SlideShare a Scribd company logo
1 of 29
ความดันและหน่วยวัดความดัน
ความดัน   หมายถึง   แรงที่กระทำลงอย่างสม่ำเสมอในแนวตั้งฉาก บนพื้นที่ที่กำหนด   ถ้ากำหนดให้   F  คือ   แรงที่กระทำ   A  คือ   พื้นที่ที่ถูกกระทำ P  คือ   ความดันที่เกิดขึ้น   จะได้ bar  เป็นหน่วยมาตรฐานสากลของทุกประเทศ
จากสูตร P  =  F / A  PASCAL แต่เนื่องจากเป็นแรง  1  นิวตัน ที่กระทำลงบน พื้นที่  1  ตารางเมตร ซึ่งมองเห็นความดันที่เกิดขึ้น น้อยมาก จึงขยายเป็น  100000  Pa  =  1 Bar
ความดันเกิดจากสสาร  2  สถานะ 1.  ก๊าซ  ( Pressure of gas ) 2 .  ของเหลว  ( Pressure of liquids )
1.  ก๊าซ  ( Pressure of gas ) ก๊าซมีการเคลื่อนไหวที่อิสระเปรียบเสมือนลูกบอลเล็กๆ   ที่เคลื่อนไหวอยู่ ตลอดเวลาในภาชนะปิดระหว่างที่มันเคลื่อนที่อยู่นั้น   มันจะชนกันเองและ ชนกับพื้นที่ผิวภายในของภาชนะ   การเคลื่อนที่อยู่ตลอดเวลา   การเกิด ปะทะกันเอง   และปะทะกับพื้นผิวภายในของภาชนะเช่นนี้จะเกิด ความดันขึ้น
ถ้ากำหนดให้ m   เป็นมวลของโมเลกุลก๊าซ   มีหน่วยเป็น   kg v   เป็นความเร็วเฉลี่ยของการเคลื่อนที่ของโมเลกุลก๊าซ   มีหน่วยเป็น   m/s n   เป็นจำนวนของโมเลกุลก๊าซ   ที่บรรจุอยู่ในภาชนะ ริมาตร   1 m 3   1.  ก๊าซ  ( Pressure of gas )
1.  ก๊าซ  ( Pressure of gas ) P  =  1/3 n.m.v 2
2.  ของเหลว   (Pressure of Liquids)   จากมวลที่มีความหนาแน่นมากกว่า  ทำให้การอัดตัวจะเป็นลักษณะการทับถมลงสู่ด้านล่าง ความดันที่เกิดจากของเหลวลักษณะนี้เรียกว่า   สแตติกเฮด   (Static Head )   หรือเรียกสั้นๆ   ว่า   เฮด   (Head)
ถ้ากำหนดให้ P   คือ   ความดันอันเกิดจากของเหลว   มีหน่วยเป็น   bar p   คือ ความหนาแน่นของของเหลว   มีหน่วยเป็น   kg/m 3 h   คือ   ความสูงของของเหลว   มีหน่วยเป็น   m และ g   คือ แรงโน้มถ่วง   มีหน่วยเป็น   m/s2
ถ้ากำหนดให้ P   คือ   ความดันอันเกิดจากของเหลว   มีหน่วยเป็น   bar    คือ ความหนาแน่นของของเหลว   มีหน่วยเป็น   kg/m 3 h   คือ   ความสูงของของเหลว   มีหน่วยเป็น   m และ g   คือ แรงโน้มถ่วง   มีหน่วยเป็น   m/s 2 P  =  h .     . g
 h P1 P2 ผลต่างของความดัน = P1 – P2 =   h .    . g ซึ่งหมายถึงค่าความดันขณะนั้นนั่นเอง
รูปแบบของความดัน ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
รูปแบบของความดัน ,[object Object],[object Object]
แบ่งการวัด  Vaccuum  ออกเป็น  4  ระดับ 2. Medium high   1  –  10 -3  torr 1. Medium  25 mmHgvac  ถึง  736  mmHgvac 3. High  1 0 -3   –  10 - 7   torr 4. Ultrahigh  น้อยกว่า  10 - 7   torr ** torr = torricelli
Manometer   Manometer
มาโนมิเตอร์รูปตัว   U  (U-tube Manometer)   ความดันด้านสูงจะดันให้ของเหลว จากด้านขวาของหลอดแก้วไหลไป ยังอีกข้างหนึ่ง   ของเหลวจะหยุดเมื่อ แรงที่เกิดจากความดันแตกต่างสมดุล กับแรงที่เกิดจากน้ำหนักของของเหลว ในหลอดแก้วด้านซ้าย
P 2 P 1    P=   h .    . g  h P m P a P m   ความหนาแน่นของ  ของเหลว P m   ความหนาแน่น  เหนือของเหลว
ของเหลวที่ใช้ในปัจจุบัน   ได้แก่   น้ำ   ปรอท   และน้ำมันผสมที่ไม่ระเหย   คุณสมบัติของของเหลวที่จะเติมลงในมาโนมิเตอร์จะต้องเป็นสารที่ไม่ ทำปฎิกิริยา   หรือรวมตัวกับสาร   (Fluid) ที่ต้องการวัดความดันในระบบ   จะต้องไม่เป็นพิษ   ไม่กัดกร่อน   แข็งตัว   หรือ   เดือดมในสภาวะใช้งาน ความผิดพลาดของการวัดด้วยวิธีนี้   ประมาณ    0.3 %  สำหรับการวัด ที่ต้องการค่าแน่นอน   อุณหภูมิที่ต่างไปจากค่ากำหนด   ( ค่า Reference) ความบริสุทธิ์ของของเหลว   ความดันบรรยากาศ   ณ   จุดที่วัดที่อาจเปลี่ยนไป จะต้องนำมาคำนวณแก้ด้วย   ซึ่งค่าต่างๆ   เหล่านี้จะทำให้ความหนาแน่น ของของเหลวเปลี่ยนไป   อันจะทำให้ค่าความผิดพลาดสูงขึ้นทั้งสิ้น
ค่าความตึงผิวของของเหลว   (Surface Tension)  ที่ใช้เติมลงในมาโนมิเตอร์จะทำให้ระดับของของเหลวไม่เรียบ   น้ำหรือน้ำมันผสมมีค่าความดึงผิวต่ำ   ทำให้มีน้ำบางส่วนเกาะกับผิวผนัง ภายในท่อปรอทมีค่าความตึงผิวสูงทำให้ระดับใจกลางท่อสูงกว่าผิวผนัง ภายในท่อ   น้ำ ปรอท
ค่าความตึงผิวของของเหลว   (Surface Tension)  ที่ใช้เติมลงในมาโนมิเตอร์จะทำให้ระดับของของเหลวไม่เรียบ   น้ำหรือน้ำมันผสมมีค่าความดึงผิวต่ำ   ทำให้มีน้ำบางส่วนเกาะกับผิวผนัง ภายในท่อปรอทมีค่าความตึงผิวสูงทำให้ระดับใจกลางท่อสูงกว่าผิวผนัง ภายในท่อ   ผลของความตึงผิวนี้จะทำให้การอ่านค่าผิดไปได้   น้ำ ปรอท ผิด ถูก error
มาโนมิเตอร์รูปตัว   U
มาโนมิเตอร์แบบใช้ของเหลว   2  ชนิด   ดูการ  re-write  สมการ  P = g.y[  1 (1+  ) -   2   (1-  ) a A a A
มาโนมิเตอร์แบบท่อเดี่ยว   มาโนมิเตอร์แบบท่อแก้วเดี่ยวดัดแปลงจากมาโนมิเตอร์ รูปตัว  U  เพื่อให้สะดวกในการอ่านค่าโดยให้พื้นที่หน้าตัด ด้านบนของหลอดแก้วข้างหนึ่งใหญ่กว่าอีกด้านมากๆ   ความถูกต้องของการวัดด้วยวิธีนี้ขึ้นอยู่กับ อัตราส่วนของ พื้นที่หน้าตัด ยิ่งมีค่าน้อยเท่าใดความถูกต้องก็จะมากขึ้นเท่านั้น
P 2 P 1 พื้นที่  A พื้นที่  a h 2 h 1  P = g .    . h 2   (1+  ) a A
มาโนมิเตอร์แบบท่อเอียง   ได้รับการออกแบบมาเพื่อใช้วัดความดันค่าต่ำๆ   จนถึง   10 mBar  ระดับความสูงต่ำของความดันที่จะวัดขึ้นอยู่กับ มุม      มาโนมิเตอร์แบบท่อเอียงนี้ส่วนใหญ่จะปรับมุม      นี้ได้   P 2 P 1 A 2 A 1 P 2  - P 1  =    .  g . L . Sin  
มาโนมิเตอร์แบบแรงสมดุลบนวงแหวน   มาโนมิเตอร์แบบนี้ใช้หลักการของ แรงสมดุลบนวงแหวน   ลักษณะเป็น ท่อกลมใสขดเป็นวงกลม   ณ   จุดที่วง บรรจบกันจะถูกปิดกั้นและมีท่อต่อ ความดันที่จะวัดเข้าด้านข้างของจุด ปิดกั้นทั้งสอง   ซึ่งเมื่อเติมของเหลว   ความดันทั้งสองจะถูกแบ่งออกเป็น สองห้อง   วงแหวนจะถูกตั้งอยู่บนลิ่ม ลักษณะคมมีด   ณ   จุดศูนย์กลางของ มันอย่างอิสระ   ด้านล่างจะมี น้ำหนัก   G  ถ่วงอยู่   P 2 P 1
 P = R r G A . . sin  
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ข้อด้อย 1.  ไม่มีอุปกรณ์ป้องกัน   เมื่อเกิดความดันเกินขนาด 2.  วัดความดันได้ในย่านต่ำๆ   เท่านั้น 3.  อาจเกิดปฎิกิริยาทางเคมีถ้าเลือกของเหลวที่ใช้เติมไม่ถูกต้อง 4.  ปรับระดับก่อนการใช้งานทุกครั้ง

More Related Content

What's hot (11)

แรงดันในของเหลว
แรงดันในของเหลวแรงดันในของเหลว
แรงดันในของเหลว
 
กฏของแก๊ส ม.5
กฏของแก๊ส ม.5กฏของแก๊ส ม.5
กฏของแก๊ส ม.5
 
ของไหล
ของไหลของไหล
ของไหล
 
00ของไหล01
00ของไหล0100ของไหล01
00ของไหล01
 
พลศาสตร์ของของไหล
พลศาสตร์ของของไหลพลศาสตร์ของของไหล
พลศาสตร์ของของไหล
 
แก๊ส
แก๊ส แก๊ส
แก๊ส
 
เคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณเคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณ
 
แรงดันในของเหลว1
แรงดันในของเหลว1แรงดันในของเหลว1
แรงดันในของเหลว1
 
Gas genchem
Gas genchemGas genchem
Gas genchem
 
Gass คอม-1
Gass คอม-1Gass คอม-1
Gass คอม-1
 
Gass คอม
Gass คอมGass คอม
Gass คอม
 

Similar to Week5[1]

ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1Wijitta DevilTeacher
 
ฟิสิกส์ บทที่ 6 คุณสมบัติของของไหล
ฟิสิกส์ บทที่ 6 คุณสมบัติของของไหลฟิสิกส์ บทที่ 6 คุณสมบัติของของไหล
ฟิสิกส์ บทที่ 6 คุณสมบัติของของไหลChirawat Samrit
 
การดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัด
การดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัดการดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัด
การดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัดtechno UCH
 

Similar to Week5[1] (6)

ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
Fluid
FluidFluid
Fluid
 
ของไหล.ppt
ของไหล.pptของไหล.ppt
ของไหล.ppt
 
Sc1362
Sc1362Sc1362
Sc1362
 
ฟิสิกส์ บทที่ 6 คุณสมบัติของของไหล
ฟิสิกส์ บทที่ 6 คุณสมบัติของของไหลฟิสิกส์ บทที่ 6 คุณสมบัติของของไหล
ฟิสิกส์ บทที่ 6 คุณสมบัติของของไหล
 
การดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัด
การดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัดการดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัด
การดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัด
 

More from จุฑารัตน์ สั้นเต้ง (6)

Prob[1]
Prob[1]Prob[1]
Prob[1]
 
Prob[1]
Prob[1]Prob[1]
Prob[1]
 
Ppt%20vector[1]
Ppt%20vector[1]Ppt%20vector[1]
Ppt%20vector[1]
 
Expo[1]
Expo[1]Expo[1]
Expo[1]
 
Biotechforlife[1]
Biotechforlife[1]Biotechforlife[1]
Biotechforlife[1]
 
Expo[1]
Expo[1]Expo[1]
Expo[1]
 

Week5[1]

  • 2. ความดัน หมายถึง แรงที่กระทำลงอย่างสม่ำเสมอในแนวตั้งฉาก บนพื้นที่ที่กำหนด ถ้ากำหนดให้ F คือ แรงที่กระทำ A คือ พื้นที่ที่ถูกกระทำ P คือ ความดันที่เกิดขึ้น จะได้ bar เป็นหน่วยมาตรฐานสากลของทุกประเทศ
  • 3. จากสูตร P = F / A PASCAL แต่เนื่องจากเป็นแรง 1 นิวตัน ที่กระทำลงบน พื้นที่ 1 ตารางเมตร ซึ่งมองเห็นความดันที่เกิดขึ้น น้อยมาก จึงขยายเป็น 100000 Pa = 1 Bar
  • 4. ความดันเกิดจากสสาร 2 สถานะ 1. ก๊าซ ( Pressure of gas ) 2 . ของเหลว ( Pressure of liquids )
  • 5. 1. ก๊าซ ( Pressure of gas ) ก๊าซมีการเคลื่อนไหวที่อิสระเปรียบเสมือนลูกบอลเล็กๆ ที่เคลื่อนไหวอยู่ ตลอดเวลาในภาชนะปิดระหว่างที่มันเคลื่อนที่อยู่นั้น มันจะชนกันเองและ ชนกับพื้นที่ผิวภายในของภาชนะ การเคลื่อนที่อยู่ตลอดเวลา การเกิด ปะทะกันเอง และปะทะกับพื้นผิวภายในของภาชนะเช่นนี้จะเกิด ความดันขึ้น
  • 6. ถ้ากำหนดให้ m เป็นมวลของโมเลกุลก๊าซ มีหน่วยเป็น kg v เป็นความเร็วเฉลี่ยของการเคลื่อนที่ของโมเลกุลก๊าซ มีหน่วยเป็น m/s n เป็นจำนวนของโมเลกุลก๊าซ ที่บรรจุอยู่ในภาชนะ ริมาตร 1 m 3 1. ก๊าซ ( Pressure of gas )
  • 7. 1. ก๊าซ ( Pressure of gas ) P = 1/3 n.m.v 2
  • 8. 2. ของเหลว (Pressure of Liquids) จากมวลที่มีความหนาแน่นมากกว่า ทำให้การอัดตัวจะเป็นลักษณะการทับถมลงสู่ด้านล่าง ความดันที่เกิดจากของเหลวลักษณะนี้เรียกว่า สแตติกเฮด (Static Head ) หรือเรียกสั้นๆ ว่า เฮด (Head)
  • 9. ถ้ากำหนดให้ P คือ ความดันอันเกิดจากของเหลว มีหน่วยเป็น bar p คือ ความหนาแน่นของของเหลว มีหน่วยเป็น kg/m 3 h คือ ความสูงของของเหลว มีหน่วยเป็น m และ g คือ แรงโน้มถ่วง มีหน่วยเป็น m/s2
  • 10. ถ้ากำหนดให้ P คือ ความดันอันเกิดจากของเหลว มีหน่วยเป็น bar  คือ ความหนาแน่นของของเหลว มีหน่วยเป็น kg/m 3 h คือ ความสูงของของเหลว มีหน่วยเป็น m และ g คือ แรงโน้มถ่วง มีหน่วยเป็น m/s 2 P = h .  . g
  • 11.  h P1 P2 ผลต่างของความดัน = P1 – P2 =  h .  . g ซึ่งหมายถึงค่าความดันขณะนั้นนั่นเอง
  • 12.
  • 13.
  • 14. แบ่งการวัด Vaccuum ออกเป็น 4 ระดับ 2. Medium high 1 – 10 -3 torr 1. Medium 25 mmHgvac ถึง 736 mmHgvac 3. High 1 0 -3 – 10 - 7 torr 4. Ultrahigh น้อยกว่า 10 - 7 torr ** torr = torricelli
  • 15. Manometer Manometer
  • 16. มาโนมิเตอร์รูปตัว U (U-tube Manometer) ความดันด้านสูงจะดันให้ของเหลว จากด้านขวาของหลอดแก้วไหลไป ยังอีกข้างหนึ่ง ของเหลวจะหยุดเมื่อ แรงที่เกิดจากความดันแตกต่างสมดุล กับแรงที่เกิดจากน้ำหนักของของเหลว ในหลอดแก้วด้านซ้าย
  • 17. P 2 P 1  P=  h .  . g  h P m P a P m ความหนาแน่นของ ของเหลว P m ความหนาแน่น เหนือของเหลว
  • 18. ของเหลวที่ใช้ในปัจจุบัน ได้แก่ น้ำ ปรอท และน้ำมันผสมที่ไม่ระเหย คุณสมบัติของของเหลวที่จะเติมลงในมาโนมิเตอร์จะต้องเป็นสารที่ไม่ ทำปฎิกิริยา หรือรวมตัวกับสาร (Fluid) ที่ต้องการวัดความดันในระบบ จะต้องไม่เป็นพิษ ไม่กัดกร่อน แข็งตัว หรือ เดือดมในสภาวะใช้งาน ความผิดพลาดของการวัดด้วยวิธีนี้ ประมาณ  0.3 % สำหรับการวัด ที่ต้องการค่าแน่นอน อุณหภูมิที่ต่างไปจากค่ากำหนด ( ค่า Reference) ความบริสุทธิ์ของของเหลว ความดันบรรยากาศ ณ จุดที่วัดที่อาจเปลี่ยนไป จะต้องนำมาคำนวณแก้ด้วย ซึ่งค่าต่างๆ เหล่านี้จะทำให้ความหนาแน่น ของของเหลวเปลี่ยนไป อันจะทำให้ค่าความผิดพลาดสูงขึ้นทั้งสิ้น
  • 19. ค่าความตึงผิวของของเหลว (Surface Tension) ที่ใช้เติมลงในมาโนมิเตอร์จะทำให้ระดับของของเหลวไม่เรียบ น้ำหรือน้ำมันผสมมีค่าความดึงผิวต่ำ ทำให้มีน้ำบางส่วนเกาะกับผิวผนัง ภายในท่อปรอทมีค่าความตึงผิวสูงทำให้ระดับใจกลางท่อสูงกว่าผิวผนัง ภายในท่อ น้ำ ปรอท
  • 20. ค่าความตึงผิวของของเหลว (Surface Tension) ที่ใช้เติมลงในมาโนมิเตอร์จะทำให้ระดับของของเหลวไม่เรียบ น้ำหรือน้ำมันผสมมีค่าความดึงผิวต่ำ ทำให้มีน้ำบางส่วนเกาะกับผิวผนัง ภายในท่อปรอทมีค่าความตึงผิวสูงทำให้ระดับใจกลางท่อสูงกว่าผิวผนัง ภายในท่อ ผลของความตึงผิวนี้จะทำให้การอ่านค่าผิดไปได้ น้ำ ปรอท ผิด ถูก error
  • 22. มาโนมิเตอร์แบบใช้ของเหลว 2 ชนิด ดูการ re-write สมการ  P = g.y[  1 (1+ ) -  2 (1- ) a A a A
  • 23. มาโนมิเตอร์แบบท่อเดี่ยว มาโนมิเตอร์แบบท่อแก้วเดี่ยวดัดแปลงจากมาโนมิเตอร์ รูปตัว U เพื่อให้สะดวกในการอ่านค่าโดยให้พื้นที่หน้าตัด ด้านบนของหลอดแก้วข้างหนึ่งใหญ่กว่าอีกด้านมากๆ ความถูกต้องของการวัดด้วยวิธีนี้ขึ้นอยู่กับ อัตราส่วนของ พื้นที่หน้าตัด ยิ่งมีค่าน้อยเท่าใดความถูกต้องก็จะมากขึ้นเท่านั้น
  • 24. P 2 P 1 พื้นที่ A พื้นที่ a h 2 h 1  P = g .  . h 2 (1+ ) a A
  • 25. มาโนมิเตอร์แบบท่อเอียง ได้รับการออกแบบมาเพื่อใช้วัดความดันค่าต่ำๆ จนถึง 10 mBar ระดับความสูงต่ำของความดันที่จะวัดขึ้นอยู่กับ มุม  มาโนมิเตอร์แบบท่อเอียงนี้ส่วนใหญ่จะปรับมุม  นี้ได้ P 2 P 1 A 2 A 1 P 2 - P 1 =  . g . L . Sin 
  • 26. มาโนมิเตอร์แบบแรงสมดุลบนวงแหวน มาโนมิเตอร์แบบนี้ใช้หลักการของ แรงสมดุลบนวงแหวน ลักษณะเป็น ท่อกลมใสขดเป็นวงกลม ณ จุดที่วง บรรจบกันจะถูกปิดกั้นและมีท่อต่อ ความดันที่จะวัดเข้าด้านข้างของจุด ปิดกั้นทั้งสอง ซึ่งเมื่อเติมของเหลว ความดันทั้งสองจะถูกแบ่งออกเป็น สองห้อง วงแหวนจะถูกตั้งอยู่บนลิ่ม ลักษณะคมมีด ณ จุดศูนย์กลางของ มันอย่างอิสระ ด้านล่างจะมี น้ำหนัก G ถ่วงอยู่ P 2 P 1
  • 27.  P = R r G A . . sin 
  • 28.
  • 29. ข้อด้อย 1.  ไม่มีอุปกรณ์ป้องกัน เมื่อเกิดความดันเกินขนาด 2. วัดความดันได้ในย่านต่ำๆ เท่านั้น 3. อาจเกิดปฎิกิริยาทางเคมีถ้าเลือกของเหลวที่ใช้เติมไม่ถูกต้อง 4. ปรับระดับก่อนการใช้งานทุกครั้ง