อไปนี้ว่า: 1. สายรายงานของฮะดีษต้นนั้นๆ ติดต่อกันหรือไม่ เพราะ ถ้าไม่มีตอกันแล้ว นั่นก็เท่ากับว่ามีช่องว่าง ระหว่างนัก ่ รายงาน 2 คน เช่น นักรายงาน ก. กับ นักรายงาน ค. อยู่ กันคนละสมัย แล้วจะเป็นไปได้อย่างไรที่นาย ค.จะรายงาน หรือรับฟังฮะดีษมาจากนาย ก. ทั้งนี้ก็เพราะเกิดไม่ทันกัน เพราะฉะนั้น ผู้ที่ขาดหายไปคือ นักรายงาน ข. ซึงสถานะ่ ภาพของเขา (นักรายงาน ข.) ไม่เป็นที่รับรู้ได้ และก็เป็น ไปได้ว่า เขาอาจจะเป็นศัตรูของอิสลามก็ได้ โดยปลอมฮะ ดีษนั้นๆขึ้นมา พร้อมสายรายงาน โดยมีจุดม่งหมายอย่าง หนึ่งอย่างใดแอบแฝงอยู่ หรือว่า 2. นักรายงานคนหนึ่งในสายรายงาน ไม่ได้ขาดหายไป ไหน แถมยังมีชอถูกระบุเอาไว้อีกด้วย แต่กระนั้นก็ตามไม่มี ื่ ใครรู้ประวัติของเขาว่าเป็นใครมาจากไหน เพียงแต่มแค่ ี ชื่อ เพราะฉะนั้น ก็มีความเป็นไปได้อีกเช่นกันว่า เขาผู้นั้น อาจจะเป็นผู้ที่ไม่ใช่มุสลิม และอาจจะเป็นศัตรูอิสลามก็เป็น ไปได้ แต่ผู้ที่ไปรับรายงานจากเขามาโดยไม่ตรวจสอบให้ ดีก่อนว่าเขาเป็นใคร ได้แต่เพียงรับรายงานมา หรืออาจ จะเป็นผู้ที่มีความจำาแย่เป็นอย่างมาก ถึงขั้นฟังมาอย่าง แต่ พอนำาไปเล่ากลับกลายเป็นอีกอย่าง ซึงหลายๆครั้งด้วยกัน ่ ที่เราประสบสิ่งนี้ในชีวิตประจำาวันของเรา เป็นสิ่งที่ปฏิเสธไม่ได้ว่า ในศาสนาหนึ่งศาสนาใดนั้น จะมีผู้ที่ได้ชื่อว่าเป็นบุคคลที่นับถือศาสนานั้นๆ เช่น ได้ชื่อ ว่าเป็นพุทธ ได้ชื่อว่าเป็นคริสต์ หรือได้ชื่อว่าเป็นอิสลาม แต่กระนั้นก็ตาม เขาผู้นั้นเป็นผู้ที่มีความผิดเพี้ยนในด้าน หนึ่งด้านใดของศาสนา เช่น มีความผิดเพี้ยนทางด้าน ความเชื่อ หรือ ทางด้านการปฎิบัติ ด้วยเหตุนี้เอง เพื่อที่จะ สนับสนุนความเชื่อที่ผิดๆ หรือ การปฎิบัติที่ผิดๆของตัวเอง จึงทำาให้เขาผู้นั้นปลอมคำาสอนขึ้นมา แล้วอ้างคำาสอนนั้นๆ กลับไปหาศาสดา มุฮัมหมัด... หรือ ในศาสนาพุทธก็จะอ้าง 10
  • 11. กลับไปหาพระพุทธเจ้าอีกที ... หรือศาสนาคริสต์ก็จะอ้าง กลับไปหาพระเยซู ... แต่อิสลามแทบจะเป็นศาสนาเดียว เลยก็ว่าได้ที่สามารถตรวจสอบได้อย่างรู้จริงว่า คำาอ้างนั้นๆ เป็นสิ่งที่ท่านนบีมุฮัมหมัดได้ กล่าว หรือ กระทำา หรือ ยอมรับ เอาไว้จริง หรือไม่ ... เมื่อมาถึงตอนนี้ ต้องการที่ จะอธิบายเพิ่มเติมถึงสาเหตุที่ทำาให้เกิดการปลอมแปลง หรือ แต่ง ฮะดีษ เก๋ ขึนมา โดยมีรายละเอียดคร่าวดังต่อไป ้ นี้: บรรดานักวิชาการได้พยายามวิเคราะห์หาสาเหตุแห่ง การกุหะดีษปลอมของบุคคลต่างๆ แล้วพอจะสรุปเหตุผล แห่งการกุหะดีษปลอมของบุคคลเหล่านั้นได้ดังนี้ ... 1. เพื่อ ต้อ งการสนับ สนุน หรือ “เชีย ร์” ลัท ธิ หรือ มัษ ฮับ ที่ตนเองสังกัดและคลั่งไคล้อยู่ ... ตัวอย่างจากเหตุผลข้อนี้ ได้แก่การกุหะดีษปลอม จำานวนมากของพวกชีอะฮ์ เพื่อสนับสนุนท่านอะลีย์ ร.ฎ. และบรรดา “อะฮ์ลุลบัยต์” ที่พวกเขาจำากัดเอาเองว่า หมายถึงวงศ์วารของท่านศาสดา ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิวะ ซัลลัมเป็นการเฉพาะ .. ทั้งๆที่ความจริง คำาว่า “อะฮ์ล ุ ลบัย ต์” จะมีความหมายครอบคลุมถึงบุคคลทุกคนใน ครอบครัวของท่านศาสดา อันได้แก่ภริยาทั้งหมดของท่าน และบุตรหลานของท่าน ... หรือตัวอย่างจาก “หะดีษ ปลอม” บทหนึ่งที่ผู้คลั่ง ไคล้ในมัษฮับหะนะฟีย์ได้กุขึ้นมา โดยอ้างรายงานมาจาก ท่านศาสดา ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิวะซัลลัม มีข้อความว่า ... ‫يكون فى أ ف ُمتى رجل يقلال له محمدف ُ بنف ُ إ ِدريس أ َضر على‬ َ َ ُ ‫تَّ ف‬ َ ْ‫ُنْ ِ ُن‬ ْ‫َ ف ُ ُنْ ف ُ ِ ُنْ تَّ ِ ُنْ َ ف ُ ي ٌ ف ُ َ ف ُ َ ف ُ ف ُ َ تَّ ُن‬ ‫أ ف ُمتى من إ ِبليس ، ويكون فى أ ف ُمتى رجف ُل يقلال له أ َبو حنيفة‬ َ َ ْ‫َ َ ف ُ ُنْ ف ُ ِ ُنْ تَّ ِ ُنْ َ ي ٌ ف ُ َ ف ُ َ ف ُ ف ُ ُنْ َ ِ ُن‬ َ ْ‫تَّ ِ ُنْ ِ ُنْ ُنْ ِ ُن‬ ‫... هو سرجاج أ ف ُمتى‬ ْ‫ف ُ َ ِ َ ف ُ تَّ ِ ُن‬ 11
  • 12. “ต่อไปในประชาชาติของฉัน จะมีชายผู้หนึ่งมีชื่อ เรียกกันว่า “มุหมมัด บิน อิดรีส” (หมายถึงท่านอิหม่าม ั ชาฟิอีย์) เขาจะเป็นภัยต่อประชาชาติของฉันยิ่งกว่าอิบ ลีส, และก็จะมีในประชาชาติของฉัน ผู้ซึ่งมีชื่อเรียกกัน ว่า “อบู หะนีฟะฮ์” .. เขาผู้นี้แหละคือดวงประทีปแห่ง ประชาชาติของฉัน” ... (จากหนังสือ “อัล-เมาฎูอาต” ของท่านอิบนุล ญูซีย์, เล่มที่ 1 หน้า 457) 2. เพราะเข้า ใจว่า ทำา ไปโดยมีเ จตนาดีแ ล้ว จะได้ร ับ ผลบุญ ... กรณีนี้ ส่วนมากจะเป็นผู้ที่กุหะดีษเกี่ยวกับเรื่องอัต- ตัรฺฆีบ วัต-ตัรฺฮีบ (َ‫ ) جال ت ر غ ي ب وجال ت ر هِ ي ب‬คือ หะดีษเกี่ยว ُ ‫تَّ ُنْ ِ ُنْ ف ُ َ تَّ ُنْ ُنْ ف‬ กับเรื่องการส่งเสริมให้ทำาความดีบางอย่าง และปรามจาก การกระทำาความชั่ว, .. หรือกุหะดีษในเรื่องความประเสริฐ ของการนมาซ หรือการถือศีลอดในวาระต่างๆ, หรือ ความประเสริฐของอัล-กุรฺอ่านซูเราะฮ์ต่างๆ .. ซึ่งผู้ที่มชื่อ ี เสียงมากในด้านการกุหะดีษเรื่องความประเสริฐของอัล-กุรฺ อ่านซูเราะฮ์ต่างๆนี้ ได้แก่ อบู อิศมะฮ์ นุห์ บิน อบียมัรฺยัม ์ (‫ ) أ َ ب و ع ص م ة ن و ح ب ن أ َ ب ى م ر ي م‬และมัยสะเราะฮ์ บิน อับ َ َ ْ‫ف ُ ُنْ ِ ُنْ َ َ ف ُ ُنْ ف ُ ُنْ ف ُ ِ ُنْ َ ُن‬ ดิร็อบบิฮ์ พวกนอกศาสนาหรือ พวกศัต รูข องอิส ลาม ที่ 3. (‫... ) م ي س ر ة ب ن ع ب د ر ب ه‬ ِ ِّ‫َ ُنْ َ َ ف ُ ُنْ ف ُ َ ُنْ ِ َ ه‬ ต้องการจะทำาลายหรือบิดเบือนหลักการอันบริสุทธิ์ของ อิสลาม ด้วยการกุสายรายงานเท็จและกุหะดีษเท็จในเรื่อง ของอิสลามขึ้นมา .. 4. พวกกุห ะดีษ เท็จ เพื่อ ประจบสอพลอผู้น ำา และผู้ป กครอง ... 5. พวกกุห ะดีษ เท็จ เพื่อ แสวงหาผลประโยชน์ และสร้างความศรัทธาแก่ชาวบ้านที่รู้เท่าไม่ถึงการณ์ ซึ่ง ส่วนมากมักจะเป็นพวกนักเล่านิทานที่มักจะกุหะดีษอันเป็น 12
  • 13. เรื่องราวแปลกประหลาดที่มีลักษณะเป็นอภินิหาร เพื่อให้ ถูกใจชาวบ้านที่นิยมชมชอบเรื่องประเภทนี้ ... 6. พวกกุห ะดีษ เท็จ เพราะอยากดัง และต้องการ มีชื่อเสียงว่า ตนเองเป็นผู้รายงานหะดีษจำานวนมากคน หนึ่ง ... บรรดานักปลอมแปลงหะดีษระดับแนวหน้าที่ถูกเปิด เผยชื่อ จะมีอยู่เป็นจำานวนมาก ซึงผมจะขอระบุนามของ ่ บางคน ดังต่อไปนี้ ... 1. อิบนุ อบีย์ยะห์ยา (‫ ) إ ِ ب ن أ َ ب ى ي ح يى‬แห่งมะดี َ ْ‫ُنْ ف ُ ِ ُنْ َ ُن‬ นะฮ์, 2. อัล-วากิดีย์ (‫ ) جا ل وجا ق د ى‬แห่งกรุงบุฆดาด, ّ ِ ِ َ ْ‫َ ُن‬ 3. มุกอติล บิน สุลัยมาน (‫) م قلا ت ل ب ن س ل ي ملا ن‬ َ َ ْ‫ف ُ َ ِ ف ُ ُنْ ف ُ ف ُ َ ُن‬ แห่งคุรอซาน, 4. มุหมมัด บิน สะอีด อัช-ชามีย์ (ٍ‫م ح م دف ُ ب ن س ع ي د‬ ั ْ‫ف ُ َ تَّ ُنْ ف ُ َ ِ ُن‬ ّ ِ َّ‫َ ت‬ ‫ ) جال شلا م ى‬แห่งซีเรีย, 5. วะฮ์บิน บิน วะฮ์บิน อัล-กอฎีย์ (‫و ه ب ب ن و ه ب‬ ٍ ْ‫َ ُنْ ف ُ ُنْ ف ُ َ ُن‬ ْ‫ُنْ َ ِ ُن‬ ‫)جا ل قلا ض ى‬ 6. มุหมมัด บิน อัซ-ซาอิบ อัล-กัลบีย์ (‫م ح م دف ُ ب ن‬ ั ُ ‫ف ُ َ تَّ ُنْ ف‬ ّ ِ ْ‫تَّ ِ ِ ُنْ َ ُن‬ ‫) جال سلا ئ ب جا ل ك ل ب ى‬ 7. อบู ดาวูด อัน-นะคออีย์ (‫) أ َ ب و دجا ود جال ن خ ع ى‬ ّ ِ َ َّ‫ت‬ ُ ‫ف ُ ُنْ َ ف‬ 8. อิสหาก บิน นะญีห์ อัล-มัลฏีย์ (‫إ ِ س حلا ق ب ن‬ ُ ‫ُنْ َ ف ُ ُنْ ف‬ ّ ِ ْ‫َ ِ ُنْ ٍ ُنْ َ ُن‬ ‫) ن ج ي ح جا ل م ل ط ى‬ 9. ฆิยาษ บิน อิบรอฮีม อัน-นะคออีย์ (‫غ يلا ث ب ن‬ ُ ‫ِ َ ف ُ ُنْ ف‬ ّ ِ َ َّ‫ُنْ َ ِ ُنْ َ ت‬ ‫) إ ِ ب رجا ه ي م جال ن خ ع ى‬ 10. อัล-มุฆีเราะฮ์ บิน สะอัด อัล-กูฟีย์ (‫جا ل م غ ي ر ة ب ن‬ ُ ‫َ ُنْ ف ُ ِ ُنْ َ ف ُ ُنْ ف‬ ّ ِ ْ‫ُنْ ٍ ُنْ ُن‬ ‫) سَ ع د جا ل كف ُ و ف ى‬ 11. อะห์มัด บิน อับดุลลอฮ์ อัล-ญุวัยบารีย์ (‫أ َ ح م د‬ ُ ‫ُنْ َ ف‬ ّ ِ َ ْ‫ُنْ ف ُ َ ُنْ ِ تَّ ِ ُنْ ف ُ َ ُن‬ ‫) ب ن ع ب دجال لـ ه جا ل ج و ي بلا ر ى‬ 12. มะอ์มูน บิน อะห์มัด อัล-ฮัรฺวีย์ (‫م أ م و ن ب ن‬ ُ ‫َ ُنْ ف ُ ُنْ ف ُ ُنْ ف‬ ‫) أ َ حُنْ م د جا ل ه ر و ى‬ ّ ِ ْ‫َ َ ُنْ َ ُن‬ 13
  • 14. 13. มุหัมมัด บิน อุกกาชะฮ์ อัล-กัรฺมานีย์ (‫م ح م دف ُ ب ن‬ ُ ‫ف ُ َ تَّ ُنْ ف‬ ّ ِ َ ْ‫َ ُنْ َ ُن‬ ‫) ع كلا شَ ة جا ل ك ر ملا ن ى‬ َّ‫ف ُ ت‬ 14. มุหัมมัด บิน ตะมีม อัล-ฟาเราะยาบีย์ (‫م ح م دف ُ ب ن‬ ُ ‫ف ُ َ تَّ ُنْ ف‬ ّ ِ َ َ َ ْ‫َ ِ ُنْ ٍ ُن‬ ‫) ت م ي م جا ل فلا ر يلا ب ى‬ 15. มุหัมมัด บิน ซิยาด อัล-ยัชกุรีย์ (‫م ح م د ب ن‬ ُ ‫ف ُ َ تَّ ف ُ ُنْ ف‬ ّ ِ ُ ‫ِ َ ٍ ُنْ َ ُنْ ف‬ ‫) ز يلا د جا ل ي ش ك ر ى‬ .......... ฯลฯ ......... ( อ้างอิงจาก หนังสือ “ ฮะดีษอย่างง่าย” ของ อ. ปราโมทย์ ศรีอุทัย ) มาถึงตอนนี้ ผู้เขียนต้องการที่จะยกตัวอย่าง ตัวอย่าง เพื่ อ ให้ เ ห็ น ภาพชั ด ในเรื่ อ งการสื บ ความน่ า เชื่ อ ถื อ ของ เรื่องๆหนึ่ง ดังต่อไปนี้ : มุสลิมเป็นผู้ที่ละหมาด อย่างน้อย วั น ละ 5 เวลา และถ้ า เราถามมุ ส ลิ ม ว่ า พวกเขาเอาแบบ อย่างการละหมาดมาจากใครกัน แน่นอน มุสลิมทุกคนเลย ก็ว่าได้จะตอบว่า พวกเขาละหมาดตามแบบอย่างของท่าน นบีมุฮัมหมัด แต่ถ้าเราถามเขากลับไปว่า แล้ว ท่านนบีมุ ฮัมหมัดมีชีวิตอยู่เมื่อกี่ปีที่แล้วล่ะ มุสลิมคนนั้นก็จ ะตอบว่ า ประมาณ 1400 กว่ า ปี ที่ แ ล้ ว ถ้ า เราถามต่ อ ไปว่ า “ คุ ณ อ้างว่าคุณละหมาดตามแบบอย่างของท่านนบีมุฮัมหมัด แต่ คุ ณ ก็ เ กิ ด ไม่ ทั น ท่ า นนบี และคุ ณ อ้ า งได้ อ ย่ า งไรว่ า คุ ณ ละหมาดตามท่านนบี... คุณไปเห็นท่านนบีละหมาดมาตอน ไหนกัน ทั้งๆที่เกิดไม่ทัน? ” เมื่อถูกถามเช่นนี้ มุสลิมแทบจะ ส่วนใหญ่เลยก็ว่าได้ จะลังเลในการตอบ หรือบางคนตอบ ไม่ ไ ด้ เ ลยว่ า ตกลง เอาเข้ า จริ ง ๆแล้ ว เขาอ้ า งว่ า ละหมาด ตามท่ า นนบี ไ ด้ อ ย่ า งไรทั้ ง ๆที่ ไ ม่ ไ ด้ พ บเห็ น ว่ า ท่ า นนบี ไ ด้ ละหมาดโดยทำาท่าอย่างไร แต่ถ้าเป็นผู้ที่มีความรู้ถูกถาม เช่นนี้ เขาก็จะตอบด้วยความมั่นใจว่า “ จริงอยู่ที่เราไม่เห็น ท่ า นนบี ล ะหมาด เพราะเราเกิ ด คนละสมั ย กั บ ท่ า นนบี แต่ เรามีสายรายงานที่เชื่อถือได้ ที่ได้รายงานเอาไว้ว่าท่านนบี ได้ ล ะหมาดในลั ก ษณะไหน ทำา ท่ า อย่ า งไหรบ้ า ง โดย ละเอี ยด ยกตัวอย่า งง่ ายๆเช่น คนที่ 1 เป็นบุค คลที่อ ยู่ใ น 14
  • 15. สมัยเดียวกับท่านนบี และได้เห็นท่านนบีละหมาด และ ตั้ง ใจสังเกตุด้วยว่าท่านนบีละหมาดอย่างไร จากนั้นคนที่ 1 ก็ มาเล่ า ให้ ค นที่ 2 ฟั ง คนที่ 2 รั บ การบอกเล่ า ถึ ง ลั ก ษณะ การละหมาดของท่านนบีมา ก็มาเล่าหรือรายงานให้คนที่ 3 ฟัง โดยคนที่ 3 รับรายงานมาจากคนที่ 2 ก็มาเล่าให้คน ที่ 4 ฟัง โดยคนที่ 4 ก็มาเล่าให้คนที่ 5 ฟัง และคนที่ 5 ก็ บั น ทึ ก ในสิ่ ง ที่ ต่ า งๆที่ ต นเองได้ รั บ ฟั ง มาที่ อ้ า งกลั บ ไปหา ท่านนบี หรือ เหตุการณ์ใดๆก็แล้วแต่ที่เกิดขึ้นในสมัยท่าน นบี หรื อ หลั ง จากท่ า นนบี โดยยั ง ไม่ ไ ด้ ทำา การตรวจสอบ ก่อนว่า สิ่งต่างๆที่ตัวเองได้บันทึกเอาไว้นั้นเชื่อถือได้หรือ ไม่อย่างไร เพียงแต่รับมาบันทึกเอาไว้ก่อน ... รวมถึงเรื่อง ละหมาดที่กำา ลังพูดถึงอยู่นี้ด้วย ที่ คนที่ 5 ได้รับการบอก เล่าจากคนที่ 4 และได้บันทึกสิ่งที่ได้รับการบอกเล่าเอาไว้ ในหนังสือบันทึกของตัวเอง และหนังสือบันทึกของคนที่ 5 ก็ได้รับตั้งชื่อว่า ( ยกตัวอย่าง) มุสนัด ของอิหม่ามอะฮฺหมัด และหนังสือเล่มนี้ก็แพร่กระจายไปทั่วโลก และตกทอดมา จนถึงยุคเราในปัจจุบันให้ได้ศึกษากัน และหนังสือเล่มนี้ที่ ชื่ อ มุ ส นั ด ของอิ ห ม่ า มอะฮฺ ห มั ด นี่ แ หละที่ เ รี ย กว่ า เป็ น ตำาราบันทึกฮะดีษ ซึ่งตำาราประเภทนี้มีมากมาย ตามจำานวน ผู้บันทึก เหมือนกับคนที่ 5 ที่ได้ยกตัวอย่างมาให้ดู โดยที่ ข้อยำ้าว่าผู้ที่บันทึกฮะดีษนั้น จะบันทึกเอาไว้ก่อน โดยไม่ได้ ทำาการตรวจสอบว่าฮะดีษที่ตนเองรับมานั้น เชื่อถือได้หรือ ไม่ ทั้ ง นี้ เ พราะเป็ น การยากพอสมควรในการที่ จ ะทำา การ ตรวจสอบได้ ทั น ที เดี๋ ย วนั้ น ด้ว ยเหตุ นี้ ผู้ บั น ทึ ก จึ ง ทำา การ บันทึกเอาไว้ก่อน ซึ่งผู้ที่ต้องการทำาการตรวจสอบความน่า เชื่อถื อ ของฮะดี ษ บทนั้ น ก็ ส ามารถทำา ได้ ค ร่ า วๆก็ คื อ นำา ผู้ รายงานทั้งหมดในสายรายงานของฮะดีษบทนั้นมา สมมุติ ว่ามี 7 คน จากนั้นให้ไปตรวจสอบทั้ง 7 คนนั้นจากตำา รา บัน ทึก ประวัต ิน ัก รายง านฮะดีษ โดยตรวจดูว่า 7 คนที่ กล่าวมานี้ถูกวิจารณ์เอาไว้อย่างไร ในด้าน ศิลธรรม ( เป็น ผู้ ที่ทำา บาปใหญ่ หรื อไม่ หรือทำา บาปเล็ ก เป็น ประจำา ) ด้า น ความจำา ( ความจำา ดี ห รื อ ไม่ หรื อ มี ค วามจำา พอใช้ หรื อ 15
  • 16. ความจำา แย่ หรื อ เกิ ด เป็ น ผู้ ที่ ห ลงๆลื ม ๆในวั ย ชรา ) ด้ า น ความต่อเนื่อ งระหว่ างบุ ค คลต่ อบุ ค คล ( ทั้ง 7 คนนั้ น เป็น บุคคลที่สามารถเจอกันและกัน เช่น คนที่ 7 เกิดในสมัยคน ที่ 6 และมีโอกาศพบเจอกับคนที่ 6 ได้ ( ไม่ใช่ตอนที่คน ที่ 6 ตาย คนที่ 7 มีอายุเพียง 2 ขวบ เช่นนี้ เกิดปัญหาแน่ เพราะจะเป็นไปได้อย่างไรที่ คนที่ 7 จะไปรับรายงานฮะดี ษมาจากคนที่ 6 ทั้งๆที่ตัวเอง อายุแค่ 2 ขวบ ในตอนที่คน ที่ 7 ตาย...และนี่คือความละเอียดของระบบการตรวจสอบ ความน่าเชื่อถือของบุคคลที่อยู่ในสายรายงานฮะดีษแต่ละ บท ) โดยที่คนที่ 6 ก็เกิดในสมัยเดียวกับคนที่ 5 และมีโอ กาศพบเจอกั บ คนที่ 5... ไล่ กั น ไปอย่ า งนี้ จ นถึ ง คนที่ 1 โดยที่คนที่ 1 เป็นผู้ที่เห็น เหตุการณ์ด้วยตัวเอง หรือยินสิ่ง นั้ น ๆมาด้ ว ยตั ว เอง ) หรื อ เขาเป็ น บุ ค คลที่ มี นิ สั ย โกหก หรือ เป็นจอมโกหกหรือไม่ ในตำาราตรวสอบประวัตินักรายงานฮะดีษนั้น จะมีราย ชื่อต่างๆของบรรดานักรายงานฮะดีษ วันเกิด สถานที่เกิด วันตาย ชื่ออาจารย์ของเขาที่เขารับหรือเรียนฮะดีษด้วย ชื่อลูกศิษย์ รวมไปถึงรายละเอียดอื่นๆของนักรายงานคน นั้น ที่จะมีผลในการตัดสินเขาผู้นั้นว่า เป็นผู้ที่เชื่อถือได้ หรือไม่ ...ระดับความน่าเชื่อถือเขาเขาเป็นเช่นไร... จะ เชื่อได้มาก หรือ น้อย... หรือ ความจำาพอใช้ หรือ ความ จำาดีเลิศ ... มาถึงตรงนี้อาจจะมีคำาถามว่า แล้วใครกันที่ เป็นผู้ทำาการบันทึกประวัตินักรายงานฮะดีษ เพราะเป็น ถือว่าไม่มีเหตุผลที่จะให้นักรายงานฮะดีษเป็นผู้ เขียน ประวัติตัวเอง เพราะแน่นอน ถ้าเป็นเช่นนั้น แต่ละคนก็จะ เขียนแต่ในส่วนดีๆของตัวเอง ย่อมไม่มีใครเขียนถึงข้อเสีย ของตัวเองเป็นแน่ หรือ ถ้าเขียนก็เขียนไม่หมด... ด้วยเหตุ นี้เองจึงมีกลุ่มบุคคลหนึ่ง ซึงเราสามารถเรียกได้ว่าเป็น ่ คณะกรรมการอิสระที่จะคอยทำาการตรวจสอบประวัตินัก รายงานฮะดีษให้ได้มากที่สุดเท่าที่จะมากได้ โดยตรวจสอบ อย่างตรงไปตรงมา โดยที่แต่ละคนในคณะกรรมการอิสระ นี้จะไม่ใช่แบ่งกันตรวจ แต่จะต่างคนต่างตรวจ เช่น มีคณะ 16
  • 17. กรรมการอยู่ 10 คน โดยทั้ง 10 คนนี้ ก็จะทำาการตรวจ ประวัติของนาย ก. ที่เป็นนักรายงานฮะดีษ ไม่ใช่ว่า คณะ กรรมการ 3 คนไปตรวจประวัติของนาย ก. ส่วนอีก 3 คน ไปตรวจประวัติของนาย ข. ส่วนอีก 3 คนไปตรวจประวัติ ของนาย ค. ... ไม่ใช่เช่นนี้ แต่คณะกรรมการแต่ละคน นั้นต่างเป็นอิสระซึ่งกันและกัน ต่างคนต่างก็พยายามตรวจ ประวัตินักรายงานที่อยู่ในยุคเขาให้มากคนที่สุดเท่าที่จะ ทำาได้ ซึ่งไม่มใครเลยที่จะรอดพ้นจากการถูกตรวจสอบป ี ประวัติไปได้ ... ใครก็แล้วแต่ที่อ้างว่าได้รับรายงานฮะดีษ เขาผู้นั้นจะต้องถูกตรวจสอบประวัติโดยละเอียด ด้วยเหตุนี้ เอง ท่านอิบนุฮะญัร ซึ่งเป็นปราชญ์ด้านฮะดีษ และศาสตร์ แห่งการตรวจประวัตินักรายงานฮะดีษ จึงได้เรียบเรียง ตำาราในด้านนี้ขึ้น เช่น ตำาราเล่มหนึ่งที่มีชื่อว่า ตะฮฺซ ีบ ุต ตะฮฺซ ีบ ของท่านอิบนุฮะญัร อัล-อัซกอลานีย์ ได้รวบรวม รายชื่อเอาไว้ถึง 12,455 คน โดยเรียงตามลำาดับอักษร โดยที่แต่ละคนจะมีวันเกิด วันตาย รายชื่อบรรดาอาจารย์ ของเขา ลูกศิษย์ของเขา เหตุการณ์ต่างๆที่สำาคัญที่เกิดขึ้น ในชีวิตเขา รวมทั้งความเห็นของบรรดากลุ่มบุคคลที่ได้ไป สืบเสาะประวัติของเขาผู้นั้นในด้านความน่าเชี่อถือ ว่าเขา เชื่อถือได้หรือไม่อย่างไร ตำาราวิจารณ์นักรายงาน ฮะดีษ หรือผู้ที่เล่าเรื่อง ต่างๆ มีจำานวนมาก ซึ่งผู้ที่มีความรู้ในภาษาอาหรับสามารถ ตรวจสอบความน่าเชื่อถือของบุคคลต่างๆได้ ... และวิชาที่ ว่าด้วยการตรวจสอบสิ่งๆหนึ่งที่เกิดขึ้นในอดีตว่าเป็นจริง หรือไม่ ที่อิสลามมีอยู่นั้น ไม่มศาสนาไหน หรือลัทธิไหน ี เช่นชีอะฮฺ หรือ วัฒนธรรมไหนมีอย่างที่อิสลามมี ... เพราะฉะนั้นเรื่องใดๆก็แล้วแต่ในอดีตที่มีการอ้างว่าเกิดขึ้น เช่นนั้นเช่นนี้ หรือ เป็นอย่างนั้นอย่างนี้และได้รับการตรวจ สอบโดยบรรดานักวิชาการผู้ที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะ ด้านตามที่ได้กล่าวไปคร่าวๆในตอนต้นว่าเชื่อถือได้ เช่น นั้นเรามั่นใจได้เลยว่าสิ่งนั้นเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นจริง 17
  • 18. ตอนนี้ขอให้ท่านผู้อ่านย้อนกลับไปที่เรื่องคำาถามที่ว่า เรารู้ ไ ด้ อ ย่ า งไรว่ า เราละหมาดเหมื อ นกั บ ที่ ท่ า นนบี ไ ด้ ละหมาด ...โดยเราสามารถตอบได้ อ ย่ า งมั่ น ใจว่ า เรา ละหมาดเหมือ นกั บท่ านนบี อย่ างแน่ นอน เพราะเรามี ส าย รายงานที่ เ ชื่ อ ถื อ ได้ ที่ สื บ ไปจนถึ ง บุ ค คลที่ เ ห็ น ท่ า นนบี ละหมาดด้วยตัวเอง โดยได้เฝ้าสังเกตุการละหมาดของท่าน นบีเป็นอย่างดีโดยละเอียด และได้รายงานกันต่อๆมาดั่งที่ ได้อธิบายไปแล้ว .... และนี่แหละคือขบวนการตรวจสอบ ความถูกต้อง ความน่าเชื่อถือ มาตรงนี้ ต้องการที่จะให้ท่านผู้อ่านได้เห็นตัวอย่างฮะ ดี ษ ที่ เ ชื่ อ ถื อ ได้ กั น สั ก หนึ่ ง ตั ว อย่ า ง แต่ ข อบอกท่ า นผู้ อ่ า นก่ อ นน่ ะ ครั บ ว่ า ตั ว ท่ า นนบี นั้ น เป็ น คนอาหรั บ ท่ า นพู ด ภาษาอาหรั บ เพราะฉะนั้ น คำา พู ดของท่ า นต้ น ฉบั บ จึ ง เป็ น ภาษาอาหรั บ เพราะฉะนั้ น ที่กล่าวว่า ฮะดีษ ทุก ๆบทที่ เชื่ อ หรือที่เชื่อถือไม่ได้นั้น นั่นเข้าใจโดยปริยายว่ า ฮะดีษบท นั้นๆจะมีตัวบทเป็นภาษาอาหรับ แต่การที่ฮะดีษบมหนึ่งบท ใดมีตัวบทเป็นภาษาอาหรับนั้น ไม่ได้หมายความว่าฮะดีษ บทนั้นๆจะต้องเชื่อถือได้ เพราะฉะนั้นทั้งฮะดีษที่เชื่อถือได้ และทั้งฮะดีษที่ถูกปลอมขึ้นมาต่างก็มีตัวบทเป็นภาษาด้วย กั น ทั้ ง สิ้ น แต่ ใดตอนนี้ จ ะเป็ น ตั ว อย่ า งของฮะดี ษ ที่ เ ชื่ อ ถื อ ได้: ท่านบุคอรีย์ได้บันทึกเอาไว้ในตำา ราบันทึกฮะดีษของ ท่านดังนี้ ... ‫حدتَّثنلا عمر بن حفص ، حدثنلا أ َبى ، حدثنلا جال َعمش ، حدثنلا‬ َ َ َّ‫َ ت‬ ُ ‫َ تَّ َ َ ُنْ ُنْ َ ف‬ ْ‫َ تَّ َ َ ِ ُن‬ ٍ ْ‫َ َ َ ف ُ َ ف ُ ُنْ ف ُ َ ُن‬ ‫أ َبوصلالح ، عن أ َبى هريرة رضى جاللـه عنه قلال : قلال جالنبى‬ ّ ِ َّ‫َ َ ت‬ َ َ ُ ‫َ ُنْ ِ ُنْ ف ُ َ ُنْ َ َ َ ِ َ تَّ ف ُ َ ُنْ ف‬ ٍ ِ َ ْ‫ف ُ ُن‬ ِ َ َ ْ‫َ ِ ِ ُنْ ِ َ ِ تَّ ِ َ ُنْ َ ُن‬ ‫صلى جاللـه عليه وسلم : تجدف ُ من شرجار جالنلاس يوم جالقِيلامة‬ َ َّ‫تَّ ف ُ َ َ ِ ِ َ َ ت‬ َّ‫َ ت‬ ٍ ْ‫َ َ ف ُ ِ ِ ُن‬ ‫عند جاللـه ذجاجالوجهين ، جالذِى يأتى هؤال َء بوجه ، وهؤال َء بوَجه‬ ٍ ْ‫ِ ُنْ َ تَّ ِ َ ُنْ َ ُنْ َ ُنْ ِ تَّ ُنْ َ ُنْ ِ ُنْ َ ف ُ ِ ِ َ ُن‬ ... 18
  • 19. บุคคลที่อยู่ในสายรายงานมี 6 คน โดยไม่นับตัวท่าน ศาสดานบีมุฮัมหมัด โดยคนที่ 6 ก็คือตัวของท่านอิห ม่า ม บุค อ รีย ์ ผู้เป็นเจ้าของตำา ราบันทึกฮะดีษ โดยที่ตำา ราของ ท่ า นเล่ ม นี้ มี ชื่ อ ว่ า ซ อ เ ฮี๊ ย ะ บุ ค อ รี ย ์ และตำา ราเล่ ม นี้ ก็ ไ ด้ แพร่กระจายไปทั่วโลกจนตกทอดมาถึงคนในยุคเราให้ได้ ศึกษากัน ... คนที่ 5 ของสายรายงานฮะดีษนี้มีชื่อว่า อุม ัร ฺ บิน หัฟ ศ์ ซึ่งท่านก็รับฟังฮะดีษมาจาก หัฟ ศ์ บิน ฆิย าษ (บิ ด า ข อ ง อุ ม ั ร ฺ ) ซึ่ ง ก็ รั บ ฟั ง ฮะดี ษ มาจาก อั ล -อ ะ อฺ ม ั ช โดยที่ ท่า นก็ รับ รายงานฮะดี ษมาจาก อ บู ศ อ ลิห ์ ซึ่ง ก็รั บ รายงานฮะดี ษ บทนี้ ม าจาก อ บู ฮุ ร ็ อ ย เ ร า ะ ฮ์ ร .ฎ . และ ท่ า น อบู ฮุ ร็ อ ยเราะฮ์ ร.ฎ. ก็ รั บ มาจากท่ า นนบี อี ก ที ซึ่ ง ท่านนบีก็คือผู้ที่เป็นเจ้าของคำาพูด โดยที่ท่านนบีได้รับการ วิวรณ์มาจากพระองค์อัลลอฮฺอีกที เพราะท่านนบีมุฮัมหมัด จะไม่พูดเรื่องราวต่างๆที่เกี่ยวกับศาสนาตามอารมณ์ หรือ ตามใจชอบ... ไม่ได้เด็ดขาด... แต่ท่านจะได้รับการดลใจ จากอัลลอฮฺ พระผู้เป็นเจ้าที่แท้จริงให้พูดออกไปเช่นนั้นอีก ที ... จากสายรายงานข้างต้นเราสามารถเรียงได้ดังนี้ โดย เริ่มจากอิหม่ามบุคอรีย์ ไล่ไปเรื่อยๆจนถึงท่านนบี: 1. บุคอรีย์ 2. อุมัรฺ บิน หัฟศ์ 3. หัฟศ์ บิน ฆิยาษ (บิดาของอุมัรฺ) 4. อัล-อะอฺมช ั 5. อบู ศอลิห์ 6. อบู ฮุร็อยเราะฮ์ ร.ฎ. 7. ท่านนบีย์ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิวะซัลลัม ได้กล่าว ว่า ... “ ท่า นจะได้พ บว่า มนุษ ย์ท ี่ช ั่ว ช้า ที่ส ุด ในวัน กิย ามะฮ์ ณ ที่ อ ั ล ล อ ฮ์ ก ็ ค ื อ ผู้ ซ ึ่ ง ตี ส อ ง ห น้ า ! (คื อ ) ผู้ ซ ึ่ ง ไ ป ห า ค น ห นึ่ ง ด้ ว ย สี ห น้ า แ บ บ ห นึ่ ง แ ล ะ ไ ป ห า อี ก ค น 19
  • 20. ห นึ่ง ด้ว ย สีห น้า อีก แ บ บ ห นึ่ง ” ... (อิหม่ามบุคอรีย์ได้ บันทึกหะดีษบทนนี้เอาไว้ในเลขที่ 6058) ข้อความข้างต้นนี้ เรียกว่า หะดีษ เพราะถูกอ้างว่า เป็ น คำา พู ด ของท่ า นนบี ย์ มุ หั ม มั ด ศ็ อ ลลั ล ลอฮุ อะลั ย ฮิ ว ะ ซั ล ลั ม ... นั ก วิ ช าการได้ ต รวจสอบคุ ณ สมบั ติ ข องผู้ รายงานหะดี ษบทนี้ แ ล้ ว พบว่ า ทุ กคนล้ ว นเป็น ผู้ ที่ เ ชื่ อ ถื อ ได้ , รายงานมาอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง, และข้ อ ความข้ า งต้ น ก็ ปราศจากข้ อ บกพร่ อ ง ... หะดี ษ บทนี้ จึ ง เรี ย กว่ า เป็ น หะดี ษ เศาะเหี๊ ย ะฮ์ (‫ ) ح د ي ث ص ح ي ح‬หรื อ หะดี ษ ที่ ถู ก ต้ อ ง ٌ ‫َ ِ ُنْ ي ٌ َ ِ ُنْ ي‬ คือ เป็นคำาพูดของท่านนบีย์จริงๆ ... ในตอนนี้จะยกตัวอย่างฮะดีษที่เชื่อถือๆไม่ได้มาให้ดู กัน และเรามาดูกันว่าทำาไมฮะดีษบทนี้จึงเชื่อถือไม่ได้ ท่านอัด-ดารุกุฏนีย์ ได้บันทึกไว้ว่า ... ‫حدتَّثنلا عبدجالصمدِ بن على ، ثنلا إ ِبرجاهيم بن أ َحُنْمد بن‬ ِ ْ‫َ َ ُن‬ ُ ‫َ َ َ َ ُنْ ف ُ تَّ َ ُنْ ف ُ َ ِ ،ٍّ َ َ ُنْ َ ِ ُنْ ف ُ ُنْ ف‬ ٍ ْ‫َ ُنْ َ َ َ َ ف ُ َ َ ُنْ ف ُ ف ُ ُنْ َ َ ُنْ ِ َ ِ ٍ َ َ ف ُ َ تَّ ف ُ ُنْ ف ُ َ ُن‬ ‫مروجان ، ثنلا عمر بن عثملان بن علاصم ، ثنلا محمد بن فضل‬ ‫عن أ َبيه عن طلاووس ، عن جلابر قلال : قلال رسف ُول جاللـه‬ ِ َّ‫َ َ َ ُنْ ف ُ ت‬ َ َ ٍ ِ َ ْ‫َ ُن‬ ٍ ْ‫َ ُنْ ِ ُنْ ِ َ ُنْ َ ف ُ ُن‬ ‫صلى جاللـه عليه وسلم : ال َ يقرأجالحلائض وال َ جالنفسلاء من‬ َ ِ ُ ‫ّ َ َ ف‬ َ ُ ‫َ ُنْ َ ِ ُنْ َ ِ ف‬ َ َّ‫تَّ ف ُ َ َ ُنْ ِ َ َ ت‬ َّ‫َ ت‬ ‫جالقرنآن شيـئلا‬ ً‫ُنْ ف ُ ُنْ ِ َ ُنْ ا‬ บุคคลที่อยู่ในสายรายงานมี 8 คน โดยไม่นับตัวท่าน ศาสดานบีมุฮัมหมัด โดยคนที่ 8 ก็คือตัวของท่านอิห ม่า ม อัด -ดารุก ุฏ นีย ์ ผู้เป็นเจ้าของตำาราบันทึกฮะดีษ และตำารา เล่มนี้ก็ได้แพร่กระจายไปทั่วโลกจนตกทอดมาถึงคนในยุค เราให้ ไ ด้ ศึ ก ษากั น ... คนที่ 7 ของสายรายงานฮะดี ษ นี้ 20
  • 21. มีชื่อว่า อับ ดุศ ซอมัด บิน อะลีย ์ ซึ่งท่านก็รับฟังฮะดีษมา จาก อิบ รอ ฮีม บิน อ ะห์ม ัด บิน มัร ฺว า น ซึ่งก็รับฟังฮะดี ษมาจาก อุ มั รฺ บิ น อุ ษ ม า น บิ น อ า ศิ ม โดยที่ ท่ า นก็ รั บ รายงานฮะดีษมาจาก มุห ัม มัด บิน ฟัฎ ล์ ซึ่งท่านก็รับฟัง ฮะดี ษ มาจาก อ ะ ฏี ย ะ ฮ์ บิ น อุ ม ั ร ฺ (บิ ด า ข อ ง มุ ห ั ม มั ด บิน ฟัฎ ล์ ) ซึ่งท่านก็รับฟังฮะดีษมาจาก ฏ อ วูซ บิน กัย ซ า น ซึ่ง ก็รั บรายงานฮะดี ษ บทนี้ ม าจาก ญ า บิ ร ฺ บิ น อับ ดุล ลอฮ์ ร.ฎ. และท่านญาบิรฺ บิน อับดุลลอฮ์ ร.ฎ. ก็รับมา จากท่ า นนบี อี ก ที ซึ่ ง ท่ า นนบี ก็ คื อ ผู้ ที่ เ ป็ น เจ้ า ของคำา พู ด โดยที่ท่านนบีได้รับการวิวรณ์มาจากพระองค์อัลลอฮฺอีกที เพราะท่ า นนบี มุ ฮัม หมัด จะไม่ พู ด เรื่ อ งราวต่ า งๆที่ เ กี่ ย วกั บ ศาสนาตามอารมณ์ หรื อ ตามใจชอบ... ไม่ไ ด้ เ ด็ ด ขาด... แต่ท่านจะได้ รับ การดลใจจากอั ลลอฮฺ พระผู้เ ป็ น เจ้ า ที่แ ท้ จริงให้พูดออกไปเช่นนั้นอีกที ... จากสายรายงานข้างต้น เราสามารถเรียงได้ดังนี้ โดยเริ่มจากอิหม่ามอัด-ดารุกุฏนีย์ ไล่ไปเรื่อยๆจนถึงท่านนบี: ลักษณะการรายงานและข้อความของหะดีษบทนี้ เป็นอย่างนี้ ... 1. อัด-ดารุกุฏนีย์ 2. อับดุศ ซอมัด บิน อะลีย์ 3. อิบรอฮีม บิน อะห์มด บิน มัรฺวาน ั 4. อุมัรฺ บิน อุษมาน บิน อาศิม 5. มุหมมัด บิน ฟัฎล์ ั 6. อะฏี ย ะฮ์ บิ น อุ มั รฺ (บิ ด าของมุ หั ม มั ด บิ น ฟัฎล์) 7. ฏอวูซ บิน กัยซาน 8. ญาบิรฺ บิน อับดุลลอฮ์ ร.ฎ. 9. ท่ า นรอซู้ ลุ ล ลอฮ์ ศ็ อ ลลั ล ลอฮุ อะลั ย ฮิ ว ะ ซัลลัม ได้กล่าวว่า ... 21
  • 22. “ ห้ า ม ส ต รี ท ี่ ก ำา ลั ง มี ป ร ะ จำา เ ดื อ น แ ล ะ ส ต รี ท ี่ กำา ลั ง มี น ิฟ า ส (เ ลือ ด ห ลัง จ า ก ค ล อ ด บุ ต ร ) อ่า น ส่ ว น ใดของอัล -กุร ฺอ ่า นเป็น อัน ขาด ” ... (ท่ า อิ ห ม่ า มอั ด -ดารุ กุ ฏ นี ย์ ได้ บั น ทึ ก ฮะดี ษ บทนี้ ใ น หนังสือของท่านชื่อ สุนัน อัด-ดารุกุฏนีย์, โดยได้บันทึกหะ ดีษบทนนี้เอาไว้ในเล่มที่ 2 หน้าที่ 87) ข้อความข้างต้นนี้ เรียกว่า หะดีษ เพราะถูกอ้างว่า เป็ น คำา พู ด ของท่ า นรอซู้ ลุ ล ลอฮ์ ศ็ อ ลลั ล ลอฮุ อะลั ย ฮิ ว ะ ซัลลัม ... แต่เมื่อนักวิชาการได้ตรวจสอบดูแล้ว ปรากฏว่า บุ ค คลหมายเลข 5 ของสายรายงานหะดี ษ บทนี้ คื อ “มุห ัม มัด บิน ฟัฎ ล์” ถูกวิจารณ์ว่า เป็น จอมโกหก ซึ่ง ประวัติของเขาผู้นี้ถูกบันทึกเอาไว้ในหนังสือ “ตักรีบ อัต- ตะฮ์ซีบ” เล่มที่ 2 หน้า 200 ดังนั้ น หะดีษ บทนี้จึ ง มิใช่คำาเป็นคำาพูดของท่านนบีย์อย่างแท้จริง ดังที่ถูกอ้าง ... นั่ น ก็ ห มายความว่ า ฮะดี ษ บทนี้ ไ ม่ อ าจที่ จ ะนำา มาเป็ น หลั ก ฐานเพื่อยืนยัน หรือปฏิเสธ หรือ เพื่อพิสูจน์สิ่งหนึ่งสิ ั่งใด ได้ ... เมื่อเป็นเช่นนี้ เราจึงได้รับบทเรียนว่า ฮะดีษบทไหน ก็ ต าม ที่ ไ ด้ รั บ การต รวจสอ บแล้ ว ว่ า เชื่ อ ถื อ ได้ นั่ น ก็ หมายความว่า สิ่งนั้นๆ หรือเหตุการณ์นั้น เป็นสิ่งที่เกิดขึ้น จริ ง ยกตั ว อย่ า งเช่ น ฮะดี ษ ต่ า งๆที่ ยื น ยั น ว่ า ท่ า นนบี มุ ฮั ม หมัดได้แสดงปาฏิหาริย์ เพื่อยืนยันถึงความเป็ นศาสนฑูต ที่แท้จริ ง ที่มาจากพระผู้ เ ป็ น เจ้ า เช่น ได้เกิดปฏิห าริ ย์ขึ้ น จากอาหารและเครื่องดื่มที่เพิ่มขึ้นหลายครั้ง ขณะที่ท่าน เราะซูล ได้ให้บรรดาซอฮาบะฮ์ มารับประทานอาหาร แต่ อาหารนั้นมีจำานวนไม่เพียงพอ จำากัดประมาณเพียงสิบคน ท่านเราะซูล ได้วางมือของท่าน หรือพ่นนำ้าลาย(แผ่วๆ)ไป ที่อาหารนั้น จากนั้นท่านได้ขอดุอาอ์ต่ออัลลอฮ์ซุบฮานะฮู วะตะอาลา เพื่อ ให้ อ าหารนั้ น มี (บะรอกะฮ์ ) ศิริม งคล จาก นั้นทหารทั้งกองทัพได้กินกันอย่างถ้วนหน้า และอาหารนั้น กลั บ ไม่ พ ร่ อ งหรื อ ลดลงเลย เหตุ ก ารณ์ นี้ ไ ด้ เ กิ ด ขึ้ น ใน สงครามคอนดัก ขณะที่ญาบิร บินอับดิลลาฮ ร่อฎิยัลลอฮุ 22