SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 19
Descargar para leer sin conexión
1
โครงการการสร้างความร่วมมือด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในระดับพื้นที่
เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาวะภูมิอากาศ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ (โครงการรักษ์น้้าพอง)
ชื่อโครงการ/กิจกรรม : .โครงการรักษ์น้้าพอง
หลักการและเหตุผล
แม่น้าพองบริเวณท้ายเขื่อนอุบลรัตน์ อ้าเภออุบลรัตน์ จนถึงฝายหนองหวาย อ้าเภอน้าพอง จังหวัด
ขอนแก่น เป็นพืนที่ที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดปัญหาคุณภาพน้ามากที่สุด พบว่า คุณภาพน้าจะเสื่อมโทรมมาก
ในช่วงฤดูแล้ง ประมาณเดือนเมษายนถึงเดือนพฤษภาคมของทุกปี เนื่องจากเป็นช่วงที่มีปริมาณน้าในแม่น้า
พองน้อย กระแสน้าไม่ค่อยไหล จังหวัดขอนแก่นจึงมีความจ้าเป็นต้องมีการด้าเนินการเพื่อป้องกันปัญหา
คุณภาพน้าเสื่อมโทรมในแม่น้าพองอย่างมีประสิทธิภาพ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของแม่น้าพองทุกภาคส่วนมีมติ
ร่วมกันให้จังหวัดขอนแก่นด้าเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหาคุณภาพน้าในแม่น้าพองในรูปแบบของ
คณะกรรมการร่วมระหว่างส่วนราชการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรเครือข่ายภาคประชาชนและภาค
โรงงานอุตสาหกรรม และให้มีคณะท้างานรับผิดชอบแม่น้าพองเป็นโซนพืนที่ให้ครอบคลุมทังลุ่มน้า เนื่องจาก
สภาพปัญหาและแนวทางแก้ไขปัญหาแม่น้าพองมีความแตกต่างกันตามลักษณะของพืนที่ ได้แบ่งพืนที่ลุ่มน้า
พองในจังหวัดขอนแก่นออกเป็น ๕ โซนตามลักษณะของภูมิประเทศและสภาพปัญหาเพื่อให้คณะท้างานจัดท้า
แผนงาน/โครงการและด้าเนินงานบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมของแม่น้าพองให้มีความเหมาะสมกับสภาพปัญหา
ของพืนที่แต่ละโซนอย่างต่อเนื่อง เกิดการบูรณาการในการจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมของแม่น้าพองอย่าง
ยั่งยืน มีประสิทธิภาพ และได้ผลเป็นรูปธรรม ตังแต่ต้นน้า กลางน้า และปลายน้า
ส้านักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดขอนแก่น จึงได้จัดท้าโครงการรักษ์น้าพองขึน
เพื่อน้าร่อง สนับสนุนและกระตุ้นให้เกิดความร่วมมือในการด้าเนินงานของคณะท้างานทัง 5 โซนในการบริหาร
จัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมลุ่มน้าพอง จังหวัดขอนแก่นให้เกิดผลในทางปฏิบัติ และยั่งยืนต่อไป
วัตถุประสงค์โครงการ
๑. เพื่อจัดตังศูนย์ข้อมูลกลางในการบริหารจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมลุ่มน้าพอง
๒. เพื่อประสานความร่วมมือให้มีการด้าเนินงานในการป้องกันและแก้ไขปัญหาคุณภาพน้าของแม่น้า
พองของทุกภาคส่วนครอบคลุมทังลุ่มน้าพอง
๓. เพื่อปลุกจิตส้านึก ส่งเสริม สนับสนุนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการอนุรักษ์ ฟื้นฟู ดูแลและ
บริหารจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมลุ่มน้าพอง เตรียมความพร้อมรับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
กลุ่มเป้าหมาย :
๑. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพืนที่ลุ่มน้าพองทัง ๕ โซน
๒. องค์กรภาคประชาชนทุกองค์กร
๓. ผู้ประกอบกิจการโรงงานอุตสาหกรรมในพืนที่ลุ่มน้าพอง
๔. หน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง
พื้นที่ด้าเนินการ
ลุ่มน้าพองตอนบนและตอนล่างในจังหวัดขอนแก่นจ้านวน ๑๕ อ้าเภอ ๙๑ ต้าบล
ผลการด้าเนินงาน :
๑. จัดท้า Mascot รักษ์น้าพองและสื่อ Graphic Information ประชาสัมพันธ์โครงการฯ ๑ เรื่อง
2
ภาพ Mascot และสื่อ Graphic Information รักษ์น้าพอง
๒. จัดท้าเว็บไซต์ของโครงการฯ ๑ เว็บไซต์
ชื่อและที่อยู่ URL เว็บไซต์โครงการรักษ์น้าพอง: http://namphong-subbasin.com/
ภาพเว็บไซต์โครงการรักษ์น้าพอง http://namphong-subbasin.com/
๓. จัดตังศูนย์ข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมลุ่มน้าพอง ๑ แห่ง
3
ภาพของศูนย์ข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมลุ่มน้าพอ
๔. จัดท้าระบบฐานข้อมูลสนับสนุน อปท.บูรณาการแผนบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมลุ่มน้าพอง ๑ ชุด
ภาพปก DVD ชุดฐานข้อมูล
๕. จัดกิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์สร้างการมีส่วนร่วมในการจัดการขยะและน้าเสีย ๒ ครัง
 วันที่ ๕ มิถุนายน ๒๕๕๗ เนื่องในวันสิ่งแวดล้อมโลก ณ หอประชุม อ.น้าพอง ผู้เข้าร่วม ๒,๗๐๐ คน
ภาพผู้เข้าร่วมกิจกรรมเมื่อวันที่ ๕ มิถุนายน ๒๕๕๗ เนื่องในวันสิ่งแวดล้อมโลก ณ หอประชุม อ.น้าพอง
4
กิจกรรมรณรงค์ใช้ใบตองแทนโฟม กิจกรรมประกวดวาดภาพและระบายสี
กิจกรรมจัดนิทรรศการจากโรงเรียนและโรงงานในพืนที่อ้าเภอน้าพอง
 วันที่ ๑๒ สิงหาคม ๒๕๕๗ เนื่องในวันแม่แห่งชาติ จัดกิจกรรมรณรงค์ปลูกต้นไม้ในที่สาธารณะเพื่อฟื้นฟูป่า
ชุมชนซึ่งมีการลักลอบนพขยะไปทิง บ.ป่าหวายนั่ง หมู่ที่ ๔ ต.เขาสวนกวาง อ.เขาสวนกวาง จ.ขอนแก่น
จ้านวน ๑,๐๐๐ ต้น
กิจกรรมท้าความสะอาดเก็บขยะและปลูกต้นไม้ในพืนที่ป่าสาธารณะ
5
ผู้เข้าร่วมกิจกรรมรณรงค์ปลูกต้นไม้ในที่สาธารณะเพื่อฟื้นฟูป่าชุมชนซึ่งมีการลักลอบนน้าขยะไปทิง
๖. จัดประชุมคณะกรรมการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมลุ่มน้าพองระดับจังหวัด ๑ ครัง ระดับพืนที่ ๒ ครัง
ภาพประชุมคณะกรรมการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมลุ่มน้าพองระดับจังหวัด
6
ขาดรูปประชุม ๕ สิงหาคม ๒๕๕๗ ที่ โรงแรมโฆษะ
ขาดรูปประชุม วันที่ ๑๗ กันยายน ๒๕๕๗ ที่ห้องประชุม
โครงการส่งน้าและบ้ารุงรักษาหนองหวาย
๗. การสาธิตกิจกรรมการจัดการน้าเสียในระดับครัวเรือน ณ บ้านป่าหวายนั่ง หมู่ที่ ๔ ต้าบลเขาสวนกวาง
อ้าเภอเขาสวนกวาง ๕ แห่ง และกิจกรรมการคัดแยกขยะในโรงเรียน และการใช้ไซ ๓Rs ในระดับครัวเรือน
7
การส้ารวจพืนที่สาธารณะเพื่อฟื้นฟูป่าชุมชนซึ่งมีการลักลอบนพขยะไปทิง
กิจกรรมรณรงค์ปลูกต้นไม้ในที่สาธารณะซึ่งมีการลักลอบนพขยะไปทิงเพื่อฟื้นฟูและจัดตังเป็นป่าชุมชน
8
กิจกรรมสาธิตการคัดแยกขยะในโรงเรียน
กิจกรรมสาธิตการใช้ไซ ๓Rs ในระดับครัวเรือน
การส่งเสริมการจัดการขยะในครัวเรือนโดยใช้ ไซ 3 Rs
9
มอบอุปกรณ์คัดแยกขยะให้กับราษฎร
การสาธิตด้านการจัดการน้้าเสียชุมชน
๑) ร่วมกับราษฎรบ้านป่าหวายนั่งและ อบต.เขาสวนกวาง ด้าเนินกาส้ารวจปัญหาการจัดการน้าเสีย
ในระดับชุมชน เพื่อหาแนวทางแก้ไขปัญหา
๒) ด้าเนินการติดตังระบบบ้าบัดน้าเสียส้าหรับครัวเรือน (Zero Discharge) จ้านวน ๕ แห่ง เพื่อ
เป็นต้นแบบในการขยายผลการด้าเนินงานให้กับชุมชน ดังนี
จุดที่ ๑ ณ โรงเรียนบ้านป่าหวายนั่งราษฎร์บ้ารุง ต.เขาสวนกวาง อ.เขาสวนกวาง จ.ขอนแก่น
จุดที่ ๒ ณ บ้านเลขที่ ๙๔ หมู่ที่ ๔ ต.เขาสวนกวาง อ.เขาสวนกวาง จ.ขอนแก่น
จุดที่ ๓ ณ บ้านเลขที่ ๑๐๕ หมู่ที่ ๔ ต.เขาสวนกวาง อ.เขาสวนกวาง จ.ขอนแก่น
จดที่ ๔ ณ บ้านเลขที่ ๑๗๒ หมู่ที่ ๔ ต.เขาสวนกวาง อ.เขาสวนกวาง จ.ขอนแก่น
จุดที่ ๕ ณ วัดโนนสว่าง หมู่ที่ ๔ ต.เขาสวนกวาง อ.เขาสวนกวาง จ.ขอนแก่น
ภาพการร่วมกับประชาชนส้ารวจปัญหาน้าเสียในระดับชุมชนและครัวเรือน
วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ด้าเนินการระบบบ้าบัดน้าเสียส้าหรับครัวเรือน
ระบบบ้าบัดน้้าเสียส้าหรับครัวเรือน(ซีโรดิสชาร์จ (Zero Discharge))
จุดที่ ๑ ณ โรงเรียนบ้านป่าหวายนั่งราษฎร์บ้ารุง ต.เขาสวนกวาง อ.เขาสวนกวาง จ.ขอนแก่น
10
จุดที่ ๒ ณ บ้านเลขที่ ๙๔ หมู่ที่ ๔ ต.เขา
สวนกวาง อ.เขาสวนกวาง จ.ขอนแก่น (นางค้าปน ชนะบุญ)
จุดที่ ๓ ณ บ้านเลขที่ ๑๐๕ หมู่ที่ ๔
ต.เขาสวนกวาง อ.เขาสวนกวาง จ.ขอนแก่น (นายเคน ผิวแดง)
จุดที่ ๔ ณ บ้านเลขที่ ๑๗๒ หมู่ที่ ๔ ต.เขา
สวนกวาง อ.เขาสวนกวาง จ.ขอนแก่น (นายเฉลิม เมาะราศี)
11
จุดที่ ๕ ณ วัดโนนสว่าง หมู่ที่ ๔ ต.เขา
สวนกวาง อ.เขาสวนกวาง จ.ขอนแก่น
ภาพขั้นตอนการ ด้าเนินงาน
12
๘. การสาธิตกิจกรรมบ้าบัดน้าเสีย ณ แหล่งก้าเนิด (Onsite Treatment) ที่ตลาดสดชุมชน ต.โคกสี อ.เมือง
ขอนแก่น จ.ขอนแก่น ๑ แห่ง
13
การคาดการณ์สภาพภูมิอากาศระดับท้องถิ่นด้วยแบบจ้าลอง PRECIS + ECHAM4: กรณีศึกษา อ้าเภอน้้าพอง
จังหวัดขอนแก่น
มยุรา นามวงษ์ไชย1, วงศ์วิวรรธ ธนูศิลป์2, ราชภัทร รัตนวราห3 และเตือนใจ ดุลย์จินดาชบาพร1
1. ภาควิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ขอนแก่น 40002
2. ส้านักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดขอนแก่น ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ขอนแก่น 40000
๓. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น
ที่มาและความส้าคัญ
ปัญหาภาวะโลกร้อนในปัจจุบันได้ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศตังแต่ในระดับ
ท้องถิ่นจนถึงระดับโลก อันมีสาเหตุหลักเกิดจากการเพิ่มขึนของก๊าซเรือนกระจกในบรรยากาศ ซึ่ง
ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศมีด้วยกันหลากหลายด้าน จากความตื่นตระหนกถึง
ผลกระทบจากปัญหาดังกล่าวจึงได้มีคาดการณ์สภาพภูมิอากาศในอนาคตขึนมาเพื่อให้เห็นถึงแนวโน้ม
การเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศที่จะเกิดขึนในภายภาคหน้า โดยการวิจัยนีได้เลือกพืนที่ท้าการศึกษาคือ
อ้าเภอน้าพอง จังหวัดขอนแก่น ภายใต้เงื่อนไขการเปลี่ยนแปลงของท้องถิ่นที่มุ่งเน้นการพัฒนาโดยไม่
ค้านึงถึงสิ่งแวดล้อม(แนวทางA2) และการพัฒนาที่ควบคู่ไปกับการรักษาสิ่งแวดล้อม (แนวทาง B2)
วัตถุประสงค์
เพื่อคาดการณ์สภาพภูมิอากาศระดับท้องถิ่นในอนาคตโดยใช้แบบจ้าลอง PRECIS +
แบบจ้าลอง ECHAM4 ของอ้าเภอน้าพอง จังหวัดขอนแก่น เป็นระยะเวลา 100 ปี ตังแต่ ค.ศ. 1961-
ค.ศ. 2060
วิธีการศึกษา
ท้าการน้าเข้าข้อมูลดิบจากศูนย์จัดการความรู้ด้านการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ; CCKM โดยเลือกใช้
แบบจ้าลอง PRECIS + แบบจ้าลอง ECHAM4 ภายใต้เงื่อนไขการเพิ่มขึนของก๊าซเรือนกระจกในแนวทาง
A2 และแนวทาง B2 ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เลือกใช้ข้อมูลรายวันทางอุตุนิยมวิทยา 5 ชนิด ได้แก่
อุณหภูมิสูงสุด อุณหภูมิต่้าสุด ปริมาณน้าฝน ความเร็วลม และความชืนสัมพัทธ์ เลือกช่วงเวลาคือ ค.ศ.
1961 – ค.ศ. 2060 รวมเป็นระยะเวลา 100 ปี ข้อมูลดิบที่ได้จะอยู่ในรูปแบบไฟล์ Microsoft Excel ท้า
การค้านวณหาค่าเฉลี่ยโดยใช้ Microsoft Excel และน้ามาพลอตกราฟเพื่อให้เห็นเป็นแนวโน้มของการ
เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในระยะเวลา 100 ปี
ผลการศึกษา
14
สรุปผลการศึกษา
32
33
34
35
36
37
1961
1970
1979
1988
1997
2006
2015
2024
2033
2042
2051
2060
Tmax(C°)
Year
A2
B2
21
22
23
24
25
26
1961
1970
1979
1988
1997
2006
2015
2024
2033
2042
2051
2060
Tmin(C°)
Year
A
2
B
2
750
1000
1250
1500
1750
196119701979198819972006201520242033204220512060
Preciptation
(mm)
Year
A2
B2
2
2.2
2.4
2.6
2.8
3
1961
1970
1979
1988
1997
2006
2015
2024
2033
2042
2051
2060
WindSpeed(m/s)
Year
A2
B2
55
60
65
70
75
1961
1970
1979
1988
1997
2006
2015
2024
2033
2042
2051
2060
Relative
Humidity(%)
Year
A2
B2
1. การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิสูงสุดใน
ระยะเวลา 100 ปี (ค.ศ.1961-ค.ศ.2060)
2. การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิต่าสุดใน
ระยะเวลา 100 ปี (ค.ศ.1961-ค.ศ.2060)
5. การเปลี่ยนแปลงความชื้นสัมพัทธ์ใน
ระยะเวลา 100 ปี (ค.ศ.1961-ค.ศ.2060)
4. การเปลี่ยนแปลงความเร็วลมใน
ระยะเวลา 100 ปี (ค.ศ.1961-ค.ศ.2060)
3. การเปลี่ยนแปลงปริมาณน้าฝนใน
ระยะเวลา 100 ปี (ค.ศ.1961-ค.ศ.2060)
15
จากการศึกษาเรื่อง “การคาดการณ์สภาพภูมิอากาศอนาคตของอ้าเภอน้าพอง จังหวัดขอนแก่น”
ภายใต้สถานการณ์จ้าลองที่ก๊าซเรือนกระจกเพิ่มสูงขึนตามแนวทางแบบ A2 ซึ่งเป็นการสมมติให้พืนที่เขต
อ้าเภอน้าพองมีการพัฒนาที่เน้นการเจริญเติบโตในเชิงเศรษฐกิจมากกว่าความยั่งยืนทางสิ่งแวดล้อม และ
แนวทางแบบ B2 ซึ่งเป็นการสมมติให้เป็นการพัฒนาอย่างสมดุล ยั่งยืน เกิดการเปลี่ยนแปลงไปสู่การ
พัฒนาในด้านต่างๆที่ควบคู่ไปกับการดูแลรักษาธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ซึ่งในการศึกษามีวัตถุประสงค์
เพื่อคาดการณ์สภาพภูมิอากาศของอ้าเภอน้าพอง จังหวัดขอนแก่น ตังแต่ ค.ศ.2015 - ค.ศ. 2060 และ
เพื่อน้าผลการศึกษาที่ได้ไปใช้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการสร้างความร่วมมือด้านทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อมในระดับพืนที่ เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาวะภูมิอากาศ (โครงการรักษ์น้าพอง) ของ
ส้านักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดขอนแก่น ในการศึกษาสามารถสรุปผลการศึกษาได้
ดังนี
รูปที่ 6 ค่าเฉลี่ยของอุณหภูมิสูงสุดที่เปลี่ยนแปลงไปในแนวทาง A2 และแนวทาง B2
อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ยมีแนวโน้มที่จะเพิ่มขึนในอนาคต โดยการคาดการณ์ในแนวทาง A2 และ
แนวทาง B2 นันไม่แตกต่างกันในทางสถิติ ซึ่งอุณหภูมิสูงสุดในรูปแบบแนวทางA2 จะเพิ่มขึนเฉลี่ยเท่ากับ
0.025๐C ในขณะที่รูปแบบแนวทาง B2 อุณหภูมิจะเพิ่มขึนเฉลี่ยเท่ากับ 0.023๐C
รูปที่ 7 ค่าเฉลี่ยของอุณหภูมิต่้าสุดที่เปลี่ยนแปลงไปในแนวทาง A2 และแนวทาง B2
อุณหภูมิต่้าสุดเฉลี่ยมีแนวโน้มที่จะเพิ่มขึนในอนาคต โดยการคาดการณ์ในแนวทาง A2 และ
แนวทาง B2 นันไม่แตกต่างกันในทางสถิติ ซึ่งอุณหภูมิต่้าสุดในรูปแบบแนวทางA2 จะเพิ่มขึนเฉลี่ยเท่ากับ
0.029๐C ในขณะที่รูปแบบแนวทาง B2 อุณหภูมิจะเพิ่มขึนเฉลี่ยเท่ากับ 0.026๐C
0.02
0.022
0.024
0.026
A2 B2
ค่าเฉลี่ยอุณหภูมิ(๐C)
แนวทางสถานการณ์จาลองที่ก๊าซเรือนกระจกเพิ่มสูงขึ้น
ค่าเฉลี่ยของอุณหภูมิสูงสุด
ที่เปลี่ยนแปลง
A2
B2
0.025
0.03
A2 B2
ค่าเฉลี่ยอุณหภูมิ(๐C)
แนวทางสถานการณ์จาลองที่ก๊าซเรือนกระจกเพิ่มสูงขึ้น
ค่าเฉลี่ยของอุณหภูมิต่าสุด
ที่เปลี่ยนแปลง
A2
B2
16
รูปที่ 8 ค่าเฉลี่ยของปริมาณน้าฝนที่เปลี่ยนแปลงไปในแนวทาง A2 และแนวทาง B2
ปริมาณน้าฝนเฉลี่ยมีแนวโน้มที่จะเพิ่มขึนในอนาคต โดยการคาดการณ์ในแนวทาง A2 และ
แนวทาง B2 นันไม่แตกต่างกันในทางสถิติ ซึ่งในรูปแบบแนวทาง A2 ปริมาณน้าฝนจะเพิ่มขึนเฉลี่ยเท่ากับ
0.386 mm ในขณะที่ปริมาณน้าฝนจะเพิ่มขึนเฉลี่ยเท่ากับ 1.023 mm ในรูปแบบแนวทางB2
รูปที่ 9 ค่าเฉลี่ยของความเร็วลมที่เปลี่ยนแปลงไปในแนวทาง A2 และแนวทาง B2
ความเร็วลมเฉลี่ยมีแนวโน้มที่จะเพิ่มขึนในอนาคต โดยการคาดการณ์ในแนวทาง A2 และแนวทาง
B2 นันไม่แตกต่างกันในทางสถิติ ซึ่งรูปแบบแนวทาง A2 ความเร็วลมจะเพิ่มขึนเฉลี่ยเท่ากับ 0.003 m/s
ในขณะที่ความเร็วลมจะเพิ่มขึนเฉลี่ยเท่ากับ 0.003 m/sในรูปแบบแนวทาง B2
0
0.2
0.4
0.6
0.8
1
1.2
A2 B2
ปริมาณน้าฝนเฉลี่ย(mm)
แนวทางสถานการณ์จาลองที่ก๊าซเรือนกระจกเพิ่มสูงขึ้น
ค่าเฉลี่ยของปริมาณน้าฝน
ที่เปลี่ยนแปลง
A2
B2
0.00284
0.00286
0.00288
0.0029
0.00292
0.00294
0.00296
0.00298
0.003
0.00302
A2 B2
ค่าเฉลี่ยความเร็วลม(m/s)
แนวทางสถานการณ์จาลองที่ก๊าซเรือนกระจกเพิ่มสูงขึ้น
ค่าเฉลี่ยความเร็วลม
ที่เปลี่ยนแปลง
A2
B2
17
รูปที่ 10 ค่าเฉลี่ยของความชืนสัมพัทธ์ที่เปลี่ยนแปลงไปในแนวทาง A2 และแนวทาง B2
ความชืนสัมพัทธ์เฉลี่ยมีแนวโน้มที่จะลดลงในอนาคต โดยการคาดการณ์ในแนวทาง A2 และ
แนวทาง B2 นันไม่แตกต่างกันในทางสถิติ ซึ่งความชืนสัมพัทธ์จะลดลงเฉลี่ยเท่ากับ 0.036 % ในรูปแบบ
แนวทาง A2 ในขณะที่รูปแบบแนวทาง B2 ความชืนสัมพัทธ์จะลดลงเฉลี่ยเท่ากับ 0.018%
จากการศึกษาการคาดการณ์สภาพภูมิอากาศของอ้าเภอน้าพองพบว่าในอนาคตมีแนวโน้มที่
อุณหภูมิจะสูงขึน ปริมาณน้าฝนเพิ่มขึน ความเร็วลมเพิ่มขึน และความชืนสัมพัทธ์ลดลง ซึ่งแม้ว่าค่าที่
ค้านวณได้จากในแนวทาง A2 และ แนวทาง B2 นันไม่มีค่าแตกต่างกันทางสถิติ แต่หากพิจารณาดูจาก
ค่าเฉลี่ยที่เปลี่ยนแปลงไปในแต่ละพารามิเตอร์จะพบว่าในแนวทาง A2 นันจะมีสภาพภูมิอากาศที่ใน
อนาคตที่แย่กว่าในแนวทาง B2 นั่นคือในอนาคตนันหากอ้าเภอน้าพองยังมีการพัฒนาต่อไปเรื่อยๆ อาทิ
ด้านเศรษฐกิจ เช่น มีการตังโรงงานเพิ่มขึน โรงงานเดิมมีการผลิตที่เพิ่มมากขึน มีการท้าการเกษตรกรรม
เพิ่มขึน เป็นต้น โดยไม่มีการค้านึงถึงสิ่งแวดล้อม ในอนาคตอันใกล้นีสิ่งแวดล้อม สุขภาพของประชาชน
และสภาพภูมิอากาศอาจอยู่ในขันวิกฤตได้ แต่หากการพัฒนาเหล่านันพัฒนาแบบสมดุล มีการ
เปลี่ยนแปลงสู่การพัฒนาควบคู่กับการดูแลรักษาธรรมชาติอย่างยั่งยืน จะส่งผลให้มีเศรษฐกิจดี คุณภาพ
ชีวิตของประชาชนดี สิ่งแวดล้อมดี และยังมีสภาพภูมิอากาศที่ดีอีกด้วย
ข้อเสนอแนะ
เพื่อเป็นการป้องกันมิให้สภาพภูมิอากาศของอ้าเภอน้าพอง จังหวัดขอนแก่น ในอนาคตเกิดการ
เปลี่ยนแปลงไปในทางลบ ควรมีการวางแผนการพัฒนาในแนวทางที่มีการใส่ใจในสิ่งแวดล้อมมากยิ่งขึน มี
การพัฒนาแบบสมดุล เป็นการพัฒนาควบคู่กับการดูแลรักษาธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
การประยุกต์ผลการศึกษา
การศึกษานีจะน้าไปใช้ประกอบกับโครงการสร้างความร่วมมือด้านทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อมในระดับพืนที่ เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาวะภูมิอากาศ (โครงการรักษ์น้าพอง) เพื่อเป็น
แนวทางในการวางแผนการพัฒนาอ้าเภอน้าพองในอนาคต อันจะเป็นประโยชน์ต่อพืนที่ดังกล่าวโดยที่
ประชาชนในอ้าเภอน้าพอง รวมถึงผู้ประกอบการต่างๆที่อยู่ในเขตอ้าเภอน้าพองจะได้เห็นถึงแนวโน้ม
สภาพภูมิอากาศที่จะเกิดขึนในอนาคตอันใกล้นี ซึ่งได้มีการเปรียบเทียบให้เห็นถึงการพัฒนาในรูปแบบไม่
ค้านึงสิ่งแวดล้อมและในรูปแบบที่ค้านึงถึงสิ่งแวดล้อม จากการเปรียบเทียบนีชาวอ้าเภอน้าพองจะได้มี
ทางเลือกในการเลือกปฏิบัติ ปรับปรุงแก้ไข และพัฒนาให้เป็นผลดีที่สุดต่ออ้าเภอของตน
สรุปผลการส้ารวจโดยแบบสอบถามความพึงพอใจผู้เข้าร่วมกิจกรรมภายใต้โครงการสร้างความร่วมมือด้าน
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในระดับพื้นที่เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาวะภูมิอากาศ ปี ๒๕๕๗
จากแบบสอบถามที่มีผู้ตอบ ๘๒ ฉบับ ข้อมูลทั่วไปของผู้เข้าร่วมกิจกรรมเป็นเพศชายมากกว่าเพศหญิง
(ร้อยละ ๗๐ และ ๓๐ ตามล้าดับ) มีอายุอยู่ในช่วง ๔๑ – ๕๐ ปีมากที่สุด (๔๒ %) รองลงมาจะอยู่ในช่วงอายุ ๓๑-
-0.04
-0.03
-0.02
-0.01
0
A2 B2ค่าเฉลี่ยความชื้นสัมพัทธ์(%)
แนวทางสถานการณ์จาลองที่ก๊าซเรือนกระจกเพิ่มสูงขึ้น
ค่าเฉลี่ยของความชื้นสัมพัทธ์
ที่เปลี่ยนแปลง
A2
B2
18
๔๐ ปี และ ๕๑ ปีขึนไป (๒๘.๔ % % ตามล้าดับ) มีช่วงอายุ ๒๐-๓๐ ปีน้อยที่สุด (๘.๖ %) มีระดับการศึกษา ๒
ระดับที่เข้าร่วม คือ สูงกว่าปริญญาตรีมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ ๗๓) และปริญญาตรี ร้อยละ ๒๗ มีอาชีพเป็น
ข้าราชการ ร้อยละ ๙๘.๗ เป็นพนักงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ ร้อยละ ๑.๓
ระดับความพึงพอใจ/ความรู้ความเข้าใจ/การน้าไปใช้ ต่อการเข้าร่วมกิจกรรม
ด้านเนือหาและบุคลากร
๑. การถ่ายทอดความรู้ของวิทยากรมีความชัดเจน อยู่ในเกณฑ์ดีมาก ร้อยละ ๗๖.๘ รองลงมาดีมากที่สุด
ร้อยละ ๒๓.๒
๒. ความสามารถในการอธิบายเนือหา อยู่ในเกณฑ์ดีมากและดีมากที่สุด ร้อยละ ๕๘.๕ และ ๔๑.๕
ตามล้าดับ
๓. ความน่าสนใจของเนือหา/กิจกรรม อยู่ในเกณฑ์ดีมากและดีมากที่สุด ร้อยละ ๕๘.๐ และ ๔๒.๐
ตามล้าดับ
๔. การอ้านวยความสะดวกของเจ้าหน้าที่ อยู่ในเกณฑ์ดีมากที่สุดและดีมาก ร้อยละ ๕๗.๓ และ ๔๒.๗
ตามล้าดับ
๕. การตอบข้อซักถามในการเข้าร่วมกิจกรรม อยู่ในเกณฑ์ดีมากและดีมากที่สุด ร้อยละ ๖๗.๑ และ ๓๒.๙
ตามล้าดับ
ด้านสถานที่/ระยะเวลา/อาหาร
๑. สถานที่จัดกิจกรรม อยู่ในเกณฑ์ดีมากและดีมากที่สุด ร้อยละ ๘๖.๔ และ ๑๓.๖ ตามล้าดับ
๒. ความพร้อมของอุปกรณ์ อยู่ในเกณฑ์ดีมากและดีมากที่สุด ร้อยละ ๖๓.๐ และ ๓๗.๐ ตามล้าดับ
๓. ระยะเวลาในการเข้าร่วมกิจกรรม อยู่ในเกณฑ์ดีมาก ดีมากที่สุดและน้อย ร้อยละ ๖๔.๒, ๓๔.๖ และ
๑.๒ ตามล้าดับ
๔. อาหาร มีความเหมาะสม อยู่ในเกณฑ์ดีมาก ดีมากที่สุดและปานกลาง ร้อยละ ๗๒.๘, ๒๕.๙ และ ๑.๒
ตามล้าดับ
ด้านความรู้ความเข้าใจ
๑. ความรู้ ความเข้าใจในเรื่องนี ก่อน เข้าร่วมกิจกรรม อยู่ในเกณฑ์ปานกลางมากที่สุด รองลงมาคือดีมาก
ร้อยละ ๗๕.๓ และ ๒๒.๒ ตามล้าดับ
๒. ความรู้ ความเข้าใจในเรื่องนี หลัง เข้าร่วมกิจกรรม อยู่ในเกณฑ์ดีมากและดีมากที่สุด ร้อยละ ๗๐.๔
และ ๒๙.๖ ตามล้าดับ
ด้านการน้าความรู้ไปใช้
๑. สามารถน้าความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ้าวันได้ อยู่ในเกณฑ์ดีมากและดีมากที่สุด ร้อยละ
๗๐.๔ และ ๒๙.๖ ตามล้าดับ
๒.สามารถน้าความรู้ไปเผยแพร่/ถ่ายทอดได้ อยู่ในเกณฑ์ดีมากและดีมากที่สุด ร้อยละ ๖๙.๑ และ ๓๐.๙
ตามล้าดับ
สรุปประโยชน์ที่ได้รับจากการเข้าร่วมกิจกรรม
๑. ได้รับความรู้แนวทางการบริหารจัดการลุ่มน้า
๒. ท้าให้ทราบเรื่องการบริหารจัดการน้า
19
๓. การใช้ประโยชน์จากน้า

Más contenido relacionado

Más de Natta Noname101

รายชื่อผู้ให้บริการตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ที่ได้รับคัดเลือกเป็นผู้จัดการประมูล...
รายชื่อผู้ให้บริการตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ที่ได้รับคัดเลือกเป็นผู้จัดการประมูล...รายชื่อผู้ให้บริการตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ที่ได้รับคัดเลือกเป็นผู้จัดการประมูล...
รายชื่อผู้ให้บริการตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ที่ได้รับคัดเลือกเป็นผู้จัดการประมูล...Natta Noname101
 
รายชื่อผู้ให้บริการตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ที่ได้รับคัดเลือกเป็นผู้จัดการประมูล...
รายชื่อผู้ให้บริการตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ที่ได้รับคัดเลือกเป็นผู้จัดการประมูล...รายชื่อผู้ให้บริการตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ที่ได้รับคัดเลือกเป็นผู้จัดการประมูล...
รายชื่อผู้ให้บริการตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ที่ได้รับคัดเลือกเป็นผู้จัดการประมูล...Natta Noname101
 
ประกาศใช้แผน
ประกาศใช้แผนประกาศใช้แผน
ประกาศใช้แผนNatta Noname101
 
แผนบริหารจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย
แผนบริหารจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายแผนบริหารจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย
แผนบริหารจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายNatta Noname101
 
ส่วนที่ 3 ยุทธศาสตร์การจัดการขยะมูลฝอยของจังหวัดขอนแก่น
ส่วนที่ 3 ยุทธศาสตร์การจัดการขยะมูลฝอยของจังหวัดขอนแก่นส่วนที่ 3 ยุทธศาสตร์การจัดการขยะมูลฝอยของจังหวัดขอนแก่น
ส่วนที่ 3 ยุทธศาสตร์การจัดการขยะมูลฝอยของจังหวัดขอนแก่นNatta Noname101
 
ส่วนที่ 1 บทนำ ส่วนที่ 2 สถานการณ์ขยะมูลฝอยในภาพรวมของจังหวัด
ส่วนที่ 1 บทนำ ส่วนที่ 2 สถานการณ์ขยะมูลฝอยในภาพรวมของจังหวัดส่วนที่ 1 บทนำ ส่วนที่ 2 สถานการณ์ขยะมูลฝอยในภาพรวมของจังหวัด
ส่วนที่ 1 บทนำ ส่วนที่ 2 สถานการณ์ขยะมูลฝอยในภาพรวมของจังหวัดNatta Noname101
 

Más de Natta Noname101 (6)

รายชื่อผู้ให้บริการตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ที่ได้รับคัดเลือกเป็นผู้จัดการประมูล...
รายชื่อผู้ให้บริการตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ที่ได้รับคัดเลือกเป็นผู้จัดการประมูล...รายชื่อผู้ให้บริการตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ที่ได้รับคัดเลือกเป็นผู้จัดการประมูล...
รายชื่อผู้ให้บริการตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ที่ได้รับคัดเลือกเป็นผู้จัดการประมูล...
 
รายชื่อผู้ให้บริการตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ที่ได้รับคัดเลือกเป็นผู้จัดการประมูล...
รายชื่อผู้ให้บริการตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ที่ได้รับคัดเลือกเป็นผู้จัดการประมูล...รายชื่อผู้ให้บริการตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ที่ได้รับคัดเลือกเป็นผู้จัดการประมูล...
รายชื่อผู้ให้บริการตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ที่ได้รับคัดเลือกเป็นผู้จัดการประมูล...
 
ประกาศใช้แผน
ประกาศใช้แผนประกาศใช้แผน
ประกาศใช้แผน
 
แผนบริหารจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย
แผนบริหารจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายแผนบริหารจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย
แผนบริหารจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย
 
ส่วนที่ 3 ยุทธศาสตร์การจัดการขยะมูลฝอยของจังหวัดขอนแก่น
ส่วนที่ 3 ยุทธศาสตร์การจัดการขยะมูลฝอยของจังหวัดขอนแก่นส่วนที่ 3 ยุทธศาสตร์การจัดการขยะมูลฝอยของจังหวัดขอนแก่น
ส่วนที่ 3 ยุทธศาสตร์การจัดการขยะมูลฝอยของจังหวัดขอนแก่น
 
ส่วนที่ 1 บทนำ ส่วนที่ 2 สถานการณ์ขยะมูลฝอยในภาพรวมของจังหวัด
ส่วนที่ 1 บทนำ ส่วนที่ 2 สถานการณ์ขยะมูลฝอยในภาพรวมของจังหวัดส่วนที่ 1 บทนำ ส่วนที่ 2 สถานการณ์ขยะมูลฝอยในภาพรวมของจังหวัด
ส่วนที่ 1 บทนำ ส่วนที่ 2 สถานการณ์ขยะมูลฝอยในภาพรวมของจังหวัด
 

สรุปประจำปี รักษ์น้ำพอง 2557

  • 1. 1 โครงการการสร้างความร่วมมือด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในระดับพื้นที่ เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาวะภูมิอากาศ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ (โครงการรักษ์น้้าพอง) ชื่อโครงการ/กิจกรรม : .โครงการรักษ์น้้าพอง หลักการและเหตุผล แม่น้าพองบริเวณท้ายเขื่อนอุบลรัตน์ อ้าเภออุบลรัตน์ จนถึงฝายหนองหวาย อ้าเภอน้าพอง จังหวัด ขอนแก่น เป็นพืนที่ที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดปัญหาคุณภาพน้ามากที่สุด พบว่า คุณภาพน้าจะเสื่อมโทรมมาก ในช่วงฤดูแล้ง ประมาณเดือนเมษายนถึงเดือนพฤษภาคมของทุกปี เนื่องจากเป็นช่วงที่มีปริมาณน้าในแม่น้า พองน้อย กระแสน้าไม่ค่อยไหล จังหวัดขอนแก่นจึงมีความจ้าเป็นต้องมีการด้าเนินการเพื่อป้องกันปัญหา คุณภาพน้าเสื่อมโทรมในแม่น้าพองอย่างมีประสิทธิภาพ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของแม่น้าพองทุกภาคส่วนมีมติ ร่วมกันให้จังหวัดขอนแก่นด้าเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหาคุณภาพน้าในแม่น้าพองในรูปแบบของ คณะกรรมการร่วมระหว่างส่วนราชการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรเครือข่ายภาคประชาชนและภาค โรงงานอุตสาหกรรม และให้มีคณะท้างานรับผิดชอบแม่น้าพองเป็นโซนพืนที่ให้ครอบคลุมทังลุ่มน้า เนื่องจาก สภาพปัญหาและแนวทางแก้ไขปัญหาแม่น้าพองมีความแตกต่างกันตามลักษณะของพืนที่ ได้แบ่งพืนที่ลุ่มน้า พองในจังหวัดขอนแก่นออกเป็น ๕ โซนตามลักษณะของภูมิประเทศและสภาพปัญหาเพื่อให้คณะท้างานจัดท้า แผนงาน/โครงการและด้าเนินงานบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมของแม่น้าพองให้มีความเหมาะสมกับสภาพปัญหา ของพืนที่แต่ละโซนอย่างต่อเนื่อง เกิดการบูรณาการในการจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมของแม่น้าพองอย่าง ยั่งยืน มีประสิทธิภาพ และได้ผลเป็นรูปธรรม ตังแต่ต้นน้า กลางน้า และปลายน้า ส้านักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดขอนแก่น จึงได้จัดท้าโครงการรักษ์น้าพองขึน เพื่อน้าร่อง สนับสนุนและกระตุ้นให้เกิดความร่วมมือในการด้าเนินงานของคณะท้างานทัง 5 โซนในการบริหาร จัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมลุ่มน้าพอง จังหวัดขอนแก่นให้เกิดผลในทางปฏิบัติ และยั่งยืนต่อไป วัตถุประสงค์โครงการ ๑. เพื่อจัดตังศูนย์ข้อมูลกลางในการบริหารจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมลุ่มน้าพอง ๒. เพื่อประสานความร่วมมือให้มีการด้าเนินงานในการป้องกันและแก้ไขปัญหาคุณภาพน้าของแม่น้า พองของทุกภาคส่วนครอบคลุมทังลุ่มน้าพอง ๓. เพื่อปลุกจิตส้านึก ส่งเสริม สนับสนุนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการอนุรักษ์ ฟื้นฟู ดูแลและ บริหารจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมลุ่มน้าพอง เตรียมความพร้อมรับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ กลุ่มเป้าหมาย : ๑. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพืนที่ลุ่มน้าพองทัง ๕ โซน ๒. องค์กรภาคประชาชนทุกองค์กร ๓. ผู้ประกอบกิจการโรงงานอุตสาหกรรมในพืนที่ลุ่มน้าพอง ๔. หน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง พื้นที่ด้าเนินการ ลุ่มน้าพองตอนบนและตอนล่างในจังหวัดขอนแก่นจ้านวน ๑๕ อ้าเภอ ๙๑ ต้าบล ผลการด้าเนินงาน : ๑. จัดท้า Mascot รักษ์น้าพองและสื่อ Graphic Information ประชาสัมพันธ์โครงการฯ ๑ เรื่อง
  • 2. 2 ภาพ Mascot และสื่อ Graphic Information รักษ์น้าพอง ๒. จัดท้าเว็บไซต์ของโครงการฯ ๑ เว็บไซต์ ชื่อและที่อยู่ URL เว็บไซต์โครงการรักษ์น้าพอง: http://namphong-subbasin.com/ ภาพเว็บไซต์โครงการรักษ์น้าพอง http://namphong-subbasin.com/ ๓. จัดตังศูนย์ข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมลุ่มน้าพอง ๑ แห่ง
  • 3. 3 ภาพของศูนย์ข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมลุ่มน้าพอ ๔. จัดท้าระบบฐานข้อมูลสนับสนุน อปท.บูรณาการแผนบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมลุ่มน้าพอง ๑ ชุด ภาพปก DVD ชุดฐานข้อมูล ๕. จัดกิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์สร้างการมีส่วนร่วมในการจัดการขยะและน้าเสีย ๒ ครัง  วันที่ ๕ มิถุนายน ๒๕๕๗ เนื่องในวันสิ่งแวดล้อมโลก ณ หอประชุม อ.น้าพอง ผู้เข้าร่วม ๒,๗๐๐ คน ภาพผู้เข้าร่วมกิจกรรมเมื่อวันที่ ๕ มิถุนายน ๒๕๕๗ เนื่องในวันสิ่งแวดล้อมโลก ณ หอประชุม อ.น้าพอง
  • 4. 4 กิจกรรมรณรงค์ใช้ใบตองแทนโฟม กิจกรรมประกวดวาดภาพและระบายสี กิจกรรมจัดนิทรรศการจากโรงเรียนและโรงงานในพืนที่อ้าเภอน้าพอง  วันที่ ๑๒ สิงหาคม ๒๕๕๗ เนื่องในวันแม่แห่งชาติ จัดกิจกรรมรณรงค์ปลูกต้นไม้ในที่สาธารณะเพื่อฟื้นฟูป่า ชุมชนซึ่งมีการลักลอบนพขยะไปทิง บ.ป่าหวายนั่ง หมู่ที่ ๔ ต.เขาสวนกวาง อ.เขาสวนกวาง จ.ขอนแก่น จ้านวน ๑,๐๐๐ ต้น กิจกรรมท้าความสะอาดเก็บขยะและปลูกต้นไม้ในพืนที่ป่าสาธารณะ
  • 6. 6 ขาดรูปประชุม ๕ สิงหาคม ๒๕๕๗ ที่ โรงแรมโฆษะ ขาดรูปประชุม วันที่ ๑๗ กันยายน ๒๕๕๗ ที่ห้องประชุม โครงการส่งน้าและบ้ารุงรักษาหนองหวาย ๗. การสาธิตกิจกรรมการจัดการน้าเสียในระดับครัวเรือน ณ บ้านป่าหวายนั่ง หมู่ที่ ๔ ต้าบลเขาสวนกวาง อ้าเภอเขาสวนกวาง ๕ แห่ง และกิจกรรมการคัดแยกขยะในโรงเรียน และการใช้ไซ ๓Rs ในระดับครัวเรือน
  • 9. 9 มอบอุปกรณ์คัดแยกขยะให้กับราษฎร การสาธิตด้านการจัดการน้้าเสียชุมชน ๑) ร่วมกับราษฎรบ้านป่าหวายนั่งและ อบต.เขาสวนกวาง ด้าเนินกาส้ารวจปัญหาการจัดการน้าเสีย ในระดับชุมชน เพื่อหาแนวทางแก้ไขปัญหา ๒) ด้าเนินการติดตังระบบบ้าบัดน้าเสียส้าหรับครัวเรือน (Zero Discharge) จ้านวน ๕ แห่ง เพื่อ เป็นต้นแบบในการขยายผลการด้าเนินงานให้กับชุมชน ดังนี จุดที่ ๑ ณ โรงเรียนบ้านป่าหวายนั่งราษฎร์บ้ารุง ต.เขาสวนกวาง อ.เขาสวนกวาง จ.ขอนแก่น จุดที่ ๒ ณ บ้านเลขที่ ๙๔ หมู่ที่ ๔ ต.เขาสวนกวาง อ.เขาสวนกวาง จ.ขอนแก่น จุดที่ ๓ ณ บ้านเลขที่ ๑๐๕ หมู่ที่ ๔ ต.เขาสวนกวาง อ.เขาสวนกวาง จ.ขอนแก่น จดที่ ๔ ณ บ้านเลขที่ ๑๗๒ หมู่ที่ ๔ ต.เขาสวนกวาง อ.เขาสวนกวาง จ.ขอนแก่น จุดที่ ๕ ณ วัดโนนสว่าง หมู่ที่ ๔ ต.เขาสวนกวาง อ.เขาสวนกวาง จ.ขอนแก่น ภาพการร่วมกับประชาชนส้ารวจปัญหาน้าเสียในระดับชุมชนและครัวเรือน วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ด้าเนินการระบบบ้าบัดน้าเสียส้าหรับครัวเรือน ระบบบ้าบัดน้้าเสียส้าหรับครัวเรือน(ซีโรดิสชาร์จ (Zero Discharge)) จุดที่ ๑ ณ โรงเรียนบ้านป่าหวายนั่งราษฎร์บ้ารุง ต.เขาสวนกวาง อ.เขาสวนกวาง จ.ขอนแก่น
  • 10. 10 จุดที่ ๒ ณ บ้านเลขที่ ๙๔ หมู่ที่ ๔ ต.เขา สวนกวาง อ.เขาสวนกวาง จ.ขอนแก่น (นางค้าปน ชนะบุญ) จุดที่ ๓ ณ บ้านเลขที่ ๑๐๕ หมู่ที่ ๔ ต.เขาสวนกวาง อ.เขาสวนกวาง จ.ขอนแก่น (นายเคน ผิวแดง) จุดที่ ๔ ณ บ้านเลขที่ ๑๗๒ หมู่ที่ ๔ ต.เขา สวนกวาง อ.เขาสวนกวาง จ.ขอนแก่น (นายเฉลิม เมาะราศี)
  • 11. 11 จุดที่ ๕ ณ วัดโนนสว่าง หมู่ที่ ๔ ต.เขา สวนกวาง อ.เขาสวนกวาง จ.ขอนแก่น ภาพขั้นตอนการ ด้าเนินงาน
  • 12. 12 ๘. การสาธิตกิจกรรมบ้าบัดน้าเสีย ณ แหล่งก้าเนิด (Onsite Treatment) ที่ตลาดสดชุมชน ต.โคกสี อ.เมือง ขอนแก่น จ.ขอนแก่น ๑ แห่ง
  • 13. 13 การคาดการณ์สภาพภูมิอากาศระดับท้องถิ่นด้วยแบบจ้าลอง PRECIS + ECHAM4: กรณีศึกษา อ้าเภอน้้าพอง จังหวัดขอนแก่น มยุรา นามวงษ์ไชย1, วงศ์วิวรรธ ธนูศิลป์2, ราชภัทร รัตนวราห3 และเตือนใจ ดุลย์จินดาชบาพร1 1. ภาควิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ขอนแก่น 40002 2. ส้านักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดขอนแก่น ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ขอนแก่น 40000 ๓. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น ที่มาและความส้าคัญ ปัญหาภาวะโลกร้อนในปัจจุบันได้ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศตังแต่ในระดับ ท้องถิ่นจนถึงระดับโลก อันมีสาเหตุหลักเกิดจากการเพิ่มขึนของก๊าซเรือนกระจกในบรรยากาศ ซึ่ง ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศมีด้วยกันหลากหลายด้าน จากความตื่นตระหนกถึง ผลกระทบจากปัญหาดังกล่าวจึงได้มีคาดการณ์สภาพภูมิอากาศในอนาคตขึนมาเพื่อให้เห็นถึงแนวโน้ม การเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศที่จะเกิดขึนในภายภาคหน้า โดยการวิจัยนีได้เลือกพืนที่ท้าการศึกษาคือ อ้าเภอน้าพอง จังหวัดขอนแก่น ภายใต้เงื่อนไขการเปลี่ยนแปลงของท้องถิ่นที่มุ่งเน้นการพัฒนาโดยไม่ ค้านึงถึงสิ่งแวดล้อม(แนวทางA2) และการพัฒนาที่ควบคู่ไปกับการรักษาสิ่งแวดล้อม (แนวทาง B2) วัตถุประสงค์ เพื่อคาดการณ์สภาพภูมิอากาศระดับท้องถิ่นในอนาคตโดยใช้แบบจ้าลอง PRECIS + แบบจ้าลอง ECHAM4 ของอ้าเภอน้าพอง จังหวัดขอนแก่น เป็นระยะเวลา 100 ปี ตังแต่ ค.ศ. 1961- ค.ศ. 2060 วิธีการศึกษา ท้าการน้าเข้าข้อมูลดิบจากศูนย์จัดการความรู้ด้านการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ; CCKM โดยเลือกใช้ แบบจ้าลอง PRECIS + แบบจ้าลอง ECHAM4 ภายใต้เงื่อนไขการเพิ่มขึนของก๊าซเรือนกระจกในแนวทาง A2 และแนวทาง B2 ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เลือกใช้ข้อมูลรายวันทางอุตุนิยมวิทยา 5 ชนิด ได้แก่ อุณหภูมิสูงสุด อุณหภูมิต่้าสุด ปริมาณน้าฝน ความเร็วลม และความชืนสัมพัทธ์ เลือกช่วงเวลาคือ ค.ศ. 1961 – ค.ศ. 2060 รวมเป็นระยะเวลา 100 ปี ข้อมูลดิบที่ได้จะอยู่ในรูปแบบไฟล์ Microsoft Excel ท้า การค้านวณหาค่าเฉลี่ยโดยใช้ Microsoft Excel และน้ามาพลอตกราฟเพื่อให้เห็นเป็นแนวโน้มของการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในระยะเวลา 100 ปี ผลการศึกษา
  • 14. 14 สรุปผลการศึกษา 32 33 34 35 36 37 1961 1970 1979 1988 1997 2006 2015 2024 2033 2042 2051 2060 Tmax(C°) Year A2 B2 21 22 23 24 25 26 1961 1970 1979 1988 1997 2006 2015 2024 2033 2042 2051 2060 Tmin(C°) Year A 2 B 2 750 1000 1250 1500 1750 196119701979198819972006201520242033204220512060 Preciptation (mm) Year A2 B2 2 2.2 2.4 2.6 2.8 3 1961 1970 1979 1988 1997 2006 2015 2024 2033 2042 2051 2060 WindSpeed(m/s) Year A2 B2 55 60 65 70 75 1961 1970 1979 1988 1997 2006 2015 2024 2033 2042 2051 2060 Relative Humidity(%) Year A2 B2 1. การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิสูงสุดใน ระยะเวลา 100 ปี (ค.ศ.1961-ค.ศ.2060) 2. การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิต่าสุดใน ระยะเวลา 100 ปี (ค.ศ.1961-ค.ศ.2060) 5. การเปลี่ยนแปลงความชื้นสัมพัทธ์ใน ระยะเวลา 100 ปี (ค.ศ.1961-ค.ศ.2060) 4. การเปลี่ยนแปลงความเร็วลมใน ระยะเวลา 100 ปี (ค.ศ.1961-ค.ศ.2060) 3. การเปลี่ยนแปลงปริมาณน้าฝนใน ระยะเวลา 100 ปี (ค.ศ.1961-ค.ศ.2060)
  • 15. 15 จากการศึกษาเรื่อง “การคาดการณ์สภาพภูมิอากาศอนาคตของอ้าเภอน้าพอง จังหวัดขอนแก่น” ภายใต้สถานการณ์จ้าลองที่ก๊าซเรือนกระจกเพิ่มสูงขึนตามแนวทางแบบ A2 ซึ่งเป็นการสมมติให้พืนที่เขต อ้าเภอน้าพองมีการพัฒนาที่เน้นการเจริญเติบโตในเชิงเศรษฐกิจมากกว่าความยั่งยืนทางสิ่งแวดล้อม และ แนวทางแบบ B2 ซึ่งเป็นการสมมติให้เป็นการพัฒนาอย่างสมดุล ยั่งยืน เกิดการเปลี่ยนแปลงไปสู่การ พัฒนาในด้านต่างๆที่ควบคู่ไปกับการดูแลรักษาธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ซึ่งในการศึกษามีวัตถุประสงค์ เพื่อคาดการณ์สภาพภูมิอากาศของอ้าเภอน้าพอง จังหวัดขอนแก่น ตังแต่ ค.ศ.2015 - ค.ศ. 2060 และ เพื่อน้าผลการศึกษาที่ได้ไปใช้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการสร้างความร่วมมือด้านทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมในระดับพืนที่ เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาวะภูมิอากาศ (โครงการรักษ์น้าพอง) ของ ส้านักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดขอนแก่น ในการศึกษาสามารถสรุปผลการศึกษาได้ ดังนี รูปที่ 6 ค่าเฉลี่ยของอุณหภูมิสูงสุดที่เปลี่ยนแปลงไปในแนวทาง A2 และแนวทาง B2 อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ยมีแนวโน้มที่จะเพิ่มขึนในอนาคต โดยการคาดการณ์ในแนวทาง A2 และ แนวทาง B2 นันไม่แตกต่างกันในทางสถิติ ซึ่งอุณหภูมิสูงสุดในรูปแบบแนวทางA2 จะเพิ่มขึนเฉลี่ยเท่ากับ 0.025๐C ในขณะที่รูปแบบแนวทาง B2 อุณหภูมิจะเพิ่มขึนเฉลี่ยเท่ากับ 0.023๐C รูปที่ 7 ค่าเฉลี่ยของอุณหภูมิต่้าสุดที่เปลี่ยนแปลงไปในแนวทาง A2 และแนวทาง B2 อุณหภูมิต่้าสุดเฉลี่ยมีแนวโน้มที่จะเพิ่มขึนในอนาคต โดยการคาดการณ์ในแนวทาง A2 และ แนวทาง B2 นันไม่แตกต่างกันในทางสถิติ ซึ่งอุณหภูมิต่้าสุดในรูปแบบแนวทางA2 จะเพิ่มขึนเฉลี่ยเท่ากับ 0.029๐C ในขณะที่รูปแบบแนวทาง B2 อุณหภูมิจะเพิ่มขึนเฉลี่ยเท่ากับ 0.026๐C 0.02 0.022 0.024 0.026 A2 B2 ค่าเฉลี่ยอุณหภูมิ(๐C) แนวทางสถานการณ์จาลองที่ก๊าซเรือนกระจกเพิ่มสูงขึ้น ค่าเฉลี่ยของอุณหภูมิสูงสุด ที่เปลี่ยนแปลง A2 B2 0.025 0.03 A2 B2 ค่าเฉลี่ยอุณหภูมิ(๐C) แนวทางสถานการณ์จาลองที่ก๊าซเรือนกระจกเพิ่มสูงขึ้น ค่าเฉลี่ยของอุณหภูมิต่าสุด ที่เปลี่ยนแปลง A2 B2
  • 16. 16 รูปที่ 8 ค่าเฉลี่ยของปริมาณน้าฝนที่เปลี่ยนแปลงไปในแนวทาง A2 และแนวทาง B2 ปริมาณน้าฝนเฉลี่ยมีแนวโน้มที่จะเพิ่มขึนในอนาคต โดยการคาดการณ์ในแนวทาง A2 และ แนวทาง B2 นันไม่แตกต่างกันในทางสถิติ ซึ่งในรูปแบบแนวทาง A2 ปริมาณน้าฝนจะเพิ่มขึนเฉลี่ยเท่ากับ 0.386 mm ในขณะที่ปริมาณน้าฝนจะเพิ่มขึนเฉลี่ยเท่ากับ 1.023 mm ในรูปแบบแนวทางB2 รูปที่ 9 ค่าเฉลี่ยของความเร็วลมที่เปลี่ยนแปลงไปในแนวทาง A2 และแนวทาง B2 ความเร็วลมเฉลี่ยมีแนวโน้มที่จะเพิ่มขึนในอนาคต โดยการคาดการณ์ในแนวทาง A2 และแนวทาง B2 นันไม่แตกต่างกันในทางสถิติ ซึ่งรูปแบบแนวทาง A2 ความเร็วลมจะเพิ่มขึนเฉลี่ยเท่ากับ 0.003 m/s ในขณะที่ความเร็วลมจะเพิ่มขึนเฉลี่ยเท่ากับ 0.003 m/sในรูปแบบแนวทาง B2 0 0.2 0.4 0.6 0.8 1 1.2 A2 B2 ปริมาณน้าฝนเฉลี่ย(mm) แนวทางสถานการณ์จาลองที่ก๊าซเรือนกระจกเพิ่มสูงขึ้น ค่าเฉลี่ยของปริมาณน้าฝน ที่เปลี่ยนแปลง A2 B2 0.00284 0.00286 0.00288 0.0029 0.00292 0.00294 0.00296 0.00298 0.003 0.00302 A2 B2 ค่าเฉลี่ยความเร็วลม(m/s) แนวทางสถานการณ์จาลองที่ก๊าซเรือนกระจกเพิ่มสูงขึ้น ค่าเฉลี่ยความเร็วลม ที่เปลี่ยนแปลง A2 B2
  • 17. 17 รูปที่ 10 ค่าเฉลี่ยของความชืนสัมพัทธ์ที่เปลี่ยนแปลงไปในแนวทาง A2 และแนวทาง B2 ความชืนสัมพัทธ์เฉลี่ยมีแนวโน้มที่จะลดลงในอนาคต โดยการคาดการณ์ในแนวทาง A2 และ แนวทาง B2 นันไม่แตกต่างกันในทางสถิติ ซึ่งความชืนสัมพัทธ์จะลดลงเฉลี่ยเท่ากับ 0.036 % ในรูปแบบ แนวทาง A2 ในขณะที่รูปแบบแนวทาง B2 ความชืนสัมพัทธ์จะลดลงเฉลี่ยเท่ากับ 0.018% จากการศึกษาการคาดการณ์สภาพภูมิอากาศของอ้าเภอน้าพองพบว่าในอนาคตมีแนวโน้มที่ อุณหภูมิจะสูงขึน ปริมาณน้าฝนเพิ่มขึน ความเร็วลมเพิ่มขึน และความชืนสัมพัทธ์ลดลง ซึ่งแม้ว่าค่าที่ ค้านวณได้จากในแนวทาง A2 และ แนวทาง B2 นันไม่มีค่าแตกต่างกันทางสถิติ แต่หากพิจารณาดูจาก ค่าเฉลี่ยที่เปลี่ยนแปลงไปในแต่ละพารามิเตอร์จะพบว่าในแนวทาง A2 นันจะมีสภาพภูมิอากาศที่ใน อนาคตที่แย่กว่าในแนวทาง B2 นั่นคือในอนาคตนันหากอ้าเภอน้าพองยังมีการพัฒนาต่อไปเรื่อยๆ อาทิ ด้านเศรษฐกิจ เช่น มีการตังโรงงานเพิ่มขึน โรงงานเดิมมีการผลิตที่เพิ่มมากขึน มีการท้าการเกษตรกรรม เพิ่มขึน เป็นต้น โดยไม่มีการค้านึงถึงสิ่งแวดล้อม ในอนาคตอันใกล้นีสิ่งแวดล้อม สุขภาพของประชาชน และสภาพภูมิอากาศอาจอยู่ในขันวิกฤตได้ แต่หากการพัฒนาเหล่านันพัฒนาแบบสมดุล มีการ เปลี่ยนแปลงสู่การพัฒนาควบคู่กับการดูแลรักษาธรรมชาติอย่างยั่งยืน จะส่งผลให้มีเศรษฐกิจดี คุณภาพ ชีวิตของประชาชนดี สิ่งแวดล้อมดี และยังมีสภาพภูมิอากาศที่ดีอีกด้วย ข้อเสนอแนะ เพื่อเป็นการป้องกันมิให้สภาพภูมิอากาศของอ้าเภอน้าพอง จังหวัดขอนแก่น ในอนาคตเกิดการ เปลี่ยนแปลงไปในทางลบ ควรมีการวางแผนการพัฒนาในแนวทางที่มีการใส่ใจในสิ่งแวดล้อมมากยิ่งขึน มี การพัฒนาแบบสมดุล เป็นการพัฒนาควบคู่กับการดูแลรักษาธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน การประยุกต์ผลการศึกษา การศึกษานีจะน้าไปใช้ประกอบกับโครงการสร้างความร่วมมือด้านทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมในระดับพืนที่ เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาวะภูมิอากาศ (โครงการรักษ์น้าพอง) เพื่อเป็น แนวทางในการวางแผนการพัฒนาอ้าเภอน้าพองในอนาคต อันจะเป็นประโยชน์ต่อพืนที่ดังกล่าวโดยที่ ประชาชนในอ้าเภอน้าพอง รวมถึงผู้ประกอบการต่างๆที่อยู่ในเขตอ้าเภอน้าพองจะได้เห็นถึงแนวโน้ม สภาพภูมิอากาศที่จะเกิดขึนในอนาคตอันใกล้นี ซึ่งได้มีการเปรียบเทียบให้เห็นถึงการพัฒนาในรูปแบบไม่ ค้านึงสิ่งแวดล้อมและในรูปแบบที่ค้านึงถึงสิ่งแวดล้อม จากการเปรียบเทียบนีชาวอ้าเภอน้าพองจะได้มี ทางเลือกในการเลือกปฏิบัติ ปรับปรุงแก้ไข และพัฒนาให้เป็นผลดีที่สุดต่ออ้าเภอของตน สรุปผลการส้ารวจโดยแบบสอบถามความพึงพอใจผู้เข้าร่วมกิจกรรมภายใต้โครงการสร้างความร่วมมือด้าน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในระดับพื้นที่เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาวะภูมิอากาศ ปี ๒๕๕๗ จากแบบสอบถามที่มีผู้ตอบ ๘๒ ฉบับ ข้อมูลทั่วไปของผู้เข้าร่วมกิจกรรมเป็นเพศชายมากกว่าเพศหญิง (ร้อยละ ๗๐ และ ๓๐ ตามล้าดับ) มีอายุอยู่ในช่วง ๔๑ – ๕๐ ปีมากที่สุด (๔๒ %) รองลงมาจะอยู่ในช่วงอายุ ๓๑- -0.04 -0.03 -0.02 -0.01 0 A2 B2ค่าเฉลี่ยความชื้นสัมพัทธ์(%) แนวทางสถานการณ์จาลองที่ก๊าซเรือนกระจกเพิ่มสูงขึ้น ค่าเฉลี่ยของความชื้นสัมพัทธ์ ที่เปลี่ยนแปลง A2 B2
  • 18. 18 ๔๐ ปี และ ๕๑ ปีขึนไป (๒๘.๔ % % ตามล้าดับ) มีช่วงอายุ ๒๐-๓๐ ปีน้อยที่สุด (๘.๖ %) มีระดับการศึกษา ๒ ระดับที่เข้าร่วม คือ สูงกว่าปริญญาตรีมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ ๗๓) และปริญญาตรี ร้อยละ ๒๗ มีอาชีพเป็น ข้าราชการ ร้อยละ ๙๘.๗ เป็นพนักงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ ร้อยละ ๑.๓ ระดับความพึงพอใจ/ความรู้ความเข้าใจ/การน้าไปใช้ ต่อการเข้าร่วมกิจกรรม ด้านเนือหาและบุคลากร ๑. การถ่ายทอดความรู้ของวิทยากรมีความชัดเจน อยู่ในเกณฑ์ดีมาก ร้อยละ ๗๖.๘ รองลงมาดีมากที่สุด ร้อยละ ๒๓.๒ ๒. ความสามารถในการอธิบายเนือหา อยู่ในเกณฑ์ดีมากและดีมากที่สุด ร้อยละ ๕๘.๕ และ ๔๑.๕ ตามล้าดับ ๓. ความน่าสนใจของเนือหา/กิจกรรม อยู่ในเกณฑ์ดีมากและดีมากที่สุด ร้อยละ ๕๘.๐ และ ๔๒.๐ ตามล้าดับ ๔. การอ้านวยความสะดวกของเจ้าหน้าที่ อยู่ในเกณฑ์ดีมากที่สุดและดีมาก ร้อยละ ๕๗.๓ และ ๔๒.๗ ตามล้าดับ ๕. การตอบข้อซักถามในการเข้าร่วมกิจกรรม อยู่ในเกณฑ์ดีมากและดีมากที่สุด ร้อยละ ๖๗.๑ และ ๓๒.๙ ตามล้าดับ ด้านสถานที่/ระยะเวลา/อาหาร ๑. สถานที่จัดกิจกรรม อยู่ในเกณฑ์ดีมากและดีมากที่สุด ร้อยละ ๘๖.๔ และ ๑๓.๖ ตามล้าดับ ๒. ความพร้อมของอุปกรณ์ อยู่ในเกณฑ์ดีมากและดีมากที่สุด ร้อยละ ๖๓.๐ และ ๓๗.๐ ตามล้าดับ ๓. ระยะเวลาในการเข้าร่วมกิจกรรม อยู่ในเกณฑ์ดีมาก ดีมากที่สุดและน้อย ร้อยละ ๖๔.๒, ๓๔.๖ และ ๑.๒ ตามล้าดับ ๔. อาหาร มีความเหมาะสม อยู่ในเกณฑ์ดีมาก ดีมากที่สุดและปานกลาง ร้อยละ ๗๒.๘, ๒๕.๙ และ ๑.๒ ตามล้าดับ ด้านความรู้ความเข้าใจ ๑. ความรู้ ความเข้าใจในเรื่องนี ก่อน เข้าร่วมกิจกรรม อยู่ในเกณฑ์ปานกลางมากที่สุด รองลงมาคือดีมาก ร้อยละ ๗๕.๓ และ ๒๒.๒ ตามล้าดับ ๒. ความรู้ ความเข้าใจในเรื่องนี หลัง เข้าร่วมกิจกรรม อยู่ในเกณฑ์ดีมากและดีมากที่สุด ร้อยละ ๗๐.๔ และ ๒๙.๖ ตามล้าดับ ด้านการน้าความรู้ไปใช้ ๑. สามารถน้าความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ้าวันได้ อยู่ในเกณฑ์ดีมากและดีมากที่สุด ร้อยละ ๗๐.๔ และ ๒๙.๖ ตามล้าดับ ๒.สามารถน้าความรู้ไปเผยแพร่/ถ่ายทอดได้ อยู่ในเกณฑ์ดีมากและดีมากที่สุด ร้อยละ ๖๙.๑ และ ๓๐.๙ ตามล้าดับ สรุปประโยชน์ที่ได้รับจากการเข้าร่วมกิจกรรม ๑. ได้รับความรู้แนวทางการบริหารจัดการลุ่มน้า ๒. ท้าให้ทราบเรื่องการบริหารจัดการน้า