SlideShare a Scribd company logo
Enviar búsqueda
Cargar
006 7 cupชนบท
Denunciar
Compartir
สปสช นครสวรรค์
Seguir
•
0 recomendaciones
•
571 vistas
006 7 cupชนบท
•
0 recomendaciones
•
571 vistas
สปสช นครสวรรค์
Seguir
Denunciar
Compartir
006 7 cupชนบท
1 de 20
Descargar ahora
Recomendados
การพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน por
การพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน
เครือข่าย ปฐมภูมิ
8.9K vistas
•
11 diapositivas
ระบบสุขภาพอำเภอ Ln นำเสนอประชุมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์2 por
ระบบสุขภาพอำเภอ Ln นำเสนอประชุมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์2
กันย์ สมรักษ์
1.6K vistas
•
40 diapositivas
CUP Muang Ya, CUP split, Nakhon Ratchasima por
CUP Muang Ya, CUP split, Nakhon Ratchasima
Surasit Chitpitaklert
1.2K vistas
•
87 diapositivas
Autonomous CUP, CUP split, Nakhonchaiburin por
Autonomous CUP, CUP split, Nakhonchaiburin
Surasit Chitpitaklert
1K vistas
•
65 diapositivas
Dhs@ ministry of ph ain dhs 261158 por
Dhs@ ministry of ph ain dhs 261158
Chuchai Sornchumni
790 vistas
•
28 diapositivas
แนวทางการขับเคลื่อน DHS ที่เชื่อมโยงกับ Service plan และการดูแลสุขภาพกลุ่มวัย... por
แนวทางการขับเคลื่อน DHS ที่เชื่อมโยงกับ Service plan และการดูแลสุขภาพกลุ่มวัย...
กันย์ สมรักษ์
6K vistas
•
33 diapositivas
Más contenido relacionado
La actualidad más candente
การพัฒนาคุณภาพในการทำงานชุมชน por
การพัฒนาคุณภาพในการทำงานชุมชน
softganz
7K vistas
•
32 diapositivas
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น por
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
Komsan Iemthaisong
1.5K vistas
•
31 diapositivas
รายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข por
รายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
โปรตอน บรรณารักษ์
4.7K vistas
•
251 diapositivas
โครงสร้างสาธารณสุขไทย por
โครงสร้างสาธารณสุขไทย
Surasak Tumthong
34.8K vistas
•
21 diapositivas
006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp por
006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp
สปสช นครสวรรค์
841 vistas
•
7 diapositivas
006 2-0 cupเมือง por
006 2-0 cupเมือง
สปสช นครสวรรค์
2K vistas
•
40 diapositivas
La actualidad más candente
(20)
การพัฒนาคุณภาพในการทำงานชุมชน por softganz
การพัฒนาคุณภาพในการทำงานชุมชน
softganz
•
7K vistas
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น por Komsan Iemthaisong
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
Komsan Iemthaisong
•
1.5K vistas
รายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข por โปรตอน บรรณารักษ์
รายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
โปรตอน บรรณารักษ์
•
4.7K vistas
โครงสร้างสาธารณสุขไทย por Surasak Tumthong
โครงสร้างสาธารณสุขไทย
Surasak Tumthong
•
34.8K vistas
006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp por สปสช นครสวรรค์
006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp
สปสช นครสวรรค์
•
841 vistas
006 2-0 cupเมือง por สปสช นครสวรรค์
006 2-0 cupเมือง
สปสช นครสวรรค์
•
2K vistas
District health system por Narathiwat Provincial Public health
District health system
Narathiwat Provincial Public health
•
10.7K vistas
การสร้างสรรค์บริการสุขภาพที่มีคุณค่าแก่ประชาชน เขตบริการสุขภาพที่ 10 Better S... por Dr.Suradet Chawadet
การสร้างสรรค์บริการสุขภาพที่มีคุณค่าแก่ประชาชน เขตบริการสุขภาพที่ 10 Better S...
Dr.Suradet Chawadet
•
3.9K vistas
การขับเคลื่อนระบบสุขภาพอำเภอ(รสอ.)/DHSฉบับประเทศไทย por Auamporn Junthong
การขับเคลื่อนระบบสุขภาพอำเภอ(รสอ.)/DHSฉบับประเทศไทย
Auamporn Junthong
•
48.8K vistas
คู่มือ PCA เล่มฟ้า por Dr.Suradet Chawadet
คู่มือ PCA เล่มฟ้า
Dr.Suradet Chawadet
•
8.1K vistas
บริการปฐมภูมิ por Sunisa Sudsawang
บริการปฐมภูมิ
Sunisa Sudsawang
•
2.5K vistas
Primary Health Care System_Padkao T por School of Allied Health Science of NPU
Primary Health Care System_Padkao T
School of Allied Health Science of NPU
•
1.1K vistas
District Health System : DHS por Nakhonratchasima Provincial of public health office
District Health System : DHS
Nakhonratchasima Provincial of public health office
•
662 vistas
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ. por nhs0
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
nhs0
•
34.6K vistas
samutprakan por Punika Kittikulthanan
samutprakan
Punika Kittikulthanan
•
1.2K vistas
หนังสือหมอครอบครัว por Chuchai Sornchumni
หนังสือหมอครอบครัว
Chuchai Sornchumni
•
6.5K vistas
An Improvement of EMS by Integrated Network at Dansai District, Loei Province por csip.org > slide ความปลอดภัยในเด็ก
An Improvement of EMS by Integrated Network at Dansai District, Loei Province
csip.org > slide ความปลอดภัยในเด็ก
•
518 vistas
Dhs pca เขตสุขภาพที่ 10 por Dr.Suradet Chawadet
Dhs pca เขตสุขภาพที่ 10
Dr.Suradet Chawadet
•
4K vistas
เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง เพื่อเตรียมผู้เรียนสู่ระบบสุขภาพในศตวรรษที่ ๒๑ ที่ ... por Pattie Pattie
เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง เพื่อเตรียมผู้เรียนสู่ระบบสุขภาพในศตวรรษที่ ๒๑ ที่ ...
Pattie Pattie
•
183 vistas
หนังสือเสริมคุณค่าปฐมภูมิด้วยระบบสุขภาพอำเภอ por Utai Sukviwatsirikul
หนังสือเสริมคุณค่าปฐมภูมิด้วยระบบสุขภาพอำเภอ
Utai Sukviwatsirikul
•
1.9K vistas
Similar a 006 7 cupชนบท
การทำแผนของ Cup ปี 2559 por
การทำแผนของ Cup ปี 2559
Nakhonratchasima Provincial of public health office
814 vistas
•
50 diapositivas
แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั... por
แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...
Pattie Pattie
199 vistas
•
4 diapositivas
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน por
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
CAPD AngThong
2.7K vistas
•
28 diapositivas
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย por
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
softganz
10.6K vistas
•
57 diapositivas
551212 moph policy por
551212 moph policy
sivapong klongpanich
770 vistas
•
12 diapositivas
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย por
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
Chuchai Sornchumni
783 vistas
•
22 diapositivas
Similar a 006 7 cupชนบท
(20)
การทำแผนของ Cup ปี 2559 por Nakhonratchasima Provincial of public health office
การทำแผนของ Cup ปี 2559
Nakhonratchasima Provincial of public health office
•
814 vistas
แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั... por Pattie Pattie
แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...
Pattie Pattie
•
199 vistas
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน por CAPD AngThong
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
CAPD AngThong
•
2.7K vistas
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย por softganz
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
softganz
•
10.6K vistas
551212 moph policy por sivapong klongpanich
551212 moph policy
sivapong klongpanich
•
770 vistas
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย por Chuchai Sornchumni
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
Chuchai Sornchumni
•
783 vistas
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ por Jaratpan Onghununtakul
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
Jaratpan Onghununtakul
•
1.2K vistas
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร por Sanyawadee
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
Sanyawadee
•
1.5K vistas
คอมโรงพยาบาล por Nongpla Narak
คอมโรงพยาบาล
Nongpla Narak
•
2.8K vistas
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 1 50 por Makin Puttaisong
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 1 50
Makin Puttaisong
•
3.1K vistas
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร por Sanyawadee
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
Sanyawadee
•
29.5K vistas
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร por Sanyawadee
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
Sanyawadee
•
2.5K vistas
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร por Sanyawadee
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
Sanyawadee
•
3.3K vistas
Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand? por Nawanan Theera-Ampornpunt
Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?
Nawanan Theera-Ampornpunt
•
2.7K vistas
Dental public meeting Holiday Inn por Jitty Chanprasit
Dental public meeting Holiday Inn
Jitty Chanprasit
•
231 vistas
หมออนามัยVol.6 por Chuchai Sornchumni
หมออนามัยVol.6
Chuchai Sornchumni
•
1.5K vistas
Social Media Guidelines for Health Professionals Progress Report to National ... por Nawanan Theera-Ampornpunt
Social Media Guidelines for Health Professionals Progress Report to National ...
Nawanan Theera-Ampornpunt
•
1.5K vistas
Hpon2 mix por Pattie Pattie
Hpon2 mix
Pattie Pattie
•
193 vistas
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์ por Apichat kon
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
Apichat kon
•
425 vistas
ปลัดสธ. วางระบบDhs por Cddthai Thailand
ปลัดสธ. วางระบบDhs
Cddthai Thailand
•
845 vistas
Más de สปสช นครสวรรค์
3ข่าวรับฟังความคิดเห็น por
3ข่าวรับฟังความคิดเห็น
สปสช นครสวรรค์
988 vistas
•
2 diapositivas
~$Poster รับฟังความคิดเห็น por
~$Poster รับฟังความคิดเห็น
สปสช นครสวรรค์
866 vistas
•
1 diapositiva
Ad por
Ad
สปสช นครสวรรค์
704 vistas
•
1 diapositiva
Ad por
Ad
สปสช นครสวรรค์
570 vistas
•
1 diapositiva
คำสั่งแต่งตั้ง นพ.วงษ์สวัสดิ์ ตันวิสุทธิ์ ในตำแหน่ง ผอ.สปสช. เขต 3 นว por
คำสั่งแต่งตั้ง นพ.วงษ์สวัสดิ์ ตันวิสุทธิ์ ในตำแหน่ง ผอ.สปสช. เขต 3 นว
สปสช นครสวรรค์
890 vistas
•
2 diapositivas
ยูเอ็นเรียกร้องทุกประเทศจัดหลักประกันสุขภาพให้ประชาชน ยกไทยต้นแบบความสำเร็จ por
ยูเอ็นเรียกร้องทุกประเทศจัดหลักประกันสุขภาพให้ประชาชน ยกไทยต้นแบบความสำเร็จ
สปสช นครสวรรค์
551 vistas
•
2 diapositivas
Más de สปสช นครสวรรค์
(20)
3ข่าวรับฟังความคิดเห็น por สปสช นครสวรรค์
3ข่าวรับฟังความคิดเห็น
สปสช นครสวรรค์
•
988 vistas
~$Poster รับฟังความคิดเห็น por สปสช นครสวรรค์
~$Poster รับฟังความคิดเห็น
สปสช นครสวรรค์
•
866 vistas
Ad por สปสช นครสวรรค์
Ad
สปสช นครสวรรค์
•
704 vistas
Ad por สปสช นครสวรรค์
Ad
สปสช นครสวรรค์
•
570 vistas
คำสั่งแต่งตั้ง นพ.วงษ์สวัสดิ์ ตันวิสุทธิ์ ในตำแหน่ง ผอ.สปสช. เขต 3 นว por สปสช นครสวรรค์
คำสั่งแต่งตั้ง นพ.วงษ์สวัสดิ์ ตันวิสุทธิ์ ในตำแหน่ง ผอ.สปสช. เขต 3 นว
สปสช นครสวรรค์
•
890 vistas
ยูเอ็นเรียกร้องทุกประเทศจัดหลักประกันสุขภาพให้ประชาชน ยกไทยต้นแบบความสำเร็จ por สปสช นครสวรรค์
ยูเอ็นเรียกร้องทุกประเทศจัดหลักประกันสุขภาพให้ประชาชน ยกไทยต้นแบบความสำเร็จ
สปสช นครสวรรค์
•
551 vistas
121113สปสช.ขู่สอบรพ.เบิกเงินเกินจริง เดลินิวส์ por สปสช นครสวรรค์
121113สปสช.ขู่สอบรพ.เบิกเงินเกินจริง เดลินิวส์
สปสช นครสวรรค์
•
621 vistas
ประกาศฯ(ฉบับที๒) por สปสช นครสวรรค์
ประกาศฯ(ฉบับที๒)
สปสช นครสวรรค์
•
485 vistas
ผลสำรวจ สำนักงานสถิติ Oct55 por สปสช นครสวรรค์
ผลสำรวจ สำนักงานสถิติ Oct55
สปสช นครสวรรค์
•
633 vistas
18 oct 55 แนวทางการบริหารงบ tb ปี 56 por สปสช นครสวรรค์
18 oct 55 แนวทางการบริหารงบ tb ปี 56
สปสช นครสวรรค์
•
1.1K vistas
023125 กค(การระบุเหตุผลการใช้ยานอกบัญชียาหลัก) por สปสช นครสวรรค์
023125 กค(การระบุเหตุผลการใช้ยานอกบัญชียาหลัก)
สปสช นครสวรรค์
•
677 vistas
18 oct12 การจัดทำแผนเอดส์56เขต por สปสช นครสวรรค์
18 oct12 การจัดทำแผนเอดส์56เขต
สปสช นครสวรรค์
•
590 vistas
ประกาศจากสำนักกฎหมาย por สปสช นครสวรรค์
ประกาศจากสำนักกฎหมาย
สปสช นครสวรรค์
•
532 vistas
ประกาศแก้ไขบุคคลภายนอก por สปสช นครสวรรค์
ประกาศแก้ไขบุคคลภายนอก
สปสช นครสวรรค์
•
505 vistas
ประกาศฯบริหารจัดการปี ๕๕ por สปสช นครสวรรค์
ประกาศฯบริหารจัดการปี ๕๕
สปสช นครสวรรค์
•
509 vistas
Aidsปี56สรุปภาพรวม por สปสช นครสวรรค์
Aidsปี56สรุปภาพรวม
สปสช นครสวรรค์
•
402 vistas
Aidsปี56สรุปภาพรวม por สปสช นครสวรรค์
Aidsปี56สรุปภาพรวม
สปสช นครสวรรค์
•
890 vistas
Gnewvb01 090401013958-phpapp01 por สปสช นครสวรรค์
Gnewvb01 090401013958-phpapp01
สปสช นครสวรรค์
•
613 vistas
ประกาศกระทรวงพม เรื่องประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ6ประเภท por สปสช นครสวรรค์
ประกาศกระทรวงพม เรื่องประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ6ประเภท
สปสช นครสวรรค์
•
881 vistas
ประกาศกระทรวงพม ประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ7ประเภท por สปสช นครสวรรค์
ประกาศกระทรวงพม ประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ7ประเภท
สปสช นครสวรรค์
•
16.8K vistas
006 7 cupชนบท
1.
6
เอกสารประกอบห้องย่อยวิชาการ กลยุทธ์การเชื่อมร้อย บริการปฐมภูมิให้เป็นเครือข่าย บทเรียนจาก CUP ชนบท การประชุมมหกรรมสุขภาพชุมชน ครั้งที่ 2 จากความรู้สู่ระบบจัดการใหม่ จินตนาการเป็นจริงได้ไม่รู้จบ วันที่ 19 มกราคม 2555 เวลา 10.30 - 12.30 น. ห้อง Sapphire 6
3.
คำ�นำ�
เอกสารประกอบการอภิ ป รายห้ อ งย่ อ ย กลยุ ท ธ์ ก ารเชื่ อ มร้ อ ย บริการปฐมภูมิให้เป็นเครือข่าย : บทเรียนจาก CUP ชนบท วันพฤหัสบดี ที่ 19 มกราคม 2555 เวลา 10:30 – 12:30 น. เพื่ อ สะท้ อ นแนวคิ ด คุ ณ ค่ า ของระบบบริ ก ารสุ ข ภาพปฐมภู มิ ซึ่ ง เป็ น กลไกสำ � คั ญ ในการพั ฒ นา ระบบสุ ข ภาพชุ ม ชน และสะท้ อ นความเป็ น ตั ว ตนของเครื อ ข่ า ยสุ ข ภาพ ระดั บ อำ � เภอ (CUP) ในกลยุ ท ธ์ วิ ธี ก ารจั ด การระดั บ เครื อ ข่ า ยปฐมภู มิ ที่ ดี ใ นการเชื่ อ มร้ อ ยบริ ก ารปฐมภู มิ ใ ห้ เ ป็ น เครื อ ข่ า ย ที่ จ ะนำ � ไปสู่ สุ ข ภาวะ ประชาชนในพื้นที่ ในงานประชุ ม ประชุ ม วิ ช าการ มหกรรมสุ ข ภาพชุ ม ชน ครั้ ง ที่ 2 “จากความรู้ สู่ ร ะบบจั ด การใหม่ จิ น ตนาการเป็ น จริ ง ได้ ไ ม่ รู้ จ บ” ระหว่ า ง วันที่ 18 – 21 มกราคม 2555 ณ อาคารอิมแพ็คฟอรั่ม เมืองทองธานี สำ�นักงานวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน มกราคม 2555 กลยุทธ์การเชื่อมร้อยบริการปฐมภูมิให้เป็นเครือข่าย บทเรียนจาก CUP ชนบท 3
5.
กลยทธการเชอมรอยบรการปฐมภมใหเ้ ปนเครอขาย
ุ ์ ่ื ้ ิ ูิ ็ ื ่ : บทเรียนจาก CUP ชนบท ส�ำนักงานวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน (สพช.) ชมรมแพทย์ชนบท บทเรียนส�ำคัญในการประสานเชื่อมต่อระหว่างหน่วยบริการปฐมภูมิ สาธารณสุข อ�ำเภอ และโรงพยาบาลรวมถึงการเชื่อมโยงกับชุมชน ท้องถิ่น การสร้างให้เป็นทีมงาน เดียวกันอย่างเป็นเอกภาพ ทั้งนี้ได้เลือกเครือข่ายบริการปฐมภูมิในระดับอ�ำเภอแต่ละแบบ มา 4 พื้ น ที่ ที่ จ ะสะท ้ อ นให ้ เ ห็ น ลั ก ษณะเด ่ น ในการท�ำงานเครื อ ข ่ า ยบริ ก ารปฐมภู มิ ในรู ป แบบที่ ห ลากหลายในการพั ฒ นาตามบริ บ ทของแต่ ล ะพื้ น ที่ ซึ่ ง สามารถน�ำไป ประยุ ก ต ์ ใช ้ ใ นการจั ด ระบบบริ ก ารสุ ข ภาพปฐมภู มิ ใ นระดั บ อ�ำเภอให ้ เ กิ ด ประโยชน ์ ต่อประชาชนในพื้นที่ต่อไป....ดังกรณีตัวอย่างบทเรียนของ CUP ชนบทใน 4 รูปแบบ 4 บริบท บทเรียนจาก CUP โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชกุฉนารายณ์ ิ จังหวัดกาฬสินธุ์ การจัดการระบบบริการสุขภาพเชิงรุกเพื่อเพิ่มโอกาสการเข้าถึงบริการสุขภาพ และสวัสดิการชุมชนของประชาชนทุกกลุ่มเป้าหมาย : กรณีอ�ำเภอกุฉินารายณ์ กุฉินารายณ์เป็นหนึ่งในสิบแปดอ�ำเภอของจังหวัดกาฬสินธุ์ ห่างจากตัวจังหวัด กาฬสิ น ธุ ์ ไปทางทิ ศ ตะวั น ออกประมาณ 80 กิ โ ลเมตร รั บ ผิ ด ชอบประชากรทั้ ง หมด 101,410 คน มีหน่วยบริการสุขภาพจ�ำนวน 18 แห่ง เป็นโรงพยาบาลชุมชนขนาด 90 เตียง 1 แห่ง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล 17 แห่ง โดยมีส�ำนักงานสาธารณสุขอ�ำเภอ 1 แห่ง เป็ น กลไกของรั ฐ ในการเชื่ อ มประสานการท�ำงานร่ ว มกั น ระหว่ า งโรงพยาบาลแม่ ข ่ า ย (รพ.ร. กุฉินารายณ์) กับหน่วยบริการปฐมภูมิ (รพ.สต.) ในพื้นที่ กลยุทธ์การเชื่อมร้อยบริการปฐมภูมิให้เป็นเครือข่าย บทเรียนจาก CUP ชนบท 5
6.
จากโครงสร้างและกลไกการจัดระบบบริการสุขภาพที่เป็นอยู่ ที่ไม่สามารถตอบ
สนองต่อความจ�ำเป็นต้องการของคนในพื้นที่และสร้างความเป็นทุกข์ใจให้กับผู้ให้บริการ จากข้อจ�ำกัดของพื้นที่และเวลาการจัดให้บริการ ผู้มารับบริการมาแออัดรอรับบริการ ณ รพ.ร.กุฉินารายณ์ การกลับมารับบริการซ�้ำในปัญหาเดิม ๆ สิ่งเหล่านี้ท�ำให้ผู้บริหาร โรงพยาบาลต้องกลับมาทบทวนกระบวนการจัดระบบบริการสุขภาพของอ�ำเภอเสียใหม่ ด้วยการเชื่อมร้อยระบบบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิในพื้นที่กับการจัดให้บริการสุขภาพ ทุติยภูมิของโรงพยาบาลแม่ข่าย (รพ.ร.กุฉินารายณ์) ที่มีความลงตัวอย่างพอเหมาะพอสม กับสภาพบริบทของพื้นที่กุฉินารายณ์ เริ่มจากการสร้างทีมงานที่มีความเข้าใจในลีลาชีวิตของ มนุษย์ ที่มีองค์ประกอบ ดวยกาย จตใจ ความรสกชวดี (จตวญญาณ) ปรบมโนทรรศนจากการรกษาโรคมาเปนรกษาคน ้ ิ ู้ ึ ั่ ิ ิ ั ์ ั ็ ั ท�ำให้ทีมงานมีความรู้และทักษะการดูแลประชาชนในพื้นที่ในสามส่วนได้แก่ ความรู้เรื่อง การรักษาโรค ความรู้เรื่องวิถีชีวิตของคนป่วย และความรู้เรื่องแหล่งทุน/ทรัพยากรชุมชน ที่น�ำใช้ในการระดมเพื่อดูแลคนในพื้นที่ เติมพลังแรงใจ (หัวใจมนุษย์) และพลังปัญญา (หลักวิชาการ) ให้กับทีมงาน สร้างสัมพันธภาพความไว้วางใจ การให้คุณค่าของทีมงาน (ทุกวิชาชีพมีคุณค่าเสมอกัน) จากนั้นเริ่มด�ำเนินการตามความเชื่อและแนวคิดสามด้าน คือ หลกการบรการสขภาพปฐมภมิ หลกเวชศาสตรครอบครวและหลกการท�ำงานแบบบรณาการ ั ิ ุ ู ั ์ ั ั ู ของสหวิชาชีพ ในพืนทีเ่ ขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลกุฉนารายณ์ โดยเน้นในกลุมเป้าหมาย ้ ิ ่ ผู้พิการและกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังเป็นบทพิสูจน์ให้เห็นความส�ำเร็จในการสร้างสุขภาพด้วย กลไกการจั ด ระบบบริ ก ารสุ ข ภาพระดั บ อ�ำเภอที่ เ หมาะสมโดยเน้ น บริ ก ารสุ ข ภาพ ปฐมภูมิ (บริการที่เน้นการผสมผสานบริการทั้งมิติการส่งเสริมสุขภาพ ควบคุมป้องกันโรค การรักษาพยาบาล การฟื้นฟูสุขภาพรวมถึงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพที่มีดุลยภาพ) ภายใต้ทีมงานที่ถูกสร้างและพัฒนาขึ้นของโรงพยาบาลกุฉินารายณ์ร่วมกับเครือข่ายใน พื้นที่ส่วนหนึ่ง (รพ.สต. 2-3 แห่งที่เห็นด้วยกับแนวคิดดังกล่าว) โดยมีแผนปฏิบัติการการ ดูแลผู้ป่วยของทีมงานที่มีหัวใจความเป็นมนุษย์ ในขณะที่มีการเคลื่อนไหวของทีมงาน ไม้เลือย (ทีมสหวิชาชีพ) ตัวผูบริหาร (ผอ.รพ.ร.กุฉนารายณ์) จะท�ำหน้าทีในการน�ำและอ�ำนวยการ ้ ้ ิ ่ ให้ทีมงานได้ท�ำหน้าที่ของพวกเขาอย่างเต็มก�ำลัง เมื่อเวลาผ่านเลยไปตั้งแต่ปี 2549 ที่ ต้นกล้าพันธุ์ “หมอเวชศาสตร์ครอบครัว” ได้เกิดขึ้นในพื้นที่กุฉินารายณ์และแตกหน่อ ก่อเชื้อแพร่ขยายสู่วิชาชีพอื่น ๆ รวมถึงเครือข่ายในชุมชน (เช่น อสม. ผู้น�ำชุมชน ผู้น�ำท้องถิ่น กลยุทธ์การเชื่อมร้อยบริการปฐมภูมิให้เป็นเครือข่าย 6 บทเรียนจาก CUP ชนบท
7.
เป็นต้น) เป็นทีมงาน“ไม้เลื้อย” ท�ำให้ผู้เจ็บป่วย(ด้วยมิติทางกาย
มิติทางใจ มิติทางสังคม) ได้รับการเยียวยาที่มีคุณภาพ มาตรฐานแห่งวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง สร้างความพึงพอใจให้กับ ทั้งผู้รับบริการและผู้ให้บริการ จากคนที่ด้อยโอกาสไม่ได้รับการดูแลที่เหมาะสมในหลักร้อย ขยายสหลกพนและหลาย ๆ พนในเวลาตอมา ซงทมงานและผบรหารไดมการจดเวทแลกเปลยน ู่ ั ั ั ่ ึ่ ี ู้ ิ ้ี ั ี ี่ เรียนรู้จากวงเสวนาของทีมงานเอง และขยายสู่กลุ่มเครือข่ายต่าง ๆ เป็นบทเรียนที่สร้าง ความสนใจให้กับภาคี องค์กรต่าง ๆ คุณค่าของการท�ำงานที่ยึดผู้ป่วยเป็นศูนย์กลางและ ไม่ละเลยตัวชี้วัดของส่วนกลางที่สั่งการ (แม้จะเป็นอุปสรรคการท�ำงานของพื้นที่) ด้วยกลไก การเชื่อมร้อยของบริการปฐมภูมิในระดับพื้นที่ (รพ.สต.) ในฐานะองค์กรสุขภาพที่มีความ เชี่ยวชาญ (รู้และเข้าใจชุมชน) กับโรงพยาบาลแม่ข่ายในพื้นที่ ในฐานะผู้เชี่ยวชาญด้านการ แพทย์และสาธารณสุข (รู้และเข้าใจธรรมชาติการเกิดโรครวมถึงการรักษาโรค) และภาคี เครือข่ายสุขภาพชุมชน (อสม.แกนน�ำชุมชน อปท.) ในฐานะเจ้าของพื้นที่ตัวจริง น�ำมาสู่การ เรียนรูและการพัฒนาระบบการจัดบริการสุขภาพปฐมภูมทมความต่อเนืองเป็นพลวัตร จนเป็น ้ ิ ี่ ี ่ กุฉินารายณ์ Model ซึ่งเป็นรูปแบบการบริหารจัดการสุขภาพแนวใหม่ ที่ควรค่าต่อการ ติดตาม ศึกษาและน�ำไปประยุกต์เพื่อเกิดประโยชน์ให้กับชาวบ้านในเขตรับผิดชอบต่อไป ปัจจัยที่ส่งผลให้กลไกการจัดการระบบสุขภาพในรูปแบบของ “กุฉินารายณ์ Model” ประสบผลส�ำเร็จนั้นมาจาก... 1. ผู้น�ำองค์กร (ผอ.รพ.ร.กุฉินารายณ์ : นายแพทย์นพดล เสรีรัตน์) ที่มีวิสัยทัศน์ กว้างไกลและมีความเชื่อมั่นต่อการแก้ปัญหาหรือการยกระดับสุขภาพให้ส�ำเร็จนั้นต้อง ยึดบุคคลเป็นศูนย์กลาง (Personal Approach / Person Center) ด้วยฐานความคิด “Primary care” , “Family medicine” , “Multidisciplinary team” 2. ผู ้ น�ำทีม ที่มีความเข้ม แข็งและเชื่อมั่น ในคุ ณ ค่ า ของบริ ก ารสุ ข ภาพปฐมภู มิ อย่างคุณหมอสิริชัย นามทัศนีย์ แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว ประจ�ำศูนย์สุขภาพชุมชน โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชกุฉินารายณ์ ที่เป็นแบบอย่างในการประยุกต์ใช้หลักวิชาการ เชิงทฤษฎีของระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิสู่การปฏิบัติที่เกิดเห็นผลเชิงรูปธรรม จับต้องได้ ท�ำให้ทีมงานและภาคีเครือข่ายเกิดความศรัทธา มั่นใจและมุ่งมั่นต่อภารกิจในบทบาท หน้าที่ กลยุทธ์การเชื่อมร้อยบริการปฐมภูมิให้เป็นเครือข่าย บทเรียนจาก CUP ชนบท 7
8.
3. ทีมงานสหวิชาชีพที่ปฏิบัติการในพื้นที่ ที่มีความอดทน
มุ่งมั่น ศรัทธาต่อ แนวคิดและคุณค่าของบริการสุขภาพปฐมภูมิและมีหัวใจความเป็นมนุษย์ 4. กระบวนการพัฒนา การให้โอกาสและการสนับสนุนการท�ำงานของทีมงาน ผ่านการแลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่างเป็นกัลยาณมิตร ให้เกียรติและมองเห็นคุณค่าตนเองและ คนอื่น ๆ ในทีมงาน การเยี่ยมบ้านเชิงลึกเพื่อให้ได้ข้อมูลที่เป็นจริงมากที่สุดเพื่อใช้ประกอบ การวางแผนดูแลเยียวยาตลอดจนการสร้างองค์ความรู้ใหม่ๆเพื่อการดูแลประชาชน ท�ำให้ เกิดการพัฒนาต่อยอดอย่างไม่หยุดนิ่ง จนทีมงานแต่ละคน มีทักษะที่เรียกว่า “Mixed Skill” ท�ำให้เกิดนวตกรรมการท�ำงานที่สร้างคุณค่าและเป็นแบบอย่างที่ดีในพื้นที่ตลอดเวลา ภายใต้ค่านิยม บ่ดีเฮ็ดใหม่ ...ให้เริ่มต้นท�ำในสิ่งที่ชอบก่อน... ให้ท�ำในสิ่งที่ง่าย ๆ ก่อนแล้ว ขยายผลเมื่องานส�ำเร็จ 5. ความพอเหมาะพอดีของการจัดทีมงานสหวิชาชีพที่มีจุดเด่นคือ มีหมอหนึ่งคน ดูแลพื้นที่รับผิดชอบประชากรประมาณหมื่นคน (พื้นที่รับผิดชอบ รพ.ร.และ รพ.สต. 2-3 แห่ง) 6. กลไกและกลวิธีการท�ำงานที่เน้นการท�ำงานเชิงสร้างสรรค์ มองมุมบวก สร้าง สัมพันธภาพแนวราบ ลดการจัดการเชิงสั่งการ (อ�ำนาจนิยม) แต่จะป็นการท�ำงานแบบ กัลยาณมิตร ประสานความร่วมมือเพื่อผลส�ำเร็จของงานเป็นส�ำคัญรวมถึงการเลือกกลุ่ม เป้าหมายเพื่อการดูแลในระยะเริ่มต้นจะเน้นไปในกลุ่มที่มีความเป็นไปได้ในการส�ำเร็จผล และเป็นที่สนใจของชุมชนโดยรวมเป็นกรณีตัวอย่างในการดูจัดการดูแลก่อน ได้แก่ ผู้พิการ ผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้สูงอายุ เป็นต้น ซึ่งจะสร้างผลผลิตที่สื่อให้เห็นคุณค่าของบริการปฐมภูมิ ที่มีศักดิ์ศรีเชิงวิชาการได้มากกว่า บทเรียนจาก CUP โรงพยาบาลสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา การจัดการก�ำลังคนภาคบริการสุขภาพระดับอ�ำเภอเพื่อการจัดบริการสุขภาพ ปฐมภู มิ ที่ ท รงประสิ ท ธิ ภ าพ : กรณี อ�ำเภอสนามชั ย เขต จั ง หวั ด ฉะเชิ ง เทราอ�ำเภอ สนามชัยเขตเป็นอ�ำเภอชายขอบของจังหวัดฉะเชิงเทรา มีพื้นที่ติดกับจังหวัดสระแก้ว และปราจีนบุรี อยู่ห่างจากตัวจังหวัดประมาณ 55 กิโลเมตร จัดว่าเป็นโรงพยาบาล ทุติยภูมิระดับกลาง ด�ำเนินงานภายใต้ปรัชญา “มุ่งมั่นช่วยชีวิต คือกิจที่ส�ำคัญ บริการ กลยุทธ์การเชื่อมร้อยบริการปฐมภูมิให้เป็นเครือข่าย 8 บทเรียนจาก CUP ชนบท
9.
เท่าเทียมกัน ไม่แบ่งชั้นชาติตระกูล” โดยวางวิสัยทัศน์
“เป็นโรงพยาบาลคุณภาพของ ชุมชนที่มีความเป็นเลิศด้านการดูแลสุขภาพ ที่ผู้ใช้บริการอบอุ่นใจและมีความสุข”อ�ำเภอ สนามชัยเขตประกอบด้วยเทศบาลต�ำบลสนามชัยเขต และอีก 4 ต�ำบล คือ ต�ำบลคู้ยายหมี ต�ำบลท่ากระดาน ต�ำบลทุ่งพระยา และต�ำบลลาดกระทิง มีประชากรรวมทั้งสิ้น 70,345 คน เป็นชาย 35,520 คน หญิง 34,825 คน แต่มีจ�ำนวนหมู่บ้านมากถึง 70 หมู่บ้าน มีพื้นที่ ประมาณหนึ่งล้านไร่ หรือพื้นที่ราว 1,600 ตารางกิโลเมตร ท�ำให้สนามชัยเขตนับว่าเป็น อ�ำเภอที่มีขนาดใหญ่เป็นที่สองของประเทศ รองจากอ�ำเภออุ้มผาง และยังมีเนื้อที่ใหญ่กว่า จังหวัดสมุทรปราการทั้งจังหวัด ซึ่งมีพื้นที่ประมาณ 1,000 ตารางกิโลเมตรสภาพพื้นที่ โดยรวมเป็ น ป่ า เสื่ อ มโทรม ประชากรส่ ว นใหญ่ ย ้ า ยมาจากภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ส่วนมากประกอบอาชีพเกษตรกรรม รับจ้างท�ำงานในโรงงานอุตสาหกรรม และรับจ้าง ทางการเกษตร มีแรงงานต่างด้าวที่ขึ้นทะเบียนไว้ประมาณ 1,400 คน ปัญหาที่หนักหน่วง ที่สุดของหน่วยบริการปฐมภูมิที่ห่างไกลความเจริญ นั่นคือการขาดแคลนบุคลากร ท�ำให้ การจัดบริการสุขภาพในระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิไม่มีความต่อเนื่อง ผู้บริหารต้องวิ่ง ตามแก้ปัญหาเดิม ๆ ปีแล้วปีเล่า แนวคิดและยุทธศาสตร์การสร้างทีมงานสุขภาพที่เข้มแข็งโดย “การปั้นดินให้เป็น ดาว” ด้วยการสร้างโอกาสให้กับคนในพื้นที่ได้รับการพัฒนาเป็นบุคลากรด้านสุขภาพที่เป็น มืออาชีพกลับมาดูแลญาติพี่น้องในพื้นที่ เพื่อแก้ปัญหาการขาดแคลนก�ำลังคนและการไหล ออกของก�ำลังคนในระบบบริการสุขภาพของอ�ำเภอสนามชัยเขตโดยเฉพาะในหน่วยบริการ ปฐมภูมิ...จากแนวคิด น�ำไปสู่กลยุทธ์และกระบวนการจัดการเพื่อให้เกิดต้นกล้าก�ำลังคน สุขภาพสายเลือดใหม่ (สายเลือดพันธุ์พื้นเมืองที่มีความแข็งแกร่ง มีจิตใจเป็นพยาบาล มืออาชีพ มีหัวใจความเป็นมนุษย์ ส�ำนึก กตัญญูต่อแผ่นดินเกิด) ด้วยการค้นหาเด็กที่มีแวว ในพื้ น ที่ ใ ห ้ ไ ด ้ รั บ โอกาสในการพั ฒ นาตนเองสู ่ วิ ช าชี พ พยาบาลของชุ ม ชน เพื่ อ ชุ ม ชน (โดยคนสาธารณะที่มีหัวใจความเป็นมนุษย์ อย่างคุณหมอสมคิดปีแล้วปีเล่าที่หมอสมคิด วิระเทพสุภรณ์ ในฐานะผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลสนามชัยเขต ผู้น�ำในระบบบริการสุขภาพ ระดับอ�ำเภอ) จากนั้นน�ำเด็กที่สนใจจะไปในทางเดินนี้มาฝึกงานในโรงพยาบาลและสถานี อนามัย เพื่อให้พวกเขาเห็นสภาพจริงก่อนไปเรียน แล้วตัดสินใจเองว่า จะสมัครไปสอบ ขอทุนเรียนหรือไม่ เมื่อเด็กและผู้ปกครองตกลงใจแล้ว ก็ยังต้องวิ่งเต้นและจัดการเพื่อให้ เด็กในพื้นที่ได้ทุน ได้มีที่นั่งเรียน ทั้งมองหาแหล่งทุนการศึกษา ไม่ว่าจะเป็นทุนของจังหวัด กลยุทธ์การเชื่อมร้อยบริการปฐมภูมิให้เป็นเครือข่าย บทเรียนจาก CUP ชนบท 9
10.
ทุน อบต. มีบางกรณีพ่อแม่ยินดีจ่ายค่าเรียนเอง
แต่ก็ยังต้องช่วยมองหาสถานศึกษาที่จะรับ เด็กเข้าเรียน โดยติดต่อพูดคุยเจรจากับแต่ละแห่ง เช่น วิทยาลัยพยาบาลชลบุรี ฯลฯ เพื่อที่ ท้ายที่สุดแล้ว เด็กในพื้นที่สักหนึ่งคน จะสามารถแทรกตัวเข้าไปนั่งเรียนจนจบได้ส�ำเร็จ โรงพยาบาลสนามชัยเขต ส�ำนักงานสาธารณสุขอ�ำเภอ และองค์กรปกครอง สวนทองถน ไดรวมมอกนอยางใกลชดในการสรางก�ำลงคนสาธารณสข ตงแตกอนการคดเลอก ่ ้ ิ่ ้ ่ ื ั ่ ้ิ ้ ั ุ ั้ ่ ่ ั ื นักเรียนทุน โดยท�ำการประชาสัมพันธ์ในโรงเรียนมัธยม แจ้งเรื่องการรับสมัครเรียนด้านการ พยาบาลและสาธารณสุข รวมทั้งให้นักเรียนลองฝึกงานที่โรงพยาบาล หรือที่โรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพต�ำบล 10 วัน และเข้าค่ายวิชาการ 10 วัน เพื่อดูว่าสนใจท�ำงานวิชาชีพนี้ หรือไม่ เพื่อท�ำให้นักศึกษาเกิดความคุ้นเคยกับเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลและที่สถานีอนามัย และยังให้ยืมเงินสวัสดิการของโรงพยาบาลไปเรียนได้ ในระหว่างทีก�ำลังเรียน หากเด็กมีวนหยุดหรือปิดเทอม ก็จะสนับสนุนให้พสอนน้อง ่ ั ี่ น้องช่วยพี่ โดยให้นักศึกษาพยาบาลได้ไปฝึกงานที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล ปีละ 5 วัน สร้างความรู้จักกันตั้งแต่ยังเรียนอยู่ เมื่อจบกลับมาท�ำงานด้วยกันก็สามารถช่วยเหลือ กันในพื้นที่ได้อย่างทันที ครั้นเมื่อน้องจบมาใหม่ ๆ ก็มีการจัดเวทีให้ได้แนะน�ำตัวต่อผู้น�ำ ชุมชน และหน่วยราชการต่าง ๆ เป็นการสร้างความภาคภูมิใจ สร้างความผูกพันต่อชุมชน และท�ำให้ก�ำลังคนเหล่านี้ รวมทั้งครอบครัว รู้สึกว่ามีภาระใจในการตอบแทนคุณแผ่นดิน และอยากรับใช้พี่น้องในภูมิล�ำเนาของตัวเอง สิ่งเหล่านี้ คือ แรงจูงใจที่ไม่ใช่เงิน แต่มีคุณค่าและมีอิทธิพลสูงยิ่งต่อการสร้าง และรักษาก�ำลังคนสาธารณสุขไว้ในระบบบริการปฐมภูมิ โดยมิได้เน้นแต่จะสร้างพยาบาล มาอยู่ในโรงพยาบาล แต่ท�ำทุกทางให้ได้คนไปอยู่ในสถานีอนามัย และสร้างความเป็น เครือข่ายบริการร่วมกันด้วย การปั้นดินให้เป็นดาวดวงแล้วดวงเล่า (ซึ่งมีมากกว่า 70 ชีวิต ในปัจจุบัน) ที่อยู่ในระบบบริการสุขภาพของอ�ำเภอสนามชัยเขต เมื่อ 20 ปีก่อนได้ท�ำให้เกิด ทีมสหวิชาชีพที่มีความผูกพัน รู้จักคุ้นเคยชนิดมองตาก็รู้ใจ จากนั้นจึงหันมาสร้างกลไกการ ท�ำงานที่เชื่อมประสานกันของส่วนต่าง ๆ ท�ำให้เกิดกลุ่มงานเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชน ในโรงพยาบาล มีการจัดระบบการดูแลประชาชนในพื้นที่โดยการแบ่งความรับผิดชอบของ แพทย์ในโรงพยาบาลเป็นโซนเพื่อให้แพทย์กับผู้รับบริการในพื้นที่โซนมีความรู้จักคุ้นเคย กันมากขึ้น เกิดระบบการเคลื่อนทีมจากโรงพยาบาลไปช่วยให้บริการที่ รพ.สต. หรือศูนย์ กลยุทธ์การเชื่อมร้อยบริการปฐมภูมิให้เป็นเครือข่าย 10 บทเรียนจาก CUP ชนบท
11.
สุขภาพชุมชน (PCU) เป็นการสร้างความแข็งแกร่งให้หน่วยบริการปฐมภูมิในสังกัดและ สร้างความเชื่อมั่นต่อคุณภาพบริการที่จัดให้
น�ำบริการแพทย์ทางเลือกมาประยุกต์ใช้ใน โรงพยาบาล ประสานองค์กร ชุมชน ท้องถิ่นเพื่อระดมทรัพยากรมาใช้เพื่อจัดบริการสุขภาพ แก่ประชาชนในเขตรับผิดชอบ ท�ำให้ปัญหาความขัดแย้งระหว่างทีมงานสุขภาพของอ�ำเภอ กับผูรบบริการลดลง ต้นทุนการให้บริการลดลงแต่เพิมคุณภาพการจัดให้บริการทีเ่ พิมมากขึน ้ั ่ ่ ้ เป็นภาพแห่งความส�ำเร็จของการจัดบริการสุขภาพปฐมภูมิด้วย กลไกระบบบริหารจัดการสุขภาพแนวใหม่ที่เป็นแบบอย่างในอีกรูปแบบหนึ่ง ภายใต้รูปแบบ “สนามชัยเขต Model” ปัจจัยของความส�ำเร็จของรูปแบบการจัดการ “สนามชัยเขต Model” ที่ส�ำคัญอยู่ที่ 1. มุมมองและวิสัยทัศน์ตลอดจนกลยุทธ์ของผู้น�ำที่แหลมคมไม่ติดอยู่ในวังวนของ ระบบเดิม ๆ เห็นปัญหาที่เผชิญอยู่หากแก้ได้ด้วยระบบที่เป็นอยู่จริงๆ ความขาดแคลนก�ำลัง คนด้านสุขภาพคงไม่ด�ำเนินมาจนถึงปานนี้ การมองเห็นคุณค่าของคนในพื้นที่และความ สามารถในการจัดการท�ำให้เกิดทีมงานสหวิชาชีพที่มีเอกภาพและประสิทธิภาพพูดภาษา เดียวกันและปฏิบัติตามแนวทางเดียวกัน 2. การเป็นแบบอย่างของนักปฏิบัติที่ดี คิดและท�ำให้เห็นเป็นแบบอย่างของผู้น�ำ ที่มุ่งเพื่อสุขภาวะของคนในเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบเป็นส�ำคัญ ท�ำให้ทีมงานและภาคีเครือข่าย มีความเชื่อมั่นและศรัทธาต่อผู้น�ำท�ำให้เกิดพลังในการขับเคลื่อนไปสู่เป้าหมายเบื้องหน้า ได้ง่ายขึ้น 3. การขับเคลื่อนสู่เป้าหมายที่มีเป้าหมายในแต่ละเรื่องที่ชัดเจนเป็นล�ำดับเป็นมูล เหตุส�ำคัญประการหนึ่งที่ท�ำให้ระบบบริการสุขภาพของสนามชัยเขตเกิดผลเป็นที่ยอมรับ ของคนในพื้นที่และเป็นที่ชื่นชมในผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นตามมา โดยการเริ่มต้นที่การสร้างและ พัฒนาทีมงานเป็นพื้นฐานตั้งแต่การสรรหา การพัฒนา บ�ำรุงรักษาต่อเนื่อง จนเกิดความ ลงตัวของทีมงานอย่างเต็มที่แล้วจึงมาขยับเรื่องการจัดบริการสุขภาพปฐมภูมิที่มีความ เชื่อมโยงร้อยรัดถักทอเป็นเนื้อเดียวทั้งบริการในระดับโรงพยาบาลสนามชัยเขต (แม่ข่าย) กบเครือข่ายบริการปฐมภูมิในระดับ (รพ.สต.) และการจัดบริการสุขภาพในภาคของชุมชน ั โดยการใช้ทรัพยากรในพื้นที่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด กลยุทธ์การเชื่อมร้อยบริการปฐมภูมิให้เป็นเครือข่าย บทเรียนจาก CUP ชนบท 11
12.
4. การจัดระบบบริการเพื่อเอื้อให้ประชาชนหรือที่เรียกว่าการให้ความส�ำคัญกับ
ผู้รับบริการ หรือ การยึดคนเป็นศูนย์กลางในการจัดให้บริการ สุดแท้แต่จะเรียกขานด้วย บริสุทธิ์ใจ เห็นผลลัพธ์ที่เป็นแบบอย่างที่เป็นรูปธรรมเชิงประจักษ์ ท�ำให้เป็นพลังในการดึง ภาคีเครือข่ายเข้ามาร่วมด้วยช่วยกันเป็นเจ้าภาพ เจ้ามือ เจ้าของ ในการจัดระบบบริการ สุขภาพที่มีแนวโน้มจะเกิดขึ้นอย่างมั่นคงยั่งยืนสืบไป บทเรียนจาก...CUP โรงพยาบาลล�ำสนธิ จังหวัดลพบุรี การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพระดับอ�ำเภอล�ำสนธิ อ�ำเภอล�ำสนธิ ตั้งอยู่ในจังหวัดลพบุรี อยู่ทางตะวันออกสุดของจังหวัด แบ่งเขต การปกครองย่อยออกเป็น 6 ต�ำบล 49 หมู่บ้าน ประชากรในเขตรับผิดชอบประมาณ 30,000 คน มีโรงพยาบาลชุมชนขนาด 30 เตียง 1 แห่ง 5 สถานีอนามัย 2 โรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพต�ำบล มีระยะทางที่ห่างจากจังหวัดลพบุรีประมาณ 120 กิโลเมตร อ�ำเภอล�ำสนธิเป็นอ�ำเภอหนึ่งในจังหวัดลพบุรีที่มีการท�ำงานด้านสาธารณสุข ที่โดดเด่น โดยความร่วมมือร่วมใจกันอย่างเป็นเอกภาพทั้งโรงพยาบาล ส�ำนักงาน สาธารณสุ ข อ�ำเภอ สถานี อ นามั ย ในสั ง กั ด และองค์ ก ารปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ในพื้ น ที่ มีการก�ำหนดนโยบายและเป้าหมายในการท�ำงานด้วยกัน การจัดท�ำโครงการในการดูแล ประชาชนในชุมชน ค�ำนึงถึงประชาชนเป็นหลักเน้นการดูแลแบบรอบด้านในทุกมิติของชีวิต ครอบคลุมต่อเนื่องและยั่งยืน มีการจัดตั้งคณะกรรมการในการท�ำงานด้านสาธารณสุขจากทุกภาคส่วน อาทิ การดูแลและสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการในชุมชนแบบบูรณาการ, ความสุขใน ความมืดของผู้พิการด้านสายตา, ผู้พิการด้านสติปัญญา, คลินิกสุขภาพจิต, การสร้าง เครือข่ายจิตอาสาชุมชน, การดูแลหญิงตังครรภ์, การดูแลกลุมวัยรุน ฯลฯ การบริการปฐมภูมิ ้ ่ ่ ของล�ำสนธิ คือ การพัฒนาคุณภาพชีวิตของชุมชนให้ดีขึ้น ดูแลรอบด้านและต่อเนื่อง โดยแบ่งกลุ่มการดูแลดังนี้ - กลุ่มผู้สูงอายุ และผู้พิการ - กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และพัฒนาการเด็กเล็ก กลยุทธ์การเชื่อมร้อยบริการปฐมภูมิให้เป็นเครือข่าย 12 บทเรียนจาก CUP ชนบท
13.
- กลุ่มวัยรุ่น
- กลุ่มโรคเรื้อรัง - กลุ่มจิตเวช - กลุ่มการคัดกรองสุขภาพ โครงการเด่นที่ภาคภูมิใจ คือ โครงการต้นกล้าอาชีพจากแนวนโยบายของ รัฐบาลแต่อ�ำเภอล�ำสนธิ ได้น�ำประเด็นปัญหาด้านสาธารณสุข มาเป็นแนวทางการให้การ แก้ปัญหา โดยการจัดอบรมหลักสูตรการดูแลผู้สูงอายุในชุมชนและเด็กให้แก่ต้นกล้าอาชีพ มีการอบรมทั้งภาคทฤษฎีและฝึกปฏิบัติโดยมีเจ้าหน้าที่สาธารณสุขที่หน่วยบริการปฐมภูมิ เป็นพี่เลี้ยง เมื่อผ่านการฝึกอบรมได้ด�ำเนินการจ้างงานให้เป็นต้นกล้า เป็นดูแลผู้ป่วยจาก องค์การบริหารส่วนต�ำบลเดือนละ 4,000 บาทต่อคน ท�ำให้คนกลุ่มดังกล่าวมีรายได้เลี้ยงชีพ ความคาดหวังเบื้องต้นเพียงแค่ให้คนว่างงานมีรายได้เท่านั้น แต่สิ่งที่เกิดขึ้นมากกว่านั้นคือ การแบ่งเบาภาระของเจ้าหน้าที่สาธารณสุข รวมทั้ง ความรักความผูกพัน ระหว่างคนดูแล ผู้ป่วย และตัวผู้ป่วย ประดุจญาติพี่น้องกัน เหล่านี้ การเพิ่มคุณค่าทางจิตใจของบุคคล อย่างสูงส่ง หัวใจส�ำคัญของการพัฒนาและสร้างความร่วมมือระหว่างหน่วยงานในส�ำสนธิ คือ การท�ำให้หน่วยงานอื่นๆ เห็นคุณค่าการทุ่มเทของทีมงานและความจ�ำเป็นที่ต้องร่วมกัน ดูแลประชาชนอย่างรอบด้านและต่อเนื่อง การประเมินคุณภาพต่าง ๆ ที่ผ่านมาของ อ�ำเภอล�ำสนธิเป็นเพียงบันได แต่ความส�ำคัญจริง ๆ คือคุณค่ามากกว่าความเป็นตัวเลข หรือตัวชี้วัด การใช้ แ นวคิ ด เชิ ง บวก พลิ ก ทุ ก สถานการณ์ ใ ห้ เ ป็ น โอกาสเพื่ อ หากลยุ ท ธ์ ในการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในพื้นที่ หรือ “การเป็นนักหยิบฉวยและหยิบยื่น โอกาส” นั้นเอง จุดเริ่มต้นคือ การมีนักคิดและสร้างนักคิด นักพัฒนา เสริมพลัง เจ้าหน้าที่ภายในโรงพยาบาลให้เข้มแข็ง จนเกิดความเป็น “ทีมของพวกเรา” และ แผ่กระจายร้อยเรียงเข้ากับสถานีอนามัย เพื่อพร้อมรับทุกสถานการณ์ในการให้บริการ กับประชาชน กลยุทธ์การเชื่อมร้อยบริการปฐมภูมิให้เป็นเครือข่าย บทเรียนจาก CUP ชนบท 13
14.
บทเรียนจาก….CUP วังจันทร์ จังหวัดระยอง
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพระดับอ�ำเภอวังจันทร์ อ�ำเภอวังจันทร์ เป็นอ�ำเภอหนึ่งในแปดอ�ำเภอของจังหวัดระยอง มีอาณาเขต ติดต่อกับอ�ำเภอบ่อทองและอ�ำเภอหนองใหญ่ จังหวัดชลบุรี โดยมีถนนสายบ้านบึง-แกลง ตัดผ่านพื้นที่ของอ�ำเภอ อ�ำเภอวังจันทร์ รับผิดชอบ 4 ต�ำบล 29 หมู่บ้าน 5 ชุมชน อบต. 4 แห่ง เทศบาล 1 แห่ง ประชาชน 24,902 คน ประชาชนส่วนใหญ่มีอาชีพหลัก ได้แก่ เกษตรกรรม ท�ำสวนยางพารา สวนผลไม้ เช่น ทุเรียน มังคุด เงาะ อาชีพเสริม ได้แก่ รับจ้างในโรงงานอุตสาหกรรม รับจ้าง และค้าขาย หน่วยบริการสาธารณสุข 8 แห่ง คือ 1) รพ.สต.บ้านคลองเขต 2) รพ.สต. บ้านสันติสุข 3) รพ.สต.บ้านเขาสิงห์โต 4) รพ.สต.บ้านหนองม่วง 5) รพ.สต.บ้านวังจันทร์ 6) รพ.สต.บ้านพลงตาเอี่ยม 7) รพ.สต.บ้านเขาตาอิ๋น 8) โรงพยาบาลวังจันทร์ การจัดเครือข่ายบริการ CUP วังจันทร์ ได้มีการจัดรูปแบบของเครือข่ายหน่วย บริการปฐมภูมิ 2 รูปแบบ คือ 1) การจัดเครือข่ายบริการตามเกณฑ์ขึ้นทะเบียนหน่วยบริการปฐมภูมิและ ตามเกณฑ์การประเมิน On Top Payment ของส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ การจัดรูปแบบเครือข่ายในรูปแบบนี้เป็นการจัดเพื่อเน้นการช่วยเหลือกันและกันภายใน เครือข่ายบริการในเรื่องของการจัดบริการด้านสุขภาพ การใช้งบประมาณและบุคลากร ร่วมกัน โดยแบ่งเครือข่าย ได้ดังนี้ 1.1 เครือข่ายบริการแม่ข่ายวังจันทร์ ประกอบไปด้วย หน่วยบริการปฐมภูมิ แม่ขาย คือ รพ.สต. วังจันทร์ ประกอบไปด้วยหน่วยบริการปฐมภูมลกข่าย คือ สอ.พลงตาเอียม ่ ิู ่ และ สอ.เขาตาอิ่น 1.2 เครอขายบรการแมขายคลองเขต ประกอบไปดวย หนวยบรการปฐมภมิ ื ่ ิ ่่ ้ ่ ิ ู แม่ข่าย รพ.สต คลองเขต ประกอบไปด้วยหน่วยบริการปฐมภูมิลูกข่าย คือ สอ.สันติสุข สอ.เขาสิงโตและ สอ.หนองม่วง 2) การจั ด เครื อ ข่ า ยบริ ก ารโรงพยาบาลส่ ง เสริ ม สุ ข ภาพต�ำบล ซึ่ ง การ จั ด รู ป แบบเครื อ ข ่ า ยในรู ป แบบนี้ เ ป ็ น การจั ด เพื่ อ เน ้ น ความสะดวกในการบริ ห ารงาน ด้านสาธารณสุขในระดับต�ำบล เช่น ในการประสานงานกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กลยุทธ์การเชื่อมร้อยบริการปฐมภูมิให้เป็นเครือข่าย 14 บทเรียนจาก CUP ชนบท
15.
การด�ำเนินงานในกองทุนหลักประกันสุขภาพต�ำบลและการแต่งตั้งคณะกรรมการบริหาร รพ.สต. เป็นต้น มีการแบ่งเครือข่ายเป็น
4 เครือข่าย โดยแยกเป็นรายต�ำบล ดังนี้ 2.1 เครือข่ายบริการ รพ.สต.วังจันทร์ (เป้าหมาย ปี 2552) มีสถาน บริการหลักคือ รพ.สต.วังจันทร์ รับผิดชอบในการดูแลสุขภาพประชาชนในต�ำบลวังจันทร์ เป็นสถานบริการในรูปแบบ รพ.สต.เดี่ยว 2.2 เครือข่ายบริการ รพ.สต.พลงตาเอี่ยม (เป้าหมาย ปี 2554) มีสถาน บริการหลักคือ รพ.สต.พลงตาเอี่ยม รับผิดชอบในการดูแลสุขภาพประชาชนในต�ำบล พลงตาเอี่ยม เป็นสถานบริการในรูปแบบ รพ.สต.เดี่ยว 2.3 เครือข่ายบริการ รพ.สต.คลองเขต (เป้าหมาย ปี 2553) มีสถานบริการ หลักคือ รพ.สต.คลองเขต และลูกข่าย คือ สอ.เขาสิงโต รับผิดชอบในการดูแลสุขภาพ ประชาชนในต�ำบลป่ายุบใน เป็นสถานบริการในรูปแบบ รพ.สต.เครือข่าย 2.4 เครือข่ายบริการ รพ.สต.สันติสุข(เป้าหมาย ปี 2554) มีสถานบริการ หลักคือ สอ.สันติสุข และลูกข่าย คือ สอ.เขาตาอิ๋นและ สอ. หนองม่วง รับผิดชอบใน การดูแลสุขภาพประชาชนในต�ำบลชุมแสง เป็นสถานบริการในรูปแบบ รพ.สต.เครือข่าย ลักษณะเด่นในการท�ำงานเครือข่ายบริการปฐมภูมิ CUP วังจันทร์ มีรูปแบบในการท�ำงาน ที่แตกต่างจาก CUP อื่นๆ ในจังหวัด ระยองหรือ CUP อื่นๆ ในประเทศ กล่าวคือ 1. การบริหารงานด้านสาธารณสุขของอ�ำเภอวังจันทร์ จะใช้คณะกรรมการ ชุดหลักที่เป็น CUP Board คือ คณะกรรมการประสานงานสาธารณสุขอ�ำเภอวังจันทร์ (คปสอ.วังจันทร์) โดยในคณะกรรมการ คปสอ.วังจันทร์ จะมีคณะกรรมการอ�ำนวยการ จ�ำนวน 15 ทาน ซงประกอบไปดวย ผบรหารของหนวยงานสาธารณสขในพนที่ นายกองคการ ่ ึ่ ้ ู้ ิ ่ ุ ื้ ์ ปกครองส่วนท้องถิ่น ตัวแทนภาคการศึกษาและ อสม. และมีการแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ (Core Team) ขึ้นมา 10 คณะ เพื่อเป็นคณะท�ำงานและประเมินผล ได้แก่ 1) คณะท�ำงาน และประเมินผลงานด้านคุมครองผู้บริโภค 2) คณะท�ำงานและประเมินผลงานด้านการ ควบคุมและป้องกันโรคติดต่อ 3) คณะท�ำงานและประเมินผลงานด้านข้อมูลและเทคโนโลยี 4) คณะท�ำงานและประเมิ น ผลงานด้ า นการแพทย์ ฉุ ก เฉิ น และระบบการส่ ง ต่ อ 5) คณะท�ำงานและประเมินผลงานด้านส่งเสริมสุขภาพและอบายมุข 6) คณะท�ำงานและ กลยุทธ์การเชื่อมร้อยบริการปฐมภูมิให้เป็นเครือข่าย บทเรียนจาก CUP ชนบท 15
16.
ประเมินผลงานด้านพัฒนาคุณภาพมาตรฐานบริการ 7) คณะท�ำงานและติดตามผลงาน
ด้านการจัดบริการ การรักษาพยาบาลและฟื้นฟูสมรรถภาพ 8) คณะท�ำงานและประเมิน ผลงานด้านพัฒนาศักยภาพของอาสาสมัครสาธารณสุข 9) คณะท�ำงานและประเมินผล งานด้านโรคไม่ติดต่อและโรคเรื้อรัง 10) คณะท�ำงานและประเมินผลงานด้านการพัฒนา ศักยภาพ รพ.สต. และกองทุนฯต�ำบล คณะท�ำงานฯ ดังกล่าว ในแต่ละคณะ จะมีกรรมการ ที่เป็นทีมเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ทั้ง 3 ส่วน คือ ในส่วนของ รพ.วังจันทร์ สสอ.วังจันทร์ และจาก รพ.สต. ทีมคณะท�ำงานฯ มีบทบาททั้งในด้านวิเคราะห์ข้อมูล จัดท�ำแผนงาน/ โครงการ ติดตามและเร่งรัดผลงาน ประเมินผลการด�ำเนินการ ข้อดีของการแต่งตั้งคณะกรรมการในรูปแบบนี้คือ ท�ำให้การท�ำงานในแต่ละด้าน มีความรวดเร็ว มีการวางแผนงานแบบบูรณาการ (ปฐมภูมิและทุตติยภูมิ) ส่วนใหญ่ของ เจ้าหน้าที่สาธารณสุข มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาและพัฒนางานสาธารณสุข 2. การมอบหมายการด�ำเนินงานสาธารณสุขของ CUP วังจันทร์ ได้มีการ มอบหมายงานและพื้นที่ด�ำเนินงานให้เหมาะสมกับลักษณะงาน กล่าวคือ งานส่งเสริมและ ป้องกันโรค มอบหมายให้ สสอ.วังจันทร์ เป็นเจ้าภาพด�ำเนินงาน รับผิดชอบงาน ทุกพื้นที่ ของอ�ำเภอวังจันทร์ (ในเขตรับผิดชอบของ รพ.วังจันทร์และเขตรับผิดชอบของ รพ.สต.) งานรักษาพยาบาล งานฟื้นฟูสมรรถภาพ และงานพัฒนาคุณภาพบริการ มอบหมายให้ รพ.วังจันทร์ เป็นเจ้าภาพ รับผิดชอบงานทุกหน่วยบริการปฐมภูมิในพื้นที่ มีการจัดสรร งบประมาณ ตามเจ้าภาพผู้รับผิดชอบ 3. การด�ำเนินงานของ CUP วังจันทร์ จะใช้กลยุทธหลัก คือ การท�ำงานแบบ เป็นทีม ในลักษณะการลงแขก เช่น งานตรวจคัดกรองโรค (รูปแบบคาราวานส่งเสริม สุขภาพและป้องกันโรค) การตรวจ Pap Smear การตรวจสถานประกอบการด้านคุ้มครอง ผู้บริโภค หรือ การรณรงค์ควบคุมการระบาดของโรคระบาด 4. การส่งเสริมตัวแทนภาคชุมชนและประชาชน ให้มีบทบาทผ่านการท�ำงาน ด้านสาธารณสุข ในเวทีของคณะกรรมการบริหาร รพ.สต. และคณะกรรมการกองทุน สุขภาพต�ำบล สิ่งที่ภาคภูมิใจหรือท�ำได้ดี ตัวอย่างของสิ่งที่ท�ำได้ดี ก่อให้เกิดความภาคภูมิใจ ในระดับ CUP วังจันทร์ ได้แก่ 1. รพ.สต. ทุกแห่งในอ�ำเภอวังจันทร์ได้รับการพัฒนาศักยภาพ ตอบสนองความ กลยุทธ์การเชื่อมร้อยบริการปฐมภูมิให้เป็นเครือข่าย 16 บทเรียนจาก CUP ชนบท
17.
ต้องการของประชาชน มีการจัดตั้งคลินิก DM/HT/Asthma/COPD
มีการตั้งคลินิกทันต กรรม ใน รพ.สต. ทุกแห่ง 2. มีระบบการสนับสนุนบริการในหลายๆด้าน ให้ รพ.สต. เช่น ระบบการ ก�ำจัดขยะติดเชื้อ ระบบ Set หัตการ ระบบ Speculum Center ระบบการส่งต่อ/Green Channel ระบบเวชภัณฑ์ที่รองรับการจัดบริการในคลินิกต่างๆของ รพ.สต. ระบบซ่อม บ�ำรุง ระบบการแลกเปลี่ยนข้อมูลความครอบคลุมของผลงาน การสนับสนุนทีมสหวิชาชีพ ในการให้บริการมนคลินิก/Home Ward/HHC 3. มี ก ารพัฒนานวัต กรรมที่ผ่านการด�ำเนิ น งานของ คณะกรรมการบริ ห าร รพ.สต.และกองทุนต�ำบล เช่น การใช้ม าตรการทางสังคมในการสร้ างความตระหนัก ของประชาชนในการก�ำจัดลูกน�้ำยุงลาย การพัฒนารูปแบบเชิงรุก เชิงรับในการตรวจ Pap Smear เป็นต้น 4. ประชาชนมีความพึงพอใจต่อการรับบริการในภาพรวมของ CUP มากกว่า ร้อยละ 86.75 โดยส่วนใหญ่พึงพอใจต่อระบบบริการแบบใกล้บ้านใกล้ใจ ของ รพ.สต. และ รพ.วังจันทร์ บทเรียน/ปัจจัยของความส�ำเร็จ 1. ผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลวังจันทร์ บริหารโดยเป็นผู้อ�ำนวยการของ CUP วังจันทร์ กล่าวคือ มองงานเต็มพื้นที่ พัฒนางานใน รพ.สต. ทุกแห่ง ไม่ได้พัฒนาเฉพาะ โรงพยาบาลวังจันทร์ 2. การท�ำงานเป็นทีมของเจ้าหน้าที่ในภาพ CUP วังจันทร์ 3. การให้ความส�ำคัญต่อการมีส่วนร่วมของประชาชน ในการวิเคราะห์ปัญหา การพัฒนาแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ การสร้างแผนงาน/โครงการโดยประชาชน เป็นต้น การมีเป้าหมายเป็นแผนยุทธศาสตร์เป็นหนึ่งเดียวร่วมกันทั้งอำ�เภอ คือ แผนที่ทางเดินสู่ความ สำ�เร็จของการให้บริการปฐมภูมิของที่น้ี การเชื่อมและร้อยเรียงหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้าด้วยกัน สร้างความสัมพันธ์ที่แนบแน่นด้วยเป้าหมายหนึ่งเดียว เป็นแนวคิดสำ�คัญของการดำ�เนินงาน บทเรียนนี้คือบทเรียนของการพัฒนาเชิงระบบ ขับเคลื่อนกลไกการให้บริการปฐมภูมิไปพร้อมกัน ผานตวประสานทเ่ี ขมแขง นนคอ คณะกรรมการประสานงานสาธารณสขระดบอ�เภอ (คปสอ.) ่ ั ้ ็ ้ั ื ุ ั ำ กลยุทธ์การเชื่อมร้อยบริการปฐมภูมิให้เป็นเครือข่าย บทเรียนจาก CUP ชนบท 17
18.
บทเรียนจาก...CUP หนองจิก จังหวัดปัตานี
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพระดับอ�ำเภออ�ำเภอหนองจิก อ�ำเภอหนองจิก ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของจังหวัดปัตตานี แบ่งเขตการปกครอง ย่อยออกเป็น 12 ต�ำบล 76 หมู่บ้าน เทศบาลต�ำบล 2 แห่ง องค์การบริหารส่วนต�ำบล 11 แห่ง มีโรงพยาบาลชุมชนขนาด 30 เตียง 1 แห่ง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล 15 แห่ง ประชากรในเขตรับผิดชอบประมาณ 73,000 คน ส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม ร้อยละ 87 มีอสม. 702 คน เป็นพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบจากเหตุสถานการณ์ความไม่สงบ มาตั้งแต่ปี 2547 ระบบงานสาธารณสุขอ�ำเภอหนองจิก ด�ำเนินงานโดยคณะกรรมการประสานงาน สาธารณสุ ข ระดั บ อ�ำเภอ (คปสอ.) ซึ่ ง เป็ น ความร่ ว มมื อ ของโรงพยาบาลชุ ม ชน ส�ำนักงานสาธารณสุขอ�ำเภอ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล และองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น โดยมีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล (รพ.สต) ทุกแห่งเป็นผู้ประสานงาน ส่งต่อข้อมูล และด�ำเนินงานร่วมกับชุมชน นอกจากนัน ยังมีการขยายเครือข่ายการด�ำเนินงาน ้ สู่องค์กรอื่นๆ เช่น เครือข่ายภาคประชาชน (อสม.) เครือข่ายผู้น�ำศาสนา เครือข่ายโรงเรียน เครือข่ายผู้พิการและผู้ได้รับผลกระทบ เป็นต้น มีการก�ำหนดนโยบายและเป้าหมายในการท�ำงานด้วยกัน จัดท�ำโครงการ พัฒนาระบบการดูแลประชาชนในชุมชน โดยค�ำนึงถึงประชาชนเป็นหลักเน้นการดูแล แบบรอบด้านในทุกมิติของชีวิตครอบคลุมต่อเนื่องและยั่งยืนมุ่งให้เกิดระบบสุขภาพเชิง รุกเพื่อเสริมสร้างสุขภาพดี ควบคู่กับการมีหลักประกันสุขภาพ และเข้าถึงบริการเมื่อยาม เจ็บป่วยหรือจ�ำเป็น โดยสังคมทุกส่วนและทุกระดับมีศักยภาพ และมีส่วนร่วมในการสร้าง และจัดระบบบริการสุขภาพ โดยการเรียนรูและใช้ประโยชน์จากภูมปญญาสากลและภูมปญญา ้ ิ ั ิ ั ในท้องถิ่น จากการด�ำเนิ น งานอย่ า งมุ ่ ง มั่ น ตั้ ง ใจของเจ้ า หน้ า ที่ ใ นพื้ น ที่ ข องโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพต�ำบล การหนุนเสริมทั้งด้านวิชาการและงบประมาณของโรงพยาบาล ชุมชน ส�ำนักงานสาธารณสุขอ�ำเภอ เครือข่ายในและนอกระบบ ภาครัฐต่างๆ ส่งผล ให้ได้รับความร่วมมือจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และประชาชนในพื้นที่มีความมั่นใจ และไว้วางใจในเจ้าหน้าที่เข้ามีส่วนร่วมในการจัดบริการ ให้ข้อเสนอแนะและสนับสนุนงบ กลยุทธ์การเชื่อมร้อยบริการปฐมภูมิให้เป็นเครือข่าย 18 บทเรียนจาก CUP ชนบท
19.
ประมาณ เช่น ที่
รพ.สต.ยาบี มีการเปลี่ยนวันการให้บริการวัคซีนจากวันพุธเป็นศุกร์ที่ ประชาชนหยุดงานสามารถดูแลบุตรที่เป็นไข้หลังรับวัคซีนได้เต็มที่ จากเวทีประชาคม ประชาชนเข้าไม่ถึงบริการทันตกรรมมีการเสนอโดยประชาชนให้ท้องถิ่นจัดซื้อ Unit ฟันไว้ ให้บริการที่ รพ.สต.ยาบี และประสานให้โรงพยาบาลหนองจิกจัดทีมทันตแพทย์และทันตภิบาล ลงไปให้บริการ และเป็นต้นแบบให้ท้องถิ่นอื่นๆ เช่น ต�ำบลลิปะสะโงและต�ำบลปุโละปูโย ด�ำเนินตาม หรือจากสถานการณ์ความไม่สงบในพื้นที่อ�ำเภอหนองจิก ประชาชนไม่กล้า เดินทางไปรับยาที่โรงพยาบาลส่งผลให้ผู้ป่วยเรื้อรัง โรคความดันเบาหวาน ขาดยา มีการ เสนอให้มีการให้บริการคลินิกเรื้อรังที่ รพ.สต (สอ.ในขณะนั้น) ทางโรงพยาบาลได้ส่งทีม สหวิชาชีพมาให้บริการคลินิกเรื้อรังในทุก รพ.สต. ต่อมามีการพัฒนาพยาบาลให้เป็น พยาบาลเวชปฏิบัติ ให้บริการได้ในทุก รพ.สต และอีกหลายๆ เรื่อง ที่ส่งผลให้การพัฒนา ระบบบริการมีคุณภาพ เหมาะสม ตรงกับความต้องการของชุมชนที่แท้จริง เจ้าหน้าที่ได้รับ การดูแลจากชุมชนเป็นอย่างดีด้วยเช่นกัน หัวใจส�ำคัญของการพัฒนาและสร้างความร่วมมือระหว่างหน่วยงานในอ�ำเภอ หนองจิก คือ การท�ำให้หน่วยงานอื่นๆ เห็นคุณค่าการทุ่มเทของทีมงานและความจ�ำเป็น ที่ต้องร่วมกันดูแลประชาชนอย่างรอบด้านและต่อเนื่อง ช่วยสร้างให้ถึงชุมชนและสังคม ของเราเข ้ ม แข็ ง และมี ค วามสุ ข ส ่ ง ผลประชาชนในพื้ น ที่ มี คุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ ดี แ ละยั่ ง ยื น อย ่ า งแท ้ จ ริ ง แม ้ พื้ น ที่ ข องเราจะมี ค วามต ่ า งกั น ในหลายด ้ า นแต ่ พื้ น ที่ ชุ ม ชนของเรา จะไม่แตกแยกกัน กลยุทธ์การเชื่อมร้อยบริการปฐมภูมิให้เป็นเครือข่าย บทเรียนจาก CUP ชนบท 19
Descargar ahora