SlideShare a Scribd company logo
1 of 70
Download to read offline
เบาหวาน

           พนัส ปรีวาสนา
        จตุพร วิศิษฏโชติอังกูร
GotoKnow.org/profile/mhsresearchi
ครีเอทีฟคอมมอนสแบบแสดงที่มา-ไมใชเพื่อการคา-อนุญาตแบบเดียวกัน (by-nc-sa)
     เมื่อนำเนื้อหาในหนังสือเลมนี้ไปใช ควรอางอิงถึงแหลงที่มา โดยไมนำไปใชเพื่อการคา และยินยอมใหผูอื่นนำ
เนื้อหาไปใชตอไดดวยสัญญาอนุญาตแบบเดียวกันนี้
    ขอมูลเพิ่มเติม : http://cc.in.th/wiki/meet-the-licenses1




    1 http://cc.in.th/wiki/meet-the-licenses
สารบัญ

  คำนำสำนักพิมพ                                                 3

  เบาหวาน : มหันตภัยเงียบ(Silence Killer)                        5

  เบาหวาน : ชื่อหวานๆ แตรสชาติไมหวานสมชื่อ                     7

  ชนิดของ “เบาหวาน”                                             11

  สาเหตุของ “เบาหวาน” วาดวยกรรมพันธุและพฤติกรรมการกินอาหาร   13

  เบาหวาน... “เคาลาง” อยาวางใจ อะไรคือเคาลาง “บอกเหตุ”       15

  ใครคือกลุมเสี่ยงเบาหวาน                                      17

  ครอบครัวเบาหวาน...                                            19

  อาหารของคนเปนเบาหวาน                                         23

  ผักและสมุนไพรตานภัยเบาหวาน                                   27

  ผัก สมุนไพรที่ควรใสใจรับประทาน                               29

  เทากับเบาหวาน                                                33

  รองเทาที่เหมาะสมกับผูปวยเบาหวานเปนอยางไร?                37

  เรื่องเลาจากคนทำงานเบาหวาน                                   41

  เรื่องเลาจากเหลาเภสัชกร                                     49
                                               i
เบาหวานกับนวัตกรรม                                51
การสรางเครือขายเบาหวาน : พลังการเรียนรู        57

บทสงทาย : เบาหวาน มหันตภัยเงียบที่นาจับตามอง   61
เกี่ยวกับผูเขียน                                 63




                                             ii
การใชประโยชนจากเนื้อหาภายในหนังสือ ตองอางอิงแหลงที่มา และหามนำเนื้อหาไปใชเพื่อวัตถุประสงค
ทางการคา รวมทั้งใหใชสัญญาอนุญาตเดียวกันนี้ในการนำไปใชครั้งตอไป ขอมูลเพิ่มเติม: www.cc.in.th1




    1 http://www.cc.in.th


                                                 1
2
คำนำสำนักพิมพ
   หนังสือภายในโครงการเผยแพรความรูจากผูปฏิบัติ (Blog to Book) เปนการรวบรวมบันทึกจากบล็อก (Blog)
ภายในเว็บไซต GotoKnow.org นำมาจัดพิมพเปนหนังสือ เพื่อเผยแพรแกผูที่เกี่ยวของและบุคคลที่ สนใจ
    พื้นฐานแนวคิดของโครงการนี้เปนความตั้งใจของผูเขียนที่จะรวบรวมความรูจากภายในตัวบุคคล ซึ่งถือเปนฟน
เฟองเล็กๆ ที่กระจัดกระจายอยูในสังคม ถายทอดเรื่องราวผานพื้นที่เสมือนออนไลนใหไดรับการเผยแพรในรูปแบบ
หนังสือ เพื่อกาว ขามขอจำกัดในเรื่องของโอกาสในการเขาถึงสัญญาณอินเทอรเน็ต หรือขอจำกัดทางดานเทคโนโลยี
ตางๆ
      นอกจากนี้การรวบรวมบันทึกดังกลาว ยังเสมือนเปนการใหรางวัลแกผูเขียนที่ไดพากเพียรในการเขียนบอกเลา
เรื่องราวที่ เปนประโยชนใหแกผูอื่น การถายทอดประสบการณ ความรูสึกนึกคิด ที่ปราศจากอคตินั้น อาจเปน
ประโยชนแกผูอื่นไดไม มากก็นอย
     โครงการเผยแพรความรูจากผูปฏิบัติ (Blog to Book) เริ่มตนขึ้นในเดือนเมษายน พ.ศ. 2552 และจะ คัดสรร
บันทึกอันทรงคุณคา ทยอยตีพิมพเปนหนังสือเผยแพรใหแกผูที่เกี่ยวของและผูที่สนใจโดยไมคิดคาใชจายใดๆ ตั้งแต
ขั้นตอนการคัดสรร ออกแบบ ตีพิมพ และเผยแพร เพื่อเพิ่มโอกาสใหสังคมไทยไดบริโภคความรูอันมีตนทุนนอยที่สุด
เทาที่ จะเปนไปได โดยมีความมุงหวังสุดทายคือ “สังคมแหงปญญา” อันจะเกิดขึ้นในสังคมไทย




                                                       3
4
เบาหวาน : มหันตภัยเงียบ(Silence Killer)

พนัส ปรีวาสนา และจตุพร วิศิษฏโชติอังกูร
    ปจจุบันสหพันธเบาหวานนานาชาติประมาณการวา ประชากรทั่วโลกเปนโรคเบาหวานมากกวา 285 ลานคน
หรือเกือบรอยละ 7 ของประชากรผูใหญทั่วโลก1 โดยเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วโดยเฉพาะในประเทศกำลังพัฒนา จัดเปน
“มหันตภัยเงียบ” (Silence Killer) เปนปญหาสาธารณสุขของโลกที่นากลัว
     คาดวาใน พ.ศ.2572 หรืออีก 20 ป ผูปวยเบาหวานรายใหมรอยละ 70 จะอยูในประเทศกำลังพัฒนา สวน
ประเทศไทยในป 2551 มีผูปวยเบาหวานรายใหม 388,551 ราย เสียชีวิต 7,725 ราย คาดวาทั่วประเทศ จะมีคน
กำลังเปนเบาหวานกวา 3 ลานคน มีแนวโนมเพิ่มขึ้นตอเนื่อง ผูปวยเกือบรอยละ 50 ยังไมรูตัววาเปนโรค และไม
ไดรับการวินิจฉัยและการรักษาที่เหมาะสม จึงมีความเสี่ยงเกิดปญหาแทรกซอน ทั้งโรคไตวาย ตาบอด โดยเฉพาะ
ตาบอด พบวาทั่วโลกมีประชากรที่เปนเบาหวานและเบาหวานขึ้นตา จนตาบอดสนิทเนื่องจากเสนเลือดไปเลี้ยงตา
เสื่อมไมต่ำกวา 2.5 ลานคน สวนคนไทยที่เปนเบาหวาน พบเปนเบาหวานขึ้นตาขั้นรุนแรงไมต่ำกวา 30,000 คน หาก
ไมไดรับการรักษาดูแลตั้งแตยังไมมีอาการ จะเกิดตาบอดตามมา
    ยอนไปในป พ.ศ. 2552ไดมีการรณรงคโรควันเบาหวานพรอมกันทั่วประเทศ โดยมีคำขวัญในการรณรงค คือ
“เบาหวานควบคุมได...เพียงรูและเขาใจ” (Understand Diabetes and Take Control) มีกิจกรรมใหบริการผู
ปวยโรคเบาหวาน โดยตรวจคัดกรองหาโรคแทรกซอน รวมทั้งใหความรู ความเขาใจในการควบคุมปองกันโรคเบา
หวานแกประชาชนดวย และจัดโครงการสงเสริมสุขภาพปองกันตาบอดจากเบาหวานขึ้นตา เพื่อเฉลิมพระเกียรติ
พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 84 พรรษา 5 ธันวาคม 2554
      คำขวัญในการรณรงคที่บอกวาเบาหวานควบคุมได...เพียงรูและเขาใจ ทำใหเรามองเห็นถึงความสำคัญในการ
สรางองคความรูเพื่อใหเทาทันโรค รวมไปถึงการออกแบบในการสงเสริมสุขภาพทั้งกลุมผูปวย คนปกติ และกลุมเสี่ยง
“บทเรียน” ในการดูแลผูปวยจากสหวิชาชีพตางๆที่เกี่ยวของ มีความสำคัญมาก เพราะวา เบาหวานนอกจากเปนโรค
ที่มีพยาธิสภาพที่เกิดจากตัวผูปวยเองแลว ปจจัยเอื้อที่สนับสนุนใหเปนโรคเบาหวานมาจากสิ่งแวดลอม ทั้งพฤติกรรม
การกิน การอยู ซึ่งในปจจุบันเราก็พบวาพฤติกรรมสุขภาพของคนไทยก็จัดไดวาเสี่ยงตอการเปนโรคเบาหวาน และ
    1 http://www.idf.org/about-diabetes


                                                      5
เปนมหันตภัยเงียบที่คราชีวิตผูคนไปเรื่อยๆ
   ใน Gotoknow.org ที่เปนพื้นที่สำหรับการแลกเปลี่ยนเรียนรูที่เปดกวางใหคนทำงานไดเขามาเขียนแลกเปลี่ยน
ความรู แลกเปลี่ยนความคิด ความรูชุดหนึ่งถูกตอเติมจากประสบการณที่หลากหลายผานผูที่แลกเปลี่ยน Goto-
know.org จึงถือวาเปนขุมพลังทางดานความรูเชิงปฏิบัติที่มีคุณคา และหากเราสามารถสกัดประเด็นตางๆ เหลานั้น
ออกมารอยเรียงเปนชุดความรู จะเปนชุดความรูที่มีคุณคาและมีประโยชนตอวงการสุขภาพของไทยเปนอยางมาก
    Gotoknow.org มี Blogger จำนวนหนึ่งที่ทำงานเกี่ยวของกับเบาหวาน และไดถายทอดบทเรียนที่เกิดขึ้นใน
การทำงาน รวมไปถึงเห็นการเชื่อมเครือขายในการแลกเปลี่ยนเรียนรูในหลายๆ อาชีพ หรือที่เรียกวา สหวิชาชีพ
เกาะเกี่ยวกันอยางหลวมในการแลกเปลี่ยนแบบออนไลน และในการทำงานจริงเครือขายเหลานี้ไดทำงานสอดคลอง
ประสานกันอยูแลว
       ในบันทึกทั้งหมดที่เกี่ยวของกับ เบาหวาน สามารถเขาถึงไดโดยผานคำสำคัญสำหรับสืบคน (Tag) ที่มีคำวา “เบา
หวาน, เครือขายเบาหวาน,DM” และคำคนอื่นๆ ที่เกี่ยวของ จะพบบันทึกมากมาย และหนึ่งในจำนวนนั้นสวนใหญ
เปนบันทึกของ ดร.วัลลา ตันตโยทัย2 ที่เขียน Blog ในชื่อของ DM KM Facilitator3 บันทึกของอาจารยวัลลานี่เอง
ที่เกี่ยวเอาบันทึกที่เขียนเรื่องราวราวเกี่ยวกับเบาหวานเขามาดวยกัน รวมถึงเปนเสมือน CoPs (ชุมชนนักปฏิบัติ) เขา
มาไวรวมกัน รายละเอียดของการทำงานเบาหวานสามารถหาอานไดจากบันทึกตามที่กลาวมา
       ในการสกัดบทเรียนจากขอมูลมากมาย เปนเรื่องที่ผูเรียบเรียงคอนขางใชพลังสูง โดยเฉพาะประเด็น “เบา
หวาน” ที่มีจำนวนบันทึกมากมายใน Gotoknow.org ผูเขียนจึงไดกำหนดประเด็นที่มีความสำคัญและนาสนใจ
เพื่อที่จะสามารถเรียบเรียงขอมูลเหลานั้นใหเปนระบบ ใหมองเห็นภาพพัฒนาการการพัฒนาและสงเสริมสุขภาพ
ที่เกี่ยวของกับโรคเบาหวาน แตก็เปนเพียงสวนหนึ่งของชุดความรูที่มหาศาล ที่หยิบขึ้นมาเปนประเด็นในการเผย
แพรสาธารณะในรูปแบบของการรวบรวมและสกัดบทเรียน สวนหนึ่งอาจจะตองเขาไปเรียนรูและแลกเปลี่ยนในฐาน
ขอมูลออนไลนดังกลาว
     การนำเสนอชุดขอมูล “เบาหวาน” ในหนังสือเลมนี้เริ่มตนจาก ความรูเกี่ยวกับโรคเบาหวานในดานสมมุติฐาน
ของโรค การรักษา รวมไปถึงพฤติกรรมสุขภาพที่เสี่ยงตอการปวยเปนโรคเบาหวานในอนาคต และเรื่องเลาของคน
ทำงาน นวัตกรรมที่เกิดขึ้น การสรางเครือขาย ชุดความรูทั้งหมดที่ถือวาเปนพลังการเรียนรูที่ใชปญญาปฏิบัติใน
การขับเคลื่อนที่มีแงมุมนาสนใจ และใชเปนตนทุนทางความรูการทำงานสงเสริมสุขภาพ เพื่อตอสูกับมหันตภัยเงียบ
(Silence Killer) อยางรูเทาทัน




    2 http://gotoknow.org/profile/copdmfaci
    3 http://gotoknow.org/blog/dmcop


                                                       6
เบาหวาน : ชื่อหวานๆ แตรสชาติไมหวานสมชื่อ

พนัส ปรีวาสนา และจตุพร วิศิษฏโชติอังกูร

    “เบาหวาน เปนโรคเรื้อรังชนิดหนึ่งที่เปนแลวรักษาไมหาย แตปองกันได”
    ถอยคำขางตน ดูเหมือนจะเปนวาทกรรมที่คนไทยคุนชินกับปรากฏการณของโรคเบาหวานมากที่สุดอีกวาท-
กรรมหนึ่ง เนื่องเพราะเปนคำจำกัดความที่บงบอกคุณลักษณะของ “โรคเบาหวาน” (Diabetes mellitus) ได
เปนอยางดี เพราะเมื่อเปนโรคชนิดนี้แลว จะเกิดอาการเรื้อรังและไมสามารถรักษาใหหายขาดได กอปรกับเมื่อเปน
แลว ก็มักพวงพาใหเกิดปญหาสุขภาพตางๆ รวมถึงการนำไปสูภาวะโรคแทรกซอนอยางมากมาย จนผูปวย หรือ
แมแตญาติผูปวยตองพลิกตำรามารับมือเพื่อนำไปสูกระบวนการของการดูแล ควบคุมหรือปองกัน และเฝาระวัง
(Surveillance) กันยกใหญ
    กระนั้นก็เปนที่นาสังเกตวาในสังคมไทยรูจักและใหความสนใจเกี่ยวกับโรคเบาหวานมาเมื่อไมนาน ดังจะเห็นได
จากกระบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมที่เดนชัดนั้นเริ่มปรากฏจากเวทีของการจัดงาน “มหกรรมเบาหวาน” เนื่องใน
“วันเบาหวานโลก” (14 พฤศจิกายน) ขึ้นในวันที่ 26 พฤศจิกายน 2551 ณ หางสรรพสินคาสยามพารากอน
    การจัดงานมหกรรมเบาหวานในครั้งนั้น เกิดขึ้นจากการผนึกกำลังขององคกรหลายภาคฝาย อาทิ กรุงเทพมหา-
นคร สมาคมโรคเบาหวานแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช
กุมารี กระทรวงสาธารณสุข ตลอดจนองคกรชั้นนำจากภาครัฐและเอกชนจำนวนมาก โดยมีเปาประสงคหลักคือ
การประชาสัมพันธใหความรูและสรางความตระหนักใหคนไทยไดเขาใจถึงผลกระทบที่ไดรับจากการปวยเปนโรคเบา
หวาน มหกรรมเบาหวานในครั้งนั้น จึงเปนเสมือนการจุดประกายใหคนไทยตื่นตัวหันกลับมาตระหนักเรื่องเบาหวาน
กันจริงจังและเปนมีกระบวนการเรียนรูในเชิงสงเสริมสุขภาพและวิธีการ ดูแลรักษาผูปวยเบาหวานในปจจุบัน
    เมื่อมองยอนกลับไปยังอดีต จะพบวาคนไทยรับรูเรื่องโรคเบาหวานในหลากมุมมอง ดังจะเห็นไดจากการเรียกชื่อ
โรคที่ตางกันออกไปตามบริบทของทองถิ่นและเรียกตามลักษณะเฉพาะของโรค อาทิ โรคปสสาวะหวาน หรือ โรค
หนักหวาน (น้ำตาลในเลือดสูง) โรคของคนมีอันจะกิน (คนรวย) เพราะมักบริโภคแตอาหารประเภทแปงและน้ำตาล
จนอวนเอาๆ จนเปนที่มาของการเรียกตอๆ กันมาอีกวา “โรคของคนอวน” แตไมแนเสมอไปลักษณะทางกายภาพ
ของรางกายบอกไมไดวาใครจะปวยเปนโรคเบาหวาน
                                                      7
นอกจากนี้ยังมีชื่ออื่นๆ ที่ถูกนำมาเรียกแทนการเรียกโรคเบาหวานตรงๆ เชน โรคผูสูงอายุ เพราะมักพบในคนวัย
ที่มีอายุมากกวา 40 ปขึ้นไป โรคญาติเยอะ เพราะเมื่อเปนแลวผูปวยก็มักมีโรคแทรกซอนตามมามากมายหลายโรค
ยังมีผลกระทบตออวัยวะภายในของรางกายหลายสวน ไมวาจะเปน ไต ตา หัวใจ หรือแมแตหลอดเลือดแดง ก็ไม
เวน หรือแมแตเมื่อปวยเปนเบาหวานแลว ก็เกิดภาวะแผลเนาเปอย รวมถึงภาวะแขนขาออนแรง จนกระทั่งมีอาการ
แทรกซอนจากโรคอื่นๆ จนถึงเปนอัมพฤกษอัมพาตไดดวยเชนกัน
     ในทางการแพทยเปนที่รับรูและเขาใจกันในวงกวางวาโรคเบาหวานเปนโรคที่เกิดจากภาวะที่ “รางกายมีระดับ
น้ำตาลในเลือดสูงกวาปกติ” หรืออาการ “หนักหวาน” นั่นเอง ภาวะดังกลาวเกิดการที่ตับออนไมสามารถสรางและ
หลั่งฮอรโมนอินซูลิน (Insulin) ไดอยางเพียงพอ ซึ่งอินซูลินที่วานั้นมีหนาที่หลักในการลำเลียงน้ำตาลไปสูเนื้อเยื่อ
ตางๆ เพื่อเผาผลาญเปนพลังงานใหกับรางกาย เมื่ออินซูลินทำงานบกพรอง น้ำตาลก็ถูกนำไปใชประโยชนไดไมเต็มที่
กอเกิดเปนภาวะน้ำตาลในเลือดสูง อันเปนที่มาของ “โรคเบาหวาน” นั่นเอง
    ในเวปบล็อก gotoknow.org ชุมชนแหงการแลกเปลี่ยนเรียนรูของ “คนทำงาน” ไดเขียนบันทึก หรือบทความ
สะทอนเกี่ยวกับวาทกรรมการเรียกชื่อโรคเบาหวานไวหลายคน โดยภาพรวมเปนการสื่อถึงลักษณะอันเปนสถานะเชิง
ความหมายของโรคเบาหวานไวอยางเดนชัดในหมวดหมูของ “การแพทย สุขภาพ สุขภาวะ” หรือ ผานคำสำคัญ
(Tag) เชน โรคเบาหวาน อาหาร สมุนไพร น้ำตาลในเลือด ดังเชนที่ คุณอรุณ วงษชู1 ไดเขียนบันทึกที่สะทอนคำจัด
กัดความของโรคเบาหวานที่เชื่อมโยงกับภาวะการเจ็บปวยที่เรื้อรังและมีโรคแทรกซอนวา
    “โรคเบาหวานเปนโรคเรื้อรัง และกอใหเกิดปญหาตอสุขภาพ กอใหเกิดปญหากับฟนและเหงือก ตา ไต หัวใจ
หลอดเลือดแดง...เมื่อเปนโรคนี้ระยะหนึ่งจะเกิดโรคแทรกซอนที่เกิดกับหลอดเลือดเล็กเรียก Microvacular หากมี
โรคแทรกซอนนี้จะทำใหเกิดโรคไต เบาหวานเขาตา หากเกิดหลอดเลือดเลือดแดงใหญแข็ง เรียก macrovascular
โดยจะทำใหเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ อัมพาต หลอดเลือดแดงที่ขาตีบนอกจากนั้นยังอาจจะเกิดปลายประสาท
อักเสบ neuropathic ทำใหเกิดอาการชาขา กลามเนื้อออนแรง ประสาทอัตโนมัติเสื่อม2 ”
    เชนเดียวกับที่ คุณทรงลักษณ มูลมณี ที่ใชนามแฝงวา Health Star ไดแสดงแนวคิดเกี่ยวกับโรคเบาหวานวา
เปนภาวะของการทำงานที่บกพรองของฮอรโมนอินซูลินวา
    “เบาหวาน เปนความผิดปกติของรางกายที่มีการผลิตฮอรโมนอินซูลินไมเพียงพอ อันสงผลทำใหระดับน้ำตาลใน
กระแสเลือดสูงเกิน โรคนี้มีความรุนแรงสืบเนื่องมาจากการที่รางกายไมสามารถใชน้ำตาลไดอยางเหมาะสม โดยปกติ
น้ำตาลจะเขาสูเซลลรางกายเพื่อใชเปนพลังงานภายใตการควบคุมของ ฮอรโมนอินซูลิน ในผูปวยที่เปนโรคเบาหวาน
จะไมสามารถทำงานไดอยางมีประสิทธิภาพ ผลที่เกิดขึ้นทำใหระดับน้ำตาลในเลือดสูงขึ้น ในระยะยาวจะมีผลในการ
ทำลายหลอดเลือด ถาหากไมไดรับการรักษาอยางเหมาะสม อาจนำไปสูสภาวะแทรกซอนที่รุนแรงได”3



    1 http://gotoknow.org/blog/sukhapab/132527
    2 http://gotoknow.org/blog/sukhapab/132527
    3 http://gotoknow.org/blog/healthstar/362085


                                                        8
จากประเด็นที่หยิบยกเปนตัวอยางขางตนสื่อใหเห็นถึงคำจำกัดความที่เปนลักษณะ หรือสถานะอันเปนปรากฏ-
การณของโรคเบาหวานอยู 2 ประเด็นใหญๆ นั่นคือ
   1. การเปนโรคเรื้อรัง
   2. และการทำงานที่พบพรองของฮอรโมนอินซูลินจนกอใหเกิดภาวะน้ำตาลในเลือดสูง         ซึ่งก็ปฏิเสธไมไดอีก
      เหมือนกันวาโรคเบาหวานนั้น มีคุณลักษณะอันสำคัญอีกประการหนึ่งนั่นก็คือ “โรคเงียบ”
      คำวา “โรคเงียบ” ในที่นี้หมายถึงโรคที่มองไมเห็นดวยตาเปลา บางทีก็เสมือนฟาประทานมากับ “พันธุกรรม”
และที่สำคัญคือเกิดขึ้นอยาง “เงียบๆ” อาการหรือผลกระทบขางเคียงจะไมไดแสดงออกอยางฉับพลัน พลอยให
หลายตอหลายคนกลายเปนผูปวยเบาหวานแบบไมรูเนื้อรูตัว จนไมสามารถจัดวางระบบการปองกัน หรือควบคุม
ภาวะ “เบาหวาน” (น้ำตาล) ในตัวเองผานเรื่องอาหารการกินและการออกกำลังกายไดอยางเหมาะสม กระทั่งใน
ที่สุดแลวก็เสียชีวิตจากภาวะโรคแทรกซอน เปนการเสียชีวิตโดยไมรูมากอนเลยวาโรคแทรกซอนที่วานั้น คือผลพวง
จากการปวยเปนโรคเบาหวานนั่นเอง
     แตอยางไรก็ดี ไมวาจะมองในมุมใดก็ตาม สิ่งหนึ่งที่เชื่อมโยงเกี่ยวกับโรคเบาหวานอยูตลอดเวลาก็คงหนีไมพนคำ
วา “น้ำตาล” อยูดี ซึ่งคุณลักษณะที่สำคัญของน้ำตาลก็คือการมีรสชาติที่ออก “หวานๆ” เมื่อบริโภคอาหารรสชาติ
หวานๆ มากเทาไหร ก็เทากับวาไดนำพาน้ำตาลเขาสูรางกายมากเทานั้น หากระบบการทำงานของอินซูลินบกพรอง
จึงเสี่ยงตอการปวยเปนโรคเบาหวานไดงายๆ
     ดวยเหตุนี้จึงอาจเรียกไดวา คำวา “หวาน” หรือ “หนักหวาน” ในมิติของ “โรคเบาหวาน” ที่แสดงใหเห็นชัด
ถึง ภาวะการเจ็บปวยเรื้อรังและถูกแทรกซอนดวยโรคตางๆนั้น ยอมไมใชชื่อเสียงเรียงนามอัน “หอมหวาน” สำหรับ
ชีวิตของคนเราอยางแนนอน




                                                      9
10
ชนิดของ “เบาหวาน”

พนัส ปรีวาสนา และจตุพร วิศิษฏโชติอังกูร
    ปจจุบันโรคเบาหวานกลายเปนกระแสหลักอีกกระแสหนึ่งใน “ระบบสุขภาพ” มีวิถีการขับเคลื่อนกันอยางเปน
ระบบทั้งในระดับปจเจกและสังคม มีกระบวนการระดมความคิด มุงใหเกิดความรูและความตระหนักทั้งเชิงนโยบาย
จากภาครัฐ ภาคเอกชน รวมถึงการปกธงสูการสรางเครือขายในระดับประชาชนและทองถิ่น ปรากฏการณรวมตัว
หรือเคลื่อนตัวอยางมีพลังเหลานั้น ไดสะทอนใหเห็นวาผูคนในสังคมตางมีมุมมองรวมในทำนองเดียวกันวา “โรคเบา
หวาน” เปนเสมือน “ภัยเงียบ” มหันตภัยที่กำลังรุกคืบเขาสูชีวิตของผูคน และสังคมอยางนากลัว
      การปวยเปนโรคเบาหวานแลวพวงพาไปสูปญหาสุขภาพตางๆ นั้น เปรียบไดกับ “บานประตูแหงสุขภาพ” ของ
ผูคนและสังคมไดเริ่มทรุดโทรมลง หรือในอีกความหมายหนึ่งก็คือประตูแหงสุขภาพไดถูกเปดทิ้งไวตลอด 24 ชั่วโมง
ซึ่งเอื้อตอการใหโรคภัยตางๆ ไดทยอยเคลื่อนตัวเขาคุกคามชีวิตของผูคนไดงายมากขึ้น และเมื่อพิจารณาขอมูลอัน
เปนสถิติของผูปวยเปนโรคเบาหวานอยางละเอียด ก็ดูเหมือนจะมีแนวโนมสูงขึ้นจนนาใจหาย เภสัชกรหญิงปราณี
ลัคนาจันทโชติ ไดสะทอนขอมูลในเวปบล็อก gotoknow.org ไวอยางนาสนใจวา
    “10 ปที่แลวองคการอนามัยโลก สำรวจพบวามีผูปวยเบาหวาน 171 ลานคน และทำนายตอไปวาอีก 30 ป
จะมีจำนวนผูปวยเบาหวานเปน 366 ลาน แตเมื่อเวลาผานไป ไมถึง 30 ป กลับพบวามี ผูปวยเบาหวาน 171 ลาน
คิดเปน 2.8% ของประชากรทั่วโลก โดยลาสุดเดือนมกราคม (2553) สหพันธสมาคมโรคเบาหวานระหวางประเทศ
(International Diabetes Federation) คนพบวาความชุกของผูปวยเบาหวานมีจำนวน 285 ลาน และคาดการณ
ไปอีก 20 ป จะเปน 439 ลานคน” 1
   จากขอมูลขางตน ดูเหมือนจะตอกย้ำ หรือยืนยันใหเห็นวาสภาพการณปจจุบันนั้น ไมวาจะในระดับปจเจกบุคคล
และระดับสังคมนั้น ระบบภูมิตานทานที่มีตอโรคเบาหวานกำลังถูกกัดกรอนลงทุกขณะ
   ในทางการแพทยไดจำแนกชนิดของโรคเบาหวานออกเปน 2 ชนิดใหญๆ คือ เบาหวานชนิดที่ตองพึ่งอินซูลิน
และ เบาหวานชนิดไมพึ่งอินซูลิน

    1 ttp://gotoknow.org/blog/sk-ccc/370924


                                                     11
กรณีดังกลาว Dr. maleewan lertsakornsiri ไดสรุปประเด็นอันเปนคำจำกัดความและสาเหตุของเบาหวาน
ทั้งสองประเภทวา2

   1. โรคเบาหวานที่ตองพึ่งอินซูลิน (insulin – dependent diabetes mellitus : IDDM หรือเรียกวา
      Type l) เปนเบาหวานที่เกิดจากการขาดอินซูลิน จึงมีความตองการอินซูลินในการรักษาเพื่อปองกันภาวะคี
      โตสิส(ketosis) สวนใหญเกิดในคนอายุนอย เชน วัยเด็กวัยรุนหรือวัยหนุมสาว
   2. โรคเบาหวานที่ไมตองพึ่งอินซูลิน (Non insulin dependent diabetes mellitus : DM หรือเรียก
      วา Type ll) เปนเบาหวานที่มีระดับอินซูลินปกติ และเกิดโรคเบาหวานจากการดื้ออินซูลิน มักเปนผลมาจาก
      กรรมพันธุ พบมากกับคนที่มีอายุเกิน 40 ป ผูปวยไมจำเปนตองพึ่งอินซูลินในการรักษา แตอาจจะตองการ
      อินซูลินเพื่อลดระดับน้ำตาล หรือรักษาอาการของเบาหวาน เพราะกินยาและควบคุมอาหารไมไดผล
     ทั้งนี้เมื่อพิจารณาขอมูลอันเปนชนิดของเบาหวานจากขางตน ทำใหเกิดความเขาใจวาโดยแทที่จริงแลว โรคเบา
หวานหาใชโรคเฉพาะของคนแกหรือผูสูงอายุเสียเมื่อไหร แตคนทุกเพศทุกวัยก็สามารถปวยเปนโรคเบาหวานได
และโรคเบาหวานชนิดแรกนั้นเปนเบาหวานที่ไมพบบอยนัก เมื่อตับออนไมสามารถสรางอินซูลินไดเพียงพอ จึงจำ
ตองฉีดอินซูลินเขาสูผิวหนัง เพื่อไปทำหนาที่ในการ ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดระยะยาว สวนโรคเบาหวานชนิดที่
สอง เปนประเภทที่พบมากกวาชนิดแรก ตับออนสามารถสรางอินซูลินไดอยางเพียงพอ หากแตประสบปญหาเรื่อง
รางกายตอบสนองตออินซูลินไดนอยกวาปกติ จึงจำตองกินยาเม็ดเพื่อลดระดับน้ำตาลในเลือด ซึ่งเรียกกันโดยทั่วไป
วา “ภาวะดื้อตอยาอินซูลิน” 3




    2 http://gotoknow.org/blog/maleewan/134176
    3 http://gotoknow.org/blog/ipdsurgbi/134926


                                                    12
สาเหตุของ “เบาหวาน” วาดวยกรรมพันธุและ
พฤติกรรมการกินอาหาร

พนัส ปรีวาสนา และจตุพร วิศิษฏโชติอังกูร
     ขึ้นชื่อวา “โรคเบาหวาน” เชื่อวาใครๆ ก็คงไมรูสึกหอมหวานกับชื่อนี้เปนแน เพราะเมื่อปวยเปนโรคชนิดนี้แลว
ก็จำตองเผชิญหนากับภาวะเรื้อรังและเกิดโรคแทรกซอนตางๆ อยางนาวิตก บางรายที่ปวยเปนโรคเบาหวานและมี
ภูมิตานทานทางจิตใจต่ำ ก็พลอยใหรางกายเจ็บไขและทรุดหนักไปดวย เขาทำนอง “ปวยใจ กายก็พลอยปวยตาม”
    ดังนั้นการเรียนรูในเรื่อง “สาเหตุ” ของการเกิดโรคเบาหวานจึงมีความสำคัญอยางยิ่ง เพราะนั่นคือกระบวนการ
อันสำคัญในการที่จะสรางปราการอันเปนกำแพงสุขภาพ หรือภูมิคุมกันสุขภาพเพื่อปองกันตัวเองใหหางไกลจากการ
เปนโรคเบาหวาน หรือหากตกอยูในภาวะของการปวยโรคเบาหวาน ก็จะชวยใหตนเองมีความรู ความเขาใจในการที่
จะดูแลตัวเองไดเปนอยางดี จนสามารถดำรงชีวิตไดอยางมีความสุขและมีคุณภาพชีวิตที่ดี
    สำหรับสาเหตุของการปวยเปนโรคเบาหวานนั้นยังไมทราบแนนอน แตก็เคยมีการตั้งคำถามชวนคิดวา “เบา
หวานมาจากกรรมพันธุ หรือพฤติกรรมการกิน”1 ถึงกระนั้นก็อาจกลาวๆ ไดวาองคประกอบสำคัญที่อาจเปน
สาเหตุ หรือปจจัยเสี่ยงของการเกิดเบาหวานนั้นไดยึดโยงอยูกับเรื่อง “กรรมพันธุ ความอวนและการขาดการออก
กำลังกาย”2 อยูวันยังค่ำ
    กรณีประเด็นเรื่องสาเหตุที่เกิดจากกรรมพันธุนั้น เห็นไดชัดวาผูคนจำนวนมาก เชื่อวาโรคเบาหวานเปนโรคที่
ถายทอดมาทางพันธุกรรม ดังจะเห็นไดจากมีการกลาวถึงอยางซ้ำๆ จนเกิดเปนปรากฏการณในทำนองวา “หากคน
เรามีญาติสายตรง(พอ แม พี่นอง) ในครอบครัวมีประวัติคนปวยเปนโรคเบาหวาน ก็จะมีโอกาสสุมเสี่ยงตอการ
ปวย เปนโรคเบาหวานดวยเหมือนกัน” แตในความเปนจริงก็พลิกไปคนละมุมไดเหมือนกัน เพราะมีผูคนจำนวนไม
นอยเหมือนกันที่ปวยเปนโรคเบาหวาน แตเมื่อตรวจสอบฐานประวัติแลวกลับพบวา ไมมีบรรดา “ญาติสายตรง”
    1 http://www.gotoknow.org/blog/lab-chem/53273
    2 http://gotoknow.org/blog/glucose/81562


                                                       13
ปวยเปนโรคเบาหวานเลยแมแตคนเดียว
      ที่ตองพึงระมัดระวังก็คือ พฤติกรรมสุขภาพที่สุมเสี่ยงตออุบัติการณของเบาหวานมาจาก พฤติกรรมของการ
บริโภคอาหารจำพวกแปงและน้ำตาลมากๆ จนเกิดภาวะน้ำหนักเกินปกติ ถือเปนปจจัยเชิงสาเหตุสำคัญของการ
ปวยเปนโรคเบาหวาน เพราะนั่นคือปรากฏการณของการเพิ่มปริมาณน้ำตาลเขาสูกระแสเลือดดีๆ นั่นเอง กระทั่งใน
ปจจุบันนี้ไดเกิดกิจกรรมการรณรงคเกี่ยวกับการปองกัน “โรคอวน” (คนไทยไรพุง) ผานการกินและการออกกำลัง
กายอยางกวางขวางในทุกมุมเมืองของสังคมไทย สิ่งเหลานี้ลวนสะทอนใหเชื่อไดวา “ความอวน” หรือ “โรคอวน”
ที่เกิดจากพฤติกรรมการกินและการออกกำลังกายที่ไมเหมาะสมนั้น เปนองคประกอบอันสำคัญที่ทำใหคนเราปวย
เปนเบาหวานไดโดยงาย สอดรับกับขอมูลที่ คุณศรีวรรณ มโนสัมฤทธิ์ ไดสืบคนและเขียนบันทึกไวใน เวปบล็อก วา3
   “มีการศึกษาพบวา คนที่รอบเอวเกิน จะนำไปสูการเปนโรค เบาหวาน และโรคหลอดเลือดหัวใจ โดยปกติแลว
รอบเอวผูหญิง ไมควรเกิน 80 เซนติเมตร หรือ 32 นิ้ว และรอบเอวผูชายก็ไมควรเกิน 90 เซนติเมตร หรือ 36 นิ้ว”
     หรือแมแตทัศนะชวนคิดของเภสัชกรหญิงปราณี ลัคนาจันทโชติ ที่สะทอนถึงสถิติการปวยเปนโรคอวน หรือ
โรคเบาหวานนั้นเกิดจากพฤติกรรมที่คนเรานิยมรับประทานอาหารที่ไมดีตอสุขภาพ เชน แปง ขนม เนย ของหวาน4
เปนตน ดังนั้นการดูแลตัวเองภายใตแนวคิด “ระบบสุขภาพ” ตัวเองผาน “แบบแผนการกินและการออกกำลัง
กาย” ที่เหมาะสม จึงถือเปนกลไกสำคัญในอันดับตนๆ ที่จะปองกันมิใหรางกายถูกคุกคามจากภาวะเบาหวาน ยิ่ง
หากมองวา ยิ่งกินยิ่งอวน...ยิ่งอวบอวนยิ่งเสี่ยงตอการเปนเบาหวาน มากเทาไหรจึงยิ่งตองใหความสำคัญกับการ
สงเสริมสุขภาพตัวเองมากเทานั้น โดยอาจเริ่มตนจากการเรียนรูกระบวนการของการ “วัดรอบเอว” ตัวเองเปนระ
ยะๆ เพื่อเฝาระวังตนเองจากการเปนโรคอวนที่จะนำไปสูการเปนโรคเบาหวาน
     ดวยเหตุนี้การวัดรอบเอวจึงไมตางอะไรกับการ “ตัดไฟแตตนลม” เพราะนั่นคือกลยุทธงายๆ ในการที่จะฝก
นิสัยใหเปนคนเราเห็นความสำคัญของเรื่องสุขภาพกายและสุขภาพใจ ชวยใหคนรามีทัศนคติที่ดีในการกินการอยู
และตระหนักกิจกรรมการออกกำลังกายเพื่อการสรางเสริมสุขภาพอยางเปนระบบ ถายึดปฏิบัติเรื่องการกินและการ
ออกกำลังกายอยางเหมาะสม หรือแมแตการวัดรอบเอวอยางสม่ำเสมอ จนทุกอยางกลายเปน “วัฒนธรรมชีวิต”
ยอมเกิดเปนระบบคุมภัยชีวิตใหหางไกลจากการปวยเปนโรคเบาหวานไปโดยปริยาย
      เหนือสิ่งอื่นใด ถึงแมจะรับรูกันดีวาองคประกอบของการปวยเปนโรคเบาหวานนั้นจะเกี่ยวพันกับเรื่องกรรมพันธุ
การกินอาหารและการออกกำลังกาย เพื่อใหรางกายแข็งแรงและไมอวนแลวก็ตาม สิ่งที่ตองเตือนตัวเองอยูตลอดก็
คือ “โรคเบาหวานนั้น ไมใชเกิดกับคนอวนเสมอไป คนผอมแหงแรงนอยก็มีสิทธิ์เปนโรคนี้ได” ดังนั้นจึงตองระวัง
เรื่องการการกินใหถูกหมวดหมู ออกกำลังกายใหเหมาะสม และที่ขาดไมไดเลยก็คือการหาเวลาไปตรวจสุขภาพ เพื่อ
ใหแพทยไดทำการตรวจวัดปริมาณน้ำตาลในเลือด เพราะนั่นคือวิธีที่ดีที่สุดที่จะชวยทำใหเรารูถึงสถานะของตัวเองวา
สุมเสี่ยง หรือเปนโรคเบาหวานหรือไม และถารูวาตัวเองเสี่ยงตอการเปนเบาหวาน ก็ควรตองไปใหแพทยตรวจทุกๆ 3
ปเปนอยางนอย


    3 http://gotoknow.org/blog/tqm/211493
    4 http://gotoknow.org/blog/sk-ccc/370924


                                                      14
เบาหวาน... “เคาลาง” อยาวางใจ อะไรคือเคาลาง
“บอกเหตุ”

พนัส ปรีวาสนา และจตุพร วิศิษฏโชติอังกูร
    ดวยเหตุที่โรคเบาหวาน เปน “โรคเงียบ” หรือ “ภัยใกลตัว” อีกชนิดหนึ่งที่เกิดขึ้นแลวไมแสดงอาการอยางฉับ
พลัน เมื่อเปนแลวก็ไมสามารถรักษาใหหายขาดได สิ่งสำคัญที่สุดก็คือการ “มองชีวิตในมุมบวก” ไมยอทอ และ
เสียแรงใจไปกับภาวะปวยไขจนมีอันตองลมหมอนนอนเสื่อไปในที่สุด ขณะเดียวกันก็ตองเขมแข็งที่จะการ “เรียนรู
อยางมีสติ” เพื่อควบคุมมิใหเกิดการเรื้อรังไปมากกวาที่เปนอยู และมุงทำความเขาใจตอกลไก หรือกลวิธีอันเปนก
ระบวนการของการปองกันมิใหเกิดภาวะแทรกซอนตอรางกายใหไดมากที่สุด เพราะนั่นคือสิ่งที่ยืนยันไดวา “ชีวิตมี
ทางออก” และ “ทางออกนั้นก็ไมเคยปดตาย”
     เมื่อมองยอนกลับไปยังปจจัยตนเหตุ หรือองคประกอบที่เอื้อตอการเกิดโรคเบาหวานแลว จะพบวาปจจัยเหลา
นั้นเปนโยงใยอยูกับเรื่องกรรมพันธุ การบริโภคอาหารที่มีปริมาณแปง น้ำตาล ไขมันสูง และการละเลยที่จะออกกำลัง
กายทั้งสิ้น ปจจัยที่วานั้นถือเปน “เข็มทิศของการเฝาระวัง” ตัวเองไดเปนอยางดี ทั้งยังตองใสใจเฝาสังเกตอาการ
อันเปน “เคาลาง” ของโรคเบาหวานก็สำคัญไมแพกัน
       ถาทุกคนเชื่อวาตัวเองเปน “หมอประจำตัวเอง” ก็ตองเรียนรูวา อาการปสสาวะมาก (polyuria) ดื่มน้ำมาก
(polydipsia) กินจุ หรือรับประทานอาหารจุ (polyphagia) น้ำหนักลด (weight loss) ลวนเปนเคาลางบอกเหตุ
ที่สุมเสี่ยงตอการเปนเบาหวานแทบทั้งสิ้น เมื่อเขาใจแลวยอมสามารถที่จะบริหารจัดการเกี่ยวกับระบบสุขภาพตัวเอง
ไดอยางมีประสิทธิภาพ1 ดังนี้
      1. ปสสาวะบอย โดยเฉพาะเวลากลางคืน ตองตื่นมาปสสาวะบอยมากกวาปกติ
      2. มีอาการกระหายน้ำอยูบอยๆ และดื่มน้ำมากผิดปกติ เนื่องจากสูญเสียน้ำไปทางปสสาวะเปนจำนวนมาก
   3. น้ำหนักลด เนื่องจากรางกายไมสามารถสลายพลังงานจากไขมันได จึงจำตองสลายพลังงานจากโปรตีนและไข
      มันแทนสงผลใหเกิดอาการ “กินเกง หิวบอย แตน้ำหลักลด”
    1 http://gotoknow.org/blog/bouquet/362318


                                                       15
นอกจากนี้ยังพบอาการอื่นๆ ที่ถือเปนลางบอกเหตุสอเคาใหเห็นถึงภาวะความเสี่ยงที่จะเปนโรคเบาหวานดวย
เหมือนกัน อาทิ
   1. อาการอักเสบของผิวหนัง เกิดการติดเชื้องาย และเมื่อเปนแผลแลวแผลจะหายชา
   2. อาการคันตามผิวหนัง อันเกิดจากผิวแหงจนเกินไป
   3. มีการติดเชื้อรา โดยเฉพาะอยางยิ่งบริเวณชองคลอดของผูหญิง
   4. อาการเห็นภาพไมชัด ตาพรามัวตองเปลี่ยนแวนบอยๆ ทั้งนี้อาจจะเปนเพราะมีการเปลี่ยนแปลงสายตา เชน
      สายตาสั้น เปนตอกระจก และน้ำตาลในเลือดสูง
     และที่สำคัญอีกประการหนึ่งที่มองขามไมไดเลยก็คือ อาการชา ไมมีความรูสึก เจ็บตามแขนขา หยอนสมรรถภาพ
ทางเพศ รวมถึงการเกิดแผลที่เทาไดโดยงาย2 ซึ่งลวนเกิดจากภาวะที่มีระดับน้ำตาลในเลือดสูงนานๆ จนทำใหเสน
ประสาทเสื่อม กรณีผูปวยใน บางรายมีอาการเกิดบาดแผลที่เทาอยูเรื่อยๆ ยิ่งตองระมัดระวังใหมากเปนพิเศษ
เนื่องจากการเปนแผลที่เทา จะเปนเสมือนการเปดประตูตอนรับเชื้อโรคตางๆ ใหเขามาสูรางกายโดยงาย คนที่ปวย
เปนโรคเบาหวานก็มักจะมีอาการชาตามนิ้วเทาและฝาเทา และจะไมรูสึกเจ็บปวดกับแผลที่เกิดขึ้น สงผลใหขาดการ
เฝาระวังในเรื่องดังกลาวไปโดยปริยาย จนนำไปสูภาวะเรื้อรังขั้นรายแรงที่ตองตัดขาทิ้งเลยก็มี
    แตก็เปนที่นาสังเกตวา ในอดีตนั้นการเฝาระวังหรือสังเกตอาการที่สอเคาวาจะเปนโรคเบาหวานนั้นมีความนา
สนใจ เพราะเกี่ยวโยงกับภูมิปญญาจากการสังเกต กลาวคือคนในสมัยกอนมักจะแนะนำเปน “มุขปาฐะ” วาหาก
สงสัยวาจะเปนเบาหวานหรือไม สามารถพิสูจนไดอยางงายๆ ผานวิธีใกลตัวนั่นก็คือ “ปสสาวะใหมดตอม”
    วิธีคิดดังกลาว เกิดจากการที่ชาวบานมีความเชื่อที่วา “คนที่เปนเบาหวาน จะปสสาวะหวาน”
     เมื่อปสสาวะในแตละครั้ง จึงยอมมีน้ำตาลปนออกมากับปสสาวะมากเปนพิเศษ ดังนั้นคนในสมัยกอนจึงเชื่อวา
หากมีมดมาตอมปสสาวะ ก็พอจะยืนยันไดเบื้องตนวาคนๆ นั้น มีความสุมเสี่ยงตอการเปนโรคเบาหวานคอนขางจะ
แนนอน ซึ่งจะวาไปแลววิธีการดังกลาว ก็ใชเปนกระบวนการหนึ่งของการพิสูจนความเปนเบาหวานไดเหมือนกัน แต
วิธีการสังเกตดังกลาวเปนการวินิจฉัยเพียงเบื้องตน ดังนั้นทางที่ดีจึงควรตองไปพบแพทย เพื่อใหแพทยไดตรวจระดับ
น้ำตาลในเลือดใหโดยตรง เพราะนั่นคือวิธีการที่เที่ยงตรงและแมนยำที่สุด ซึ่งจะชวยใหเกิดกระบวนการเฝาระวังตอ
ระบบสุขภาพของตัวเองไปในตัว




    2 http://gotoknow.org/blog/dmpathumtanee/328235


                                                      16
ใครคือกลุมเสี่ยงเบาหวาน

พนัส ปรีวาสนา และจตุพร วิศิษฏโชติอังกูร
     จากประเด็นสาเหตุของการเกิดเบาหวานและเชื่อมโยงมาสูประเด็นเคาลางการบอกเหตุ ความเสี่ยงของการปวย
เปนโรคเบาหวาน จะเห็นไดวาหลีกไมพนเรื่องราวหลักๆ 3 ประเด็นใหญ นั่นก็คือเรื่องกรรมพันธุ พฤติกรรมการกิน
และการดูแลรางกายผานการออกกำลังกาย ซึ่งทั้งหมดนั้นไดสะทอนภาพของการดูแล ควบคุมและปองกันแทบทั้ง
สิ้น โดยมีเปาประสงคหลักเพื่อนำไปสูวิถีแหงการดำเนินชีวิตยาวนานเยี่ยงคนปกติ
      อยางไรก็ตามเมื่อหลอมรวมประเด็นเหลานั้นแลว ก็คงไมยากกับการที่จะวินิจฉัยเพื่อการเฝาระวังวาใครคือผูที่
เสี่ยงที่จะเปนเบาหวานบาง โดยในทางกรรมพันธุนั้นก็ยังคงตองพุงประเด็นไปยังกลุมคนที่เคยมี “ญาติสายตรง”
ปวยเปนเบาหวานมากอนอยูดี รวมถึงทารก หรือหญิงมีครรภที่ประวัติเคยเปนเบาหวานขณะตั้งครรภ หรือเคยคลอด
บุตรตัวโตและมีน้ำหนักมากกวา 4 กิโลกรัม1 รวมถึงกลุมคนที่มีน้ำหนักมากเกินกวาปกติ (โรคอวน) ไมนิยมการ
ออกกำลังกาย สงผลใหการทำงานของอินซูลินมีปญหา รวมถึงการมีพฤติกรรมเกี่ยวกับการกินอาหารประเภทออก
รสหวานๆ และมีไขมันสูงมากจนเกินความจำเปน เปนตนวา “เด็กบริโภคไขมันมากเกินไปจาก 18 กรัม เพิ่มเปน
42 กรัมตอวัน”2 ก็ถือเปนกลุมคนที่เสี่ยงตอการปวยเปนโรคเบาหวานดวยเหมือนกัน เชนเดียวกับงานวิจัยที่ศึกษา
และพบวา “ผูหญิงที่นิยมกินมันฝรั่งมากเทาไหร ยิ่งเสี่ยงตอการปวยเปนโรคเบาหวาน”3 เพราะมันฝรั่งเปนพืชที่
กระตุนใหเกิดภาวะน้ำตาลสูงในกระแสเลือดไดเปนอยางดี หรือแมแตผลการวิจัยชื่อวา CARDIA Study ก็เชื่อวาคน
ที่ไมชอบรับประทานอาหารเชาอยางสม่ำเสมอก็มีความเสี่ยงตอการเปนเบาหวาน ไดเหมือนกัน4




    1 http://gotoknow.org/blog/maleewan/134176
    2 http://gotoknow.org/blog/strongkids/185168
    3 http://gotoknow.org/blog/qqqqq/46274
    4 http://gotoknow.org/blog/ocsckku/149286


                                                      17
18
ครอบครัวเบาหวาน...
พนัส ปรีวาสนา และจตุพร วิศิษฏโชติอังกูร
    ในที่นี้ ครอบครัวเบาหวาน หมายถึง ลักษณะอันเปนภาวะ “โรคแทรกซอน” ที่เกิดขึ้นกับคนเราหลังการปวย
เปนโรคเบาหวาน เชน โรคไต โรคหลอดเลือดหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง รวมถึงภาวะแทรกซอนอื่นๆ เชน ภาวะ
แทรกซอนทางตา ภาวะแทรกซอนในชองปาก กระเพาะปสสาวะทำงานไดไมดี เปนตน
    บรรดารายชื่อโรคแทรกซอนที่วานั้น       ถือเปนคุณลักษณะพิเศษของโรคเบาหวานที่เปนแลวมักจะรักษาให
หายขาดไมได ตรงกันขามกลับมักจะนำพาใหเกิดภาวะแทรกซอนตางๆ ตามมาเปนระยะๆ ซึ่งเปนผลพวงของ
ระบบภูมิตานทานที่เสื่อมโทรมและต่ำลง จนอวัยวะตางๆ ในรางกายทำงานบกพรองมากขึ้น เกิดเปนชองโหวใน
ระบบภูมิคุมกันของสุขภาพ เปดกวางใหโรคตางๆ ทยอยคืบคลานเขากัดกรอนรางกายของคนเราอยางเงียบๆ โดย
ภาวะดังกลาวไดกลายมาเปนปรากฏการณสำคัญที่สื่อสารใหเห็นวาโรคเบาหวานเปนเสมือน “ครอบครัวใหญ” ที่มี
โรคตางๆ มามะรุมมะตุมอยูตลอดเวลา หรืออาจตองเรียกชื่อโรคเบาหวานในอีกมุมหนึ่งวา “โรคญาติเยอะ”
    ปจจุบันโรคเบาหวาน (โรคญาติเยอะ) มีโครงสรางเหมือน “ครอบครัวใหญ” ที่ยึดโยงไปดวยภาวะแทรกซอน
ตางๆ และกลายเปนวิกฤติทางสาธารณสุขของสังคมไทยในปจจุบัน ผูคนตางรับรูและเขาใจในทิศทางเดียวกันวา
โรคแทรกซอนตางๆ นั้น บางชนิดจะเกิดขึ้นเงียบๆ หลังการเปนเบาหวานมาแลวนับ 10 ปเลยก็มี กลาวคือเริ่มตน
จากการฝงตัวอยางเงียบๆ และคอยๆ รุกคืบอยูในตัวผูปวยอยางชาๆ ทำใหผูปวยไมรูเนื้อรูตัววากำลังเกิดภาวะโรค
แทรกซอนอันเกิดจากโรคเบาหวานในรางกาย จนเมื่อสั่งสมถึงขั้นเรื้อรังจึงคอยปรากฏโฉมหนาใหพบเห็นอยางเดน
ชัดผานอาการเฉพาะของโรคนั้นๆ และเมื่อเกิดขึ้นแลว ก็ลำบากตอการบำบัดรักษา เพื่อใหคืนกลับสูสภาพดังเดิม
ขณะที่บางราย โชครายถึงขั้นไมสามารถฟนฟูสภาพรางกายกลับมาไดเลยก็มี
   กรณีดังกลาวนี้ คุณกานดา สุตาวงศ ไดอางอิงขอมูลโรคแทรกซอนเรื้อรังจากสมุดบันทึกประจำตัวของผูปวยโรค
เบาหวานจากโรงพยาบาลสันกำแพง จังหวัดเชียงใหม ซึ่งเกี่ยวของกับภาวะเรื้อรังในอวัยวะตางๆ ของคนเรา คือ หัวใจ
สมอง ดวงตา และไต1 ดังนี้


    1 http://gotoknow.org/blog/kandanalike/319044


                                                       19
1. หลอดเลือดหัวใจตีบตันหรืออุดตัน ทำใหเกิดกลามเนื้อหัวใจตาย จะมีอาการเจ็บแนนหนาอกราวไปที่ไหลซาย
      มีอาการหอบ เหนื่อยเร็ว หัวใจลมเหลวและเสียชีวิต อยางเฉียบพลันได
   2. หลอดเลือดสมองตีบตัน ทำใหเปนอัมพาต พูด หรือออกเสียงไมชัด
   3. ตาพรามัว ถึงขั้นตาบอด อันเกิดจากหลายสาเหตุ เชน สายตาเปลี่ยน ตอกระจกและเสนเลือดในตาอุดตัน
      เลือดออกในตา
   4. ไตเสื่อม หรือ ไตวาย ในระยะแรกจะมีอาการบวม ออนเพลีย คลื่นไส อาเจียน เมื่อภาวะไตเสื่อมมากขึ้น จะมี
      อาการปสสาวะลดลง มีของเสียคั่งในรางกายมากขึ้น
    เชนเดียวกับขอมูลที่คุณทรงลักษณ มูลมณี ไดสื่อสารถึงรายละเอียดของภาวะแทรกซอนในทางการแพทยวา2
   1. ภาวะแทรกซอนทางสายตา (Diabetic retinopathy) เกิดจากการที่น้ำตาลเขาไปใน endothelium
      ของหลอดเลือดเล็กๆ ในลูกตา ทำใหหลอดเลือดเหลานี้มีการสรางไกลโคโปรตีนซึ่งจะถูกขนยายออกมาเปน
      Basement membrane มากขึ้น ทำให Basement membrane หนา แตเปราะ หลอดเลือดเหลานี้
      จะฉีกขาดไดงาย เลือดและสารบางอยางที่อยูในเลือดจะรั่วออกมา และมีสวนทำให Macula บวม ทำให
      เกิด Blurred vision หลอดเลือดที่ฉีกขาดจะสรางแขนงของหลอดเลือดใหมออกมามากมายจนบดบังแสง
      ที่มาตกกระทบยัง Retina ทำใหการมองเห็นของผูปวยแยลง
   2. ภาวะแทรกซอนทางไต (Diabetic nephropathy) พยาธิสภาพของหลอดเลือดเล็กๆ ที่ Glomeruli จะทำให
      Nephron ยอมให albumin รั่วออกไปกับ filtrate ได Proximal tubule จึงตองรับภาระในการดูดกลับสาร
      มากขึ้น หากเปนนานๆ ก็จะทำใหเกิด Renal failure ได ซึ่งผูปวยมักจะเสียชีวิตภายใน 3 ป นับจากแรกเริ่ม
      มีอาการ
   3. ภาวะแทรกซอนทางระบบประสาท (Diabetic neuropathy) หากหลอดเลือดเล็กๆที่มาเลี้ยงเสนประสาท
      บริเวณปลายมือปลายเทาเกิดพยาธิสภาพ ก็จะทำใหเสนประสาทนั้นไมสามารถนำความรูสึกตอไปได เมื่อผู
      ปวยมีแผล ผูปวยก็จะไมรูตัว และไมดูแลแผลดังกลาว ประกอบกับเลือดผูปวยมีน้ำตาลสูง จึงเปนอาหารอยาง
      ดีใหกับเหลาเชื้อโรคและแลวแผลก็จะเนาและนำไปสู Amputation ในที่สุด
     ไมเฉพาะแตภาวะแทรกซอนที่เกิดขึ้นกับอวัยวะที่เปนหัวใจ สมอง ดวงตา ไต หรือแมแตระบบประสาทจากขาง
ตนเทานั้น แตในทางการแพทยนั้น ยังพบวา โรคเบาหวานเปน “ปจจัยนำ” ปจจัยหนึ่งของการเกิด “โรคปริทันต”
ดวยเหมือนกัน กลาวคือ ผูปวยโรคเบาหวานที่ควบคุมไมได จะมีการอักเสบของเหงือกมากผิดปกติ และมากกวาผูที่
ควบคุมได ทั้งๆ ที่มีคราบจุลินทรียเพียงเล็กนอยเทานั้น ซึ่งก็ถือวาเปนภาวะโรคแทรกซอนเรื้อรังอีกโรคหนึ่งที่เกิดขึ้น
หลังจากการเปนเบาหวาน3
     และไมเชื่อก็ตองเชื่อวาปจจุบันวงการแพทยไดมีการยืนยันแลววา เบาหวานเปนตนเหตุหนึ่งของภาวะ “เซ็กส
เสื่อม” กลาวคือเมื่อเปนเบาหวาน และเริ่มสูงอายุ มักจะมีอาการลงพุง มีไขมันสะสม มีความดันสูง สิ่งเหลานี้จะหนุน
สงใหเกิดภาวะสมรรถภาพทางเพศเสื่อมเร็วขึ้นทั้งหญิงและชาย
     2 http://gotoknow.org/blog/healthstar/362085
     3 http://gotoknow.org/blog/chalong/93266


                                                         20
แตอยางไรก็ตาม ถึงแมจะเปนที่รับรูวาโรคเบาหวานเปนโรคที่เกิดขึ้นแลว รักษาไมหายขาด แตจะเรื้อรังและ
มีภาวะแทรกซอนมากมาย สิ่งสำคัญที่สุดก็คงตองย้ำเตือนกับตัวเองเสมอวาชีวิตไมไดตีบตันดวยโรคภัยชนิดนี้เสีย
ทั้งหมด จึงตองมองโลกและชีวิตในมุมบวก เพื่อใหสามารถใชชีวิตไดอยางปกติสุข เพราะในความเปนจริงก็คือ ถึงแม
โรคเบาหวานจะเปนโรคที่รักษาไมหายขาด แตก็สามารถควบคุมและปองกันได จึงไมควรหดหูและสิ้นหวังเมื่อตอง
เผชิญกับโรคชนิดนี้




                                                     21
22
อาหารของคนเปนเบาหวาน
พนัส ปรีวาสนา และจตุพร วิศิษฏโชติอังกูร
     ในยามที่ชีวิตตัวเอง หรือญาติมิตรตองชะตากรรมดวยการปวยเปนโรคเบาหวาน อันดับแรกตองไมลืมที่จะเตือน
ตัวเองใหรูสึกเสมอวา การปวยเปนโรคเบาหวาน ไมใชความโชครายหรือเลวรายเสียทั้งหมด ถาคิดและเขาใจใน
ทำนองนั้นได ก็จะทำใหมีขวัญกำลังใจที่จะใชชีวิตและเรียนรูกระบวนการแหงการควบคุมโรคเบาหวานในตัวเองได
เปนอยางดี โดยเริ่มตนใหความสำคัญกับเรื่องอาหารการกินอยางจริงจัง ไมใชกินตามมีตามเกิดหรือกินตามอำเภอใจ
โดยไมสนใจวาสิ่งที่บริโภคเขาไปนั้น จะเพิ่มปริมาณไขมันและน้ำตาลในระดับเลือดมากนอยแคไหน หรือเปนปจจัย
นำสูภาวะแทรกซอนตางๆ อยางไรบาง
    สำหรับผูที่ปวยเปนเบาหวานนั้น สิ่งที่ตองระมัดระวังเปนพิเศษเลยก็คือการหลีกเลี่ยงอาหารประเภทที่มีระดับ
น้ำตาลในเลือดสูง รวมถึงขนมหวานตางๆ เชน ทองหยิบ ทองหยอด ขนมชั้น ผลไมชนิดหวานจัดๆ เชน เงาะ ขนุน
นอยหนา ทุเรียน ออย ตลอดจนเครื่องดื่มน้ำอัดลมชนิดตางๆ ซึ่งนั่นก็รวมถึงเครื่องดื่มประเภทที่มีแอลกอฮอลดวย
   เกี่ยวกับเรื่องดังกลาวนี้ ดร.จันทวรรณ ปยะวัฒน ไดบันทึกขอมูลที่เปนประโยชนอันเกิดจากการศึกษาคนควา
และการดูแลบิดาที่เปนเบาหวานดวยตนเอง โดยจัดหมวดหมูประเภทของอาหารไวดังนี1      ้
1.กลุมอาหารหามรับประทาน ไดแก
    • อาหารที่มีน้ำตาลทุกชนิด รวมถึงน้ำผึ้ง น้ำตาลจากผลไม
    • ขนมหวานและขนมเชื่อมตางๆ เชน ฝอยทอง ขนมชั้น สังขยา ลอดชอง
    • ผลไมกวน เชน มะมวงกวน ทุเรียนกวน สัปปะรดกวน ฯลฯ
    • น้ำหวานตางๆ น้ำผลไม ยกเวน น้ำมะเขือเทศ นมรสหวานรวมทั้งน้ำอัดลมและ


    1 http://gotoknow.org/blog/dad/36808


                                                    23
• ผลไมที่มีรสหวานจัด เชน ทุเรียน องุน ลำไย มะมวงสุก ละมุด นอยหนา ลิ้นจี่ ออย สัปปะรด ผลไมแชอิ่ม หรือ
      เชื่อมน้ำตาล
    • ของขบเคี้ยวทอดกรอบ และอาหารชุบแปงทอดตางๆ เชน ปาทองโก กลวย แขก ขาวเมาทอด
2.กลุมอาหารที่รับประทานได แตตองจำกัดปริมาณ ไดแก
    • อาหารพวกแปง ขาว เผือก มัน ถั่วเมล็ดแหงตางๆ กวยเตี๋ยว ขนมจีน ขนมปง มักกะโรนี กวยเตี๋ยว
    • ลดอาหารไขมัน เชน ขาหมู ขาวมันไก หมูสามชั้น หรือ อาหารทอดมันมากๆ ไขมันมากๆ
    • ตลอดจนไขมันจากพืชบางอยาง เชน กะทิ น้ำมันปาลม ควรใชน้ำมันถั่วเหลือง น้ำมันขาวโพด น้ำมันมะกอก
    • อาหารสำเร็จรูป หรืออาหารพิเศษสำหรับผูปวยเบาหวาน เชน น้ำตาลเทียม น้ำตาลจากผลไม
    • ผักประเภทที่มีแปงมาก เชน ฟกทอง กระเจี๊ยบ หัวปลี แครอท สะเดา ถั่วลันเตา หอมหัวใหญ ผลไมบางอยาง
      เชน ฝรั่ง กลวย เงาะ มะละกอ
    • อาหารจากโปรตีนประเภทเนื้อสัตว หรือโปรตีนจากพืช เชน ถั่ว เตาหู ใหรับประทานปกติ หลีกเลี่ยงเนื้อติด
      มัน ไกติดหนัง
3.กลุมอาหารที่รับประทานไดไมจำกัด ไดแก ผักใบเขียว เชน ผักกาด ผักคะนา ผักบุง ถั่วงอก
    เปนที่นาสังเกตวา รายการอาหารและผลไม หรือแมแตขนมที่กลาวอางถึงขางตน สวนใหญมีคุณลักษณะรวม
เดียวกันก็คือออกรสหวานและมีไขมันเปนที่ตั้ง แตในความเปนจริงที่ไมอาจมองขามไปไดก็คือ เมื่อปวยเปนโรคเบา
หวานแลว ผูปวยตองลดอาหารที่มี รสเค็มลงดวยเชนกัน เพราะโซเดียมในเกลือจะทำใหรางกายสรางกระบวนการ
กักเก็บน้ำไวในรางกายมากขึ้น สงผลใหเกิดภาวะความดันโลหิตสูงไปไดโดยงาย และยังสงผลกระทบตอระบบการ
ทำงานของไตโดยตรง ยิ่งเปนเบาหวานอยูแลว จึงเสี่ยงสูงตอการเกิด ภาวะแทรกซอนทางไต
   สวนกรณีเกี่ยวกับเครื่องดื่มประเภทกาแฟ ก็มีความเกี่ยวโยงกับเบาหวานดวยเชนกัน โดยรวมแลวเครื่องดื่ม
ประเภทชากาแฟนั้น ผูปวยเบาหวานควรเลือกดื่มกาแฟดำ ไมใสน้ำตาล ไมใสนมขนหวาน หรือครีมเทียมแทน ดัง
รายละเอียดที่ นายแพทยวัลลภ พรเรืองวงศ ไดนำเสนอขอมูลไวในเวปบล็อกวา
    “อาจารยเบซา สมิธ และคณะ แหงมหาวิทยาลัยแคลิฟอรเนีย ซาน ดิเอโก ในลาโฮลลา ทำการศึกษากลุม
ตัวอยางอายุ 50 ปขึ้นไป จำนวน 910 คน โดยการติดตามไปนาน 8 ป ซึ่งผลการศึกษาพบวา คนที่ดื่มกาแฟ ไมวา
จะเปนชนิดมีกาเฟอีน หรือสกัดกาเฟอีนออก จะมีความเสี่ยงตอโรคเบาหวานในผูใหญ (diabetes type2) ลดลง
60%”2
    ซึ่งจากการที่นายแพทยวัลลภ ไดนำเสนอขอมูลขางตนไวใน เว็ปบล็อกชุมชน แหงการแลกเปลี่ยนเรียนรู แลว
ก็พบวามีการ “ตอยอดความคิด” และนำไปสูการ “ปฏิบัติจริง” อยางกวางขวาง ดังจะเห็นไดจากการเสริมแรงให
เกิดพลังใจและมุมมองใหม หรือ “ความรูใหม” แก ดร.จันทวรรณ ปยะวัฒนในการที่จะดูแลบิดาที่ปวยเปนเบา
    2 http://gotoknow.org/blog/health2you/56905


                                                      24
Diabetes
Diabetes
Diabetes
Diabetes
Diabetes
Diabetes
Diabetes
Diabetes
Diabetes
Diabetes
Diabetes
Diabetes
Diabetes
Diabetes
Diabetes
Diabetes
Diabetes
Diabetes
Diabetes
Diabetes
Diabetes
Diabetes
Diabetes
Diabetes
Diabetes
Diabetes
Diabetes
Diabetes
Diabetes
Diabetes
Diabetes
Diabetes
Diabetes
Diabetes
Diabetes
Diabetes
Diabetes
Diabetes
Diabetes
Diabetes
Diabetes

More Related Content

Viewers also liked

รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558Utai Sukviwatsirikul
 
Cpg for internet and game addiction
Cpg for internet and game addictionCpg for internet and game addiction
Cpg for internet and game addictionUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว
แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว
แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559Kamol Khositrangsikun
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวานคู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวานUtai Sukviwatsirikul
 
เบาหวาน
เบาหวานเบาหวาน
เบาหวานbeam35734
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวานPim My
 
ยารักษาโรคเบาหวาน
ยารักษาโรคเบาหวานยารักษาโรคเบาหวาน
ยารักษาโรคเบาหวานUtai Sukviwatsirikul
 
Guildline thai atherosclerosis_update_16_07_50
Guildline thai atherosclerosis_update_16_07_50Guildline thai atherosclerosis_update_16_07_50
Guildline thai atherosclerosis_update_16_07_50Utai Sukviwatsirikul
 
โรคเรื้อรังที่พบบ่อย
โรคเรื้อรังที่พบบ่อยโรคเรื้อรังที่พบบ่อย
โรคเรื้อรังที่พบบ่อยDr.yababa najra
 
Current Pharmacotherapy in Diabetes
Current Pharmacotherapy in DiabetesCurrent Pharmacotherapy in Diabetes
Current Pharmacotherapy in DiabetesUtai Sukviwatsirikul
 
ความเป็นไปได้ของร้านยาในการนำ (ร่าง) ประกาศกระทรวงสาธารณสุขเรื่องการกำหนดรายล...
ความเป็นไปได้ของร้านยาในการนำ (ร่าง) ประกาศกระทรวงสาธารณสุขเรื่องการกำหนดรายล...ความเป็นไปได้ของร้านยาในการนำ (ร่าง) ประกาศกระทรวงสาธารณสุขเรื่องการกำหนดรายล...
ความเป็นไปได้ของร้านยาในการนำ (ร่าง) ประกาศกระทรวงสาธารณสุขเรื่องการกำหนดรายล...Parun Rutjanathamrong
 
ยารักษาโรคเบาหวาน โดย ฉัตรเลิศ พงษ์ไชยกุล
ยารักษาโรคเบาหวาน  โดย ฉัตรเลิศ พงษ์ไชยกุล ยารักษาโรคเบาหวาน  โดย ฉัตรเลิศ พงษ์ไชยกุล
ยารักษาโรคเบาหวาน โดย ฉัตรเลิศ พงษ์ไชยกุล Utai Sukviwatsirikul
 
Melioidosis
MelioidosisMelioidosis
Melioidosismonoybr
 
Pharmacotherapy in patient with stroke 2555
Pharmacotherapy in patient with stroke 2555Pharmacotherapy in patient with stroke 2555
Pharmacotherapy in patient with stroke 2555Utai Sukviwatsirikul
 
หลักการออกแบบร้านค้าปลีกสมัยใหม่
หลักการออกแบบร้านค้าปลีกสมัยใหม่หลักการออกแบบร้านค้าปลีกสมัยใหม่
หลักการออกแบบร้านค้าปลีกสมัยใหม่Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือแปลผลการตรวจร่างกายฉบับประชาชน
คู่มือแปลผลการตรวจร่างกายฉบับประชาชนคู่มือแปลผลการตรวจร่างกายฉบับประชาชน
คู่มือแปลผลการตรวจร่างกายฉบับประชาชนSurapol Imi
 
บทที่ 5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
บทที่ 5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูงบทที่ 5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
บทที่ 5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูงPa'rig Prig
 

Viewers also liked (20)

รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
 
Cpg for internet and game addiction
Cpg for internet and game addictionCpg for internet and game addiction
Cpg for internet and game addiction
 
แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว
แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว
แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว
 
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวานคู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
 
เบาหวาน
เบาหวานเบาหวาน
เบาหวาน
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน
 
ยารักษาโรคเบาหวาน
ยารักษาโรคเบาหวานยารักษาโรคเบาหวาน
ยารักษาโรคเบาหวาน
 
Guildline thai atherosclerosis_update_16_07_50
Guildline thai atherosclerosis_update_16_07_50Guildline thai atherosclerosis_update_16_07_50
Guildline thai atherosclerosis_update_16_07_50
 
โรคเรื้อรังที่พบบ่อย
โรคเรื้อรังที่พบบ่อยโรคเรื้อรังที่พบบ่อย
โรคเรื้อรังที่พบบ่อย
 
Cpg hyperlipidemia 2558
Cpg hyperlipidemia 2558Cpg hyperlipidemia 2558
Cpg hyperlipidemia 2558
 
Ag 16 in_1.2.4_896(2555)
Ag 16 in_1.2.4_896(2555)Ag 16 in_1.2.4_896(2555)
Ag 16 in_1.2.4_896(2555)
 
Current Pharmacotherapy in Diabetes
Current Pharmacotherapy in DiabetesCurrent Pharmacotherapy in Diabetes
Current Pharmacotherapy in Diabetes
 
ความเป็นไปได้ของร้านยาในการนำ (ร่าง) ประกาศกระทรวงสาธารณสุขเรื่องการกำหนดรายล...
ความเป็นไปได้ของร้านยาในการนำ (ร่าง) ประกาศกระทรวงสาธารณสุขเรื่องการกำหนดรายล...ความเป็นไปได้ของร้านยาในการนำ (ร่าง) ประกาศกระทรวงสาธารณสุขเรื่องการกำหนดรายล...
ความเป็นไปได้ของร้านยาในการนำ (ร่าง) ประกาศกระทรวงสาธารณสุขเรื่องการกำหนดรายล...
 
ยารักษาโรคเบาหวาน โดย ฉัตรเลิศ พงษ์ไชยกุล
ยารักษาโรคเบาหวาน  โดย ฉัตรเลิศ พงษ์ไชยกุล ยารักษาโรคเบาหวาน  โดย ฉัตรเลิศ พงษ์ไชยกุล
ยารักษาโรคเบาหวาน โดย ฉัตรเลิศ พงษ์ไชยกุล
 
Melioidosis
MelioidosisMelioidosis
Melioidosis
 
Pharmacotherapy in patient with stroke 2555
Pharmacotherapy in patient with stroke 2555Pharmacotherapy in patient with stroke 2555
Pharmacotherapy in patient with stroke 2555
 
หลักการออกแบบร้านค้าปลีกสมัยใหม่
หลักการออกแบบร้านค้าปลีกสมัยใหม่หลักการออกแบบร้านค้าปลีกสมัยใหม่
หลักการออกแบบร้านค้าปลีกสมัยใหม่
 
คู่มือแปลผลการตรวจร่างกายฉบับประชาชน
คู่มือแปลผลการตรวจร่างกายฉบับประชาชนคู่มือแปลผลการตรวจร่างกายฉบับประชาชน
คู่มือแปลผลการตรวจร่างกายฉบับประชาชน
 
บทที่ 5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
บทที่ 5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูงบทที่ 5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
บทที่ 5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
 

Similar to Diabetes

“เบาหวานควบคุมได้ เพียงรู้และเข้าใจ” (Understand Diabetes and Take Control)
“เบาหวานควบคุมได้ เพียงรู้และเข้าใจ” (Understand Diabetes and Take Control)“เบาหวานควบคุมได้ เพียงรู้และเข้าใจ” (Understand Diabetes and Take Control)
“เบาหวานควบคุมได้ เพียงรู้และเข้าใจ” (Understand Diabetes and Take Control)Utai Sukviwatsirikul
 
สุทธิวัสส์ คำภา นาฬิกาชีวิต
สุทธิวัสส์ คำภา   นาฬิกาชีวิตสุทธิวัสส์ คำภา   นาฬิกาชีวิต
สุทธิวัสส์ คำภา นาฬิกาชีวิตTongsamut vorasan
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์pentanino
 
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชนคู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชนUtai Sukviwatsirikul
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผนFmz Npaz
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1dashasak03
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนTongsamut vorasan
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์คัมภีร์ฉันทศาสตร์แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ทัศนะ แก้วช่วย
 

Similar to Diabetes (20)

In side-100 story-001-248[1][19]
In side-100 story-001-248[1][19]In side-100 story-001-248[1][19]
In side-100 story-001-248[1][19]
 
“เบาหวานควบคุมได้ เพียงรู้และเข้าใจ” (Understand Diabetes and Take Control)
“เบาหวานควบคุมได้ เพียงรู้และเข้าใจ” (Understand Diabetes and Take Control)“เบาหวานควบคุมได้ เพียงรู้และเข้าใจ” (Understand Diabetes and Take Control)
“เบาหวานควบคุมได้ เพียงรู้และเข้าใจ” (Understand Diabetes and Take Control)
 
Handbook chapter33 34
Handbook chapter33 34Handbook chapter33 34
Handbook chapter33 34
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
 
สุทธิวัสส์ คำภา นาฬิกาชีวิต
สุทธิวัสส์ คำภา   นาฬิกาชีวิตสุทธิวัสส์ คำภา   นาฬิกาชีวิต
สุทธิวัสส์ คำภา นาฬิกาชีวิต
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
 
เจน
เจนเจน
เจน
 
การจัดการโรคDm&htใน อปท.
การจัดการโรคDm&htใน อปท.การจัดการโรคDm&htใน อปท.
การจัดการโรคDm&htใน อปท.
 
แนวข้อสอบ Pisa
แนวข้อสอบ Pisaแนวข้อสอบ Pisa
แนวข้อสอบ Pisa
 
งาน ภาษาไทย กินิว
งาน ภาษาไทย กินิวงาน ภาษาไทย กินิว
งาน ภาษาไทย กินิว
 
งาน ภาษาไทย กินิว
งาน ภาษาไทย กินิวงาน ภาษาไทย กินิว
งาน ภาษาไทย กินิว
 
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชนคู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผน
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
S mbuyer 110
S mbuyer 110S mbuyer 110
S mbuyer 110
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์คัมภีร์ฉันทศาสตร์แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
News v.13 n.1 1
News v.13 n.1 1News v.13 n.1 1
News v.13 n.1 1
 

More from สปสช นครสวรรค์

คำสั่งแต่งตั้ง นพ.วงษ์สวัสดิ์ ตันวิสุทธิ์ ในตำแหน่ง ผอ.สปสช. เขต 3 นว
คำสั่งแต่งตั้ง นพ.วงษ์สวัสดิ์ ตันวิสุทธิ์ ในตำแหน่ง ผอ.สปสช. เขต 3 นวคำสั่งแต่งตั้ง นพ.วงษ์สวัสดิ์ ตันวิสุทธิ์ ในตำแหน่ง ผอ.สปสช. เขต 3 นว
คำสั่งแต่งตั้ง นพ.วงษ์สวัสดิ์ ตันวิสุทธิ์ ในตำแหน่ง ผอ.สปสช. เขต 3 นวสปสช นครสวรรค์
 
ยูเอ็นเรียกร้องทุกประเทศจัดหลักประกันสุขภาพให้ประชาชน ยกไทยต้นแบบความสำเร็จ
ยูเอ็นเรียกร้องทุกประเทศจัดหลักประกันสุขภาพให้ประชาชน ยกไทยต้นแบบความสำเร็จยูเอ็นเรียกร้องทุกประเทศจัดหลักประกันสุขภาพให้ประชาชน ยกไทยต้นแบบความสำเร็จ
ยูเอ็นเรียกร้องทุกประเทศจัดหลักประกันสุขภาพให้ประชาชน ยกไทยต้นแบบความสำเร็จสปสช นครสวรรค์
 
121113สปสช.ขู่สอบรพ.เบิกเงินเกินจริง เดลินิวส์
121113สปสช.ขู่สอบรพ.เบิกเงินเกินจริง เดลินิวส์121113สปสช.ขู่สอบรพ.เบิกเงินเกินจริง เดลินิวส์
121113สปสช.ขู่สอบรพ.เบิกเงินเกินจริง เดลินิวส์สปสช นครสวรรค์
 
18 oct 55 แนวทางการบริหารงบ tb ปี 56
18 oct 55 แนวทางการบริหารงบ tb ปี 5618 oct 55 แนวทางการบริหารงบ tb ปี 56
18 oct 55 แนวทางการบริหารงบ tb ปี 56สปสช นครสวรรค์
 
023125 กค(การระบุเหตุผลการใช้ยานอกบัญชียาหลัก)
023125 กค(การระบุเหตุผลการใช้ยานอกบัญชียาหลัก)023125 กค(การระบุเหตุผลการใช้ยานอกบัญชียาหลัก)
023125 กค(การระบุเหตุผลการใช้ยานอกบัญชียาหลัก)สปสช นครสวรรค์
 
ประกาศกระทรวงพม เรื่องประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ6ประเภท
ประกาศกระทรวงพม เรื่องประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ6ประเภทประกาศกระทรวงพม เรื่องประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ6ประเภท
ประกาศกระทรวงพม เรื่องประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ6ประเภทสปสช นครสวรรค์
 
ประกาศกระทรวงพม ประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ7ประเภท
ประกาศกระทรวงพม ประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ7ประเภทประกาศกระทรวงพม ประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ7ประเภท
ประกาศกระทรวงพม ประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ7ประเภทสปสช นครสวรรค์
 

More from สปสช นครสวรรค์ (20)

3ข่าวรับฟังความคิดเห็น
3ข่าวรับฟังความคิดเห็น3ข่าวรับฟังความคิดเห็น
3ข่าวรับฟังความคิดเห็น
 
~$Poster รับฟังความคิดเห็น
~$Poster รับฟังความคิดเห็น~$Poster รับฟังความคิดเห็น
~$Poster รับฟังความคิดเห็น
 
Ad
AdAd
Ad
 
Ad
AdAd
Ad
 
คำสั่งแต่งตั้ง นพ.วงษ์สวัสดิ์ ตันวิสุทธิ์ ในตำแหน่ง ผอ.สปสช. เขต 3 นว
คำสั่งแต่งตั้ง นพ.วงษ์สวัสดิ์ ตันวิสุทธิ์ ในตำแหน่ง ผอ.สปสช. เขต 3 นวคำสั่งแต่งตั้ง นพ.วงษ์สวัสดิ์ ตันวิสุทธิ์ ในตำแหน่ง ผอ.สปสช. เขต 3 นว
คำสั่งแต่งตั้ง นพ.วงษ์สวัสดิ์ ตันวิสุทธิ์ ในตำแหน่ง ผอ.สปสช. เขต 3 นว
 
ยูเอ็นเรียกร้องทุกประเทศจัดหลักประกันสุขภาพให้ประชาชน ยกไทยต้นแบบความสำเร็จ
ยูเอ็นเรียกร้องทุกประเทศจัดหลักประกันสุขภาพให้ประชาชน ยกไทยต้นแบบความสำเร็จยูเอ็นเรียกร้องทุกประเทศจัดหลักประกันสุขภาพให้ประชาชน ยกไทยต้นแบบความสำเร็จ
ยูเอ็นเรียกร้องทุกประเทศจัดหลักประกันสุขภาพให้ประชาชน ยกไทยต้นแบบความสำเร็จ
 
121113สปสช.ขู่สอบรพ.เบิกเงินเกินจริง เดลินิวส์
121113สปสช.ขู่สอบรพ.เบิกเงินเกินจริง เดลินิวส์121113สปสช.ขู่สอบรพ.เบิกเงินเกินจริง เดลินิวส์
121113สปสช.ขู่สอบรพ.เบิกเงินเกินจริง เดลินิวส์
 
ประกาศฯ(ฉบับที๒)
ประกาศฯ(ฉบับที๒)ประกาศฯ(ฉบับที๒)
ประกาศฯ(ฉบับที๒)
 
ผลสำรวจ สำนักงานสถิติ Oct55
ผลสำรวจ สำนักงานสถิติ Oct55ผลสำรวจ สำนักงานสถิติ Oct55
ผลสำรวจ สำนักงานสถิติ Oct55
 
18 oct 55 แนวทางการบริหารงบ tb ปี 56
18 oct 55 แนวทางการบริหารงบ tb ปี 5618 oct 55 แนวทางการบริหารงบ tb ปี 56
18 oct 55 แนวทางการบริหารงบ tb ปี 56
 
023125 กค(การระบุเหตุผลการใช้ยานอกบัญชียาหลัก)
023125 กค(การระบุเหตุผลการใช้ยานอกบัญชียาหลัก)023125 กค(การระบุเหตุผลการใช้ยานอกบัญชียาหลัก)
023125 กค(การระบุเหตุผลการใช้ยานอกบัญชียาหลัก)
 
18 oct12 การจัดทำแผนเอดส์56เขต
18 oct12 การจัดทำแผนเอดส์56เขต18 oct12 การจัดทำแผนเอดส์56เขต
18 oct12 การจัดทำแผนเอดส์56เขต
 
ประกาศจากสำนักกฎหมาย
ประกาศจากสำนักกฎหมาย ประกาศจากสำนักกฎหมาย
ประกาศจากสำนักกฎหมาย
 
ประกาศแก้ไขบุคคลภายนอก
ประกาศแก้ไขบุคคลภายนอกประกาศแก้ไขบุคคลภายนอก
ประกาศแก้ไขบุคคลภายนอก
 
ประกาศฯบริหารจัดการปี ๕๕
ประกาศฯบริหารจัดการปี ๕๕ประกาศฯบริหารจัดการปี ๕๕
ประกาศฯบริหารจัดการปี ๕๕
 
Aidsปี56สรุปภาพรวม
Aidsปี56สรุปภาพรวมAidsปี56สรุปภาพรวม
Aidsปี56สรุปภาพรวม
 
Aidsปี56สรุปภาพรวม
Aidsปี56สรุปภาพรวมAidsปี56สรุปภาพรวม
Aidsปี56สรุปภาพรวม
 
Gnewvb01 090401013958-phpapp01
Gnewvb01 090401013958-phpapp01Gnewvb01 090401013958-phpapp01
Gnewvb01 090401013958-phpapp01
 
ประกาศกระทรวงพม เรื่องประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ6ประเภท
ประกาศกระทรวงพม เรื่องประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ6ประเภทประกาศกระทรวงพม เรื่องประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ6ประเภท
ประกาศกระทรวงพม เรื่องประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ6ประเภท
 
ประกาศกระทรวงพม ประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ7ประเภท
ประกาศกระทรวงพม ประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ7ประเภทประกาศกระทรวงพม ประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ7ประเภท
ประกาศกระทรวงพม ประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ7ประเภท
 

Diabetes

  • 1.
  • 2. เบาหวาน พนัส ปรีวาสนา จตุพร วิศิษฏโชติอังกูร GotoKnow.org/profile/mhsresearchi
  • 3. ครีเอทีฟคอมมอนสแบบแสดงที่มา-ไมใชเพื่อการคา-อนุญาตแบบเดียวกัน (by-nc-sa) เมื่อนำเนื้อหาในหนังสือเลมนี้ไปใช ควรอางอิงถึงแหลงที่มา โดยไมนำไปใชเพื่อการคา และยินยอมใหผูอื่นนำ เนื้อหาไปใชตอไดดวยสัญญาอนุญาตแบบเดียวกันนี้ ขอมูลเพิ่มเติม : http://cc.in.th/wiki/meet-the-licenses1 1 http://cc.in.th/wiki/meet-the-licenses
  • 4. สารบัญ คำนำสำนักพิมพ 3 เบาหวาน : มหันตภัยเงียบ(Silence Killer) 5 เบาหวาน : ชื่อหวานๆ แตรสชาติไมหวานสมชื่อ 7 ชนิดของ “เบาหวาน” 11 สาเหตุของ “เบาหวาน” วาดวยกรรมพันธุและพฤติกรรมการกินอาหาร 13 เบาหวาน... “เคาลาง” อยาวางใจ อะไรคือเคาลาง “บอกเหตุ” 15 ใครคือกลุมเสี่ยงเบาหวาน 17 ครอบครัวเบาหวาน... 19 อาหารของคนเปนเบาหวาน 23 ผักและสมุนไพรตานภัยเบาหวาน 27 ผัก สมุนไพรที่ควรใสใจรับประทาน 29 เทากับเบาหวาน 33 รองเทาที่เหมาะสมกับผูปวยเบาหวานเปนอยางไร? 37 เรื่องเลาจากคนทำงานเบาหวาน 41 เรื่องเลาจากเหลาเภสัชกร 49 i
  • 5. เบาหวานกับนวัตกรรม 51 การสรางเครือขายเบาหวาน : พลังการเรียนรู 57 บทสงทาย : เบาหวาน มหันตภัยเงียบที่นาจับตามอง 61 เกี่ยวกับผูเขียน 63 ii
  • 6. การใชประโยชนจากเนื้อหาภายในหนังสือ ตองอางอิงแหลงที่มา และหามนำเนื้อหาไปใชเพื่อวัตถุประสงค ทางการคา รวมทั้งใหใชสัญญาอนุญาตเดียวกันนี้ในการนำไปใชครั้งตอไป ขอมูลเพิ่มเติม: www.cc.in.th1 1 http://www.cc.in.th 1
  • 7. 2
  • 8. คำนำสำนักพิมพ หนังสือภายในโครงการเผยแพรความรูจากผูปฏิบัติ (Blog to Book) เปนการรวบรวมบันทึกจากบล็อก (Blog) ภายในเว็บไซต GotoKnow.org นำมาจัดพิมพเปนหนังสือ เพื่อเผยแพรแกผูที่เกี่ยวของและบุคคลที่ สนใจ พื้นฐานแนวคิดของโครงการนี้เปนความตั้งใจของผูเขียนที่จะรวบรวมความรูจากภายในตัวบุคคล ซึ่งถือเปนฟน เฟองเล็กๆ ที่กระจัดกระจายอยูในสังคม ถายทอดเรื่องราวผานพื้นที่เสมือนออนไลนใหไดรับการเผยแพรในรูปแบบ หนังสือ เพื่อกาว ขามขอจำกัดในเรื่องของโอกาสในการเขาถึงสัญญาณอินเทอรเน็ต หรือขอจำกัดทางดานเทคโนโลยี ตางๆ นอกจากนี้การรวบรวมบันทึกดังกลาว ยังเสมือนเปนการใหรางวัลแกผูเขียนที่ไดพากเพียรในการเขียนบอกเลา เรื่องราวที่ เปนประโยชนใหแกผูอื่น การถายทอดประสบการณ ความรูสึกนึกคิด ที่ปราศจากอคตินั้น อาจเปน ประโยชนแกผูอื่นไดไม มากก็นอย โครงการเผยแพรความรูจากผูปฏิบัติ (Blog to Book) เริ่มตนขึ้นในเดือนเมษายน พ.ศ. 2552 และจะ คัดสรร บันทึกอันทรงคุณคา ทยอยตีพิมพเปนหนังสือเผยแพรใหแกผูที่เกี่ยวของและผูที่สนใจโดยไมคิดคาใชจายใดๆ ตั้งแต ขั้นตอนการคัดสรร ออกแบบ ตีพิมพ และเผยแพร เพื่อเพิ่มโอกาสใหสังคมไทยไดบริโภคความรูอันมีตนทุนนอยที่สุด เทาที่ จะเปนไปได โดยมีความมุงหวังสุดทายคือ “สังคมแหงปญญา” อันจะเกิดขึ้นในสังคมไทย 3
  • 9. 4
  • 10. เบาหวาน : มหันตภัยเงียบ(Silence Killer) พนัส ปรีวาสนา และจตุพร วิศิษฏโชติอังกูร ปจจุบันสหพันธเบาหวานนานาชาติประมาณการวา ประชากรทั่วโลกเปนโรคเบาหวานมากกวา 285 ลานคน หรือเกือบรอยละ 7 ของประชากรผูใหญทั่วโลก1 โดยเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วโดยเฉพาะในประเทศกำลังพัฒนา จัดเปน “มหันตภัยเงียบ” (Silence Killer) เปนปญหาสาธารณสุขของโลกที่นากลัว คาดวาใน พ.ศ.2572 หรืออีก 20 ป ผูปวยเบาหวานรายใหมรอยละ 70 จะอยูในประเทศกำลังพัฒนา สวน ประเทศไทยในป 2551 มีผูปวยเบาหวานรายใหม 388,551 ราย เสียชีวิต 7,725 ราย คาดวาทั่วประเทศ จะมีคน กำลังเปนเบาหวานกวา 3 ลานคน มีแนวโนมเพิ่มขึ้นตอเนื่อง ผูปวยเกือบรอยละ 50 ยังไมรูตัววาเปนโรค และไม ไดรับการวินิจฉัยและการรักษาที่เหมาะสม จึงมีความเสี่ยงเกิดปญหาแทรกซอน ทั้งโรคไตวาย ตาบอด โดยเฉพาะ ตาบอด พบวาทั่วโลกมีประชากรที่เปนเบาหวานและเบาหวานขึ้นตา จนตาบอดสนิทเนื่องจากเสนเลือดไปเลี้ยงตา เสื่อมไมต่ำกวา 2.5 ลานคน สวนคนไทยที่เปนเบาหวาน พบเปนเบาหวานขึ้นตาขั้นรุนแรงไมต่ำกวา 30,000 คน หาก ไมไดรับการรักษาดูแลตั้งแตยังไมมีอาการ จะเกิดตาบอดตามมา ยอนไปในป พ.ศ. 2552ไดมีการรณรงคโรควันเบาหวานพรอมกันทั่วประเทศ โดยมีคำขวัญในการรณรงค คือ “เบาหวานควบคุมได...เพียงรูและเขาใจ” (Understand Diabetes and Take Control) มีกิจกรรมใหบริการผู ปวยโรคเบาหวาน โดยตรวจคัดกรองหาโรคแทรกซอน รวมทั้งใหความรู ความเขาใจในการควบคุมปองกันโรคเบา หวานแกประชาชนดวย และจัดโครงการสงเสริมสุขภาพปองกันตาบอดจากเบาหวานขึ้นตา เพื่อเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 84 พรรษา 5 ธันวาคม 2554 คำขวัญในการรณรงคที่บอกวาเบาหวานควบคุมได...เพียงรูและเขาใจ ทำใหเรามองเห็นถึงความสำคัญในการ สรางองคความรูเพื่อใหเทาทันโรค รวมไปถึงการออกแบบในการสงเสริมสุขภาพทั้งกลุมผูปวย คนปกติ และกลุมเสี่ยง “บทเรียน” ในการดูแลผูปวยจากสหวิชาชีพตางๆที่เกี่ยวของ มีความสำคัญมาก เพราะวา เบาหวานนอกจากเปนโรค ที่มีพยาธิสภาพที่เกิดจากตัวผูปวยเองแลว ปจจัยเอื้อที่สนับสนุนใหเปนโรคเบาหวานมาจากสิ่งแวดลอม ทั้งพฤติกรรม การกิน การอยู ซึ่งในปจจุบันเราก็พบวาพฤติกรรมสุขภาพของคนไทยก็จัดไดวาเสี่ยงตอการเปนโรคเบาหวาน และ 1 http://www.idf.org/about-diabetes 5
  • 11. เปนมหันตภัยเงียบที่คราชีวิตผูคนไปเรื่อยๆ ใน Gotoknow.org ที่เปนพื้นที่สำหรับการแลกเปลี่ยนเรียนรูที่เปดกวางใหคนทำงานไดเขามาเขียนแลกเปลี่ยน ความรู แลกเปลี่ยนความคิด ความรูชุดหนึ่งถูกตอเติมจากประสบการณที่หลากหลายผานผูที่แลกเปลี่ยน Goto- know.org จึงถือวาเปนขุมพลังทางดานความรูเชิงปฏิบัติที่มีคุณคา และหากเราสามารถสกัดประเด็นตางๆ เหลานั้น ออกมารอยเรียงเปนชุดความรู จะเปนชุดความรูที่มีคุณคาและมีประโยชนตอวงการสุขภาพของไทยเปนอยางมาก Gotoknow.org มี Blogger จำนวนหนึ่งที่ทำงานเกี่ยวของกับเบาหวาน และไดถายทอดบทเรียนที่เกิดขึ้นใน การทำงาน รวมไปถึงเห็นการเชื่อมเครือขายในการแลกเปลี่ยนเรียนรูในหลายๆ อาชีพ หรือที่เรียกวา สหวิชาชีพ เกาะเกี่ยวกันอยางหลวมในการแลกเปลี่ยนแบบออนไลน และในการทำงานจริงเครือขายเหลานี้ไดทำงานสอดคลอง ประสานกันอยูแลว ในบันทึกทั้งหมดที่เกี่ยวของกับ เบาหวาน สามารถเขาถึงไดโดยผานคำสำคัญสำหรับสืบคน (Tag) ที่มีคำวา “เบา หวาน, เครือขายเบาหวาน,DM” และคำคนอื่นๆ ที่เกี่ยวของ จะพบบันทึกมากมาย และหนึ่งในจำนวนนั้นสวนใหญ เปนบันทึกของ ดร.วัลลา ตันตโยทัย2 ที่เขียน Blog ในชื่อของ DM KM Facilitator3 บันทึกของอาจารยวัลลานี่เอง ที่เกี่ยวเอาบันทึกที่เขียนเรื่องราวราวเกี่ยวกับเบาหวานเขามาดวยกัน รวมถึงเปนเสมือน CoPs (ชุมชนนักปฏิบัติ) เขา มาไวรวมกัน รายละเอียดของการทำงานเบาหวานสามารถหาอานไดจากบันทึกตามที่กลาวมา ในการสกัดบทเรียนจากขอมูลมากมาย เปนเรื่องที่ผูเรียบเรียงคอนขางใชพลังสูง โดยเฉพาะประเด็น “เบา หวาน” ที่มีจำนวนบันทึกมากมายใน Gotoknow.org ผูเขียนจึงไดกำหนดประเด็นที่มีความสำคัญและนาสนใจ เพื่อที่จะสามารถเรียบเรียงขอมูลเหลานั้นใหเปนระบบ ใหมองเห็นภาพพัฒนาการการพัฒนาและสงเสริมสุขภาพ ที่เกี่ยวของกับโรคเบาหวาน แตก็เปนเพียงสวนหนึ่งของชุดความรูที่มหาศาล ที่หยิบขึ้นมาเปนประเด็นในการเผย แพรสาธารณะในรูปแบบของการรวบรวมและสกัดบทเรียน สวนหนึ่งอาจจะตองเขาไปเรียนรูและแลกเปลี่ยนในฐาน ขอมูลออนไลนดังกลาว การนำเสนอชุดขอมูล “เบาหวาน” ในหนังสือเลมนี้เริ่มตนจาก ความรูเกี่ยวกับโรคเบาหวานในดานสมมุติฐาน ของโรค การรักษา รวมไปถึงพฤติกรรมสุขภาพที่เสี่ยงตอการปวยเปนโรคเบาหวานในอนาคต และเรื่องเลาของคน ทำงาน นวัตกรรมที่เกิดขึ้น การสรางเครือขาย ชุดความรูทั้งหมดที่ถือวาเปนพลังการเรียนรูที่ใชปญญาปฏิบัติใน การขับเคลื่อนที่มีแงมุมนาสนใจ และใชเปนตนทุนทางความรูการทำงานสงเสริมสุขภาพ เพื่อตอสูกับมหันตภัยเงียบ (Silence Killer) อยางรูเทาทัน 2 http://gotoknow.org/profile/copdmfaci 3 http://gotoknow.org/blog/dmcop 6
  • 12. เบาหวาน : ชื่อหวานๆ แตรสชาติไมหวานสมชื่อ พนัส ปรีวาสนา และจตุพร วิศิษฏโชติอังกูร “เบาหวาน เปนโรคเรื้อรังชนิดหนึ่งที่เปนแลวรักษาไมหาย แตปองกันได” ถอยคำขางตน ดูเหมือนจะเปนวาทกรรมที่คนไทยคุนชินกับปรากฏการณของโรคเบาหวานมากที่สุดอีกวาท- กรรมหนึ่ง เนื่องเพราะเปนคำจำกัดความที่บงบอกคุณลักษณะของ “โรคเบาหวาน” (Diabetes mellitus) ได เปนอยางดี เพราะเมื่อเปนโรคชนิดนี้แลว จะเกิดอาการเรื้อรังและไมสามารถรักษาใหหายขาดได กอปรกับเมื่อเปน แลว ก็มักพวงพาใหเกิดปญหาสุขภาพตางๆ รวมถึงการนำไปสูภาวะโรคแทรกซอนอยางมากมาย จนผูปวย หรือ แมแตญาติผูปวยตองพลิกตำรามารับมือเพื่อนำไปสูกระบวนการของการดูแล ควบคุมหรือปองกัน และเฝาระวัง (Surveillance) กันยกใหญ กระนั้นก็เปนที่นาสังเกตวาในสังคมไทยรูจักและใหความสนใจเกี่ยวกับโรคเบาหวานมาเมื่อไมนาน ดังจะเห็นได จากกระบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมที่เดนชัดนั้นเริ่มปรากฏจากเวทีของการจัดงาน “มหกรรมเบาหวาน” เนื่องใน “วันเบาหวานโลก” (14 พฤศจิกายน) ขึ้นในวันที่ 26 พฤศจิกายน 2551 ณ หางสรรพสินคาสยามพารากอน การจัดงานมหกรรมเบาหวานในครั้งนั้น เกิดขึ้นจากการผนึกกำลังขององคกรหลายภาคฝาย อาทิ กรุงเทพมหา- นคร สมาคมโรคเบาหวานแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช กุมารี กระทรวงสาธารณสุข ตลอดจนองคกรชั้นนำจากภาครัฐและเอกชนจำนวนมาก โดยมีเปาประสงคหลักคือ การประชาสัมพันธใหความรูและสรางความตระหนักใหคนไทยไดเขาใจถึงผลกระทบที่ไดรับจากการปวยเปนโรคเบา หวาน มหกรรมเบาหวานในครั้งนั้น จึงเปนเสมือนการจุดประกายใหคนไทยตื่นตัวหันกลับมาตระหนักเรื่องเบาหวาน กันจริงจังและเปนมีกระบวนการเรียนรูในเชิงสงเสริมสุขภาพและวิธีการ ดูแลรักษาผูปวยเบาหวานในปจจุบัน เมื่อมองยอนกลับไปยังอดีต จะพบวาคนไทยรับรูเรื่องโรคเบาหวานในหลากมุมมอง ดังจะเห็นไดจากการเรียกชื่อ โรคที่ตางกันออกไปตามบริบทของทองถิ่นและเรียกตามลักษณะเฉพาะของโรค อาทิ โรคปสสาวะหวาน หรือ โรค หนักหวาน (น้ำตาลในเลือดสูง) โรคของคนมีอันจะกิน (คนรวย) เพราะมักบริโภคแตอาหารประเภทแปงและน้ำตาล จนอวนเอาๆ จนเปนที่มาของการเรียกตอๆ กันมาอีกวา “โรคของคนอวน” แตไมแนเสมอไปลักษณะทางกายภาพ ของรางกายบอกไมไดวาใครจะปวยเปนโรคเบาหวาน 7
  • 13. นอกจากนี้ยังมีชื่ออื่นๆ ที่ถูกนำมาเรียกแทนการเรียกโรคเบาหวานตรงๆ เชน โรคผูสูงอายุ เพราะมักพบในคนวัย ที่มีอายุมากกวา 40 ปขึ้นไป โรคญาติเยอะ เพราะเมื่อเปนแลวผูปวยก็มักมีโรคแทรกซอนตามมามากมายหลายโรค ยังมีผลกระทบตออวัยวะภายในของรางกายหลายสวน ไมวาจะเปน ไต ตา หัวใจ หรือแมแตหลอดเลือดแดง ก็ไม เวน หรือแมแตเมื่อปวยเปนเบาหวานแลว ก็เกิดภาวะแผลเนาเปอย รวมถึงภาวะแขนขาออนแรง จนกระทั่งมีอาการ แทรกซอนจากโรคอื่นๆ จนถึงเปนอัมพฤกษอัมพาตไดดวยเชนกัน ในทางการแพทยเปนที่รับรูและเขาใจกันในวงกวางวาโรคเบาหวานเปนโรคที่เกิดจากภาวะที่ “รางกายมีระดับ น้ำตาลในเลือดสูงกวาปกติ” หรืออาการ “หนักหวาน” นั่นเอง ภาวะดังกลาวเกิดการที่ตับออนไมสามารถสรางและ หลั่งฮอรโมนอินซูลิน (Insulin) ไดอยางเพียงพอ ซึ่งอินซูลินที่วานั้นมีหนาที่หลักในการลำเลียงน้ำตาลไปสูเนื้อเยื่อ ตางๆ เพื่อเผาผลาญเปนพลังงานใหกับรางกาย เมื่ออินซูลินทำงานบกพรอง น้ำตาลก็ถูกนำไปใชประโยชนไดไมเต็มที่ กอเกิดเปนภาวะน้ำตาลในเลือดสูง อันเปนที่มาของ “โรคเบาหวาน” นั่นเอง ในเวปบล็อก gotoknow.org ชุมชนแหงการแลกเปลี่ยนเรียนรูของ “คนทำงาน” ไดเขียนบันทึก หรือบทความ สะทอนเกี่ยวกับวาทกรรมการเรียกชื่อโรคเบาหวานไวหลายคน โดยภาพรวมเปนการสื่อถึงลักษณะอันเปนสถานะเชิง ความหมายของโรคเบาหวานไวอยางเดนชัดในหมวดหมูของ “การแพทย สุขภาพ สุขภาวะ” หรือ ผานคำสำคัญ (Tag) เชน โรคเบาหวาน อาหาร สมุนไพร น้ำตาลในเลือด ดังเชนที่ คุณอรุณ วงษชู1 ไดเขียนบันทึกที่สะทอนคำจัด กัดความของโรคเบาหวานที่เชื่อมโยงกับภาวะการเจ็บปวยที่เรื้อรังและมีโรคแทรกซอนวา “โรคเบาหวานเปนโรคเรื้อรัง และกอใหเกิดปญหาตอสุขภาพ กอใหเกิดปญหากับฟนและเหงือก ตา ไต หัวใจ หลอดเลือดแดง...เมื่อเปนโรคนี้ระยะหนึ่งจะเกิดโรคแทรกซอนที่เกิดกับหลอดเลือดเล็กเรียก Microvacular หากมี โรคแทรกซอนนี้จะทำใหเกิดโรคไต เบาหวานเขาตา หากเกิดหลอดเลือดเลือดแดงใหญแข็ง เรียก macrovascular โดยจะทำใหเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ อัมพาต หลอดเลือดแดงที่ขาตีบนอกจากนั้นยังอาจจะเกิดปลายประสาท อักเสบ neuropathic ทำใหเกิดอาการชาขา กลามเนื้อออนแรง ประสาทอัตโนมัติเสื่อม2 ” เชนเดียวกับที่ คุณทรงลักษณ มูลมณี ที่ใชนามแฝงวา Health Star ไดแสดงแนวคิดเกี่ยวกับโรคเบาหวานวา เปนภาวะของการทำงานที่บกพรองของฮอรโมนอินซูลินวา “เบาหวาน เปนความผิดปกติของรางกายที่มีการผลิตฮอรโมนอินซูลินไมเพียงพอ อันสงผลทำใหระดับน้ำตาลใน กระแสเลือดสูงเกิน โรคนี้มีความรุนแรงสืบเนื่องมาจากการที่รางกายไมสามารถใชน้ำตาลไดอยางเหมาะสม โดยปกติ น้ำตาลจะเขาสูเซลลรางกายเพื่อใชเปนพลังงานภายใตการควบคุมของ ฮอรโมนอินซูลิน ในผูปวยที่เปนโรคเบาหวาน จะไมสามารถทำงานไดอยางมีประสิทธิภาพ ผลที่เกิดขึ้นทำใหระดับน้ำตาลในเลือดสูงขึ้น ในระยะยาวจะมีผลในการ ทำลายหลอดเลือด ถาหากไมไดรับการรักษาอยางเหมาะสม อาจนำไปสูสภาวะแทรกซอนที่รุนแรงได”3 1 http://gotoknow.org/blog/sukhapab/132527 2 http://gotoknow.org/blog/sukhapab/132527 3 http://gotoknow.org/blog/healthstar/362085 8
  • 14. จากประเด็นที่หยิบยกเปนตัวอยางขางตนสื่อใหเห็นถึงคำจำกัดความที่เปนลักษณะ หรือสถานะอันเปนปรากฏ- การณของโรคเบาหวานอยู 2 ประเด็นใหญๆ นั่นคือ 1. การเปนโรคเรื้อรัง 2. และการทำงานที่พบพรองของฮอรโมนอินซูลินจนกอใหเกิดภาวะน้ำตาลในเลือดสูง ซึ่งก็ปฏิเสธไมไดอีก เหมือนกันวาโรคเบาหวานนั้น มีคุณลักษณะอันสำคัญอีกประการหนึ่งนั่นก็คือ “โรคเงียบ” คำวา “โรคเงียบ” ในที่นี้หมายถึงโรคที่มองไมเห็นดวยตาเปลา บางทีก็เสมือนฟาประทานมากับ “พันธุกรรม” และที่สำคัญคือเกิดขึ้นอยาง “เงียบๆ” อาการหรือผลกระทบขางเคียงจะไมไดแสดงออกอยางฉับพลัน พลอยให หลายตอหลายคนกลายเปนผูปวยเบาหวานแบบไมรูเนื้อรูตัว จนไมสามารถจัดวางระบบการปองกัน หรือควบคุม ภาวะ “เบาหวาน” (น้ำตาล) ในตัวเองผานเรื่องอาหารการกินและการออกกำลังกายไดอยางเหมาะสม กระทั่งใน ที่สุดแลวก็เสียชีวิตจากภาวะโรคแทรกซอน เปนการเสียชีวิตโดยไมรูมากอนเลยวาโรคแทรกซอนที่วานั้น คือผลพวง จากการปวยเปนโรคเบาหวานนั่นเอง แตอยางไรก็ดี ไมวาจะมองในมุมใดก็ตาม สิ่งหนึ่งที่เชื่อมโยงเกี่ยวกับโรคเบาหวานอยูตลอดเวลาก็คงหนีไมพนคำ วา “น้ำตาล” อยูดี ซึ่งคุณลักษณะที่สำคัญของน้ำตาลก็คือการมีรสชาติที่ออก “หวานๆ” เมื่อบริโภคอาหารรสชาติ หวานๆ มากเทาไหร ก็เทากับวาไดนำพาน้ำตาลเขาสูรางกายมากเทานั้น หากระบบการทำงานของอินซูลินบกพรอง จึงเสี่ยงตอการปวยเปนโรคเบาหวานไดงายๆ ดวยเหตุนี้จึงอาจเรียกไดวา คำวา “หวาน” หรือ “หนักหวาน” ในมิติของ “โรคเบาหวาน” ที่แสดงใหเห็นชัด ถึง ภาวะการเจ็บปวยเรื้อรังและถูกแทรกซอนดวยโรคตางๆนั้น ยอมไมใชชื่อเสียงเรียงนามอัน “หอมหวาน” สำหรับ ชีวิตของคนเราอยางแนนอน 9
  • 15. 10
  • 16. ชนิดของ “เบาหวาน” พนัส ปรีวาสนา และจตุพร วิศิษฏโชติอังกูร ปจจุบันโรคเบาหวานกลายเปนกระแสหลักอีกกระแสหนึ่งใน “ระบบสุขภาพ” มีวิถีการขับเคลื่อนกันอยางเปน ระบบทั้งในระดับปจเจกและสังคม มีกระบวนการระดมความคิด มุงใหเกิดความรูและความตระหนักทั้งเชิงนโยบาย จากภาครัฐ ภาคเอกชน รวมถึงการปกธงสูการสรางเครือขายในระดับประชาชนและทองถิ่น ปรากฏการณรวมตัว หรือเคลื่อนตัวอยางมีพลังเหลานั้น ไดสะทอนใหเห็นวาผูคนในสังคมตางมีมุมมองรวมในทำนองเดียวกันวา “โรคเบา หวาน” เปนเสมือน “ภัยเงียบ” มหันตภัยที่กำลังรุกคืบเขาสูชีวิตของผูคน และสังคมอยางนากลัว การปวยเปนโรคเบาหวานแลวพวงพาไปสูปญหาสุขภาพตางๆ นั้น เปรียบไดกับ “บานประตูแหงสุขภาพ” ของ ผูคนและสังคมไดเริ่มทรุดโทรมลง หรือในอีกความหมายหนึ่งก็คือประตูแหงสุขภาพไดถูกเปดทิ้งไวตลอด 24 ชั่วโมง ซึ่งเอื้อตอการใหโรคภัยตางๆ ไดทยอยเคลื่อนตัวเขาคุกคามชีวิตของผูคนไดงายมากขึ้น และเมื่อพิจารณาขอมูลอัน เปนสถิติของผูปวยเปนโรคเบาหวานอยางละเอียด ก็ดูเหมือนจะมีแนวโนมสูงขึ้นจนนาใจหาย เภสัชกรหญิงปราณี ลัคนาจันทโชติ ไดสะทอนขอมูลในเวปบล็อก gotoknow.org ไวอยางนาสนใจวา “10 ปที่แลวองคการอนามัยโลก สำรวจพบวามีผูปวยเบาหวาน 171 ลานคน และทำนายตอไปวาอีก 30 ป จะมีจำนวนผูปวยเบาหวานเปน 366 ลาน แตเมื่อเวลาผานไป ไมถึง 30 ป กลับพบวามี ผูปวยเบาหวาน 171 ลาน คิดเปน 2.8% ของประชากรทั่วโลก โดยลาสุดเดือนมกราคม (2553) สหพันธสมาคมโรคเบาหวานระหวางประเทศ (International Diabetes Federation) คนพบวาความชุกของผูปวยเบาหวานมีจำนวน 285 ลาน และคาดการณ ไปอีก 20 ป จะเปน 439 ลานคน” 1 จากขอมูลขางตน ดูเหมือนจะตอกย้ำ หรือยืนยันใหเห็นวาสภาพการณปจจุบันนั้น ไมวาจะในระดับปจเจกบุคคล และระดับสังคมนั้น ระบบภูมิตานทานที่มีตอโรคเบาหวานกำลังถูกกัดกรอนลงทุกขณะ ในทางการแพทยไดจำแนกชนิดของโรคเบาหวานออกเปน 2 ชนิดใหญๆ คือ เบาหวานชนิดที่ตองพึ่งอินซูลิน และ เบาหวานชนิดไมพึ่งอินซูลิน 1 ttp://gotoknow.org/blog/sk-ccc/370924 11
  • 17. กรณีดังกลาว Dr. maleewan lertsakornsiri ไดสรุปประเด็นอันเปนคำจำกัดความและสาเหตุของเบาหวาน ทั้งสองประเภทวา2 1. โรคเบาหวานที่ตองพึ่งอินซูลิน (insulin – dependent diabetes mellitus : IDDM หรือเรียกวา Type l) เปนเบาหวานที่เกิดจากการขาดอินซูลิน จึงมีความตองการอินซูลินในการรักษาเพื่อปองกันภาวะคี โตสิส(ketosis) สวนใหญเกิดในคนอายุนอย เชน วัยเด็กวัยรุนหรือวัยหนุมสาว 2. โรคเบาหวานที่ไมตองพึ่งอินซูลิน (Non insulin dependent diabetes mellitus : DM หรือเรียก วา Type ll) เปนเบาหวานที่มีระดับอินซูลินปกติ และเกิดโรคเบาหวานจากการดื้ออินซูลิน มักเปนผลมาจาก กรรมพันธุ พบมากกับคนที่มีอายุเกิน 40 ป ผูปวยไมจำเปนตองพึ่งอินซูลินในการรักษา แตอาจจะตองการ อินซูลินเพื่อลดระดับน้ำตาล หรือรักษาอาการของเบาหวาน เพราะกินยาและควบคุมอาหารไมไดผล ทั้งนี้เมื่อพิจารณาขอมูลอันเปนชนิดของเบาหวานจากขางตน ทำใหเกิดความเขาใจวาโดยแทที่จริงแลว โรคเบา หวานหาใชโรคเฉพาะของคนแกหรือผูสูงอายุเสียเมื่อไหร แตคนทุกเพศทุกวัยก็สามารถปวยเปนโรคเบาหวานได และโรคเบาหวานชนิดแรกนั้นเปนเบาหวานที่ไมพบบอยนัก เมื่อตับออนไมสามารถสรางอินซูลินไดเพียงพอ จึงจำ ตองฉีดอินซูลินเขาสูผิวหนัง เพื่อไปทำหนาที่ในการ ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดระยะยาว สวนโรคเบาหวานชนิดที่ สอง เปนประเภทที่พบมากกวาชนิดแรก ตับออนสามารถสรางอินซูลินไดอยางเพียงพอ หากแตประสบปญหาเรื่อง รางกายตอบสนองตออินซูลินไดนอยกวาปกติ จึงจำตองกินยาเม็ดเพื่อลดระดับน้ำตาลในเลือด ซึ่งเรียกกันโดยทั่วไป วา “ภาวะดื้อตอยาอินซูลิน” 3 2 http://gotoknow.org/blog/maleewan/134176 3 http://gotoknow.org/blog/ipdsurgbi/134926 12
  • 18. สาเหตุของ “เบาหวาน” วาดวยกรรมพันธุและ พฤติกรรมการกินอาหาร พนัส ปรีวาสนา และจตุพร วิศิษฏโชติอังกูร ขึ้นชื่อวา “โรคเบาหวาน” เชื่อวาใครๆ ก็คงไมรูสึกหอมหวานกับชื่อนี้เปนแน เพราะเมื่อปวยเปนโรคชนิดนี้แลว ก็จำตองเผชิญหนากับภาวะเรื้อรังและเกิดโรคแทรกซอนตางๆ อยางนาวิตก บางรายที่ปวยเปนโรคเบาหวานและมี ภูมิตานทานทางจิตใจต่ำ ก็พลอยใหรางกายเจ็บไขและทรุดหนักไปดวย เขาทำนอง “ปวยใจ กายก็พลอยปวยตาม” ดังนั้นการเรียนรูในเรื่อง “สาเหตุ” ของการเกิดโรคเบาหวานจึงมีความสำคัญอยางยิ่ง เพราะนั่นคือกระบวนการ อันสำคัญในการที่จะสรางปราการอันเปนกำแพงสุขภาพ หรือภูมิคุมกันสุขภาพเพื่อปองกันตัวเองใหหางไกลจากการ เปนโรคเบาหวาน หรือหากตกอยูในภาวะของการปวยโรคเบาหวาน ก็จะชวยใหตนเองมีความรู ความเขาใจในการที่ จะดูแลตัวเองไดเปนอยางดี จนสามารถดำรงชีวิตไดอยางมีความสุขและมีคุณภาพชีวิตที่ดี สำหรับสาเหตุของการปวยเปนโรคเบาหวานนั้นยังไมทราบแนนอน แตก็เคยมีการตั้งคำถามชวนคิดวา “เบา หวานมาจากกรรมพันธุ หรือพฤติกรรมการกิน”1 ถึงกระนั้นก็อาจกลาวๆ ไดวาองคประกอบสำคัญที่อาจเปน สาเหตุ หรือปจจัยเสี่ยงของการเกิดเบาหวานนั้นไดยึดโยงอยูกับเรื่อง “กรรมพันธุ ความอวนและการขาดการออก กำลังกาย”2 อยูวันยังค่ำ กรณีประเด็นเรื่องสาเหตุที่เกิดจากกรรมพันธุนั้น เห็นไดชัดวาผูคนจำนวนมาก เชื่อวาโรคเบาหวานเปนโรคที่ ถายทอดมาทางพันธุกรรม ดังจะเห็นไดจากมีการกลาวถึงอยางซ้ำๆ จนเกิดเปนปรากฏการณในทำนองวา “หากคน เรามีญาติสายตรง(พอ แม พี่นอง) ในครอบครัวมีประวัติคนปวยเปนโรคเบาหวาน ก็จะมีโอกาสสุมเสี่ยงตอการ ปวย เปนโรคเบาหวานดวยเหมือนกัน” แตในความเปนจริงก็พลิกไปคนละมุมไดเหมือนกัน เพราะมีผูคนจำนวนไม นอยเหมือนกันที่ปวยเปนโรคเบาหวาน แตเมื่อตรวจสอบฐานประวัติแลวกลับพบวา ไมมีบรรดา “ญาติสายตรง” 1 http://www.gotoknow.org/blog/lab-chem/53273 2 http://gotoknow.org/blog/glucose/81562 13
  • 19. ปวยเปนโรคเบาหวานเลยแมแตคนเดียว ที่ตองพึงระมัดระวังก็คือ พฤติกรรมสุขภาพที่สุมเสี่ยงตออุบัติการณของเบาหวานมาจาก พฤติกรรมของการ บริโภคอาหารจำพวกแปงและน้ำตาลมากๆ จนเกิดภาวะน้ำหนักเกินปกติ ถือเปนปจจัยเชิงสาเหตุสำคัญของการ ปวยเปนโรคเบาหวาน เพราะนั่นคือปรากฏการณของการเพิ่มปริมาณน้ำตาลเขาสูกระแสเลือดดีๆ นั่นเอง กระทั่งใน ปจจุบันนี้ไดเกิดกิจกรรมการรณรงคเกี่ยวกับการปองกัน “โรคอวน” (คนไทยไรพุง) ผานการกินและการออกกำลัง กายอยางกวางขวางในทุกมุมเมืองของสังคมไทย สิ่งเหลานี้ลวนสะทอนใหเชื่อไดวา “ความอวน” หรือ “โรคอวน” ที่เกิดจากพฤติกรรมการกินและการออกกำลังกายที่ไมเหมาะสมนั้น เปนองคประกอบอันสำคัญที่ทำใหคนเราปวย เปนเบาหวานไดโดยงาย สอดรับกับขอมูลที่ คุณศรีวรรณ มโนสัมฤทธิ์ ไดสืบคนและเขียนบันทึกไวใน เวปบล็อก วา3 “มีการศึกษาพบวา คนที่รอบเอวเกิน จะนำไปสูการเปนโรค เบาหวาน และโรคหลอดเลือดหัวใจ โดยปกติแลว รอบเอวผูหญิง ไมควรเกิน 80 เซนติเมตร หรือ 32 นิ้ว และรอบเอวผูชายก็ไมควรเกิน 90 เซนติเมตร หรือ 36 นิ้ว” หรือแมแตทัศนะชวนคิดของเภสัชกรหญิงปราณี ลัคนาจันทโชติ ที่สะทอนถึงสถิติการปวยเปนโรคอวน หรือ โรคเบาหวานนั้นเกิดจากพฤติกรรมที่คนเรานิยมรับประทานอาหารที่ไมดีตอสุขภาพ เชน แปง ขนม เนย ของหวาน4 เปนตน ดังนั้นการดูแลตัวเองภายใตแนวคิด “ระบบสุขภาพ” ตัวเองผาน “แบบแผนการกินและการออกกำลัง กาย” ที่เหมาะสม จึงถือเปนกลไกสำคัญในอันดับตนๆ ที่จะปองกันมิใหรางกายถูกคุกคามจากภาวะเบาหวาน ยิ่ง หากมองวา ยิ่งกินยิ่งอวน...ยิ่งอวบอวนยิ่งเสี่ยงตอการเปนเบาหวาน มากเทาไหรจึงยิ่งตองใหความสำคัญกับการ สงเสริมสุขภาพตัวเองมากเทานั้น โดยอาจเริ่มตนจากการเรียนรูกระบวนการของการ “วัดรอบเอว” ตัวเองเปนระ ยะๆ เพื่อเฝาระวังตนเองจากการเปนโรคอวนที่จะนำไปสูการเปนโรคเบาหวาน ดวยเหตุนี้การวัดรอบเอวจึงไมตางอะไรกับการ “ตัดไฟแตตนลม” เพราะนั่นคือกลยุทธงายๆ ในการที่จะฝก นิสัยใหเปนคนเราเห็นความสำคัญของเรื่องสุขภาพกายและสุขภาพใจ ชวยใหคนรามีทัศนคติที่ดีในการกินการอยู และตระหนักกิจกรรมการออกกำลังกายเพื่อการสรางเสริมสุขภาพอยางเปนระบบ ถายึดปฏิบัติเรื่องการกินและการ ออกกำลังกายอยางเหมาะสม หรือแมแตการวัดรอบเอวอยางสม่ำเสมอ จนทุกอยางกลายเปน “วัฒนธรรมชีวิต” ยอมเกิดเปนระบบคุมภัยชีวิตใหหางไกลจากการปวยเปนโรคเบาหวานไปโดยปริยาย เหนือสิ่งอื่นใด ถึงแมจะรับรูกันดีวาองคประกอบของการปวยเปนโรคเบาหวานนั้นจะเกี่ยวพันกับเรื่องกรรมพันธุ การกินอาหารและการออกกำลังกาย เพื่อใหรางกายแข็งแรงและไมอวนแลวก็ตาม สิ่งที่ตองเตือนตัวเองอยูตลอดก็ คือ “โรคเบาหวานนั้น ไมใชเกิดกับคนอวนเสมอไป คนผอมแหงแรงนอยก็มีสิทธิ์เปนโรคนี้ได” ดังนั้นจึงตองระวัง เรื่องการการกินใหถูกหมวดหมู ออกกำลังกายใหเหมาะสม และที่ขาดไมไดเลยก็คือการหาเวลาไปตรวจสุขภาพ เพื่อ ใหแพทยไดทำการตรวจวัดปริมาณน้ำตาลในเลือด เพราะนั่นคือวิธีที่ดีที่สุดที่จะชวยทำใหเรารูถึงสถานะของตัวเองวา สุมเสี่ยง หรือเปนโรคเบาหวานหรือไม และถารูวาตัวเองเสี่ยงตอการเปนเบาหวาน ก็ควรตองไปใหแพทยตรวจทุกๆ 3 ปเปนอยางนอย 3 http://gotoknow.org/blog/tqm/211493 4 http://gotoknow.org/blog/sk-ccc/370924 14
  • 20. เบาหวาน... “เคาลาง” อยาวางใจ อะไรคือเคาลาง “บอกเหตุ” พนัส ปรีวาสนา และจตุพร วิศิษฏโชติอังกูร ดวยเหตุที่โรคเบาหวาน เปน “โรคเงียบ” หรือ “ภัยใกลตัว” อีกชนิดหนึ่งที่เกิดขึ้นแลวไมแสดงอาการอยางฉับ พลัน เมื่อเปนแลวก็ไมสามารถรักษาใหหายขาดได สิ่งสำคัญที่สุดก็คือการ “มองชีวิตในมุมบวก” ไมยอทอ และ เสียแรงใจไปกับภาวะปวยไขจนมีอันตองลมหมอนนอนเสื่อไปในที่สุด ขณะเดียวกันก็ตองเขมแข็งที่จะการ “เรียนรู อยางมีสติ” เพื่อควบคุมมิใหเกิดการเรื้อรังไปมากกวาที่เปนอยู และมุงทำความเขาใจตอกลไก หรือกลวิธีอันเปนก ระบวนการของการปองกันมิใหเกิดภาวะแทรกซอนตอรางกายใหไดมากที่สุด เพราะนั่นคือสิ่งที่ยืนยันไดวา “ชีวิตมี ทางออก” และ “ทางออกนั้นก็ไมเคยปดตาย” เมื่อมองยอนกลับไปยังปจจัยตนเหตุ หรือองคประกอบที่เอื้อตอการเกิดโรคเบาหวานแลว จะพบวาปจจัยเหลา นั้นเปนโยงใยอยูกับเรื่องกรรมพันธุ การบริโภคอาหารที่มีปริมาณแปง น้ำตาล ไขมันสูง และการละเลยที่จะออกกำลัง กายทั้งสิ้น ปจจัยที่วานั้นถือเปน “เข็มทิศของการเฝาระวัง” ตัวเองไดเปนอยางดี ทั้งยังตองใสใจเฝาสังเกตอาการ อันเปน “เคาลาง” ของโรคเบาหวานก็สำคัญไมแพกัน ถาทุกคนเชื่อวาตัวเองเปน “หมอประจำตัวเอง” ก็ตองเรียนรูวา อาการปสสาวะมาก (polyuria) ดื่มน้ำมาก (polydipsia) กินจุ หรือรับประทานอาหารจุ (polyphagia) น้ำหนักลด (weight loss) ลวนเปนเคาลางบอกเหตุ ที่สุมเสี่ยงตอการเปนเบาหวานแทบทั้งสิ้น เมื่อเขาใจแลวยอมสามารถที่จะบริหารจัดการเกี่ยวกับระบบสุขภาพตัวเอง ไดอยางมีประสิทธิภาพ1 ดังนี้ 1. ปสสาวะบอย โดยเฉพาะเวลากลางคืน ตองตื่นมาปสสาวะบอยมากกวาปกติ 2. มีอาการกระหายน้ำอยูบอยๆ และดื่มน้ำมากผิดปกติ เนื่องจากสูญเสียน้ำไปทางปสสาวะเปนจำนวนมาก 3. น้ำหนักลด เนื่องจากรางกายไมสามารถสลายพลังงานจากไขมันได จึงจำตองสลายพลังงานจากโปรตีนและไข มันแทนสงผลใหเกิดอาการ “กินเกง หิวบอย แตน้ำหลักลด” 1 http://gotoknow.org/blog/bouquet/362318 15
  • 21. นอกจากนี้ยังพบอาการอื่นๆ ที่ถือเปนลางบอกเหตุสอเคาใหเห็นถึงภาวะความเสี่ยงที่จะเปนโรคเบาหวานดวย เหมือนกัน อาทิ 1. อาการอักเสบของผิวหนัง เกิดการติดเชื้องาย และเมื่อเปนแผลแลวแผลจะหายชา 2. อาการคันตามผิวหนัง อันเกิดจากผิวแหงจนเกินไป 3. มีการติดเชื้อรา โดยเฉพาะอยางยิ่งบริเวณชองคลอดของผูหญิง 4. อาการเห็นภาพไมชัด ตาพรามัวตองเปลี่ยนแวนบอยๆ ทั้งนี้อาจจะเปนเพราะมีการเปลี่ยนแปลงสายตา เชน สายตาสั้น เปนตอกระจก และน้ำตาลในเลือดสูง และที่สำคัญอีกประการหนึ่งที่มองขามไมไดเลยก็คือ อาการชา ไมมีความรูสึก เจ็บตามแขนขา หยอนสมรรถภาพ ทางเพศ รวมถึงการเกิดแผลที่เทาไดโดยงาย2 ซึ่งลวนเกิดจากภาวะที่มีระดับน้ำตาลในเลือดสูงนานๆ จนทำใหเสน ประสาทเสื่อม กรณีผูปวยใน บางรายมีอาการเกิดบาดแผลที่เทาอยูเรื่อยๆ ยิ่งตองระมัดระวังใหมากเปนพิเศษ เนื่องจากการเปนแผลที่เทา จะเปนเสมือนการเปดประตูตอนรับเชื้อโรคตางๆ ใหเขามาสูรางกายโดยงาย คนที่ปวย เปนโรคเบาหวานก็มักจะมีอาการชาตามนิ้วเทาและฝาเทา และจะไมรูสึกเจ็บปวดกับแผลที่เกิดขึ้น สงผลใหขาดการ เฝาระวังในเรื่องดังกลาวไปโดยปริยาย จนนำไปสูภาวะเรื้อรังขั้นรายแรงที่ตองตัดขาทิ้งเลยก็มี แตก็เปนที่นาสังเกตวา ในอดีตนั้นการเฝาระวังหรือสังเกตอาการที่สอเคาวาจะเปนโรคเบาหวานนั้นมีความนา สนใจ เพราะเกี่ยวโยงกับภูมิปญญาจากการสังเกต กลาวคือคนในสมัยกอนมักจะแนะนำเปน “มุขปาฐะ” วาหาก สงสัยวาจะเปนเบาหวานหรือไม สามารถพิสูจนไดอยางงายๆ ผานวิธีใกลตัวนั่นก็คือ “ปสสาวะใหมดตอม” วิธีคิดดังกลาว เกิดจากการที่ชาวบานมีความเชื่อที่วา “คนที่เปนเบาหวาน จะปสสาวะหวาน” เมื่อปสสาวะในแตละครั้ง จึงยอมมีน้ำตาลปนออกมากับปสสาวะมากเปนพิเศษ ดังนั้นคนในสมัยกอนจึงเชื่อวา หากมีมดมาตอมปสสาวะ ก็พอจะยืนยันไดเบื้องตนวาคนๆ นั้น มีความสุมเสี่ยงตอการเปนโรคเบาหวานคอนขางจะ แนนอน ซึ่งจะวาไปแลววิธีการดังกลาว ก็ใชเปนกระบวนการหนึ่งของการพิสูจนความเปนเบาหวานไดเหมือนกัน แต วิธีการสังเกตดังกลาวเปนการวินิจฉัยเพียงเบื้องตน ดังนั้นทางที่ดีจึงควรตองไปพบแพทย เพื่อใหแพทยไดตรวจระดับ น้ำตาลในเลือดใหโดยตรง เพราะนั่นคือวิธีการที่เที่ยงตรงและแมนยำที่สุด ซึ่งจะชวยใหเกิดกระบวนการเฝาระวังตอ ระบบสุขภาพของตัวเองไปในตัว 2 http://gotoknow.org/blog/dmpathumtanee/328235 16
  • 22. ใครคือกลุมเสี่ยงเบาหวาน พนัส ปรีวาสนา และจตุพร วิศิษฏโชติอังกูร จากประเด็นสาเหตุของการเกิดเบาหวานและเชื่อมโยงมาสูประเด็นเคาลางการบอกเหตุ ความเสี่ยงของการปวย เปนโรคเบาหวาน จะเห็นไดวาหลีกไมพนเรื่องราวหลักๆ 3 ประเด็นใหญ นั่นก็คือเรื่องกรรมพันธุ พฤติกรรมการกิน และการดูแลรางกายผานการออกกำลังกาย ซึ่งทั้งหมดนั้นไดสะทอนภาพของการดูแล ควบคุมและปองกันแทบทั้ง สิ้น โดยมีเปาประสงคหลักเพื่อนำไปสูวิถีแหงการดำเนินชีวิตยาวนานเยี่ยงคนปกติ อยางไรก็ตามเมื่อหลอมรวมประเด็นเหลานั้นแลว ก็คงไมยากกับการที่จะวินิจฉัยเพื่อการเฝาระวังวาใครคือผูที่ เสี่ยงที่จะเปนเบาหวานบาง โดยในทางกรรมพันธุนั้นก็ยังคงตองพุงประเด็นไปยังกลุมคนที่เคยมี “ญาติสายตรง” ปวยเปนเบาหวานมากอนอยูดี รวมถึงทารก หรือหญิงมีครรภที่ประวัติเคยเปนเบาหวานขณะตั้งครรภ หรือเคยคลอด บุตรตัวโตและมีน้ำหนักมากกวา 4 กิโลกรัม1 รวมถึงกลุมคนที่มีน้ำหนักมากเกินกวาปกติ (โรคอวน) ไมนิยมการ ออกกำลังกาย สงผลใหการทำงานของอินซูลินมีปญหา รวมถึงการมีพฤติกรรมเกี่ยวกับการกินอาหารประเภทออก รสหวานๆ และมีไขมันสูงมากจนเกินความจำเปน เปนตนวา “เด็กบริโภคไขมันมากเกินไปจาก 18 กรัม เพิ่มเปน 42 กรัมตอวัน”2 ก็ถือเปนกลุมคนที่เสี่ยงตอการปวยเปนโรคเบาหวานดวยเหมือนกัน เชนเดียวกับงานวิจัยที่ศึกษา และพบวา “ผูหญิงที่นิยมกินมันฝรั่งมากเทาไหร ยิ่งเสี่ยงตอการปวยเปนโรคเบาหวาน”3 เพราะมันฝรั่งเปนพืชที่ กระตุนใหเกิดภาวะน้ำตาลสูงในกระแสเลือดไดเปนอยางดี หรือแมแตผลการวิจัยชื่อวา CARDIA Study ก็เชื่อวาคน ที่ไมชอบรับประทานอาหารเชาอยางสม่ำเสมอก็มีความเสี่ยงตอการเปนเบาหวาน ไดเหมือนกัน4 1 http://gotoknow.org/blog/maleewan/134176 2 http://gotoknow.org/blog/strongkids/185168 3 http://gotoknow.org/blog/qqqqq/46274 4 http://gotoknow.org/blog/ocsckku/149286 17
  • 23. 18
  • 24. ครอบครัวเบาหวาน... พนัส ปรีวาสนา และจตุพร วิศิษฏโชติอังกูร ในที่นี้ ครอบครัวเบาหวาน หมายถึง ลักษณะอันเปนภาวะ “โรคแทรกซอน” ที่เกิดขึ้นกับคนเราหลังการปวย เปนโรคเบาหวาน เชน โรคไต โรคหลอดเลือดหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง รวมถึงภาวะแทรกซอนอื่นๆ เชน ภาวะ แทรกซอนทางตา ภาวะแทรกซอนในชองปาก กระเพาะปสสาวะทำงานไดไมดี เปนตน บรรดารายชื่อโรคแทรกซอนที่วานั้น ถือเปนคุณลักษณะพิเศษของโรคเบาหวานที่เปนแลวมักจะรักษาให หายขาดไมได ตรงกันขามกลับมักจะนำพาใหเกิดภาวะแทรกซอนตางๆ ตามมาเปนระยะๆ ซึ่งเปนผลพวงของ ระบบภูมิตานทานที่เสื่อมโทรมและต่ำลง จนอวัยวะตางๆ ในรางกายทำงานบกพรองมากขึ้น เกิดเปนชองโหวใน ระบบภูมิคุมกันของสุขภาพ เปดกวางใหโรคตางๆ ทยอยคืบคลานเขากัดกรอนรางกายของคนเราอยางเงียบๆ โดย ภาวะดังกลาวไดกลายมาเปนปรากฏการณสำคัญที่สื่อสารใหเห็นวาโรคเบาหวานเปนเสมือน “ครอบครัวใหญ” ที่มี โรคตางๆ มามะรุมมะตุมอยูตลอดเวลา หรืออาจตองเรียกชื่อโรคเบาหวานในอีกมุมหนึ่งวา “โรคญาติเยอะ” ปจจุบันโรคเบาหวาน (โรคญาติเยอะ) มีโครงสรางเหมือน “ครอบครัวใหญ” ที่ยึดโยงไปดวยภาวะแทรกซอน ตางๆ และกลายเปนวิกฤติทางสาธารณสุขของสังคมไทยในปจจุบัน ผูคนตางรับรูและเขาใจในทิศทางเดียวกันวา โรคแทรกซอนตางๆ นั้น บางชนิดจะเกิดขึ้นเงียบๆ หลังการเปนเบาหวานมาแลวนับ 10 ปเลยก็มี กลาวคือเริ่มตน จากการฝงตัวอยางเงียบๆ และคอยๆ รุกคืบอยูในตัวผูปวยอยางชาๆ ทำใหผูปวยไมรูเนื้อรูตัววากำลังเกิดภาวะโรค แทรกซอนอันเกิดจากโรคเบาหวานในรางกาย จนเมื่อสั่งสมถึงขั้นเรื้อรังจึงคอยปรากฏโฉมหนาใหพบเห็นอยางเดน ชัดผานอาการเฉพาะของโรคนั้นๆ และเมื่อเกิดขึ้นแลว ก็ลำบากตอการบำบัดรักษา เพื่อใหคืนกลับสูสภาพดังเดิม ขณะที่บางราย โชครายถึงขั้นไมสามารถฟนฟูสภาพรางกายกลับมาไดเลยก็มี กรณีดังกลาวนี้ คุณกานดา สุตาวงศ ไดอางอิงขอมูลโรคแทรกซอนเรื้อรังจากสมุดบันทึกประจำตัวของผูปวยโรค เบาหวานจากโรงพยาบาลสันกำแพง จังหวัดเชียงใหม ซึ่งเกี่ยวของกับภาวะเรื้อรังในอวัยวะตางๆ ของคนเรา คือ หัวใจ สมอง ดวงตา และไต1 ดังนี้ 1 http://gotoknow.org/blog/kandanalike/319044 19
  • 25. 1. หลอดเลือดหัวใจตีบตันหรืออุดตัน ทำใหเกิดกลามเนื้อหัวใจตาย จะมีอาการเจ็บแนนหนาอกราวไปที่ไหลซาย มีอาการหอบ เหนื่อยเร็ว หัวใจลมเหลวและเสียชีวิต อยางเฉียบพลันได 2. หลอดเลือดสมองตีบตัน ทำใหเปนอัมพาต พูด หรือออกเสียงไมชัด 3. ตาพรามัว ถึงขั้นตาบอด อันเกิดจากหลายสาเหตุ เชน สายตาเปลี่ยน ตอกระจกและเสนเลือดในตาอุดตัน เลือดออกในตา 4. ไตเสื่อม หรือ ไตวาย ในระยะแรกจะมีอาการบวม ออนเพลีย คลื่นไส อาเจียน เมื่อภาวะไตเสื่อมมากขึ้น จะมี อาการปสสาวะลดลง มีของเสียคั่งในรางกายมากขึ้น เชนเดียวกับขอมูลที่คุณทรงลักษณ มูลมณี ไดสื่อสารถึงรายละเอียดของภาวะแทรกซอนในทางการแพทยวา2 1. ภาวะแทรกซอนทางสายตา (Diabetic retinopathy) เกิดจากการที่น้ำตาลเขาไปใน endothelium ของหลอดเลือดเล็กๆ ในลูกตา ทำใหหลอดเลือดเหลานี้มีการสรางไกลโคโปรตีนซึ่งจะถูกขนยายออกมาเปน Basement membrane มากขึ้น ทำให Basement membrane หนา แตเปราะ หลอดเลือดเหลานี้ จะฉีกขาดไดงาย เลือดและสารบางอยางที่อยูในเลือดจะรั่วออกมา และมีสวนทำให Macula บวม ทำให เกิด Blurred vision หลอดเลือดที่ฉีกขาดจะสรางแขนงของหลอดเลือดใหมออกมามากมายจนบดบังแสง ที่มาตกกระทบยัง Retina ทำใหการมองเห็นของผูปวยแยลง 2. ภาวะแทรกซอนทางไต (Diabetic nephropathy) พยาธิสภาพของหลอดเลือดเล็กๆ ที่ Glomeruli จะทำให Nephron ยอมให albumin รั่วออกไปกับ filtrate ได Proximal tubule จึงตองรับภาระในการดูดกลับสาร มากขึ้น หากเปนนานๆ ก็จะทำใหเกิด Renal failure ได ซึ่งผูปวยมักจะเสียชีวิตภายใน 3 ป นับจากแรกเริ่ม มีอาการ 3. ภาวะแทรกซอนทางระบบประสาท (Diabetic neuropathy) หากหลอดเลือดเล็กๆที่มาเลี้ยงเสนประสาท บริเวณปลายมือปลายเทาเกิดพยาธิสภาพ ก็จะทำใหเสนประสาทนั้นไมสามารถนำความรูสึกตอไปได เมื่อผู ปวยมีแผล ผูปวยก็จะไมรูตัว และไมดูแลแผลดังกลาว ประกอบกับเลือดผูปวยมีน้ำตาลสูง จึงเปนอาหารอยาง ดีใหกับเหลาเชื้อโรคและแลวแผลก็จะเนาและนำไปสู Amputation ในที่สุด ไมเฉพาะแตภาวะแทรกซอนที่เกิดขึ้นกับอวัยวะที่เปนหัวใจ สมอง ดวงตา ไต หรือแมแตระบบประสาทจากขาง ตนเทานั้น แตในทางการแพทยนั้น ยังพบวา โรคเบาหวานเปน “ปจจัยนำ” ปจจัยหนึ่งของการเกิด “โรคปริทันต” ดวยเหมือนกัน กลาวคือ ผูปวยโรคเบาหวานที่ควบคุมไมได จะมีการอักเสบของเหงือกมากผิดปกติ และมากกวาผูที่ ควบคุมได ทั้งๆ ที่มีคราบจุลินทรียเพียงเล็กนอยเทานั้น ซึ่งก็ถือวาเปนภาวะโรคแทรกซอนเรื้อรังอีกโรคหนึ่งที่เกิดขึ้น หลังจากการเปนเบาหวาน3 และไมเชื่อก็ตองเชื่อวาปจจุบันวงการแพทยไดมีการยืนยันแลววา เบาหวานเปนตนเหตุหนึ่งของภาวะ “เซ็กส เสื่อม” กลาวคือเมื่อเปนเบาหวาน และเริ่มสูงอายุ มักจะมีอาการลงพุง มีไขมันสะสม มีความดันสูง สิ่งเหลานี้จะหนุน สงใหเกิดภาวะสมรรถภาพทางเพศเสื่อมเร็วขึ้นทั้งหญิงและชาย 2 http://gotoknow.org/blog/healthstar/362085 3 http://gotoknow.org/blog/chalong/93266 20
  • 26. แตอยางไรก็ตาม ถึงแมจะเปนที่รับรูวาโรคเบาหวานเปนโรคที่เกิดขึ้นแลว รักษาไมหายขาด แตจะเรื้อรังและ มีภาวะแทรกซอนมากมาย สิ่งสำคัญที่สุดก็คงตองย้ำเตือนกับตัวเองเสมอวาชีวิตไมไดตีบตันดวยโรคภัยชนิดนี้เสีย ทั้งหมด จึงตองมองโลกและชีวิตในมุมบวก เพื่อใหสามารถใชชีวิตไดอยางปกติสุข เพราะในความเปนจริงก็คือ ถึงแม โรคเบาหวานจะเปนโรคที่รักษาไมหายขาด แตก็สามารถควบคุมและปองกันได จึงไมควรหดหูและสิ้นหวังเมื่อตอง เผชิญกับโรคชนิดนี้ 21
  • 27. 22
  • 28. อาหารของคนเปนเบาหวาน พนัส ปรีวาสนา และจตุพร วิศิษฏโชติอังกูร ในยามที่ชีวิตตัวเอง หรือญาติมิตรตองชะตากรรมดวยการปวยเปนโรคเบาหวาน อันดับแรกตองไมลืมที่จะเตือน ตัวเองใหรูสึกเสมอวา การปวยเปนโรคเบาหวาน ไมใชความโชครายหรือเลวรายเสียทั้งหมด ถาคิดและเขาใจใน ทำนองนั้นได ก็จะทำใหมีขวัญกำลังใจที่จะใชชีวิตและเรียนรูกระบวนการแหงการควบคุมโรคเบาหวานในตัวเองได เปนอยางดี โดยเริ่มตนใหความสำคัญกับเรื่องอาหารการกินอยางจริงจัง ไมใชกินตามมีตามเกิดหรือกินตามอำเภอใจ โดยไมสนใจวาสิ่งที่บริโภคเขาไปนั้น จะเพิ่มปริมาณไขมันและน้ำตาลในระดับเลือดมากนอยแคไหน หรือเปนปจจัย นำสูภาวะแทรกซอนตางๆ อยางไรบาง สำหรับผูที่ปวยเปนเบาหวานนั้น สิ่งที่ตองระมัดระวังเปนพิเศษเลยก็คือการหลีกเลี่ยงอาหารประเภทที่มีระดับ น้ำตาลในเลือดสูง รวมถึงขนมหวานตางๆ เชน ทองหยิบ ทองหยอด ขนมชั้น ผลไมชนิดหวานจัดๆ เชน เงาะ ขนุน นอยหนา ทุเรียน ออย ตลอดจนเครื่องดื่มน้ำอัดลมชนิดตางๆ ซึ่งนั่นก็รวมถึงเครื่องดื่มประเภทที่มีแอลกอฮอลดวย เกี่ยวกับเรื่องดังกลาวนี้ ดร.จันทวรรณ ปยะวัฒน ไดบันทึกขอมูลที่เปนประโยชนอันเกิดจากการศึกษาคนควา และการดูแลบิดาที่เปนเบาหวานดวยตนเอง โดยจัดหมวดหมูประเภทของอาหารไวดังนี1 ้ 1.กลุมอาหารหามรับประทาน ไดแก • อาหารที่มีน้ำตาลทุกชนิด รวมถึงน้ำผึ้ง น้ำตาลจากผลไม • ขนมหวานและขนมเชื่อมตางๆ เชน ฝอยทอง ขนมชั้น สังขยา ลอดชอง • ผลไมกวน เชน มะมวงกวน ทุเรียนกวน สัปปะรดกวน ฯลฯ • น้ำหวานตางๆ น้ำผลไม ยกเวน น้ำมะเขือเทศ นมรสหวานรวมทั้งน้ำอัดลมและ 1 http://gotoknow.org/blog/dad/36808 23
  • 29. • ผลไมที่มีรสหวานจัด เชน ทุเรียน องุน ลำไย มะมวงสุก ละมุด นอยหนา ลิ้นจี่ ออย สัปปะรด ผลไมแชอิ่ม หรือ เชื่อมน้ำตาล • ของขบเคี้ยวทอดกรอบ และอาหารชุบแปงทอดตางๆ เชน ปาทองโก กลวย แขก ขาวเมาทอด 2.กลุมอาหารที่รับประทานได แตตองจำกัดปริมาณ ไดแก • อาหารพวกแปง ขาว เผือก มัน ถั่วเมล็ดแหงตางๆ กวยเตี๋ยว ขนมจีน ขนมปง มักกะโรนี กวยเตี๋ยว • ลดอาหารไขมัน เชน ขาหมู ขาวมันไก หมูสามชั้น หรือ อาหารทอดมันมากๆ ไขมันมากๆ • ตลอดจนไขมันจากพืชบางอยาง เชน กะทิ น้ำมันปาลม ควรใชน้ำมันถั่วเหลือง น้ำมันขาวโพด น้ำมันมะกอก • อาหารสำเร็จรูป หรืออาหารพิเศษสำหรับผูปวยเบาหวาน เชน น้ำตาลเทียม น้ำตาลจากผลไม • ผักประเภทที่มีแปงมาก เชน ฟกทอง กระเจี๊ยบ หัวปลี แครอท สะเดา ถั่วลันเตา หอมหัวใหญ ผลไมบางอยาง เชน ฝรั่ง กลวย เงาะ มะละกอ • อาหารจากโปรตีนประเภทเนื้อสัตว หรือโปรตีนจากพืช เชน ถั่ว เตาหู ใหรับประทานปกติ หลีกเลี่ยงเนื้อติด มัน ไกติดหนัง 3.กลุมอาหารที่รับประทานไดไมจำกัด ไดแก ผักใบเขียว เชน ผักกาด ผักคะนา ผักบุง ถั่วงอก เปนที่นาสังเกตวา รายการอาหารและผลไม หรือแมแตขนมที่กลาวอางถึงขางตน สวนใหญมีคุณลักษณะรวม เดียวกันก็คือออกรสหวานและมีไขมันเปนที่ตั้ง แตในความเปนจริงที่ไมอาจมองขามไปไดก็คือ เมื่อปวยเปนโรคเบา หวานแลว ผูปวยตองลดอาหารที่มี รสเค็มลงดวยเชนกัน เพราะโซเดียมในเกลือจะทำใหรางกายสรางกระบวนการ กักเก็บน้ำไวในรางกายมากขึ้น สงผลใหเกิดภาวะความดันโลหิตสูงไปไดโดยงาย และยังสงผลกระทบตอระบบการ ทำงานของไตโดยตรง ยิ่งเปนเบาหวานอยูแลว จึงเสี่ยงสูงตอการเกิด ภาวะแทรกซอนทางไต สวนกรณีเกี่ยวกับเครื่องดื่มประเภทกาแฟ ก็มีความเกี่ยวโยงกับเบาหวานดวยเชนกัน โดยรวมแลวเครื่องดื่ม ประเภทชากาแฟนั้น ผูปวยเบาหวานควรเลือกดื่มกาแฟดำ ไมใสน้ำตาล ไมใสนมขนหวาน หรือครีมเทียมแทน ดัง รายละเอียดที่ นายแพทยวัลลภ พรเรืองวงศ ไดนำเสนอขอมูลไวในเวปบล็อกวา “อาจารยเบซา สมิธ และคณะ แหงมหาวิทยาลัยแคลิฟอรเนีย ซาน ดิเอโก ในลาโฮลลา ทำการศึกษากลุม ตัวอยางอายุ 50 ปขึ้นไป จำนวน 910 คน โดยการติดตามไปนาน 8 ป ซึ่งผลการศึกษาพบวา คนที่ดื่มกาแฟ ไมวา จะเปนชนิดมีกาเฟอีน หรือสกัดกาเฟอีนออก จะมีความเสี่ยงตอโรคเบาหวานในผูใหญ (diabetes type2) ลดลง 60%”2 ซึ่งจากการที่นายแพทยวัลลภ ไดนำเสนอขอมูลขางตนไวใน เว็ปบล็อกชุมชน แหงการแลกเปลี่ยนเรียนรู แลว ก็พบวามีการ “ตอยอดความคิด” และนำไปสูการ “ปฏิบัติจริง” อยางกวางขวาง ดังจะเห็นไดจากการเสริมแรงให เกิดพลังใจและมุมมองใหม หรือ “ความรูใหม” แก ดร.จันทวรรณ ปยะวัฒนในการที่จะดูแลบิดาที่ปวยเปนเบา 2 http://gotoknow.org/blog/health2you/56905 24