SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 21
การออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้
                                                             ผศ. บุญวัฒนา
บุญธรรม

         การเรียนรู้เป็นกระบวนการเปลียนแปลงพฤติกรรมที่เกิดขึ้น
                                                ่
โดยเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนองบ่อยๆ จนกลายเป็น
พฤติกรรมที่เกิดขึ้นอย่างถาวร (Lu Shen สุชิน นิธิไชโย และวรัท
พฤกษาทวีกุล) แผนจัดการเรียนรู้เป็นหัวใจสำาคัญที่จะช่วยให้
นักเรียนเกิดการพัฒนา ทำาให้นักเรียนมีความรู้และตามทักษะตาม
มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด รวมทั้งช่วยปลูกฝังคุณธรรม
จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ให้แก่ผู้เรียน (สำานักวิชาการ
และมาตรฐานการศึกษา พสฐ ศธ) แผนการเรียนรู้ได้มาจากการ
ทำาหน่วยการเรียนรู้
         ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
2551 กำาหนดหลักสูตรไว้ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ คือ ภาษาไทย,
คณิตศาสตร์, วิทยาศาสตร์, สังคมศาสตร์ ศาสนาและวัฒนธรรม
สุขศึกษาและพละศึกษา, ศิลปะ, การงานอาชีพและเทคโนโลยี,
ภาษาต่างประเทศ ในที่นี้จะกล่าวถึงเฉพาะกลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์
         ส่วนสำา คัญที่ปรากฏในแผนการจัดการเรียนรู้ประกอบด้วย 3
ส่วนคือ ส่วนต้น ส่วนกลางและส่วนท้าย
         ส่วนต้น มีรายละเอียดดังต่อไปนี้คือ
ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์
ชั้น...................... ภาคเรียนที............
                                              ่
ห น่ ว ย ก า ร เ รี ย น รู้ ที่                                       .................
เรื่ อ ง...............................................................................
.......
เรื่ อ ง...............................................................................
............ เวลา ................ชั่วโมง/คาบ
วั                                         น                                         ที่
ส อ น ............................................................................
เวลา.......................................
ผู้                          ส                           อ                           น
.....................................................................................
...............................................


ตุลาคม 2552                                                                        1
กลุ่มสาระ... เนื่องจากในบทเรีย นนี้เป็นวิชาวิท ยาศาสตร์
จึงใส่ไว้ให้เรียบร้อยแล้ว ชั้น หมายถึงชั้น ประถมศึกษาปีที่ ......
.....หรือมัธยมศึกษาปีท............. ี่
ภาคเรี ยนที่ 1 หรื อ 2 /ปีการศึ กษา........ หน่วยเรี ยนรู้ที่ ...และ
เรื่ อ ง...ให้ ดู จ ากหน่ ว ยเรี ย นรู้ ที่ โ รงเรี ย นจั ด ทำา ไว้ หรื อ ดู จ าก
โครงสร้า งรายวิ ชา ในบางโรงเรี ย นหน่ว ยการเรี ย นรู้ที่ ทำา ไว้ เ ป็ น
หน่วยใหญ่ๆ ดังนั้นชื่อเรื่องในตำาแหน่งแรกคือชื่อหน่วยใหญ่ ซึ่งจะ
ประกอบด้วยเรื่องย่อยๆ หลายเรื่อง เรื่อง........(ในตำา แหน่งที่ 2)
หมายถึง ชื่ อเรื่ องย่ อยในหน่ วยใหญ่ หรื อ ในบางโรงเรี ย นกำา หนด
หน่วยการเรียนรู้ไว้เป็นหน่วยย่อยๆ อย่างละเอียดในช่องของสาระ
ชื่ อ เ รื่ อ ง ย่ อ ย เ ห ล่ า นั้ น จึ ง เ ป็ น ชื่ อ เ รื่ อ ง ที่ ส อ น ใ น แ ต่ ล ะ ค รั้ ง
เวลา...ชั่วโมง/คาบ ต้องระบุใ ห้แ น่น อนว่า 1 หรือ 2 ชั่วโมงหรือ
คาบ วันที่สอน..จะระบุวันจันทร์ อังคารและตามด้วย วันที่ เดือน
ปี ก็ได้ เวลา... ให้ระบุว่าจากเวลากี่โมงถึงกี่โมง
ในกรณีที่ใช้แผนการจัดการเรียนรู้สอนซำ้าหลายๆ ห้อง ให้ระบุวัน
เวลา และห้ อ งในบรรทั ด เดี ย วกั น เพื่ อ สะดวกในการจดจำา ผู้
สอน... ให้ระบุชื่อบุคคล พึงระลึกอยู่เสมอว่า การทำาแผนการ
จั ด การเรี ย นรู้ สำา หรั บ นั ก ศึ ก ษาฝึ ก สอนจะต้ อ งทำา ล่ ว งหน้ า
และส่งให้อาจารย์พี่เลี้ยงในโรงเรียนตรวจก่อ นทำา การสอน
ครั้งแรก 5 วันทำาการ

ลองทำาดู ให้กรอกข้อความลงในช่องว่างต่อไปนี้ให้สมบูรณ์
ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์
ชั้น...................... ภาคเรียนที............
                                              ่
ห น่ ว ย ก า ร เ รี ย น รู้ ที่                                       .................
เรื่ อ ง...............................................................................
.......
เรื่ อ ง...............................................................................
............ เวลา ................ชั่วโมง/คาบ
วั                                         น                                         ที่
ส อ น ............................................................................
เวลา.......................................
ผู้                          ส                           อ                           น
.....................................................................................
...............................................

ตุลาคม 2552                                                                                2
ส่ วนกลาง เป็ นรายละเอี ยดที่ลงลึ กเฉพาะเรื่ อง ประกอบ
ด้ ว ยหั ว ข้ อ เรี ย งตามลำา ดั บ ดั ง ต่ อ ไปนี้ คื อ สาระที่ มาตรฐานการ
เรียนรู้ ตัวชี้วัด สาระสำาคัญ จุดประสงค์การเรียนรู้ กระบวรการ
จัดการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้

         สาระที่... กำาหนดเป็นตัวเลขและตามด้วยข้อความ สิ่งเหล่า
นี้ ต้ อ งดู จ ากหลั ก สู ต รแกนกลางฯ เช่ น สาระที่ 1 สิ่ ง มี ชี วิ ต กั บ
กระบวนการดำารงชีวิต

ล อ ง ทำา ดู จ า ก ห ลั ก สู ต ร แ ก น ก ล า ง ก า ร ศึ ก ษ า ขั้ น พื้ น ฐ า น
พุทธศักราช 2551 ให้เขียนสาระที่ต้องการมาเป็นตัวอย่างจำานวน
1 สาระ

ส                             า                           ร                           ะ
ที่ ...................................................................................
.................................................

     มาตรฐานการเรียนรู้ เป็นเป้าหมายสำา คัญของการพัฒนา
คุณภาพผู้เรียน มาตรฐานการเรียนรูระบุสิ่งที่ผู้เรียนพึงรู้ ปฏิบัติได้
                                 ้
และยังเป็นการสะท้อนให้ครูว่าต้องการอะไร จะสอนอย่างไร และ
ประเมินอย่างไร การเขียนมาตรฐานการเรียนรู้จะขึ้นต้นด้วย ว...
และตามด้วยข้อความ.....




ลองทำา ดู มาตรฐานการเรี ย นรู้ ไ ด้ ม าจากไหน? (จากหลั ก สู ต ร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551)
       เขียนมาตรฐานการเรียนรู้ในสาระที่ได้เขีย นไว้แล้ว (ขึ้นต้น
ด้ ว ย ว... และตามด้ ว ยข้ อ ความ) บางสาระอาจมี ม ากกว่ า 1
มาตรฐานการเรี ย นรู้ พึ ง ระวั ง ว่ า ถ้ า เป็ น การปฏิ บั ติ ก ารควรมี
มาตรฐานการเรียนรูที่ 8 เข้ามาเกี่ยวข้องด้วย
                  ้

มาตรฐานการเรียนรู้

ตุลาคม 2552                                                                       3
ว. ..................................................................................
........................................................
.....................................................................................
.........................................................
มาตรฐานการเรียนรู้
ว. ..................................................................................
........................................................
.....................................................................................
.........................................................
.....................................................................................
.........................................................

        ตัวชี้วัด (เดิมใช้คำา ว่ามาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น) เป็นการ
ระบุ สิ่ ง ที่ ผู้ เ รี ย นพึ ง รู้ แ ละปฏิ บั ติ ไ ด้ จะเห็ น ได้ ว่ า ป. 1-ม. 3
หลักสูตรกำา หนดตัวชี้วัดเป็นรายปี ส่วน ม. 5-6 หลักสูตรกำา หนด
ตัวชี้วัดเป็นช่วงชั้น ปัจจุบันหลักสูตรแกนกลางฯ ที่กำาหนดให้ตัวชี้
วัดมาให้เรียบร้อยแล้ว เมื่ออ่านตัวชี้วัดแล้วจะทราบแนวทางการ
จัดการเรียนการสอน และเกณฑ์สำาหรับการวัดและการประเมินผล
ในกรณีที่ตัวชี้วัดกำา หนดไว้ กว้า งเกิน ไป สามารถตัดทอนเฉพาะ
เรื่องที่ต้องการได้ เช่นตัวชี้วัดกำาหนดว่า ทดลอง อธิบาย นำ้า แสง
เป็นปัจจัยจำา เป็นต่อการดำา รงชีวิตของพืช ถ้า ครู ต้อ งการจะสอน
เฉพาะเรื่ อ งนำ้า เป็ น ปั จ จั ย ในการดำา รงชี วิ ต ของพื ช ก่ อ น ครู ก็
สามารถเขี ยนตัว ชี้วั ดในแผนจั ดการเรีย นรู้นั้ นว่า นำ้า เป็ นปั จ จั ย ใน
การดำารงชีวิตของพืช
        อนึ่ง บางเนื้อหาหรือกิจกรรมอาจสอดคล้องกับตัวชี้วัดหลาย
ตัวก็ได้

ลองทำา ดู ตัวชี้วัดได้มาจากไหน? (จากหลักสูตรแกนกลางการ
ศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551)
เมื่อเขียนสาระสำา คัญในเรื่องที่ต้องการจะสอนเรียบร้อยแล้ว ให้
เขียนตัวชี้วัดให้ครบตามที่หลักสูตรแกนกลางฯ กำาหนดให้
.....................................................................................
.........................................................
.....................................................................................
.........................................................


ตุลาคม 2552                                                                     4
.....................................................................................
.........................................................
       เมื่ อ พิ จ ารณากำา หนดไว้ ใ นใจแล้ ว ว่ า จะสอนอะไร อย่ า งไร
และจะประเมินอะไรบ้าง ให้เขียนตัวชี้วัดที่ตรงจุดที่สุด พึงระวัง
ว่า ตัวชี้วัดเป็นเป้าประสงค์ใหญ่กว่าจุดประสงค์การเรียนรู้
.....................................................................................
.........................................................
.....................................................................................
.........................................................

       สาระสำาคัญ เป็นแก่นของเรื่อง หรือเป็นสาระที่จะต้องติดตัว
ผู้เรียนอย่า งถาวรหลังจากที่ ผู้เ รียนได้ เรี ยนรู้ เรื่อ งนั้ นๆ แล้ว การ
เขียนสาระสำา คัญต้องได้ใจความตรงกับเนื้อหาที่จะสอน ในหลัก
สูตรฯ จะกำาหนดขอบข่ายของสาระสำาคัญไว้แล้ว

ลองทำา ดู สาระสำา คัญได้มาจากไหน? (จากสาระการเรียนรู้แกน
กลางของหลั กสู ตรแกนกลางการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน พุ ท ธศั ก ราช
2551)
ให้เขียนสาระสำาคัญในเรื่องที่ต้องการจะสอน (โดยดูจากสาระการ
เ รี ย น รู้ แ ก น ก ล า ง ที่ ห ลั ก สู ต ร กำา ห น ด ใ ห้ แ ล้ ว เ ป็ น แ น ว ห รื อ
โครงสร้างรายวิชา หรือดูจากหน่วยการเรียนรูฯ ประกอบ)           ้
.....................................................................................
......................................................... ...........................
.....................................................................................
..............................
.....................................................................................
.........................................................

     จุ ด ประสงค์ ก ารเรี ย นรู้ เป็ น จุ ดประสงค์ ที่ บ่ ง ชี้ พ ฤติ ก รรม
เฉพาะเจาะจงว่า จะเกิดอะไรขึ้นในตัวนักเรียนหลังจากที่ได้ผ่าน
กิจกรรมการเรียนรู้เรื่องนั้นๆ แล้ว การเขียนจุดประสงค์การเรียนรู้
ต้องสอดคล้องกับตัวชี้วัด และควรแสดงให้เห็นถึงเป้าหมายของ
การเรียนรู้ที่เป็นภาระงานและพฤติกรรมที่ผู้เรียนพึงแสดงออกใน
ระดับต่างๆ



ตุลาคม 2552                                                                      5
ลองทำา ดู พฤติ ก รรมสามารถแสดงออกให้ เ ห็ น ได้ อ ย่ า งชั ด เจน
คำา ที่ กำา หนดให้ ต่ อ ไปนี้ มี คำา บางคำา ที่ ส ามารถบ่ ง ชี้ พ ฤติ ก รรมได้
อย่างชัดเจน        ให้ขีดกากบาททับคำาที่ไม่ใช่พฤติกรรม

วาดภาพ มีความรู้ แยกองค์ประกอบ ออกแบบ ปรุงอาหาร จัด
กลุ่ม จด จำา สนใจ เล่าเรื่อง ประทับใจ สรุปความหมาย ร้อง
เพลง จั ด ลำา ดั บ จั ด ป้ า ยนิ เ ทศ แสดงความคิ ด เห็ น รู้ สึ ก
อภิปราย มีความเข้าใจ อธิบาย บอก เจตคติ เขียนบรรยาย มี
ทัศนคติ วิเคราะห์ เรียงความ เรียบเรียง สะสม โต้วาที ระบุ
จดจ่อ จัดนิทรรศการ สังเคราะห์ ซาบซึ้ง มีจิตสำา นึก ท่องบท
สวดมนต์ แสดงบทบาทสมมุติ ตั้งใจ บันทึก สงสาร ทดลอง
ตกแต่ง บันทึก

      จุ ด ป ร ะ ส ง ค์ ก า ร เ รี ย น รู้ ต้ อ ง ค ร อ บ ค ลุ ม ด้ า น ค ว า ม รู้
(knowledge - K) ทั ก ษ ะ / ก ร ะ บ ว น ก า ร (process-P) แ ล ะ
คุ ณ ธ ร ร ม จ ริ ย ธ ร ร ม ค่ า นิ ย ม (attitude-A) ก า ร จ ะ เ ขี ย น
วัตถุประสงค์การเรีย นรู้ไ ด้ ต้อ งย้ อนไปทำา ความเข้าใจเรื่ อง การ
เรียนรู้ที่ บลูม (Benjamin S. Bloom, 1956) จำา แนกการเรีย นรู้ไว้
3 ด้าน คือ พุทธิพิสัย (cognitive domain) จิตตพิสัย (affective
domain) และทักษะพิสัย (psychomotor domain)

      พุทธิพิสัย (C) หมายถึงการเรียนรู้ด้านความเข้าใจ ประกอบ
ด้วย 6 ขั้นตอนคือ
      1. ด้านความรู้- ความจำา (knowledge-K) แบ่งออกเป็น การ
         จำาเนื้อเรื่อง นิยามศัพท์
สัญลักษณ์ อักษร เครื่องหมาย สูตร ทฤษฏี หน้าที่ ประโยชน์
และโทษ วิธีดำา เนิ น การ การจั ดประเภท วิธีก ารที่ใ ช้ สำา หรั บ การ
ปฏิบัติ และความคิดรวบยอด
      2. ความเข้ า ใจ (comprehension) รวมถึ ง การแปลความ
         ตีความ และขยายความ
      3. การนำา ไปใช้ นำา เอาความรู้ ค วามจำา ความเข้ า ใจ ไปแก้
         ปัญหาที่แปลกใหม่
      4. การวิเคราะห์ การแยกส่วนต่างๆ หรือการหาความสัมพันธ์
         กับส่วนต่างๆ
      5. การสังเคราะห์ รวมส่วนต่างๆ ตลอดจนมีการวางแผน


ตุลาคม 2552                                                                   6
6. การประเมินค่า เป็นความรู้สูงสุดที่ต้องใช้วิจารณญาณ (
            รศ. ชูชีพ อ่อนโคกสูง
www.swuaa.com/web และ www. novabizz.com/Nova Ace/
cognitive.htm)
        ดังนั้น การเขียนจุดประสงค์การเรียนรู้ ต้องตั้งหลักให้ได้ว่า
        ต้องการเรียน C หรือ K
เพราะ ความรู้ ความจำา (K) เป็นเพียงส่วนหนึ่งของ พุทธิพิสัย (C)
        ตั ว อย่ า งคำา กริ ย าที่ บ่ ง บอกพฤติ ก รรมการเรี ย นรู้ ใ นขั้ น เรี ย น
ของสาระวิทยาศาสตร์ ในด้านความรู้ ความจำา (K) คือ ให้นิยาม
บอกชื่อ บอกคุณสมบัติ จับคู่ เล่าเหตุการณ์ จดบันทึก เรียกชื่อ
อ่านสัญลักษณ์
        ตัวอย่างคำา กริยาในด้านความเข้าใจ คือ เปรียบเทียบ (บอก
ความแตกต่า ง) แสดงความสัมพันธ์ อธิบาย ชี้แจง จัดจำา พวก
ยกตัวอย่าง ให้เหตุผล จับใจความ เขียนภาพประกอบ แสดง
ความคิดเห็น จัดเรียงลำาดับ วิจารณ์ แปลความหมาย อ่านกราฟ
        ตัวอย่างคำากริยาในด้านการนำา ไปใช้คือ ใช้ให้เป็นประโยชน์
คำา นวณเพื่ อ แก้ ปั ญ หา ระวั ง ป้ อ งกั น เลื อ กใช้ อ ย่ า งถู ก ต้ อ ง
ประหยัดพลังงาน หลีกเลี่ยงอันตราย แก้ไขปรับปรุง ดัดแปลง
ให้เหมาะสม (วีระศักดิ์ ชมภูคำา, 2539)
        ตั ว อย่ า งคำา กริ ย าในด้ า นการวิ เ คราะห์ คื อ เขี ย นโครงร่ า ง
แยกแยะ จัดประเภท จำาแนกให้เห็นความแตกต่าง บอกเหตุผล
ทดลอง
        ตัวอย่างคำากริยาในด้านการสังเคราะห์คือ รวบรวม ออกแบบ
จัดระเบียบ สร้าง ประดิษฐ์ วางหลักการ
        ตัวอย่างคำา กริยาในด้านการประเมินคือ วัดผล เปรียบเทียบ
ตีค่า ลงความเห็น วิจารณ์
        เมื่อพิจารณาคำากริยาเหล่านี้พบว่า บางส่วนจะไปพ้องกับคำา
กริยาในด้ านกระบวนการสื บเสาะหาความรู้ทางวิท ยาศาสตร์ คื อ
สั ง เกต สำา รวจ เสาะหา วั ด เก็ บ ข้ อ มู ล รวบรวมข้ อ มู ล นำา เสนอ
ข้ อ มู ล ตั้ ง สมมุ ติ ฐ าน (ทำา นาย) ออกแบบการทดลอง ควบคุ ม
ตัวแปร แปลความหมาย สรุปและแก้ปัญหา พิสูจน์

ลองทำาดู
       ระบุคำากริยาที่แสดงถึง C มา 20 พฤติกรรม
.....................................................................................
.........................................................

ตุลาคม 2552                                                                      7
.....................................................................................
.........................................................
.....................................................................................
.........................................................
.....................................................................................
.........................................................
       ระบุคำากริยาที่แสดงถึง K มา 10 พฤติกรรม
.....................................................................................
.........................................................
.....................................................................................
.........................................................
.....................................................................................
.........................................................
.....................................................................................
.........................................................

        จิ ต ตพิ สั ย เป็ น วั ต ถุ ป ระสงค์ ที่ ใ ช้ วั ด ความสามารถด้ า น
อารมณ์ ความรู้ สึก เจตคติสิ่ง ต่า งๆ จำา แนกเป็น 5 ระดับ คื อ การ
ยอมรับ การตอบสนอง การสร้างค่านิยม การดำาเนินการจัดระบบ
ค่ า นิ ย ม แ ล ะ ก า ร แ ส ด ง ลั ก ษ ณ ะ เ ฉ พ า ะ ต น ต า ม ค่ า นิ ย ม
(ced.knutnb.ac.th/jpp./cai/cai4.PPT)
        การยอมรับ ประกอบด้วยกิริยาต่อไปนี้คือ เลือก ชี้ ติดตาม
ยอมรับ
        การตอบสนอง ประกอบด้วย อภิปราย เลือก เขียนชื่อกำากับ
        การสร้ า งค่ า นิ ย ม ประกอบด้ ว ย อภิ ป ราย ริ เ ริ่ ม เลื อ ก
แสวงหา ประพฤติตาม นำามาใช้
        การดำา เนิ น การจั ด ระบบค่ า นิ ย ม ประกอบด้ ว ย จำา แนก จั ด
        ลำา ดั บ จั ด ระเบี ย บ ผสมผสานการแสดงลั ก ษณะเฉพาะตน
        ตามค่ า นิ ย ม สนั บ สนุ น ต่ อ ต้ า น ใช้ เ หตุ ผ ล แสดงออก
        ชักชวน

     ตัวอย่างพฤติกรรมการเรียนรู้ที่สามารถวัดได้โดยการสังเกต
     มีดังต่อไปนี้คือ
     ความสนใจแสดงออกด้วย ความใส่ใจต่อการศึกษาวิชาต่างๆ
     การทำางาน การใฝ่รู้ การ
ร่วมแสดงความคิดเห็น

ตุลาคม 2552                                                                      8
นิสัยการเรียน แสดงออกด้ วย การเตรีย มพร้อ มในการเรีย น
         การใช้เวลาว่างให้เป็น
ประโยชน์ ความรับผิดชอบ ความกระตือรือร้น
         ความซาบซึ้ง แสดงออกด้ วยการชื่ นชม พอใจ สนุ กสนาน
         กับการทำางาน กิจกรรมที่
เกี่ยวข้องกับศิลปะ ดนตรี วัฒนธรรมและธรรมชาติ
         เจตคติทางวิทยาศาสตร์ แสดงออกด้วยความ ยอมรับฟัง ผู้
         อื่น ใฝ่รู้ มีเหตุผล มีทักษะการ
คิด ไม่ด่วนสรุปจนกว่าจะมีหลักฐานชัดเจน
         เจตคติทางสังคม แสดงออกด้วยการ มีสัมมาคารวะ เคารพ
         กติกา เคารพสิทธิของผู้อื่น
ความปรารถนาที่จะช่วยสังคม
         การปรั บ ตั ว แสดงออกด้ ว ยการ มี ค วามสั ม พั น ธ์ กั บ ผู้ อื่ น
         มั่นคงทางอารมณ์ มีปฏิกิริยาต่อ
คำาชมและคำาวิจารณ์
         ในกรณี ที่ A หมายถึ ง attitude หรื อ เจ ตคติ เราต้ อง
ทำาความเข้าใจก่อนว่า เจตคติคือความรู้สึก (ด้านจิตใจ) ที่คนเรามี
ต่ อ สิ่ ง ใ ดสิ่ ง หนึ่ ง หรื อ หลาย สิ่ ง อา จ เป็ นวั ตถุ บุ คคล ห รื อ
สถานการณ์ การเกิดเจตคติเกิดจากการเรียนรู้ของบุคคล ไม่ใช่
สิ่ งที่ติดตั วมาแต่กำา เนิด การแสดงการเกิ ดเจตคติ คื อ ทัศนคติ
ความเชื่อที่ได้ประเมินค่าแล้วว่า เชื่อถือหรือไม่เชื่อถือ ดีหรือไม่ดี
รวมไปถึ ง การมี ป ฏิ กิ ริ ย าโต้ ต อบ ความพร้ อ มที่ จ ะมี พ ฤติ ก รรม
สอดคล้องหรือต่อต้าน เจตคติจะนำาไปสู่พฤติกรรม
         จะเห็นได้ว่าเจตคติเป็นส่วนหนึ่งของจิตตพิสัย

ลองทำาดู
       ระบุคำากริยาด้านจิตตพิสัย มา 20 พฤติกรรม
.....................................................................................
.........................................................
.....................................................................................
.........................................................
.....................................................................................
.........................................................
.....................................................................................
.........................................................
ลองทำาดู

ตุลาคม 2552                                                                      9
ระบุคำากริยาด้านเจตคติ มา 10 พฤติกรรม
.....................................................................................
.........................................................
.....................................................................................
.........................................................
.....................................................................................
.........................................................
.....................................................................................
.........................................................


       ทักษะพิสัย เป็นวัตถุประสงค์ที่วัดทางด้านทักษะและความ
ชำา น า ญ โ ด ย มุ่ ง เน้ น ที่ ก า ร ก ร ะ ทำา สา ม า ร ถ ร ะ บุ พ ฤ ติ กร ร ม ที่
แสดงออกได้ จ ากการตี ค วามทั ก ษะหรื อ การปฏิ บั ติ อ อกมาเป็ น
พฤติกรรม            พฤติกรรมตามระดับการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัยแบ่ง
เป็ น 5 ขั้ น คื อ การรั บ รู้ ใ นสิ่ ง ที่ ต้ อ งปฏิ บั ติ โ ดยผ่ า นทางประสาท
สัมผัส การเตรียมพร้อม การปฏิบัติการโดยอาศัยตัวอย่าง การ
ปฏิบัติการได้เอง การปฏิบัติด้วยความชำานาญหรือโดยอัตโนมัติ
       การรั บ รู้ ใ นสิ่ ง ที่ ต้ อ งปฏิ บั ติ โ ดยผ่ า นทางประสาทสั ม ผั ส
ประกอบด้วยกริยาดังต่อไปนี้ สังเกต รูสึก สัมผัส ตรวจพบ
                                                   ้
       การเตรียมพร้อม ประกอบด้ วย แสดงท่าทาง ตั้งท่า เข้ า
ประจำาที่
       การปฏิบัติการโดยอาศัยตัวอย่าง ประกอบด้วย เลี ยนแบบ
ทดลอง ฝึกหัด
       การปฏิบัติการได้เอง ประกอบด้วย สาธิต ผลิต แก้ไข ทำาได้
สำาเร็จด้วยตนเอง ทำางานได้เร็จขึ้น
       การปฏิบัติด้วยความชำานาญหรือโดยอัตโนมัติ ประกอบด้วย
ทำา งานด้ ว ยความกระฉั บ กระเฉง จั ด ระบบ ควบคุ ม การทำา งาน
แนะแนวทาง


ลองทำาดู
       ระบุพฤติกรรมด้านทักษะพิสัย มา 20 พฤติกรรม
.....................................................................................
.........................................................


ตุลาคม 2552                                                                      10
.....................................................................................
.........................................................
.....................................................................................
.........................................................
.....................................................................................
.........................................................

        การเขียนจุดประสงค์การเรียนรู้ควรเขียนเป็นข้อๆ เรียงตาม
ลำาดับพฤติกรรมที่เกิดก่อน-หลัง จำานวนข้อจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่
กับเนื้อหาและเวลาที่กำา หนดในแต่ละเรื่อง ประโยคควรมี 3 ส่วน
คือ ควรเริ่มต้นประโยคด้วยคำากริยา ตามด้วยเรื่องย่อยที่จะจัดการ
เ รี ย น รู้ แ ล ะ จ บ ล ง ด้ ว ย เ ก ณ ฑ์ (www.e-tech.ac.th/file-
upload/ri.doc)
        เกณฑ์ หมายถึง ผลของพฤติกรรมที่เกิดขึ้น อาจระบุได้เป็น
2 ลักษณะ คือ เกณฑ์เชิงคุณภาพ และเกณฑ์เชิงปริมาณ
        เกณฑ์เชิงคุณภาพ ระบุด้วยคำา พูด “ได้อย่างถูกต้อง เหมาะ
สม”
        เกณฑ์ เ ชิ ง ปริ ม าณ ระบุ เ ป็ น ตั ว เลข เช่ น จำา นวน ร้ อ ยละ
สั ด ส่ ว น เป็ น ต้ น (วี ร ะศั ก ดิ์ ชมพู คำา , 2539) ส่ ว นจะเขี ย นจุ ด
ประสงค์การเรียนรู้โดยแยกเป็นด้านๆ หรือเรียงต่อกันไปก็ได้ แล้ว
แต่โรงเรียนนั้นๆ จะกำาหนด บางโรงเรียนไม่แบ่งเป็นด้านๆ แต่ให้
วงเล็บ K หรือ C, P และ A ไว้ตอนท้ายประโยคก็ได้

       อนึ่ ง แผนการจั ด การเรี ย นรู้ ข องบางโรงเรี ย น อาจ
กำาหนดให้ P หมายถึง process ดังนั้น ก่อนที่จะทำาแผนการ
จัดการเรียนรู้ของโรงเรียนใดนักศึกษาฝึกสอนต้องทำาความ
เข้าใจ สอบถามอาจารย์พี่เลี้ยงในโรงเรียนก่อ นว่ าต้ องการ
ให้ระบุ K หรือ C ลงในแผนการจัดการเรียนรู้ P ในแผนการ
จั ด การเรี ย นรู้ ข องโรงเรี ย นนั้ น หมายถึ ง phychomotor
domain หรื อ process และ A หมายถึ ง attitude หรื อ
affective domain กันแน่ เพื่อทีจะได้จัดทำาได้ถูกต้อง การ
เขี ย นเรี ย งลำา ดั บ ระหว่ า ง K (หรื อ C) กั บ P และ A นิ ย มเขี ย น K
(หรือ C) ก่อน ส่วน P กับ A สลับตำาแหน่งกันได้




ตุลาคม 2552                                                                      11
ลองทำาดู เมื่อเขียนตัวชี้วัดในเรื่องที่ต้องการจะสอนเรียบร้อยแล้ว
ให้เขียนจุดประสงค์การเรียนรูให้ครบทุกด้าน ในที่นี้ขอให้แยกออก
                                      ้
ทีละด้าน คือ C, A และ P
.....................................................................................
.........................................................
.....................................................................................
.........................................................
.....................................................................................
.........................................................
.....................................................................................
.........................................................
.....................................................................................
.........................................................
.....................................................................................
.........................................................
.....................................................................................
.........................................................
.....................................................................................
.........................................................

       สาระการเรียนรู้ หมายถึงความรู้ที่เป็นเนื้อหา มีรายละเอียด
สั้นๆ เป็นเรื่องที่จะนำามาใช้ในการจัดการเรียนรู้เฉพาะในแผนฯ นี้

ลองทำา ดู เมื่อเขียนสาระสำา คัญและตัวชี้วัดในเรื่องที่ต้องการจะ
สอนเรียบร้อยแล้ว ให้เขียนสาระการเรียนรู้
.....................................................................................
.........................................................
.....................................................................................
.........................................................
.....................................................................................
.........................................................
.....................................................................................
.........................................................

            กระบวนการจัดการเรียนรู้ หมายถึงการจัดสภาพการเรียน
รู้ เ พื่ อ ให้ ผู้ เ รี ย นบรรลุ ตามตั ว ชี้ วั ด ซึ่ ง ต้ อ งจั ดโดยเน้ น ผู้ เ รี ย นเป็ น

ตุลาคม 2552                                                                             12
สำาคัญ เหมาะกับธรรมชาติและวัยของผู้เรียน การจัดต้องให้เป็น
ไปตามลำาดับสอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้ ให้มีความหลาก
หลายเหมาะสมกับผู้เรียนและเนื้อหาสาระ ดังนั้นเมื่อกำา หนดการ
จัดการเรียนรู้แล้วให้ย้อนกลับไปตรวจสอบที่จุดประสงค์การเรียนรู้
ว่าได้ดำาเนินการครบถ้วนแล้วหรือไม่
          ขอย้อนกลับไปพิจารณาแนวความคิด 9 ประการของโรเบิร์ต
การเย่ (Robert Gange’) ประกอบด้วย
          1. เร้ า กระตุ้ น และดึ ง ดู ด ความสนใจ (gain attention)
             เป็นการช่วยให้ผู้เรียนสามารถรับ
สิ่ ง เร้ า หรื อ สิ่ ง ที่ จ ะเรี ย นรู้ ไ ด้ จึ ง ควรมี ก ารจู ง ใจและเร่ ง เร้ า ความ
สนใจของผู้เรียนให้อยากเรียน นอกจากนี้ก ารยัง เป็ นการเตรี ยม
พร้อมให้ผู้เรียนพร้อมที่จะศึกษาต่อไปด้วย
          2. บอกวั ต ถุ ป ระสงค์ (specify objective) ผู้ เ รี ย นจะได้
             ทราบถึงความคาดหวังของ
บทเรียน ทราบประเด็นสำา คัญของเนื้อหา การแจ้งให้ผู้เรียนทราบ
ว่าบทเรียนนี้มีจุดมุ่งหมายอะไร ทำาให้ผู้เรียนรับรู้ตามที่ผู้สอนคาด
หวั ง และยั ง ทำา ให้ ผู้ เ รี ย นสามารถจำา และเข้ า ใจเนื้ อ หาได้ ดี ขึ้ น อี ก
ด้วย
          3. ท บ ท ว น ค ว า ม รู้ เ ดิ ม (activate prior knowledge)
             เป็นการช่วยให้ผู้เรียนดึงความรู้เดิม
มาใช้และจะช่วยให้ผู้เรียนพร้อมที่จะเชื่อมโยงกับความรู้ใหม่ การ
ทบทวนความรู้เดิมอาจอยู่ในรูปแบบใดก็ได้ เช่นการแสดงด้วยคำา
พูด การเขี ยน การวาดภาพ หรือ การทดสอบก่ อนบทเรี ยน (pre-
test) เพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนคิดย้อนหลังถึงสิ่งที่เรียนรู้มาก่อนหน้านี้
          4. นำา เสนอเนื้อหาใหม่ (present new information) ผู้สอน
             ควรจัดวิธีสอนแบบต่างๆ
ผสมผสานกั บ สื่ อ ให้ เ หมาะสมกั บ สาระการเรี ย นรู้ เ พื่ อ ให้ ผู้ เ รี ย น
เข้าใจเนื้อหาได้งายขึ้น      ่
          5. ชี้ แนวทางการเรี ย นรู้ (guide learning) จั ดกิ จกรรมเพื่ อ
             ช่วยให้ผู่เรียนสามารถนำา
ความรู้ เ ดิ ม มาผสมผสานกั บ ความรู้ ใ หม่ ใ ห้ มี ค วามกระจ่ า งชั ด ขึ้ น
เช่ น การให้ ตัว อย่ า งและอธิ บ ายจะช่ ว ยให้ ผู้ เ รี ย นทำา ความเข้ า ใจ
และแยกแยะความแตกต่างของเนื้อหาที่เรียนได้ง่ายและเร็วขึ้น
          6. กระตุ้ น การตอบสนองต่ อ บทเรี ย น (elicit response)
             หากผู้เรียนได้มีส่วนร่วมใน


ตุลาคม 2552                                                                        13
กิจกรรมการเรียนการสอน การร่วมตอบคำาถาม ก็จะเป็นการกระตุ้น
ให้ผู้เรียนแสดงความสามารถหรือมีโอกาสตอบสนองต่อสิ่งเร้าหรือ
สาระที่เรียนได้ดีกว่าที่จะให้ผู้เรียนเป็นฝ่ายรับเพียงอย่างเดียว
        7. ให้ ข้ อ มู ล ย้ อ นกลั บ (provide feedback) การทำา แบบ
              ฝึกหัด หรือการการให้คำาชมเชย
เมื่อผู้เรียนทำากิจกรรมได้ตรงตามวัตถุประสงค์เป็นการให้แรงเสริม
และข้อมูลที่เป็นประโยชน์แก่ผู้เรียน
        8. ก า ร ป ร ะ เ มิ น ก า ร แ ส ด ง อ อ ก ข อ ง ผู้ เ รี ย น (assess
              performance) การทดสอบความรู้
หลังบทเรียนช่วยให้ผู้เรียนทราบว่าตนเองบรรลุวัตถุประสงค์การ
เรี ย นรู้ ไ ด้ ม ากน้ อ ยเพี ย งใด นอกจากนี้ ยั ง มี ผ ลต่ อ ความจดจำา
เนื้ อ หาของผู้ เ รี ย นด้ ว ย แบบทดสอบควรเรี ย งตามวั ต ถุ ป ระสงค์
ของเนื้ อหาและอาจแยกเป็ น ส่ ว นๆ เฉพาะ ตามเนื้ อ หาที่ เ รี ย นด้ วย
ทั้งนี้ถ้าต้องการทดสอบรวมควรทำาอีกชุดหนึ่งหลังจากจบทั้งหน่วย
การเรียนรู้ก็ได้
        9. สรุ ป และการนำา ไปใช้ (review and transfer) เป็ น ขั้ น
              ตอนสุดท้าย เมื่อผู้เรียนได้รับการ
ฝึกฝนอย่างเพียงพอจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจอย่างลึกซึ้ง
        จากข้อมูลดังกล่าวผู้เรียนสามารถออกแบบการจัดการเรียนรู้
ได้หลากหลายวิธี โดยใช้หลักการสอนและแนวความคิดของกาเย่
ตามปกติแล้วกระบวนการจัดการเรียนรู้จะประกอบด้วย ขั้นนำา ขั้น
สอนและขั้นสรุป แต่ในกิจกรรมการเรียนรู้สาระวิทยาศาสตร์บาง
เนื้ อ เรื่ อ งอาจเน้ น การสื บ เสาะหาความรู้ เ ป็ น หลั ก สำา คั ญ ในการ
จัดการเรียนรู้ ซึ่งประกอบด้วย ขั้นสร้างความสนใจ ขั้นสำารวจและ
ค้ น หา ขั้ น อธิ บ ายและลงข้ อ สรุ ป ขั้ น ขยายความรู้ และขั้ น
ประเมินก็ได้

ลองทำา ดู เมื่อเขียนตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้ในเรื่องที่ต้องการ
จะสอนเรียบร้อยแล้ว ให้ระบุกิจกรรมในกระบวนการจัดการเรียนรู้
อาจเลือกใช้วิธีสอนวิธีใดก็ได้ที่เห็นสมควร โดยเขียนระบุขั้นนำา
ขั้ น สอน ขั้ น สรุ ป อย่ า งละเอี ย ดและเขี ย นเวลาที่ ใ ช้ ใ นแต่ ล ะขั้ น
กำากับไว้ด้วย
.....................................................................................
.....................................................................................
.....................................................................................
.............................

ตุลาคม 2552                                                                     14
.....................................................................................
.....................................................................................
.....................................................................................
.............................
.....................................................................................
.....................................................................................
.....................................................................................
.............................
.....................................................................................
.....................................................................................
.....................................................................................
.............................
.....................................................................................
.....................................................................................
.....................................................................................
.............................
.....................................................................................
.....................................................................................
.....................................................................................
.............................
.....................................................................................
.....................................................................................
.....................................................................................
.............................
.....................................................................................
.....................................................................................
.....................................................................................
.............................
.....................................................................................
.....................................................................................
.....................................................................................
.............................
.....................................................................................
.....................................................................................
.....................................................................................
.............................

ตุลาคม 2552                                                                      15
.....................................................................................
.....................................................................................
.....................................................................................
.............................
.....................................................................................
.....................................................................................
.....................................................................................
.............................

ลองทำาดูอีกวิธีหนึ่ง เมื่อเขียนตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้ในเรื่อง
ที่ ต้ อ งการจะสอนเรี ย บร้ อ ยแล้ ว ให้ ร ะบุ กิ จ กรรมในกระบวนการ
จั ด การเรี ย นรู้ ขั้ น สร้ า งความสนใจ ขั้ น สำา รวจและค้ น หา ขั้ น
อธิบายและลงข้อสรุป ขั้นขยายความรู้ และขั้นประเมิน อย่าง
ละเอียดและเขียนเวลาที่ใช้ในแต่ละขั้นกำากับไว้ด้วย
.....................................................................................
.....................................................................................
.....................................................................................
.............................
.....................................................................................
.....................................................................................
.....................................................................................
.............................
.....................................................................................
.....................................................................................
.....................................................................................
.............................
.....................................................................................
.....................................................................................
.....................................................................................
.............................
.....................................................................................
.....................................................................................
.....................................................................................
.............................
.....................................................................................
.....................................................................................

ตุลาคม 2552                                                                      16
.....................................................................................
.............................
.....................................................................................
.....................................................................................
.....................................................................................
.............................
.....................................................................................
.....................................................................................
.....................................................................................
.............................



          สื่อการเรียนรู้หรือแหล่งการเรียนรู้ เป็นเครื่องมือของการ
เรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ คือสิ่งที่อยู่รอบๆ ตัวเราทุกอย่าง สื่อการ
เรี ย นรู้ มี ห ลายอย่ า ง คื อ วั ส ดุ สิ่ ง พิ ม พ์ เช่ น เอกสารประกอบบท
เรี ย น บทเรี ย นสำา เร็ จ รู ป นิ ต ยสาร วารสาร จุ ล สารฯ วั ส ดุ
ประดิษฐ์ เช่น คอมพิวเตอร์ช่วยสอน แผนภูมิ แผนที่ หุ่นจำาลอง
บั ตรคำา ฯ วัส ดุ ถ าวร เช่ น กระดานดำา เครื่ อ งมื อ ทางวิ ท ยาศาสตร์
อื่ น ๆ วั ส ดุ สิ้ น เปลื อ ง เช่ น กระดาษ หมึ ก ดิ น สอฯ สื่ อ ที่ เ ป็ น
กิจกรรมหรือกระบวนการ เช่น การทำาโครงงาน สมมติสถานการณ์
จำาลองฯ สื่อบุคคลรวมถึงภูมิปัญญาท้องถิ่น สื่อธรรมชาติและสิ่ง
แวดล้ อ ม สามารถใช้ ป ระกอบการเรี ย นการสอนซึ่ ง จะช่ ว ยให้ ผู้
เรียนเกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ได้ง่ายและรวดเร็ว อีก ทั้ง มี
ประโยชน์แก่ผู้เรียน การเลือกใช้สื่อไม่มีสูตรสำาเร็จ ไม่มีเงื่อนไข
ว่ า ผู้ ส อนต้ อ งผลิ ต สื่ อ เอง แต่ ผู้ ส อนควรมี ค วามสามารถในการ
เลือกใช้สื่อได้อย่างมีประสิทธิภาพ ควรสอดคล้องกับกิจกรรมและ
เหมาะสมกับผู้เรียน ปัจจุบันมีการนิยมนำาสื่ออิเล็กโทรนิกมาใช้ใน
การเรียนการสอน เพื่อเพิ่มมิติการรับรู้ ดังนั้นเมื่อครูใช้สื่อประเภท
นี้ ควรมี การใช้ คำา ถามเป็ น ระยะๆ ในการตรวจสอบการใช้ สื่ อ พึ ง
ระลึกไว้เสมอว่า สื่อทำา ขึ้นเพื่อใช้ในการเรียนรู้ ไม่ใช่ใช้ทดแทน
การสอนของครู ข้อเสียของการใช้สื่อแอนนิเมชั่นคือ อาจทำา ให้
เกิดความเข้าใจผิด เพราะผู้เรียนขาดจินตนาการ

ลองทำา ดู ให้ เ ข้ า ไปที่ www.il.mahidol.ac.th เลื อ กศึ ก ษาสื่ อ
จำา นวน 1 เรื่ อ ง แล้ ว ทำา การตรวจสอบเนื้ อ หา นอกจ ากนี้

ตุลาคม 2552                                                                      17
www.stkc.ac.th ยั ง ให้ บ ริ ก ารสาธารณะ มี ห้ อ งสมุ ด คลั ง ความรู้
และฐานข้อมูลเฉพาะทาง

ลองทำา ดู เมื่อเขียนตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้ในเรื่องที่ต้องการ
จะสอนเรี ย บร้ อ ยแล้ ว ให้ ร ะบุ สื่ อ ที่ ส อดคล้ อ งกั บ กิ จ กรรมใน
กระบวนการจัดการเรียนรู้
.....................................................................................
.....................................................................................
.....................................................................................
.............................
.....................................................................................
.....................................................................................
.....................................................................................
.............................

       ส่วนท้าย เป็นส่วนที่ประกอบด้วย การวัดผล การประเมินผล
การบันทึกหลังสอน และแบบฝึกหัดหรือใบความรู้หรือใบงานที่ครู
ทำาขึ้นเพื่อใช้ในการสอนในคาบนั้นๆ


               การวั ด และประเมิ น ผล คำา สองคำา นี้ มี แ นวทางการ
      ปฏิบัติที่แยกจากกันชัดเจน
      การวั ด ผลเป็ น การตรวจสอบว่ า ผู้ เ รี ย นเกิ ด การเรี ย นรู้ ต าม
วัตถุประสงค์การเรียนรู้ที่ตั้งไว้หรือไม่ การวัดผลจะต้อ งมี วิธีการ
และเครื่องมือที่จะตรวจสอบ การวัดผลที่ดีต้องสอดคล้องกับจุด
ประสงค์ เนื้อหา และกิจกรรมการเรียนรู้ การเขียนต้องมีการระบุที่
ชัดเจนว่าต้องการวัดผลอะไร วัดอย่างไร และมีอะไรเป็นเครื่องมือ
ในการวัด
      การประเมินผลเป็นการตัดสินว่าผู้เรียนมีคุณภาพเป็นอย่างไร
โดยเอาคะแนนที่ ไ ด้ จ ากการวั ดมาเปรี ยบเที ยบกั บ เกณฑ์ ที่ ตั้ง ไว้
การเขี ย นต้ อ งมี ก ารระบุ ที่ ชั ด เจนว่ า ต้ อ งการประเมิ น ผลอะไร
ประเมินอย่างไร และมีอะไรเป็นเครื่องมือในการประเมิน เช่น ใช้วิธี
เกณฑ์คุณภาพ (rubic) หรือวิธีเช็คลิส (check list) ทั้งนี้แล้วแต่
ธรรมชาติ ข องวิ ช า การประเมิ น แบบเกณฑ์ คุ ณ ภาพเป็ น การ
ประเมิ น ที่ เ น้ น คุ ณภาพของชิ้ น งานหรื อ ภาระงาน ชี้ ใ ห้ เ ห็ น ระดั บ
ความรู้ความสามารถของนักเรียน

ตุลาคม 2552                                                                     18
ลองทำาดู เมื่อเขียนกิจกรรมในกระบวนการจัดการเรียนรู้เรียบร้อย
แล้ว ให้ระบุการวัดผลและการประเมินผลที่สอดคล้องกับกิจกรรม
การเรียนรู้และจุดประสงค์การเรียนรู้ที่ได้กำาหนดไว้
.....................................................................................
.....................................................................................
.....................................................................................
.............................
.....................................................................................
.....................................................................................
.....................................................................................
.............................
.....................................................................................
.....................................................................................
.....................................................................................
.............................
.....................................................................................
.....................................................................................
.....................................................................................
.............................
.....................................................................................
.....................................................................................
.....................................................................................
.............................
.....................................................................................
.....................................................................................
.....................................................................................
.............................
.....................................................................................
.....................................................................................
.....................................................................................
.............................




ตุลาคม 2552                                                                     19
ลองทำา ดู อี ก วิ ธี ห นึ่ ง เมื่ อ เขี ย นกิ จ กรรมในกระบวนการจั ด การ
เรียนรู้เรียบร้อยแล้ว ให้ระบุการวัดผลและการประเมินผลเป็นแบบ
ตารางที่สอดคล้องกับกิจกรรมการเรียนรู้และจุดประสงค์การเรียนรู้
ที่ได้กำาหนดไว้

   วิธีการวัดผล              เครื่องมือ         เกณฑ์การประเมิน




    ในบางโรงเรียนอาจเขียนกระบวนการจัดการเรียนรู้เป็นแบบ
ตารางก็ได้

กิจกรรมการเรียนรู้         สื่อการเรียนรู้       การวัดผลและการ

ตุลาคม 2552                                                        20
ประเมินผล




ตุลาคม 2552               21

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

การบอกตำแหน่งของวัตถุ
การบอกตำแหน่งของวัตถุการบอกตำแหน่งของวัตถุ
การบอกตำแหน่งของวัตถุMaMuiiApinya
 
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)Kruthai Kidsdee
 
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่website22556
 
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัดSlแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัดkrupornpana55
 
แบบประเมินการทำงานกลุ่ม
แบบประเมินการทำงานกลุ่มแบบประเมินการทำงานกลุ่ม
แบบประเมินการทำงานกลุ่มKhemjira_P
 
V 2 ma_ma_272
V 2 ma_ma_272V 2 ma_ma_272
V 2 ma_ma_272kikkuka
 
สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
สรุปผลการประเมินความพึงพอใจสรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
สรุปผลการประเมินความพึงพอใจAnnop Phetchakhong
 
แบบทดสอบสูตรคูณP2
แบบทดสอบสูตรคูณP2แบบทดสอบสูตรคูณP2
แบบทดสอบสูตรคูณP2Khunnawang Khunnawang
 
ชุดที่ 1 อัตราส่วน
ชุดที่ 1 อัตราส่วนชุดที่ 1 อัตราส่วน
ชุดที่ 1 อัตราส่วนSataporn Butsai
 
แบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresent
แบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresentแบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresent
แบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresentthanapat yeekhaday
 
sudoku ประถม.pdf
sudoku ประถม.pdfsudoku ประถม.pdf
sudoku ประถม.pdfssuser60528a2
 
ตัวอย่างคู่มือค่ายคณิตศาสตร์
ตัวอย่างคู่มือค่ายคณิตศาสตร์ตัวอย่างคู่มือค่ายคณิตศาสตร์
ตัวอย่างคู่มือค่ายคณิตศาสตร์ทับทิม เจริญตา
 
แบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ตามขั้นตอนของโพลยา เรื่อง พื้นที่ผิวและปริ...
แบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ตามขั้นตอนของโพลยา เรื่อง พื้นที่ผิวและปริ...แบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ตามขั้นตอนของโพลยา เรื่อง พื้นที่ผิวและปริ...
แบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ตามขั้นตอนของโพลยา เรื่อง พื้นที่ผิวและปริ...เล็ก น่ารัก
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1sripayom
 

La actualidad más candente (20)

แบบฝึกทักษะการคัดเลขอารบิก 9
แบบฝึกทักษะการคัดเลขอารบิก 9แบบฝึกทักษะการคัดเลขอารบิก 9
แบบฝึกทักษะการคัดเลขอารบิก 9
 
การบอกตำแหน่งของวัตถุ
การบอกตำแหน่งของวัตถุการบอกตำแหน่งของวัตถุ
การบอกตำแหน่งของวัตถุ
 
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
 
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
 
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัดSlแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
 
แบบประเมินการทำงานกลุ่ม
แบบประเมินการทำงานกลุ่มแบบประเมินการทำงานกลุ่ม
แบบประเมินการทำงานกลุ่ม
 
V 2 ma_ma_272
V 2 ma_ma_272V 2 ma_ma_272
V 2 ma_ma_272
 
สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
สรุปผลการประเมินความพึงพอใจสรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
 
เล่มที่ 5 กิจกรรม STEM และมือกล
เล่มที่ 5 กิจกรรม STEM และมือกลเล่มที่ 5 กิจกรรม STEM และมือกล
เล่มที่ 5 กิจกรรม STEM และมือกล
 
แบบทดสอบสูตรคูณP2
แบบทดสอบสูตรคูณP2แบบทดสอบสูตรคูณP2
แบบทดสอบสูตรคูณP2
 
ชุดที่ 1 อัตราส่วน
ชุดที่ 1 อัตราส่วนชุดที่ 1 อัตราส่วน
ชุดที่ 1 อัตราส่วน
 
แบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresent
แบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresentแบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresent
แบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresent
 
sudoku ประถม.pdf
sudoku ประถม.pdfsudoku ประถม.pdf
sudoku ประถม.pdf
 
ตัวอย่างคู่มือค่ายคณิตศาสตร์
ตัวอย่างคู่มือค่ายคณิตศาสตร์ตัวอย่างคู่มือค่ายคณิตศาสตร์
ตัวอย่างคู่มือค่ายคณิตศาสตร์
 
แบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ตามขั้นตอนของโพลยา เรื่อง พื้นที่ผิวและปริ...
แบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ตามขั้นตอนของโพลยา เรื่อง พื้นที่ผิวและปริ...แบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ตามขั้นตอนของโพลยา เรื่อง พื้นที่ผิวและปริ...
แบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ตามขั้นตอนของโพลยา เรื่อง พื้นที่ผิวและปริ...
 
โจทย์ปัญหาซ้อน ป. 4
โจทย์ปัญหาซ้อน ป. 4โจทย์ปัญหาซ้อน ป. 4
โจทย์ปัญหาซ้อน ป. 4
 
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกพลศึกษา
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกพลศึกษาแนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกพลศึกษา
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกพลศึกษา
 
ฟิสิกส์พื้นฐาน
ฟิสิกส์พื้นฐานฟิสิกส์พื้นฐาน
ฟิสิกส์พื้นฐาน
 
การบวกเลข ป.1
การบวกเลข ป.1การบวกเลข ป.1
การบวกเลข ป.1
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
 

Similar a แผนการสอน..

การเขียนเค้าโครง
การเขียนเค้าโครงการเขียนเค้าโครง
การเขียนเค้าโครงvittaya411
 
แผนคอมฯ ม.2 2
แผนคอมฯ ม.2 2แผนคอมฯ ม.2 2
แผนคอมฯ ม.2 2Surapong Jakang
 
บันทึกข้อความเวียนข้อสอบ Pre o net ปี2555
บันทึกข้อความเวียนข้อสอบ Pre o net ปี2555บันทึกข้อความเวียนข้อสอบ Pre o net ปี2555
บันทึกข้อความเวียนข้อสอบ Pre o net ปี2555ทับทิม เจริญตา
 
ใบงานโครงงาน
ใบงานโครงงานใบงานโครงงาน
ใบงานโครงงานKrooIndy Csaru
 
Sar ครู..
Sar ครู..Sar ครู..
Sar ครู..krunoony
 
แบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการ
แบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการแบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการ
แบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการKittiphat Chitsawang
 
Project 02
Project 02Project 02
Project 02chorthip
 
เอกสารประกอบ ตัวประกอบ
เอกสารประกอบ ตัวประกอบเอกสารประกอบ ตัวประกอบ
เอกสารประกอบ ตัวประกอบwarijung2012
 
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1Bhayubhong
 
ความเรียงขั้นสูง
ความเรียงขั้นสูงความเรียงขั้นสูง
ความเรียงขั้นสูงAttaporn Saranoppakun
 
แบบฟอร์มโครงงานภาษาอังกฤษ
แบบฟอร์มโครงงานภาษาอังกฤษแบบฟอร์มโครงงานภาษาอังกฤษ
แบบฟอร์มโครงงานภาษาอังกฤษสมใจ จันสุกสี
 
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)wasan
 

Similar a แผนการสอน.. (20)

ใบความรู้
ใบความรู้ใบความรู้
ใบความรู้
 
ใบความรู้
ใบความรู้ใบความรู้
ใบความรู้
 
การเขียนเค้าโครง
การเขียนเค้าโครงการเขียนเค้าโครง
การเขียนเค้าโครง
 
แผนคอมฯ ม.2 2
แผนคอมฯ ม.2 2แผนคอมฯ ม.2 2
แผนคอมฯ ม.2 2
 
บันทึกข้อความเวียนข้อสอบ Pre o net ปี2555
บันทึกข้อความเวียนข้อสอบ Pre o net ปี2555บันทึกข้อความเวียนข้อสอบ Pre o net ปี2555
บันทึกข้อความเวียนข้อสอบ Pre o net ปี2555
 
ใบงานโครงงาน
ใบงานโครงงานใบงานโครงงาน
ใบงานโครงงาน
 
Sar ครู..
Sar ครู..Sar ครู..
Sar ครู..
 
แบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการ
แบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการแบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการ
แบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการ
 
Project 02
Project 02Project 02
Project 02
 
R24
R24R24
R24
 
เอกสารประกอบ ตัวประกอบ
เอกสารประกอบ ตัวประกอบเอกสารประกอบ ตัวประกอบ
เอกสารประกอบ ตัวประกอบ
 
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1
 
ความเรียงขั้นสูง
ความเรียงขั้นสูงความเรียงขั้นสูง
ความเรียงขั้นสูง
 
Pbl1
Pbl1Pbl1
Pbl1
 
Portfolio
PortfolioPortfolio
Portfolio
 
แบบฟอร์มโครงงานภาษาอังกฤษ
แบบฟอร์มโครงงานภาษาอังกฤษแบบฟอร์มโครงงานภาษาอังกฤษ
แบบฟอร์มโครงงานภาษาอังกฤษ
 
แผนที่ 1
แผนที่ 1แผนที่ 1
แผนที่ 1
 
โครงการนาฏมวยไทย
โครงการนาฏมวยไทยโครงการนาฏมวยไทย
โครงการนาฏมวยไทย
 
แบบฟอร์มด้านที่ 3
แบบฟอร์มด้านที่ 3แบบฟอร์มด้านที่ 3
แบบฟอร์มด้านที่ 3
 
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
 

แผนการสอน..

  • 1. การออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ ผศ. บุญวัฒนา บุญธรรม การเรียนรู้เป็นกระบวนการเปลียนแปลงพฤติกรรมที่เกิดขึ้น ่ โดยเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนองบ่อยๆ จนกลายเป็น พฤติกรรมที่เกิดขึ้นอย่างถาวร (Lu Shen สุชิน นิธิไชโย และวรัท พฤกษาทวีกุล) แผนจัดการเรียนรู้เป็นหัวใจสำาคัญที่จะช่วยให้ นักเรียนเกิดการพัฒนา ทำาให้นักเรียนมีความรู้และตามทักษะตาม มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด รวมทั้งช่วยปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ให้แก่ผู้เรียน (สำานักวิชาการ และมาตรฐานการศึกษา พสฐ ศธ) แผนการเรียนรู้ได้มาจากการ ทำาหน่วยการเรียนรู้ ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กำาหนดหลักสูตรไว้ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ คือ ภาษาไทย, คณิตศาสตร์, วิทยาศาสตร์, สังคมศาสตร์ ศาสนาและวัฒนธรรม สุขศึกษาและพละศึกษา, ศิลปะ, การงานอาชีพและเทคโนโลยี, ภาษาต่างประเทศ ในที่นี้จะกล่าวถึงเฉพาะกลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ส่วนสำา คัญที่ปรากฏในแผนการจัดการเรียนรู้ประกอบด้วย 3 ส่วนคือ ส่วนต้น ส่วนกลางและส่วนท้าย ส่วนต้น มีรายละเอียดดังต่อไปนี้คือ ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ชั้น...................... ภาคเรียนที............ ่ ห น่ ว ย ก า ร เ รี ย น รู้ ที่ ................. เรื่ อ ง............................................................................... ....... เรื่ อ ง............................................................................... ............ เวลา ................ชั่วโมง/คาบ วั น ที่ ส อ น ............................................................................ เวลา....................................... ผู้ ส อ น ..................................................................................... ............................................... ตุลาคม 2552 1
  • 2. กลุ่มสาระ... เนื่องจากในบทเรีย นนี้เป็นวิชาวิท ยาศาสตร์ จึงใส่ไว้ให้เรียบร้อยแล้ว ชั้น หมายถึงชั้น ประถมศึกษาปีที่ ...... .....หรือมัธยมศึกษาปีท............. ี่ ภาคเรี ยนที่ 1 หรื อ 2 /ปีการศึ กษา........ หน่วยเรี ยนรู้ที่ ...และ เรื่ อ ง...ให้ ดู จ ากหน่ ว ยเรี ย นรู้ ที่ โ รงเรี ย นจั ด ทำา ไว้ หรื อ ดู จ าก โครงสร้า งรายวิ ชา ในบางโรงเรี ย นหน่ว ยการเรี ย นรู้ที่ ทำา ไว้ เ ป็ น หน่วยใหญ่ๆ ดังนั้นชื่อเรื่องในตำาแหน่งแรกคือชื่อหน่วยใหญ่ ซึ่งจะ ประกอบด้วยเรื่องย่อยๆ หลายเรื่อง เรื่อง........(ในตำา แหน่งที่ 2) หมายถึง ชื่ อเรื่ องย่ อยในหน่ วยใหญ่ หรื อ ในบางโรงเรี ย นกำา หนด หน่วยการเรียนรู้ไว้เป็นหน่วยย่อยๆ อย่างละเอียดในช่องของสาระ ชื่ อ เ รื่ อ ง ย่ อ ย เ ห ล่ า นั้ น จึ ง เ ป็ น ชื่ อ เ รื่ อ ง ที่ ส อ น ใ น แ ต่ ล ะ ค รั้ ง เวลา...ชั่วโมง/คาบ ต้องระบุใ ห้แ น่น อนว่า 1 หรือ 2 ชั่วโมงหรือ คาบ วันที่สอน..จะระบุวันจันทร์ อังคารและตามด้วย วันที่ เดือน ปี ก็ได้ เวลา... ให้ระบุว่าจากเวลากี่โมงถึงกี่โมง ในกรณีที่ใช้แผนการจัดการเรียนรู้สอนซำ้าหลายๆ ห้อง ให้ระบุวัน เวลา และห้ อ งในบรรทั ด เดี ย วกั น เพื่ อ สะดวกในการจดจำา ผู้ สอน... ให้ระบุชื่อบุคคล พึงระลึกอยู่เสมอว่า การทำาแผนการ จั ด การเรี ย นรู้ สำา หรั บ นั ก ศึ ก ษาฝึ ก สอนจะต้ อ งทำา ล่ ว งหน้ า และส่งให้อาจารย์พี่เลี้ยงในโรงเรียนตรวจก่อ นทำา การสอน ครั้งแรก 5 วันทำาการ ลองทำาดู ให้กรอกข้อความลงในช่องว่างต่อไปนี้ให้สมบูรณ์ ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ชั้น...................... ภาคเรียนที............ ่ ห น่ ว ย ก า ร เ รี ย น รู้ ที่ ................. เรื่ อ ง............................................................................... ....... เรื่ อ ง............................................................................... ............ เวลา ................ชั่วโมง/คาบ วั น ที่ ส อ น ............................................................................ เวลา....................................... ผู้ ส อ น ..................................................................................... ............................................... ตุลาคม 2552 2
  • 3. ส่ วนกลาง เป็ นรายละเอี ยดที่ลงลึ กเฉพาะเรื่ อง ประกอบ ด้ ว ยหั ว ข้ อ เรี ย งตามลำา ดั บ ดั ง ต่ อ ไปนี้ คื อ สาระที่ มาตรฐานการ เรียนรู้ ตัวชี้วัด สาระสำาคัญ จุดประสงค์การเรียนรู้ กระบวรการ จัดการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ สาระที่... กำาหนดเป็นตัวเลขและตามด้วยข้อความ สิ่งเหล่า นี้ ต้ อ งดู จ ากหลั ก สู ต รแกนกลางฯ เช่ น สาระที่ 1 สิ่ ง มี ชี วิ ต กั บ กระบวนการดำารงชีวิต ล อ ง ทำา ดู จ า ก ห ลั ก สู ต ร แ ก น ก ล า ง ก า ร ศึ ก ษ า ขั้ น พื้ น ฐ า น พุทธศักราช 2551 ให้เขียนสาระที่ต้องการมาเป็นตัวอย่างจำานวน 1 สาระ ส า ร ะ ที่ ................................................................................... ................................................. มาตรฐานการเรียนรู้ เป็นเป้าหมายสำา คัญของการพัฒนา คุณภาพผู้เรียน มาตรฐานการเรียนรูระบุสิ่งที่ผู้เรียนพึงรู้ ปฏิบัติได้ ้ และยังเป็นการสะท้อนให้ครูว่าต้องการอะไร จะสอนอย่างไร และ ประเมินอย่างไร การเขียนมาตรฐานการเรียนรู้จะขึ้นต้นด้วย ว... และตามด้วยข้อความ..... ลองทำา ดู มาตรฐานการเรี ย นรู้ ไ ด้ ม าจากไหน? (จากหลั ก สู ต ร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551) เขียนมาตรฐานการเรียนรู้ในสาระที่ได้เขีย นไว้แล้ว (ขึ้นต้น ด้ ว ย ว... และตามด้ ว ยข้ อ ความ) บางสาระอาจมี ม ากกว่ า 1 มาตรฐานการเรี ย นรู้ พึ ง ระวั ง ว่ า ถ้ า เป็ น การปฏิ บั ติ ก ารควรมี มาตรฐานการเรียนรูที่ 8 เข้ามาเกี่ยวข้องด้วย ้ มาตรฐานการเรียนรู้ ตุลาคม 2552 3
  • 4. ว. .................................................................................. ........................................................ ..................................................................................... ......................................................... มาตรฐานการเรียนรู้ ว. .................................................................................. ........................................................ ..................................................................................... ......................................................... ..................................................................................... ......................................................... ตัวชี้วัด (เดิมใช้คำา ว่ามาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น) เป็นการ ระบุ สิ่ ง ที่ ผู้ เ รี ย นพึ ง รู้ แ ละปฏิ บั ติ ไ ด้ จะเห็ น ได้ ว่ า ป. 1-ม. 3 หลักสูตรกำา หนดตัวชี้วัดเป็นรายปี ส่วน ม. 5-6 หลักสูตรกำา หนด ตัวชี้วัดเป็นช่วงชั้น ปัจจุบันหลักสูตรแกนกลางฯ ที่กำาหนดให้ตัวชี้ วัดมาให้เรียบร้อยแล้ว เมื่ออ่านตัวชี้วัดแล้วจะทราบแนวทางการ จัดการเรียนการสอน และเกณฑ์สำาหรับการวัดและการประเมินผล ในกรณีที่ตัวชี้วัดกำา หนดไว้ กว้า งเกิน ไป สามารถตัดทอนเฉพาะ เรื่องที่ต้องการได้ เช่นตัวชี้วัดกำาหนดว่า ทดลอง อธิบาย นำ้า แสง เป็นปัจจัยจำา เป็นต่อการดำา รงชีวิตของพืช ถ้า ครู ต้อ งการจะสอน เฉพาะเรื่ อ งนำ้า เป็ น ปั จ จั ย ในการดำา รงชี วิ ต ของพื ช ก่ อ น ครู ก็ สามารถเขี ยนตัว ชี้วั ดในแผนจั ดการเรีย นรู้นั้ นว่า นำ้า เป็ นปั จ จั ย ใน การดำารงชีวิตของพืช อนึ่ง บางเนื้อหาหรือกิจกรรมอาจสอดคล้องกับตัวชี้วัดหลาย ตัวก็ได้ ลองทำา ดู ตัวชี้วัดได้มาจากไหน? (จากหลักสูตรแกนกลางการ ศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551) เมื่อเขียนสาระสำา คัญในเรื่องที่ต้องการจะสอนเรียบร้อยแล้ว ให้ เขียนตัวชี้วัดให้ครบตามที่หลักสูตรแกนกลางฯ กำาหนดให้ ..................................................................................... ......................................................... ..................................................................................... ......................................................... ตุลาคม 2552 4
  • 5. ..................................................................................... ......................................................... เมื่ อ พิ จ ารณากำา หนดไว้ ใ นใจแล้ ว ว่ า จะสอนอะไร อย่ า งไร และจะประเมินอะไรบ้าง ให้เขียนตัวชี้วัดที่ตรงจุดที่สุด พึงระวัง ว่า ตัวชี้วัดเป็นเป้าประสงค์ใหญ่กว่าจุดประสงค์การเรียนรู้ ..................................................................................... ......................................................... ..................................................................................... ......................................................... สาระสำาคัญ เป็นแก่นของเรื่อง หรือเป็นสาระที่จะต้องติดตัว ผู้เรียนอย่า งถาวรหลังจากที่ ผู้เ รียนได้ เรี ยนรู้ เรื่อ งนั้ นๆ แล้ว การ เขียนสาระสำา คัญต้องได้ใจความตรงกับเนื้อหาที่จะสอน ในหลัก สูตรฯ จะกำาหนดขอบข่ายของสาระสำาคัญไว้แล้ว ลองทำา ดู สาระสำา คัญได้มาจากไหน? (จากสาระการเรียนรู้แกน กลางของหลั กสู ตรแกนกลางการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน พุ ท ธศั ก ราช 2551) ให้เขียนสาระสำาคัญในเรื่องที่ต้องการจะสอน (โดยดูจากสาระการ เ รี ย น รู้ แ ก น ก ล า ง ที่ ห ลั ก สู ต ร กำา ห น ด ใ ห้ แ ล้ ว เ ป็ น แ น ว ห รื อ โครงสร้างรายวิชา หรือดูจากหน่วยการเรียนรูฯ ประกอบ) ้ ..................................................................................... ......................................................... ........................... ..................................................................................... .............................. ..................................................................................... ......................................................... จุ ด ประสงค์ ก ารเรี ย นรู้ เป็ น จุ ดประสงค์ ที่ บ่ ง ชี้ พ ฤติ ก รรม เฉพาะเจาะจงว่า จะเกิดอะไรขึ้นในตัวนักเรียนหลังจากที่ได้ผ่าน กิจกรรมการเรียนรู้เรื่องนั้นๆ แล้ว การเขียนจุดประสงค์การเรียนรู้ ต้องสอดคล้องกับตัวชี้วัด และควรแสดงให้เห็นถึงเป้าหมายของ การเรียนรู้ที่เป็นภาระงานและพฤติกรรมที่ผู้เรียนพึงแสดงออกใน ระดับต่างๆ ตุลาคม 2552 5
  • 6. ลองทำา ดู พฤติ ก รรมสามารถแสดงออกให้ เ ห็ น ได้ อ ย่ า งชั ด เจน คำา ที่ กำา หนดให้ ต่ อ ไปนี้ มี คำา บางคำา ที่ ส ามารถบ่ ง ชี้ พ ฤติ ก รรมได้ อย่างชัดเจน ให้ขีดกากบาททับคำาที่ไม่ใช่พฤติกรรม วาดภาพ มีความรู้ แยกองค์ประกอบ ออกแบบ ปรุงอาหาร จัด กลุ่ม จด จำา สนใจ เล่าเรื่อง ประทับใจ สรุปความหมาย ร้อง เพลง จั ด ลำา ดั บ จั ด ป้ า ยนิ เ ทศ แสดงความคิ ด เห็ น รู้ สึ ก อภิปราย มีความเข้าใจ อธิบาย บอก เจตคติ เขียนบรรยาย มี ทัศนคติ วิเคราะห์ เรียงความ เรียบเรียง สะสม โต้วาที ระบุ จดจ่อ จัดนิทรรศการ สังเคราะห์ ซาบซึ้ง มีจิตสำา นึก ท่องบท สวดมนต์ แสดงบทบาทสมมุติ ตั้งใจ บันทึก สงสาร ทดลอง ตกแต่ง บันทึก จุ ด ป ร ะ ส ง ค์ ก า ร เ รี ย น รู้ ต้ อ ง ค ร อ บ ค ลุ ม ด้ า น ค ว า ม รู้ (knowledge - K) ทั ก ษ ะ / ก ร ะ บ ว น ก า ร (process-P) แ ล ะ คุ ณ ธ ร ร ม จ ริ ย ธ ร ร ม ค่ า นิ ย ม (attitude-A) ก า ร จ ะ เ ขี ย น วัตถุประสงค์การเรีย นรู้ไ ด้ ต้อ งย้ อนไปทำา ความเข้าใจเรื่ อง การ เรียนรู้ที่ บลูม (Benjamin S. Bloom, 1956) จำา แนกการเรีย นรู้ไว้ 3 ด้าน คือ พุทธิพิสัย (cognitive domain) จิตตพิสัย (affective domain) และทักษะพิสัย (psychomotor domain) พุทธิพิสัย (C) หมายถึงการเรียนรู้ด้านความเข้าใจ ประกอบ ด้วย 6 ขั้นตอนคือ 1. ด้านความรู้- ความจำา (knowledge-K) แบ่งออกเป็น การ จำาเนื้อเรื่อง นิยามศัพท์ สัญลักษณ์ อักษร เครื่องหมาย สูตร ทฤษฏี หน้าที่ ประโยชน์ และโทษ วิธีดำา เนิ น การ การจั ดประเภท วิธีก ารที่ใ ช้ สำา หรั บ การ ปฏิบัติ และความคิดรวบยอด 2. ความเข้ า ใจ (comprehension) รวมถึ ง การแปลความ ตีความ และขยายความ 3. การนำา ไปใช้ นำา เอาความรู้ ค วามจำา ความเข้ า ใจ ไปแก้ ปัญหาที่แปลกใหม่ 4. การวิเคราะห์ การแยกส่วนต่างๆ หรือการหาความสัมพันธ์ กับส่วนต่างๆ 5. การสังเคราะห์ รวมส่วนต่างๆ ตลอดจนมีการวางแผน ตุลาคม 2552 6
  • 7. 6. การประเมินค่า เป็นความรู้สูงสุดที่ต้องใช้วิจารณญาณ ( รศ. ชูชีพ อ่อนโคกสูง www.swuaa.com/web และ www. novabizz.com/Nova Ace/ cognitive.htm) ดังนั้น การเขียนจุดประสงค์การเรียนรู้ ต้องตั้งหลักให้ได้ว่า ต้องการเรียน C หรือ K เพราะ ความรู้ ความจำา (K) เป็นเพียงส่วนหนึ่งของ พุทธิพิสัย (C) ตั ว อย่ า งคำา กริ ย าที่ บ่ ง บอกพฤติ ก รรมการเรี ย นรู้ ใ นขั้ น เรี ย น ของสาระวิทยาศาสตร์ ในด้านความรู้ ความจำา (K) คือ ให้นิยาม บอกชื่อ บอกคุณสมบัติ จับคู่ เล่าเหตุการณ์ จดบันทึก เรียกชื่อ อ่านสัญลักษณ์ ตัวอย่างคำา กริยาในด้านความเข้าใจ คือ เปรียบเทียบ (บอก ความแตกต่า ง) แสดงความสัมพันธ์ อธิบาย ชี้แจง จัดจำา พวก ยกตัวอย่าง ให้เหตุผล จับใจความ เขียนภาพประกอบ แสดง ความคิดเห็น จัดเรียงลำาดับ วิจารณ์ แปลความหมาย อ่านกราฟ ตัวอย่างคำากริยาในด้านการนำา ไปใช้คือ ใช้ให้เป็นประโยชน์ คำา นวณเพื่ อ แก้ ปั ญ หา ระวั ง ป้ อ งกั น เลื อ กใช้ อ ย่ า งถู ก ต้ อ ง ประหยัดพลังงาน หลีกเลี่ยงอันตราย แก้ไขปรับปรุง ดัดแปลง ให้เหมาะสม (วีระศักดิ์ ชมภูคำา, 2539) ตั ว อย่ า งคำา กริ ย าในด้ า นการวิ เ คราะห์ คื อ เขี ย นโครงร่ า ง แยกแยะ จัดประเภท จำาแนกให้เห็นความแตกต่าง บอกเหตุผล ทดลอง ตัวอย่างคำากริยาในด้านการสังเคราะห์คือ รวบรวม ออกแบบ จัดระเบียบ สร้าง ประดิษฐ์ วางหลักการ ตัวอย่างคำา กริยาในด้านการประเมินคือ วัดผล เปรียบเทียบ ตีค่า ลงความเห็น วิจารณ์ เมื่อพิจารณาคำากริยาเหล่านี้พบว่า บางส่วนจะไปพ้องกับคำา กริยาในด้ านกระบวนการสื บเสาะหาความรู้ทางวิท ยาศาสตร์ คื อ สั ง เกต สำา รวจ เสาะหา วั ด เก็ บ ข้ อ มู ล รวบรวมข้ อ มู ล นำา เสนอ ข้ อ มู ล ตั้ ง สมมุ ติ ฐ าน (ทำา นาย) ออกแบบการทดลอง ควบคุ ม ตัวแปร แปลความหมาย สรุปและแก้ปัญหา พิสูจน์ ลองทำาดู ระบุคำากริยาที่แสดงถึง C มา 20 พฤติกรรม ..................................................................................... ......................................................... ตุลาคม 2552 7
  • 8. ..................................................................................... ......................................................... ..................................................................................... ......................................................... ..................................................................................... ......................................................... ระบุคำากริยาที่แสดงถึง K มา 10 พฤติกรรม ..................................................................................... ......................................................... ..................................................................................... ......................................................... ..................................................................................... ......................................................... ..................................................................................... ......................................................... จิ ต ตพิ สั ย เป็ น วั ต ถุ ป ระสงค์ ที่ ใ ช้ วั ด ความสามารถด้ า น อารมณ์ ความรู้ สึก เจตคติสิ่ง ต่า งๆ จำา แนกเป็น 5 ระดับ คื อ การ ยอมรับ การตอบสนอง การสร้างค่านิยม การดำาเนินการจัดระบบ ค่ า นิ ย ม แ ล ะ ก า ร แ ส ด ง ลั ก ษ ณ ะ เ ฉ พ า ะ ต น ต า ม ค่ า นิ ย ม (ced.knutnb.ac.th/jpp./cai/cai4.PPT) การยอมรับ ประกอบด้วยกิริยาต่อไปนี้คือ เลือก ชี้ ติดตาม ยอมรับ การตอบสนอง ประกอบด้วย อภิปราย เลือก เขียนชื่อกำากับ การสร้ า งค่ า นิ ย ม ประกอบด้ ว ย อภิ ป ราย ริ เ ริ่ ม เลื อ ก แสวงหา ประพฤติตาม นำามาใช้ การดำา เนิ น การจั ด ระบบค่ า นิ ย ม ประกอบด้ ว ย จำา แนก จั ด ลำา ดั บ จั ด ระเบี ย บ ผสมผสานการแสดงลั ก ษณะเฉพาะตน ตามค่ า นิ ย ม สนั บ สนุ น ต่ อ ต้ า น ใช้ เ หตุ ผ ล แสดงออก ชักชวน ตัวอย่างพฤติกรรมการเรียนรู้ที่สามารถวัดได้โดยการสังเกต มีดังต่อไปนี้คือ ความสนใจแสดงออกด้วย ความใส่ใจต่อการศึกษาวิชาต่างๆ การทำางาน การใฝ่รู้ การ ร่วมแสดงความคิดเห็น ตุลาคม 2552 8
  • 9. นิสัยการเรียน แสดงออกด้ วย การเตรีย มพร้อ มในการเรีย น การใช้เวลาว่างให้เป็น ประโยชน์ ความรับผิดชอบ ความกระตือรือร้น ความซาบซึ้ง แสดงออกด้ วยการชื่ นชม พอใจ สนุ กสนาน กับการทำางาน กิจกรรมที่ เกี่ยวข้องกับศิลปะ ดนตรี วัฒนธรรมและธรรมชาติ เจตคติทางวิทยาศาสตร์ แสดงออกด้วยความ ยอมรับฟัง ผู้ อื่น ใฝ่รู้ มีเหตุผล มีทักษะการ คิด ไม่ด่วนสรุปจนกว่าจะมีหลักฐานชัดเจน เจตคติทางสังคม แสดงออกด้วยการ มีสัมมาคารวะ เคารพ กติกา เคารพสิทธิของผู้อื่น ความปรารถนาที่จะช่วยสังคม การปรั บ ตั ว แสดงออกด้ ว ยการ มี ค วามสั ม พั น ธ์ กั บ ผู้ อื่ น มั่นคงทางอารมณ์ มีปฏิกิริยาต่อ คำาชมและคำาวิจารณ์ ในกรณี ที่ A หมายถึ ง attitude หรื อ เจ ตคติ เราต้ อง ทำาความเข้าใจก่อนว่า เจตคติคือความรู้สึก (ด้านจิตใจ) ที่คนเรามี ต่ อ สิ่ ง ใ ดสิ่ ง หนึ่ ง หรื อ หลาย สิ่ ง อา จ เป็ นวั ตถุ บุ คคล ห รื อ สถานการณ์ การเกิดเจตคติเกิดจากการเรียนรู้ของบุคคล ไม่ใช่ สิ่ งที่ติดตั วมาแต่กำา เนิด การแสดงการเกิ ดเจตคติ คื อ ทัศนคติ ความเชื่อที่ได้ประเมินค่าแล้วว่า เชื่อถือหรือไม่เชื่อถือ ดีหรือไม่ดี รวมไปถึ ง การมี ป ฏิ กิ ริ ย าโต้ ต อบ ความพร้ อ มที่ จ ะมี พ ฤติ ก รรม สอดคล้องหรือต่อต้าน เจตคติจะนำาไปสู่พฤติกรรม จะเห็นได้ว่าเจตคติเป็นส่วนหนึ่งของจิตตพิสัย ลองทำาดู ระบุคำากริยาด้านจิตตพิสัย มา 20 พฤติกรรม ..................................................................................... ......................................................... ..................................................................................... ......................................................... ..................................................................................... ......................................................... ..................................................................................... ......................................................... ลองทำาดู ตุลาคม 2552 9
  • 10. ระบุคำากริยาด้านเจตคติ มา 10 พฤติกรรม ..................................................................................... ......................................................... ..................................................................................... ......................................................... ..................................................................................... ......................................................... ..................................................................................... ......................................................... ทักษะพิสัย เป็นวัตถุประสงค์ที่วัดทางด้านทักษะและความ ชำา น า ญ โ ด ย มุ่ ง เน้ น ที่ ก า ร ก ร ะ ทำา สา ม า ร ถ ร ะ บุ พ ฤ ติ กร ร ม ที่ แสดงออกได้ จ ากการตี ค วามทั ก ษะหรื อ การปฏิ บั ติ อ อกมาเป็ น พฤติกรรม พฤติกรรมตามระดับการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัยแบ่ง เป็ น 5 ขั้ น คื อ การรั บ รู้ ใ นสิ่ ง ที่ ต้ อ งปฏิ บั ติ โ ดยผ่ า นทางประสาท สัมผัส การเตรียมพร้อม การปฏิบัติการโดยอาศัยตัวอย่าง การ ปฏิบัติการได้เอง การปฏิบัติด้วยความชำานาญหรือโดยอัตโนมัติ การรั บ รู้ ใ นสิ่ ง ที่ ต้ อ งปฏิ บั ติ โ ดยผ่ า นทางประสาทสั ม ผั ส ประกอบด้วยกริยาดังต่อไปนี้ สังเกต รูสึก สัมผัส ตรวจพบ ้ การเตรียมพร้อม ประกอบด้ วย แสดงท่าทาง ตั้งท่า เข้ า ประจำาที่ การปฏิบัติการโดยอาศัยตัวอย่าง ประกอบด้วย เลี ยนแบบ ทดลอง ฝึกหัด การปฏิบัติการได้เอง ประกอบด้วย สาธิต ผลิต แก้ไข ทำาได้ สำาเร็จด้วยตนเอง ทำางานได้เร็จขึ้น การปฏิบัติด้วยความชำานาญหรือโดยอัตโนมัติ ประกอบด้วย ทำา งานด้ ว ยความกระฉั บ กระเฉง จั ด ระบบ ควบคุ ม การทำา งาน แนะแนวทาง ลองทำาดู ระบุพฤติกรรมด้านทักษะพิสัย มา 20 พฤติกรรม ..................................................................................... ......................................................... ตุลาคม 2552 10
  • 11. ..................................................................................... ......................................................... ..................................................................................... ......................................................... ..................................................................................... ......................................................... การเขียนจุดประสงค์การเรียนรู้ควรเขียนเป็นข้อๆ เรียงตาม ลำาดับพฤติกรรมที่เกิดก่อน-หลัง จำานวนข้อจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่ กับเนื้อหาและเวลาที่กำา หนดในแต่ละเรื่อง ประโยคควรมี 3 ส่วน คือ ควรเริ่มต้นประโยคด้วยคำากริยา ตามด้วยเรื่องย่อยที่จะจัดการ เ รี ย น รู้ แ ล ะ จ บ ล ง ด้ ว ย เ ก ณ ฑ์ (www.e-tech.ac.th/file- upload/ri.doc) เกณฑ์ หมายถึง ผลของพฤติกรรมที่เกิดขึ้น อาจระบุได้เป็น 2 ลักษณะ คือ เกณฑ์เชิงคุณภาพ และเกณฑ์เชิงปริมาณ เกณฑ์เชิงคุณภาพ ระบุด้วยคำา พูด “ได้อย่างถูกต้อง เหมาะ สม” เกณฑ์ เ ชิ ง ปริ ม าณ ระบุ เ ป็ น ตั ว เลข เช่ น จำา นวน ร้ อ ยละ สั ด ส่ ว น เป็ น ต้ น (วี ร ะศั ก ดิ์ ชมพู คำา , 2539) ส่ ว นจะเขี ย นจุ ด ประสงค์การเรียนรู้โดยแยกเป็นด้านๆ หรือเรียงต่อกันไปก็ได้ แล้ว แต่โรงเรียนนั้นๆ จะกำาหนด บางโรงเรียนไม่แบ่งเป็นด้านๆ แต่ให้ วงเล็บ K หรือ C, P และ A ไว้ตอนท้ายประโยคก็ได้ อนึ่ ง แผนการจั ด การเรี ย นรู้ ข องบางโรงเรี ย น อาจ กำาหนดให้ P หมายถึง process ดังนั้น ก่อนที่จะทำาแผนการ จัดการเรียนรู้ของโรงเรียนใดนักศึกษาฝึกสอนต้องทำาความ เข้าใจ สอบถามอาจารย์พี่เลี้ยงในโรงเรียนก่อ นว่ าต้ องการ ให้ระบุ K หรือ C ลงในแผนการจัดการเรียนรู้ P ในแผนการ จั ด การเรี ย นรู้ ข องโรงเรี ย นนั้ น หมายถึ ง phychomotor domain หรื อ process และ A หมายถึ ง attitude หรื อ affective domain กันแน่ เพื่อทีจะได้จัดทำาได้ถูกต้อง การ เขี ย นเรี ย งลำา ดั บ ระหว่ า ง K (หรื อ C) กั บ P และ A นิ ย มเขี ย น K (หรือ C) ก่อน ส่วน P กับ A สลับตำาแหน่งกันได้ ตุลาคม 2552 11
  • 12. ลองทำาดู เมื่อเขียนตัวชี้วัดในเรื่องที่ต้องการจะสอนเรียบร้อยแล้ว ให้เขียนจุดประสงค์การเรียนรูให้ครบทุกด้าน ในที่นี้ขอให้แยกออก ้ ทีละด้าน คือ C, A และ P ..................................................................................... ......................................................... ..................................................................................... ......................................................... ..................................................................................... ......................................................... ..................................................................................... ......................................................... ..................................................................................... ......................................................... ..................................................................................... ......................................................... ..................................................................................... ......................................................... ..................................................................................... ......................................................... สาระการเรียนรู้ หมายถึงความรู้ที่เป็นเนื้อหา มีรายละเอียด สั้นๆ เป็นเรื่องที่จะนำามาใช้ในการจัดการเรียนรู้เฉพาะในแผนฯ นี้ ลองทำา ดู เมื่อเขียนสาระสำา คัญและตัวชี้วัดในเรื่องที่ต้องการจะ สอนเรียบร้อยแล้ว ให้เขียนสาระการเรียนรู้ ..................................................................................... ......................................................... ..................................................................................... ......................................................... ..................................................................................... ......................................................... ..................................................................................... ......................................................... กระบวนการจัดการเรียนรู้ หมายถึงการจัดสภาพการเรียน รู้ เ พื่ อ ให้ ผู้ เ รี ย นบรรลุ ตามตั ว ชี้ วั ด ซึ่ ง ต้ อ งจั ดโดยเน้ น ผู้ เ รี ย นเป็ น ตุลาคม 2552 12
  • 13. สำาคัญ เหมาะกับธรรมชาติและวัยของผู้เรียน การจัดต้องให้เป็น ไปตามลำาดับสอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้ ให้มีความหลาก หลายเหมาะสมกับผู้เรียนและเนื้อหาสาระ ดังนั้นเมื่อกำา หนดการ จัดการเรียนรู้แล้วให้ย้อนกลับไปตรวจสอบที่จุดประสงค์การเรียนรู้ ว่าได้ดำาเนินการครบถ้วนแล้วหรือไม่ ขอย้อนกลับไปพิจารณาแนวความคิด 9 ประการของโรเบิร์ต การเย่ (Robert Gange’) ประกอบด้วย 1. เร้ า กระตุ้ น และดึ ง ดู ด ความสนใจ (gain attention) เป็นการช่วยให้ผู้เรียนสามารถรับ สิ่ ง เร้ า หรื อ สิ่ ง ที่ จ ะเรี ย นรู้ ไ ด้ จึ ง ควรมี ก ารจู ง ใจและเร่ ง เร้ า ความ สนใจของผู้เรียนให้อยากเรียน นอกจากนี้ก ารยัง เป็ นการเตรี ยม พร้อมให้ผู้เรียนพร้อมที่จะศึกษาต่อไปด้วย 2. บอกวั ต ถุ ป ระสงค์ (specify objective) ผู้ เ รี ย นจะได้ ทราบถึงความคาดหวังของ บทเรียน ทราบประเด็นสำา คัญของเนื้อหา การแจ้งให้ผู้เรียนทราบ ว่าบทเรียนนี้มีจุดมุ่งหมายอะไร ทำาให้ผู้เรียนรับรู้ตามที่ผู้สอนคาด หวั ง และยั ง ทำา ให้ ผู้ เ รี ย นสามารถจำา และเข้ า ใจเนื้ อ หาได้ ดี ขึ้ น อี ก ด้วย 3. ท บ ท ว น ค ว า ม รู้ เ ดิ ม (activate prior knowledge) เป็นการช่วยให้ผู้เรียนดึงความรู้เดิม มาใช้และจะช่วยให้ผู้เรียนพร้อมที่จะเชื่อมโยงกับความรู้ใหม่ การ ทบทวนความรู้เดิมอาจอยู่ในรูปแบบใดก็ได้ เช่นการแสดงด้วยคำา พูด การเขี ยน การวาดภาพ หรือ การทดสอบก่ อนบทเรี ยน (pre- test) เพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนคิดย้อนหลังถึงสิ่งที่เรียนรู้มาก่อนหน้านี้ 4. นำา เสนอเนื้อหาใหม่ (present new information) ผู้สอน ควรจัดวิธีสอนแบบต่างๆ ผสมผสานกั บ สื่ อ ให้ เ หมาะสมกั บ สาระการเรี ย นรู้ เ พื่ อ ให้ ผู้ เ รี ย น เข้าใจเนื้อหาได้งายขึ้น ่ 5. ชี้ แนวทางการเรี ย นรู้ (guide learning) จั ดกิ จกรรมเพื่ อ ช่วยให้ผู่เรียนสามารถนำา ความรู้ เ ดิ ม มาผสมผสานกั บ ความรู้ ใ หม่ ใ ห้ มี ค วามกระจ่ า งชั ด ขึ้ น เช่ น การให้ ตัว อย่ า งและอธิ บ ายจะช่ ว ยให้ ผู้ เ รี ย นทำา ความเข้ า ใจ และแยกแยะความแตกต่างของเนื้อหาที่เรียนได้ง่ายและเร็วขึ้น 6. กระตุ้ น การตอบสนองต่ อ บทเรี ย น (elicit response) หากผู้เรียนได้มีส่วนร่วมใน ตุลาคม 2552 13
  • 14. กิจกรรมการเรียนการสอน การร่วมตอบคำาถาม ก็จะเป็นการกระตุ้น ให้ผู้เรียนแสดงความสามารถหรือมีโอกาสตอบสนองต่อสิ่งเร้าหรือ สาระที่เรียนได้ดีกว่าที่จะให้ผู้เรียนเป็นฝ่ายรับเพียงอย่างเดียว 7. ให้ ข้ อ มู ล ย้ อ นกลั บ (provide feedback) การทำา แบบ ฝึกหัด หรือการการให้คำาชมเชย เมื่อผู้เรียนทำากิจกรรมได้ตรงตามวัตถุประสงค์เป็นการให้แรงเสริม และข้อมูลที่เป็นประโยชน์แก่ผู้เรียน 8. ก า ร ป ร ะ เ มิ น ก า ร แ ส ด ง อ อ ก ข อ ง ผู้ เ รี ย น (assess performance) การทดสอบความรู้ หลังบทเรียนช่วยให้ผู้เรียนทราบว่าตนเองบรรลุวัตถุประสงค์การ เรี ย นรู้ ไ ด้ ม ากน้ อ ยเพี ย งใด นอกจากนี้ ยั ง มี ผ ลต่ อ ความจดจำา เนื้ อ หาของผู้ เ รี ย นด้ ว ย แบบทดสอบควรเรี ย งตามวั ต ถุ ป ระสงค์ ของเนื้ อหาและอาจแยกเป็ น ส่ ว นๆ เฉพาะ ตามเนื้ อ หาที่ เ รี ย นด้ วย ทั้งนี้ถ้าต้องการทดสอบรวมควรทำาอีกชุดหนึ่งหลังจากจบทั้งหน่วย การเรียนรู้ก็ได้ 9. สรุ ป และการนำา ไปใช้ (review and transfer) เป็ น ขั้ น ตอนสุดท้าย เมื่อผู้เรียนได้รับการ ฝึกฝนอย่างเพียงพอจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจอย่างลึกซึ้ง จากข้อมูลดังกล่าวผู้เรียนสามารถออกแบบการจัดการเรียนรู้ ได้หลากหลายวิธี โดยใช้หลักการสอนและแนวความคิดของกาเย่ ตามปกติแล้วกระบวนการจัดการเรียนรู้จะประกอบด้วย ขั้นนำา ขั้น สอนและขั้นสรุป แต่ในกิจกรรมการเรียนรู้สาระวิทยาศาสตร์บาง เนื้ อ เรื่ อ งอาจเน้ น การสื บ เสาะหาความรู้ เ ป็ น หลั ก สำา คั ญ ในการ จัดการเรียนรู้ ซึ่งประกอบด้วย ขั้นสร้างความสนใจ ขั้นสำารวจและ ค้ น หา ขั้ น อธิ บ ายและลงข้ อ สรุ ป ขั้ น ขยายความรู้ และขั้ น ประเมินก็ได้ ลองทำา ดู เมื่อเขียนตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้ในเรื่องที่ต้องการ จะสอนเรียบร้อยแล้ว ให้ระบุกิจกรรมในกระบวนการจัดการเรียนรู้ อาจเลือกใช้วิธีสอนวิธีใดก็ได้ที่เห็นสมควร โดยเขียนระบุขั้นนำา ขั้ น สอน ขั้ น สรุ ป อย่ า งละเอี ย ดและเขี ย นเวลาที่ ใ ช้ ใ นแต่ ล ะขั้ น กำากับไว้ด้วย ..................................................................................... ..................................................................................... ..................................................................................... ............................. ตุลาคม 2552 14
  • 15. ..................................................................................... ..................................................................................... ..................................................................................... ............................. ..................................................................................... ..................................................................................... ..................................................................................... ............................. ..................................................................................... ..................................................................................... ..................................................................................... ............................. ..................................................................................... ..................................................................................... ..................................................................................... ............................. ..................................................................................... ..................................................................................... ..................................................................................... ............................. ..................................................................................... ..................................................................................... ..................................................................................... ............................. ..................................................................................... ..................................................................................... ..................................................................................... ............................. ..................................................................................... ..................................................................................... ..................................................................................... ............................. ..................................................................................... ..................................................................................... ..................................................................................... ............................. ตุลาคม 2552 15
  • 16. ..................................................................................... ..................................................................................... ..................................................................................... ............................. ..................................................................................... ..................................................................................... ..................................................................................... ............................. ลองทำาดูอีกวิธีหนึ่ง เมื่อเขียนตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้ในเรื่อง ที่ ต้ อ งการจะสอนเรี ย บร้ อ ยแล้ ว ให้ ร ะบุ กิ จ กรรมในกระบวนการ จั ด การเรี ย นรู้ ขั้ น สร้ า งความสนใจ ขั้ น สำา รวจและค้ น หา ขั้ น อธิบายและลงข้อสรุป ขั้นขยายความรู้ และขั้นประเมิน อย่าง ละเอียดและเขียนเวลาที่ใช้ในแต่ละขั้นกำากับไว้ด้วย ..................................................................................... ..................................................................................... ..................................................................................... ............................. ..................................................................................... ..................................................................................... ..................................................................................... ............................. ..................................................................................... ..................................................................................... ..................................................................................... ............................. ..................................................................................... ..................................................................................... ..................................................................................... ............................. ..................................................................................... ..................................................................................... ..................................................................................... ............................. ..................................................................................... ..................................................................................... ตุลาคม 2552 16
  • 17. ..................................................................................... ............................. ..................................................................................... ..................................................................................... ..................................................................................... ............................. ..................................................................................... ..................................................................................... ..................................................................................... ............................. สื่อการเรียนรู้หรือแหล่งการเรียนรู้ เป็นเครื่องมือของการ เรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ คือสิ่งที่อยู่รอบๆ ตัวเราทุกอย่าง สื่อการ เรี ย นรู้ มี ห ลายอย่ า ง คื อ วั ส ดุ สิ่ ง พิ ม พ์ เช่ น เอกสารประกอบบท เรี ย น บทเรี ย นสำา เร็ จ รู ป นิ ต ยสาร วารสาร จุ ล สารฯ วั ส ดุ ประดิษฐ์ เช่น คอมพิวเตอร์ช่วยสอน แผนภูมิ แผนที่ หุ่นจำาลอง บั ตรคำา ฯ วัส ดุ ถ าวร เช่ น กระดานดำา เครื่ อ งมื อ ทางวิ ท ยาศาสตร์ อื่ น ๆ วั ส ดุ สิ้ น เปลื อ ง เช่ น กระดาษ หมึ ก ดิ น สอฯ สื่ อ ที่ เ ป็ น กิจกรรมหรือกระบวนการ เช่น การทำาโครงงาน สมมติสถานการณ์ จำาลองฯ สื่อบุคคลรวมถึงภูมิปัญญาท้องถิ่น สื่อธรรมชาติและสิ่ง แวดล้ อ ม สามารถใช้ ป ระกอบการเรี ย นการสอนซึ่ ง จะช่ ว ยให้ ผู้ เรียนเกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ได้ง่ายและรวดเร็ว อีก ทั้ง มี ประโยชน์แก่ผู้เรียน การเลือกใช้สื่อไม่มีสูตรสำาเร็จ ไม่มีเงื่อนไข ว่ า ผู้ ส อนต้ อ งผลิ ต สื่ อ เอง แต่ ผู้ ส อนควรมี ค วามสามารถในการ เลือกใช้สื่อได้อย่างมีประสิทธิภาพ ควรสอดคล้องกับกิจกรรมและ เหมาะสมกับผู้เรียน ปัจจุบันมีการนิยมนำาสื่ออิเล็กโทรนิกมาใช้ใน การเรียนการสอน เพื่อเพิ่มมิติการรับรู้ ดังนั้นเมื่อครูใช้สื่อประเภท นี้ ควรมี การใช้ คำา ถามเป็ น ระยะๆ ในการตรวจสอบการใช้ สื่ อ พึ ง ระลึกไว้เสมอว่า สื่อทำา ขึ้นเพื่อใช้ในการเรียนรู้ ไม่ใช่ใช้ทดแทน การสอนของครู ข้อเสียของการใช้สื่อแอนนิเมชั่นคือ อาจทำา ให้ เกิดความเข้าใจผิด เพราะผู้เรียนขาดจินตนาการ ลองทำา ดู ให้ เ ข้ า ไปที่ www.il.mahidol.ac.th เลื อ กศึ ก ษาสื่ อ จำา นวน 1 เรื่ อ ง แล้ ว ทำา การตรวจสอบเนื้ อ หา นอกจ ากนี้ ตุลาคม 2552 17
  • 18. www.stkc.ac.th ยั ง ให้ บ ริ ก ารสาธารณะ มี ห้ อ งสมุ ด คลั ง ความรู้ และฐานข้อมูลเฉพาะทาง ลองทำา ดู เมื่อเขียนตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้ในเรื่องที่ต้องการ จะสอนเรี ย บร้ อ ยแล้ ว ให้ ร ะบุ สื่ อ ที่ ส อดคล้ อ งกั บ กิ จ กรรมใน กระบวนการจัดการเรียนรู้ ..................................................................................... ..................................................................................... ..................................................................................... ............................. ..................................................................................... ..................................................................................... ..................................................................................... ............................. ส่วนท้าย เป็นส่วนที่ประกอบด้วย การวัดผล การประเมินผล การบันทึกหลังสอน และแบบฝึกหัดหรือใบความรู้หรือใบงานที่ครู ทำาขึ้นเพื่อใช้ในการสอนในคาบนั้นๆ การวั ด และประเมิ น ผล คำา สองคำา นี้ มี แ นวทางการ ปฏิบัติที่แยกจากกันชัดเจน การวั ด ผลเป็ น การตรวจสอบว่ า ผู้ เ รี ย นเกิ ด การเรี ย นรู้ ต าม วัตถุประสงค์การเรียนรู้ที่ตั้งไว้หรือไม่ การวัดผลจะต้อ งมี วิธีการ และเครื่องมือที่จะตรวจสอบ การวัดผลที่ดีต้องสอดคล้องกับจุด ประสงค์ เนื้อหา และกิจกรรมการเรียนรู้ การเขียนต้องมีการระบุที่ ชัดเจนว่าต้องการวัดผลอะไร วัดอย่างไร และมีอะไรเป็นเครื่องมือ ในการวัด การประเมินผลเป็นการตัดสินว่าผู้เรียนมีคุณภาพเป็นอย่างไร โดยเอาคะแนนที่ ไ ด้ จ ากการวั ดมาเปรี ยบเที ยบกั บ เกณฑ์ ที่ ตั้ง ไว้ การเขี ย นต้ อ งมี ก ารระบุ ที่ ชั ด เจนว่ า ต้ อ งการประเมิ น ผลอะไร ประเมินอย่างไร และมีอะไรเป็นเครื่องมือในการประเมิน เช่น ใช้วิธี เกณฑ์คุณภาพ (rubic) หรือวิธีเช็คลิส (check list) ทั้งนี้แล้วแต่ ธรรมชาติ ข องวิ ช า การประเมิ น แบบเกณฑ์ คุ ณ ภาพเป็ น การ ประเมิ น ที่ เ น้ น คุ ณภาพของชิ้ น งานหรื อ ภาระงาน ชี้ ใ ห้ เ ห็ น ระดั บ ความรู้ความสามารถของนักเรียน ตุลาคม 2552 18
  • 19. ลองทำาดู เมื่อเขียนกิจกรรมในกระบวนการจัดการเรียนรู้เรียบร้อย แล้ว ให้ระบุการวัดผลและการประเมินผลที่สอดคล้องกับกิจกรรม การเรียนรู้และจุดประสงค์การเรียนรู้ที่ได้กำาหนดไว้ ..................................................................................... ..................................................................................... ..................................................................................... ............................. ..................................................................................... ..................................................................................... ..................................................................................... ............................. ..................................................................................... ..................................................................................... ..................................................................................... ............................. ..................................................................................... ..................................................................................... ..................................................................................... ............................. ..................................................................................... ..................................................................................... ..................................................................................... ............................. ..................................................................................... ..................................................................................... ..................................................................................... ............................. ..................................................................................... ..................................................................................... ..................................................................................... ............................. ตุลาคม 2552 19
  • 20. ลองทำา ดู อี ก วิ ธี ห นึ่ ง เมื่ อ เขี ย นกิ จ กรรมในกระบวนการจั ด การ เรียนรู้เรียบร้อยแล้ว ให้ระบุการวัดผลและการประเมินผลเป็นแบบ ตารางที่สอดคล้องกับกิจกรรมการเรียนรู้และจุดประสงค์การเรียนรู้ ที่ได้กำาหนดไว้ วิธีการวัดผล เครื่องมือ เกณฑ์การประเมิน ในบางโรงเรียนอาจเขียนกระบวนการจัดการเรียนรู้เป็นแบบ ตารางก็ได้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ การวัดผลและการ ตุลาคม 2552 20