SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 19
   นักศึกษาสามารถบอกได้ว่าการทดลองใดเป็นการ
    ทดลองสุม ่
   เขียนแซมเปิลสเปซของการทดลองสุ่มที่กำาหนดให้
    ได้
   เขียนเหตุการณ์ที่สนใจซึ่งเป็นสับเซตของแซมเปิล
    สเปซ ที่กำาหนดให้ได้
   จงหาผลลัพ ธ์ท ี่ไ ด้จ ากการทดลองต่อ ไปนี้
    1. การโยนเหรียญขึ้นไปในอากาศ
    2. การทอดลูกเต๋าลงในถ้วย
    3. การนำา 2 ไปบวกกับ 3
        4. การเล่นเป่ายิงฉุบ
        5. การนำาจำานวนคูคูณกับจำานวนคี่
                          ่
        6. การหาผลคูณของจำานวน 2 จำานวน
1. {หัว,ก้อย}
2. {1,2,3,4,5,6}
3. 5
4. {แพ้,ชนะ}
5. จำานวนคู่
6. ไม่ทราบผลลัพธ์
   การทดลองสุม คือ การทดลองใดๆที่มีผลลัพธ์ที่
                   ่
    เป็นไปได้มากกว่าหนึ่งอย่าง ทำาให้ไม่สามารถบอก
    ผลลัพธ์ที่แน่นอนได้ล่วงหน้า แต่ทราบผลลัพธ์ที่
    เป็นไปได้ทั้งหมด
   ถ้าการทดลองใดๆมีผลลัพธ์เกิดขึ้นเพียงอย่างเดียว
    เท่านั้น หรือ ไม่ทราบผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น เรียกว่า
    การทดลองที่ไ ม่ใ ช่ก ารทดลองสุม     ่
   ข้อใดเป็นการทดลองสุ่ม
    1. การโยนเหรียญขึ้นไปในอากาศ เป็นการทดลองสุม เพราะเรารู้ขอบเขต
                                                      ่
    ของผลลัพธ์ว่าเป็นอย่างไรได้บ้างแต่ยังไม่ทราบว่าเหรียญจะหงายหัวหรือ
    ก้อย ผลลัพธ์ที่เป็นไปได้มากกว่าหนึ่งอย่าง
    2. การทอดลูกเต๋าลงในถ้วย เป็นการทดลองสุ่ม เพราะเรารู้ขอบเขตของ
    ผลลัพธ์ว่าเป็นอย่างไรได้บางแต่ยังไม่ทราบว่าลูกเต๋าหงายหน้าอะไร
                                ้
    ผลลัพธ์ที่เป็นไปได้มากกว่าหนึ่งอย่าง
    3. การนำา 2 ไปบวกกับ 3 ไม่เป็นการทดลองสุ่ม เพราะผลลัพธ์เท่ากับ 5
    เพียงอย่างเดียวเท่านั้น
         4. การเล่นเป่ายิ้งฉุบเป็นการทดลองสุ่ม เพราะเรารู้ขอบเขตของ
    ผลลัพธ์ว่าเป็นอย่างไรได้บางแต่ยังไม่ทราบว่าจะแพ้หรือชนะ ผลลัพธ์ที่เป็น
                                  ้
    ไปได้มากกว่าหนึงอย่าง
                      ่
         5. การนำาจำานวนคูคูณกับจำานวนคี่ ไม่เป็นการทดลองสุ่ม เพราะ
                              ่
    ผลลัพธ์จะเป็นจำานวนคูเสมอ
                            ่
         6. การหาผลคูณของจำานวน 2 จำานวน ไม่เป็นการทดลองสุ่ม เพราะ
   จงพิจารณาว่าการทดลองต่อไปนี้เป็นการทดลอง
    สุ่มหรือไม่
    1. การสุมหยิบไพ่หนึ่งใบจากไพ่สำารับหนึ่ง
             ่
    2. การวิ่งแข่ง
   ทั้งสองการทดลองเป็นการทดลองสุม   ่
    1. การหยิบไพ่หนึ่งใบจากไพ่สำารับหนึ่ง ถือว่า
    เป็นการทดลองสุม เพราะเรายังไม่ทราบว่าจะได้ไพ่
                     ่
    ใด
    2. การวิ่งแข่งขัน ถือว่าเป็นการทดลองสุม เพราะ
                                          ่
    แต่ละคนมีโอกาสชนะแต่เราไม่ทราบว่าเป็นใคร
   ถ้าโยนเหรียญหนึ่งเหรียญ 1 ครั้ง จงหาผลลัพธ์ที่
    เป็นไปได้ทั้งหมด
    ตอบ     ผลลัพธ์ที่เป็นไปได้คอ หัวหรือก้อย
                                  ื
   การทอดลูกเต๋า 1 ลูก 1 ครั้ง จงหาแต้มที่เกิดขึ้น
    ทั้งหมด
        ตอบ แต้มที่เกิดขึ้นทั้งหมดคือ 1 , 2 , 3 , 4 , 5
    และ 6

      ผลลัพธ์ทั้งหมดที่เกิดขึ้นจากการทดลอง
    สามารถเขียนในรูปของเซต         โดยเรียกเซตนี้ว่า
   แซมเปิล สเปซ (Sample Space) คือ เซตของ
    ผลลัพธ์ที่อาจเกิดขึ้นได้ทั้งหมดจากการทดลองสุ่ม
    และเป็นสิ่งที่เราสนใจ เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ S


   ซึ่งในการทดลองสุมเดียวกัน สามารถเขียน
                        ่
   แซมเปิลสเปซได้มากกว่าหนึ่งแบบ
ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับผลลัพธ์ที่เราสนใจ
   แซมเปิลสเปซในการโยนเหรียญหนึงเหรียญ 1 ครั้ง
                                         ่
    คือ {หัว,ก้อย}
   การทอดลูกเต๋า 1 ลูก 1 ครั้ง
    ถ้าผลลัพธ์ทเราสนใจ คือ แต้มทีได้ จงเขียนแซมเปิล
                 ี่                    ่
    สเปซ
    ให้ S1 แทนแซมเปิลสเปซ จะได้
        S1 = { 1 , 2 , 3 , 4 , 5 , 6 }
    แต่ถาผลลัพธ์ที่เราสนใจ คือ แต้มของลูกเต๋าทีได้ เป็น
         ้                                     ่
    จำานวนคู่
    ให้ S2 แทนแซมเปิลสเปซ จะได้
        S2 = { 2 , 4 , 6 }
 กล่องใบหนึงมีลูกบอลสีแดง 2 ลูก สีขาว 1 ลูก ถ้า
                   ่
  สุ่มหยิบลูกบอล 1 ลูก จงหา
               1. แซมเปิลสเปซของสีลูกบอลที่หยิบได้
               2. แซมเปิลสเปซของลูกบอลที่หยิบได้
  วิธ ท ำา  
      ี
 1. เนื่องจากโจทย์สนใจสีของลูกบอลที่หยิบได้ และ
  สีของลูกบอลมี 2 สี คือ สีแดงและ
สีขาว ดังนั้นแซมเปิลสเปซของสีของลูกบอลที่หยิบได้
  คือ
                      S = {สีแดง,สีขาว}
2. เนื่องจากโจทย์สนใจลูกบอลที่หยิบได้ และ
 ลูกบอลมีทั้งหมด 3 ลูก สมมติให้เป็น
แดง1 แดง2 ขาว1 ดังนั้นแซมเปิลสเปซของลูกบอลที่
 หยิบได้คือ
              S = {แดง1,แดง2, ขาว1}  

   จากผลลัพธ์ทั้งหมดที่เป็นไปได้ ถ้าเราสนใจผลลัพธ์
    เพียงบางตัว เราจะเรียก เซตของผลลัพธ์บางตัวที่
    เราสนใจนี้ว่า เหตุก ารณ์
   ในการทดลองเรามักจะสนใจเกี่ยวกับการเกิดขึ้น
    ของเหตุการณ์มากกว่าสนใจในสมาชิกทั้งหมดของ
    แซมเปิลสเปซ เช่น เมื่อทอดลูกเต๋า 1 ลูก 1 ครั้ง เรา
    สนใจในเหตุการณ์ A เมื่อเหตุการณ์ A คือการทอด
    ลูกเต๋าแล้วได้แต้มเป็นจำานวนคู่ เหตุการณ์นี้จะเกิด
    ขึ้นเมื่อผลลัพธ์เป็นสมาชิกของเซต A = {2, 4, 6}
    ซึ่งเป็นสับเซตของแซมเปิลสเปซ S = { 1 , 2 , 3 , 4
     ,5,6}
   เหตุก ารณ์ คือ สับเซตของแซมเปิลสเปซ นิยมใช้
    สัญลักษณ์ E แทนเหตุการณ์
    จะได้ว่า S และ  เป็นเหตุการณ์ด้วย
                       ก็
   ในการโยนลูกเต๋า 1 ลูก 1 ครั้ง ถ้าผลลัพธ์ที่สนใจคือ แต้มที่
    ได้
    จะได้      S = { 1,2,3,4,5,6 }
    ถ้าให้ E1 เป็นเหตุการณ์ที่ได้แต้มซึงหารด้วย 3 ลงตัว
                                        ่
        จะได้ E1 = { 3,6 }
        E2 เป็นเหตุการณ์ที่ได้แต้มมากกว่า 2
        จะได้ E2 = { 3,4,5,6 }
    ในกรณีทั่วไปเราจะใช้สัญลักษณ์
    n(S) แทนจำานวนสมาชิกในแซมเปิลสเปซ S
    n(E) แทนจำานวนสมาชิกในเหตุการณ์ E
        จะได้ว่า n(S) = 6 , n(E1) = 2 และ n(E2) = 4
 โยนเหรียญ 2 เหรียญ 1 ครั้ง ถ้าผลลัพธ์ที่สนใจ
  คือ หน้าของเหรียญที่ขึ้น จงหา
        ก. เหตุการณ์ที่ได้หัวสองเหรียญ
        ข. เหตุการณ์ที่เหรียญขึ้นหน้าเดียวกัน
  วิธ ท ำา จะได้ S = { HH,HT,TH,TT }
      ี
ก. เหตุการณ์ที่ได้หัวสองเหรียญ คือ E1 = { HH }
ข. เหตุการณ์ที่เหรียญขึ้นหน้าเดียวกัน คือ E2 =
  { HH , TT }
   ทอดลูกเต๋า 2 ลูก 1 ครั้ง ถ้าผลลัพธ์ที่สนใจ คือ แต้มที่ได้ จงหา
          ก. เหตุการณ์ที่ผลรวมของแต้มเป็น 4
          ข. เหตุการณ์ที่ลกเต๋าขึ้นแต้มเหมือนกัน
                          ู
   วิธ ีท ำา    จะได้ S = {(1,1),(1,2),(1,3),(1,4),(1,5),(1,6)
                          (2,1),(2,2),(2,3),(2,4),(2,5),(2,6)
                          (3,1),(3,2),(3,3),(3,4),(3,5),(3,6)
                  (4,1),(4,2),(4,3),(4,4),(4,5),(4,6)
                  (5,1),(5,2),(5,3),(5,4),(5,5),(5,6)
                  (6,1),(6,2),(6,3),(6,4), (6,5),(6,6) }

เหตุการณ์ที่ผลรวมของแต้มเป็น 4 คือ E1 = { (1,3),(2,2),(3,1) }
เหตุการณ์ที่ลูกเต๋าขึ้นแต้มเหมือนกัน E2 = { (1,1),(2,2),(3,3),(4,4),
  (5,5),(6,6)}
 ทอดลูกเต๋า 2 ลูก 1 ครั้ง ถ้าผลลัพธ์ที่สนใจ คือ ผลรวมของแต้ม
  ที่ได้ เป็น 2,3,4,5,6,7,8,9,10,11       และ 12 จงหา
        ก. เหตุการณ์ที่ผลรวมแต้มของลูกเต๋าทั้งสองลูกเป็นจำานวนที่
  หารด้วย 3 ลงตัว
        ข. เหตุการณ์ที่ได้ผลรวมแต้มของลูกเต๋าทั้งสองลูกมากกว่า
  12
        ค. เหตุการณ์ที่ได้ผลรวมแต้มของลูกเต๋าทั้งสองเป็นจำานวน
  เฉพาะ
  วิธ ีท ำา      จะได้ S = { 2,3,4,5,6,7,8,9,10,11,12 }
เหตุการณ์ที่ผลรวมแต้มของลูกเต๋าทั้งสองลูกเป็นจำานวนที่หารด้วย 3
  ลงตัว คือ
  E1 = { 3,6,9,12 }
เหตุการณ์ที่ได้ผลรวมแต้มของลูกเต๋าทั้งสองลูกมากกว่า 12 คือ
  E2 = φ
เหตุการณ์ที่ได้ผลรวมแต้มของลูกเต๋าทั้งสองเป็นจำานวนเฉพาะ คือ
E = { 2,3,5,7,11}
   ข้อ สัง เกต
    1. เพราะว่า S ดังนั้น เป็นเหตุการณ์
        2. เพราะว่า S ⊂ S ดังนัน S เป็นเหตุการณ์
                                 ้
        3. เนื่องจาก S เป็นเซตจำากัด ถ้า E เป็น
    เหตุการณ์แล้ว
                   3.1 E เป็นเซตจำากัด
                   3.2 0 ≤ n(E) ≤ n(S)
                   3.3 n(E) = 0 ก็ต่อเมื่อ E = φ
                   3.4 n(E) = n(S) ก็ต่อเมื่อ E = S

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

เซรุ่มแก้พิษงู
เซรุ่มแก้พิษงูเซรุ่มแก้พิษงู
เซรุ่มแก้พิษงูDashodragon KaoKaen
 
การเขียนใบสั่งยา65.pdf
การเขียนใบสั่งยา65.pdfการเขียนใบสั่งยา65.pdf
การเขียนใบสั่งยา65.pdfpraphan khunti
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4Janova Kknd
 
ระบบร่างกาย
ระบบร่างกายระบบร่างกาย
ระบบร่างกายAobinta In
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ความน่าจะเป็น
แบบฝึกเสริมทักษะ  ความน่าจะเป็นแบบฝึกเสริมทักษะ  ความน่าจะเป็น
แบบฝึกเสริมทักษะ ความน่าจะเป็นKrukomnuan
 
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพtassanee chaicharoen
 
ชีววิทยาของจุลินทรีย์และความรู้เบื้องต้นทางเภสัชจุลชีววิทยา by pitsanu duan...
  ชีววิทยาของจุลินทรีย์และความรู้เบื้องต้นทางเภสัชจุลชีววิทยา by pitsanu duan...  ชีววิทยาของจุลินทรีย์และความรู้เบื้องต้นทางเภสัชจุลชีววิทยา by pitsanu duan...
ชีววิทยาของจุลินทรีย์และความรู้เบื้องต้นทางเภสัชจุลชีววิทยา by pitsanu duan...pitsanu duangkartok
 
โครงงาน ถ่านไม้รีไซเคิล
โครงงาน ถ่านไม้รีไซเคิลโครงงาน ถ่านไม้รีไซเคิล
โครงงาน ถ่านไม้รีไซเคิลnoeiinoii
 
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุสมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 2 หน่วยที่ 2
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 2 หน่วยที่ 2ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 2 หน่วยที่ 2
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 2 หน่วยที่ 2คุณครูพี่อั๋น
 
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552waranyuati
 
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริงค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริงAon Narinchoti
 
กรอบแนวคิดในการวิจัย
กรอบแนวคิดในการวิจัยกรอบแนวคิดในการวิจัย
กรอบแนวคิดในการวิจัยNU
 
Ep03 บวก ลบ คูณ หาร เลขนัยสำคัญ (เรียนฟิสิกส์กับครูอุ๋ย)
Ep03 บวก ลบ คูณ หาร เลขนัยสำคัญ (เรียนฟิสิกส์กับครูอุ๋ย)Ep03 บวก ลบ คูณ หาร เลขนัยสำคัญ (เรียนฟิสิกส์กับครูอุ๋ย)
Ep03 บวก ลบ คูณ หาร เลขนัยสำคัญ (เรียนฟิสิกส์กับครูอุ๋ย)wiriya kosit
 
การสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็นการสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็นRungnapha Thophorm
 
ดูแลด้วยศรัทธา Edit รัชฎาพร 16 ก.พ. 54
ดูแลด้วยศรัทธา Edit  รัชฎาพร 16 ก.พ. 54ดูแลด้วยศรัทธา Edit  รัชฎาพร 16 ก.พ. 54
ดูแลด้วยศรัทธา Edit รัชฎาพร 16 ก.พ. 54Watcharapong Rintara
 

La actualidad más candente (20)

เซรุ่มแก้พิษงู
เซรุ่มแก้พิษงูเซรุ่มแก้พิษงู
เซรุ่มแก้พิษงู
 
การเขียนใบสั่งยา65.pdf
การเขียนใบสั่งยา65.pdfการเขียนใบสั่งยา65.pdf
การเขียนใบสั่งยา65.pdf
 
2 6
2 62 6
2 6
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
สถิติ
สถิติสถิติ
สถิติ
 
ระบบร่างกาย
ระบบร่างกายระบบร่างกาย
ระบบร่างกาย
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ความน่าจะเป็น
แบบฝึกเสริมทักษะ  ความน่าจะเป็นแบบฝึกเสริมทักษะ  ความน่าจะเป็น
แบบฝึกเสริมทักษะ ความน่าจะเป็น
 
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
 
ชีววิทยาของจุลินทรีย์และความรู้เบื้องต้นทางเภสัชจุลชีววิทยา by pitsanu duan...
  ชีววิทยาของจุลินทรีย์และความรู้เบื้องต้นทางเภสัชจุลชีววิทยา by pitsanu duan...  ชีววิทยาของจุลินทรีย์และความรู้เบื้องต้นทางเภสัชจุลชีววิทยา by pitsanu duan...
ชีววิทยาของจุลินทรีย์และความรู้เบื้องต้นทางเภสัชจุลชีววิทยา by pitsanu duan...
 
โครงงาน ถ่านไม้รีไซเคิล
โครงงาน ถ่านไม้รีไซเคิลโครงงาน ถ่านไม้รีไซเคิล
โครงงาน ถ่านไม้รีไซเคิล
 
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุสมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
 
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 2 หน่วยที่ 2
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 2 หน่วยที่ 2ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 2 หน่วยที่ 2
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 2 หน่วยที่ 2
 
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
 
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริงค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
 
22 จำนวนจริง ตอนที่9_กราฟค่าสัมบูรณ์
22 จำนวนจริง ตอนที่9_กราฟค่าสัมบูรณ์22 จำนวนจริง ตอนที่9_กราฟค่าสัมบูรณ์
22 จำนวนจริง ตอนที่9_กราฟค่าสัมบูรณ์
 
กรอบแนวคิดในการวิจัย
กรอบแนวคิดในการวิจัยกรอบแนวคิดในการวิจัย
กรอบแนวคิดในการวิจัย
 
O-NET ม.6-ความน่าจะเป็น
O-NET ม.6-ความน่าจะเป็นO-NET ม.6-ความน่าจะเป็น
O-NET ม.6-ความน่าจะเป็น
 
Ep03 บวก ลบ คูณ หาร เลขนัยสำคัญ (เรียนฟิสิกส์กับครูอุ๋ย)
Ep03 บวก ลบ คูณ หาร เลขนัยสำคัญ (เรียนฟิสิกส์กับครูอุ๋ย)Ep03 บวก ลบ คูณ หาร เลขนัยสำคัญ (เรียนฟิสิกส์กับครูอุ๋ย)
Ep03 บวก ลบ คูณ หาร เลขนัยสำคัญ (เรียนฟิสิกส์กับครูอุ๋ย)
 
การสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็นการสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็น
 
ดูแลด้วยศรัทธา Edit รัชฎาพร 16 ก.พ. 54
ดูแลด้วยศรัทธา Edit  รัชฎาพร 16 ก.พ. 54ดูแลด้วยศรัทธา Edit  รัชฎาพร 16 ก.พ. 54
ดูแลด้วยศรัทธา Edit รัชฎาพร 16 ก.พ. 54
 

Similar a การทดลองสุ่ม.Pdf

ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นAkkradet Keawyoo
 
ความน่าจะเป็น เลขที่13
ความน่าจะเป็น เลขที่13ความน่าจะเป็น เลขที่13
ความน่าจะเป็น เลขที่13I'am Son
 
Probability[1]
Probability[1]Probability[1]
Probability[1]numpueng
 
122121
122121122121
122121kay
 
Probability
ProbabilityProbability
Probabilitykrubud
 
Random 131204034823-phpapp01
Random 131204034823-phpapp01Random 131204034823-phpapp01
Random 131204034823-phpapp01nutchamai
 
Random 131204034823-phpapp01
Random 131204034823-phpapp01Random 131204034823-phpapp01
Random 131204034823-phpapp01nutchamai
 
Random 131204034823-phpapp01
Random 131204034823-phpapp01Random 131204034823-phpapp01
Random 131204034823-phpapp01nutchamai
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นAon Narinchoti
 
ความน่าจะเป็นม.52007
ความน่าจะเป็นม.52007ความน่าจะเป็นม.52007
ความน่าจะเป็นม.52007Krukomnuan
 
ความน่าจะเป็น(Probability)
ความน่าจะเป็น(Probability)ความน่าจะเป็น(Probability)
ความน่าจะเป็น(Probability)Aommii Honestly
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นKrutom Nyschool
 

Similar a การทดลองสุ่ม.Pdf (20)

Sample space
Sample spaceSample space
Sample space
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
 
Probability
ProbabilityProbability
Probability
 
ความน่าจะเป็น เลขที่13
ความน่าจะเป็น เลขที่13ความน่าจะเป็น เลขที่13
ความน่าจะเป็น เลขที่13
 
Event
EventEvent
Event
 
Probability[1]
Probability[1]Probability[1]
Probability[1]
 
122121
122121122121
122121
 
Probability
ProbabilityProbability
Probability
 
Probability
ProbabilityProbability
Probability
 
Random experiment
Random experimentRandom experiment
Random experiment
 
Random 131204034823-phpapp01
Random 131204034823-phpapp01Random 131204034823-phpapp01
Random 131204034823-phpapp01
 
Random 131204034823-phpapp01
Random 131204034823-phpapp01Random 131204034823-phpapp01
Random 131204034823-phpapp01
 
Random 131204034823-phpapp01
Random 131204034823-phpapp01Random 131204034823-phpapp01
Random 131204034823-phpapp01
 
Sample space
Sample spaceSample space
Sample space
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
 
Event
EventEvent
Event
 
ความน่าจะเป็นม.52007
ความน่าจะเป็นม.52007ความน่าจะเป็นม.52007
ความน่าจะเป็นม.52007
 
ความน่าจะเป็น(Probability)
ความน่าจะเป็น(Probability)ความน่าจะเป็น(Probability)
ความน่าจะเป็น(Probability)
 
Math เฉลย
Math เฉลยMath เฉลย
Math เฉลย
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
 

การทดลองสุ่ม.Pdf

  • 1.
  • 2. นักศึกษาสามารถบอกได้ว่าการทดลองใดเป็นการ ทดลองสุม ่  เขียนแซมเปิลสเปซของการทดลองสุ่มที่กำาหนดให้ ได้  เขียนเหตุการณ์ที่สนใจซึ่งเป็นสับเซตของแซมเปิล สเปซ ที่กำาหนดให้ได้
  • 3. จงหาผลลัพ ธ์ท ี่ไ ด้จ ากการทดลองต่อ ไปนี้ 1. การโยนเหรียญขึ้นไปในอากาศ 2. การทอดลูกเต๋าลงในถ้วย 3. การนำา 2 ไปบวกกับ 3 4. การเล่นเป่ายิงฉุบ 5. การนำาจำานวนคูคูณกับจำานวนคี่ ่ 6. การหาผลคูณของจำานวน 2 จำานวน
  • 4. 1. {หัว,ก้อย} 2. {1,2,3,4,5,6} 3. 5 4. {แพ้,ชนะ} 5. จำานวนคู่ 6. ไม่ทราบผลลัพธ์
  • 5. การทดลองสุม คือ การทดลองใดๆที่มีผลลัพธ์ที่ ่ เป็นไปได้มากกว่าหนึ่งอย่าง ทำาให้ไม่สามารถบอก ผลลัพธ์ที่แน่นอนได้ล่วงหน้า แต่ทราบผลลัพธ์ที่ เป็นไปได้ทั้งหมด  ถ้าการทดลองใดๆมีผลลัพธ์เกิดขึ้นเพียงอย่างเดียว เท่านั้น หรือ ไม่ทราบผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น เรียกว่า การทดลองที่ไ ม่ใ ช่ก ารทดลองสุม ่
  • 6. ข้อใดเป็นการทดลองสุ่ม 1. การโยนเหรียญขึ้นไปในอากาศ เป็นการทดลองสุม เพราะเรารู้ขอบเขต ่ ของผลลัพธ์ว่าเป็นอย่างไรได้บ้างแต่ยังไม่ทราบว่าเหรียญจะหงายหัวหรือ ก้อย ผลลัพธ์ที่เป็นไปได้มากกว่าหนึ่งอย่าง 2. การทอดลูกเต๋าลงในถ้วย เป็นการทดลองสุ่ม เพราะเรารู้ขอบเขตของ ผลลัพธ์ว่าเป็นอย่างไรได้บางแต่ยังไม่ทราบว่าลูกเต๋าหงายหน้าอะไร ้ ผลลัพธ์ที่เป็นไปได้มากกว่าหนึ่งอย่าง 3. การนำา 2 ไปบวกกับ 3 ไม่เป็นการทดลองสุ่ม เพราะผลลัพธ์เท่ากับ 5 เพียงอย่างเดียวเท่านั้น 4. การเล่นเป่ายิ้งฉุบเป็นการทดลองสุ่ม เพราะเรารู้ขอบเขตของ ผลลัพธ์ว่าเป็นอย่างไรได้บางแต่ยังไม่ทราบว่าจะแพ้หรือชนะ ผลลัพธ์ที่เป็น ้ ไปได้มากกว่าหนึงอย่าง ่ 5. การนำาจำานวนคูคูณกับจำานวนคี่ ไม่เป็นการทดลองสุ่ม เพราะ ่ ผลลัพธ์จะเป็นจำานวนคูเสมอ ่ 6. การหาผลคูณของจำานวน 2 จำานวน ไม่เป็นการทดลองสุ่ม เพราะ
  • 7. จงพิจารณาว่าการทดลองต่อไปนี้เป็นการทดลอง สุ่มหรือไม่ 1. การสุมหยิบไพ่หนึ่งใบจากไพ่สำารับหนึ่ง ่ 2. การวิ่งแข่ง
  • 8. ทั้งสองการทดลองเป็นการทดลองสุม ่ 1. การหยิบไพ่หนึ่งใบจากไพ่สำารับหนึ่ง ถือว่า เป็นการทดลองสุม เพราะเรายังไม่ทราบว่าจะได้ไพ่ ่ ใด 2. การวิ่งแข่งขัน ถือว่าเป็นการทดลองสุม เพราะ ่ แต่ละคนมีโอกาสชนะแต่เราไม่ทราบว่าเป็นใคร
  • 9. ถ้าโยนเหรียญหนึ่งเหรียญ 1 ครั้ง จงหาผลลัพธ์ที่ เป็นไปได้ทั้งหมด ตอบ ผลลัพธ์ที่เป็นไปได้คอ หัวหรือก้อย ื  การทอดลูกเต๋า 1 ลูก 1 ครั้ง จงหาแต้มที่เกิดขึ้น ทั้งหมด ตอบ แต้มที่เกิดขึ้นทั้งหมดคือ 1 , 2 , 3 , 4 , 5 และ 6  ผลลัพธ์ทั้งหมดที่เกิดขึ้นจากการทดลอง สามารถเขียนในรูปของเซต โดยเรียกเซตนี้ว่า
  • 10. แซมเปิล สเปซ (Sample Space) คือ เซตของ ผลลัพธ์ที่อาจเกิดขึ้นได้ทั้งหมดจากการทดลองสุ่ม และเป็นสิ่งที่เราสนใจ เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ S ซึ่งในการทดลองสุมเดียวกัน สามารถเขียน ่ แซมเปิลสเปซได้มากกว่าหนึ่งแบบ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับผลลัพธ์ที่เราสนใจ
  • 11. แซมเปิลสเปซในการโยนเหรียญหนึงเหรียญ 1 ครั้ง ่ คือ {หัว,ก้อย}  การทอดลูกเต๋า 1 ลูก 1 ครั้ง ถ้าผลลัพธ์ทเราสนใจ คือ แต้มทีได้ จงเขียนแซมเปิล ี่ ่ สเปซ ให้ S1 แทนแซมเปิลสเปซ จะได้ S1 = { 1 , 2 , 3 , 4 , 5 , 6 } แต่ถาผลลัพธ์ที่เราสนใจ คือ แต้มของลูกเต๋าทีได้ เป็น ้ ่ จำานวนคู่ ให้ S2 แทนแซมเปิลสเปซ จะได้ S2 = { 2 , 4 , 6 }
  • 12.  กล่องใบหนึงมีลูกบอลสีแดง 2 ลูก สีขาว 1 ลูก ถ้า ่ สุ่มหยิบลูกบอล 1 ลูก จงหา       1. แซมเปิลสเปซของสีลูกบอลที่หยิบได้       2. แซมเปิลสเปซของลูกบอลที่หยิบได้ วิธ ท ำา   ี  1. เนื่องจากโจทย์สนใจสีของลูกบอลที่หยิบได้ และ สีของลูกบอลมี 2 สี คือ สีแดงและ สีขาว ดังนั้นแซมเปิลสเปซของสีของลูกบอลที่หยิบได้ คือ                     S = {สีแดง,สีขาว}
  • 13. 2. เนื่องจากโจทย์สนใจลูกบอลที่หยิบได้ และ ลูกบอลมีทั้งหมด 3 ลูก สมมติให้เป็น แดง1 แดง2 ขาว1 ดังนั้นแซมเปิลสเปซของลูกบอลที่ หยิบได้คือ              S = {แดง1,แดง2, ขาว1}    จากผลลัพธ์ทั้งหมดที่เป็นไปได้ ถ้าเราสนใจผลลัพธ์ เพียงบางตัว เราจะเรียก เซตของผลลัพธ์บางตัวที่ เราสนใจนี้ว่า เหตุก ารณ์
  • 14. ในการทดลองเรามักจะสนใจเกี่ยวกับการเกิดขึ้น ของเหตุการณ์มากกว่าสนใจในสมาชิกทั้งหมดของ แซมเปิลสเปซ เช่น เมื่อทอดลูกเต๋า 1 ลูก 1 ครั้ง เรา สนใจในเหตุการณ์ A เมื่อเหตุการณ์ A คือการทอด ลูกเต๋าแล้วได้แต้มเป็นจำานวนคู่ เหตุการณ์นี้จะเกิด ขึ้นเมื่อผลลัพธ์เป็นสมาชิกของเซต A = {2, 4, 6} ซึ่งเป็นสับเซตของแซมเปิลสเปซ S = { 1 , 2 , 3 , 4 ,5,6}  เหตุก ารณ์ คือ สับเซตของแซมเปิลสเปซ นิยมใช้ สัญลักษณ์ E แทนเหตุการณ์ จะได้ว่า S และ  เป็นเหตุการณ์ด้วย ก็
  • 15. ในการโยนลูกเต๋า 1 ลูก 1 ครั้ง ถ้าผลลัพธ์ที่สนใจคือ แต้มที่ ได้ จะได้ S = { 1,2,3,4,5,6 } ถ้าให้ E1 เป็นเหตุการณ์ที่ได้แต้มซึงหารด้วย 3 ลงตัว ่ จะได้ E1 = { 3,6 } E2 เป็นเหตุการณ์ที่ได้แต้มมากกว่า 2 จะได้ E2 = { 3,4,5,6 } ในกรณีทั่วไปเราจะใช้สัญลักษณ์ n(S) แทนจำานวนสมาชิกในแซมเปิลสเปซ S n(E) แทนจำานวนสมาชิกในเหตุการณ์ E จะได้ว่า n(S) = 6 , n(E1) = 2 และ n(E2) = 4
  • 16.  โยนเหรียญ 2 เหรียญ 1 ครั้ง ถ้าผลลัพธ์ที่สนใจ คือ หน้าของเหรียญที่ขึ้น จงหา ก. เหตุการณ์ที่ได้หัวสองเหรียญ ข. เหตุการณ์ที่เหรียญขึ้นหน้าเดียวกัน วิธ ท ำา จะได้ S = { HH,HT,TH,TT } ี ก. เหตุการณ์ที่ได้หัวสองเหรียญ คือ E1 = { HH } ข. เหตุการณ์ที่เหรียญขึ้นหน้าเดียวกัน คือ E2 = { HH , TT }
  • 17. ทอดลูกเต๋า 2 ลูก 1 ครั้ง ถ้าผลลัพธ์ที่สนใจ คือ แต้มที่ได้ จงหา ก. เหตุการณ์ที่ผลรวมของแต้มเป็น 4 ข. เหตุการณ์ที่ลกเต๋าขึ้นแต้มเหมือนกัน ู  วิธ ีท ำา จะได้ S = {(1,1),(1,2),(1,3),(1,4),(1,5),(1,6) (2,1),(2,2),(2,3),(2,4),(2,5),(2,6) (3,1),(3,2),(3,3),(3,4),(3,5),(3,6) (4,1),(4,2),(4,3),(4,4),(4,5),(4,6) (5,1),(5,2),(5,3),(5,4),(5,5),(5,6) (6,1),(6,2),(6,3),(6,4), (6,5),(6,6) } เหตุการณ์ที่ผลรวมของแต้มเป็น 4 คือ E1 = { (1,3),(2,2),(3,1) } เหตุการณ์ที่ลูกเต๋าขึ้นแต้มเหมือนกัน E2 = { (1,1),(2,2),(3,3),(4,4), (5,5),(6,6)}
  • 18.  ทอดลูกเต๋า 2 ลูก 1 ครั้ง ถ้าผลลัพธ์ที่สนใจ คือ ผลรวมของแต้ม ที่ได้ เป็น 2,3,4,5,6,7,8,9,10,11 และ 12 จงหา ก. เหตุการณ์ที่ผลรวมแต้มของลูกเต๋าทั้งสองลูกเป็นจำานวนที่ หารด้วย 3 ลงตัว ข. เหตุการณ์ที่ได้ผลรวมแต้มของลูกเต๋าทั้งสองลูกมากกว่า 12 ค. เหตุการณ์ที่ได้ผลรวมแต้มของลูกเต๋าทั้งสองเป็นจำานวน เฉพาะ วิธ ีท ำา จะได้ S = { 2,3,4,5,6,7,8,9,10,11,12 } เหตุการณ์ที่ผลรวมแต้มของลูกเต๋าทั้งสองลูกเป็นจำานวนที่หารด้วย 3 ลงตัว คือ E1 = { 3,6,9,12 } เหตุการณ์ที่ได้ผลรวมแต้มของลูกเต๋าทั้งสองลูกมากกว่า 12 คือ E2 = φ เหตุการณ์ที่ได้ผลรวมแต้มของลูกเต๋าทั้งสองเป็นจำานวนเฉพาะ คือ E = { 2,3,5,7,11}
  • 19. ข้อ สัง เกต 1. เพราะว่า S ดังนั้น เป็นเหตุการณ์ 2. เพราะว่า S ⊂ S ดังนัน S เป็นเหตุการณ์ ้ 3. เนื่องจาก S เป็นเซตจำากัด ถ้า E เป็น เหตุการณ์แล้ว 3.1 E เป็นเซตจำากัด 3.2 0 ≤ n(E) ≤ n(S) 3.3 n(E) = 0 ก็ต่อเมื่อ E = φ 3.4 n(E) = n(S) ก็ต่อเมื่อ E = S