SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 19
Descargar para leer sin conexión
1




แบบฝึกรายวิชา ว21101 วิทยาศาสตร์ 1
           เรื่อง สารรอบตัว ชันมัธยมศึกษาปีที่ 1
                              ้
     ชุดที่ 4 สารละลาย คอลลอยด์ สารแขวนลอย




                              สุภาภัค สมศักดิ์
   ครูชานาญการ โรงเรียนฟากกว๊านวิทยาคม
 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 36
[ครูสุภาภัค สมศักดิ์]             แบบฝึกรายวิชา ว21101 วิทยาศาสตร์ 1
2


                                     คาแนะนาสาหรับครู

              1. ครูผู้สอนศึกษาการใช้แบบฝึกรายวิชา ว21101 วิทยาศาสตร์ 1 และแผนการ
จัดการเรียนรู้ เพื่อให้เข้าใจจะได้ชี้แนะและเพิ่มพูนความรู้ให้แก่นักเรียนได้ถูกต้อง
              2. ครูผู้สอนต้องใช้แผนการจัดการเรียนรู้ในการใช้แบบฝึกรายวิชา ว21101
วิทยาศาสตร์ 1 เพื่อเสริมสร้างประสบการณ์เรียนรู้เกี่ยวกับเรื่องที่เรียนตามแผนการจัดการ
เรียนรู้ที่กาหนดไว้
              3. ครูผู้สอนต้องเตรียมแบบฝึกรายวิชา ว21101 วิทยาศาสตร์ 1 ให้ครบตาม
จานวนนักเรียน เพื่อให้นักเรียนได้ปฏิบัติกิจกรรมได้อย่างครบถ้วน
              4. แบบฝึกรายวิชา ว21101 วิทยาศาสตร์ 1 เป็นสื่อที่ให้นักเรียนได้ฝึกกิจกรรม
ทางวิทยาศาสตร์ ครูผู้สอนคอยชี้แนะ กากับ ดูแลนักเรียน ให้ปฏิบัติกิจกรรมในแบบฝึก
รายวิชา ว21101 วิทยาศาสตร์ 1 และครูควรชี้แจงบทบาทของนักเรียนในการเรียนให้ชัดเจน
              5. ครูผู้สอนให้นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน ก่อนที่นักเรียนจะศึกษาหรือทา
กิจกรรมในแบบฝึกรายวิชา ว21101 วิทยาศาสตร์ 1
              6. ครูผู้สอนนาเข้าสู่บทเรียนควรอธิบายเนื้อหาพอสังเขป เกี่ยวกับบทเรียนนั้นๆ
เพื่อเตรียมความพร้อมให้นักเรียน มีความเข้าใจและสนใจในบทเรียน
              7. ครูผู้สอนดาเนินการสอนตามกิจกรรมการเรียนการสอนในแผนการจัดการ
เรียนรู้ แล้วให้นักเรียนทากิจกรรมในแบบฝึกรายวิชา ว21101 วิทยาศาสตร์ 1 แต่ละชุด
              8. ครูผู้สอนต้องดูแล และให้ความช่วยเหลือ แนะนา ในการปฏิบัติกิจกรรมอย่าง
ใกล้ชิด ในขณะที่นักเรียนกาลังศึกษาเนื้อหาหรือปฏิบัติกิจกรรม เพื่อนักเรียนจะได้ขอคา
ปรึกษาหารือทันที
              9. ครูผู้สอนต้องสังเกตพฤติกรรมนักเรียน ตามแบบประเมินพฤติกรรม เพื่อ
บันทึกการปฏิบัติกิจกรรมของนักเรียน ในการประเมินผลการเรียนของนักเรียน
             10. ครูผู้สอนต้องช่วยเหลือนักเรียนในการสรุปเนื้อหาในบทเรียนลงในสมุดบันทึก
เมื่อศึกษาแบบฝึกรายวิชา ว21101 วิทยาศาสตร์ 1 แล้ว และให้นักเรียนทาแบบทดสอบหลัง
เรียน และตรวจคาตอบจากเฉลยเพื่อประเมินความก้าวหน้าทางการเรียน
              11. ผลการเรียนของนักเรียนควรเก็บไว้ในแฟ้มสะสมผลงานหรือแฟ้มข้อมูล
นักเรียน


[ครูสุภาภัค สมศักดิ์]                                       แบบฝึกรายวิชา ว21101 วิทยาศาสตร์ 1
3



                                  คาแนะนาสาหรับนักเรียน

        1. แบบฝึกรายวิชา ว21101 วิทยาศาสตร์ 1 เรื่อง สารรอบตัว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ชุดที่ 1 สารและสมบัติของสาร สาหรับให้นักเรียนได้ศึกษาและทาแบบฝึกด้วยตนเอง
ประกอบด้วย
            1.1 ชื่อของแบบฝึก
            1.2 คาอธิบายเนื้อหาของเรื่องที่เรียนในชุดนั้น
            1.3 แบบฝึก
            1.4 แบบทดสอบก่อนเรียน – หลังเรียน
            1.5 เฉลยคาตอบของแบบทดสอบและแบบฝึก
        2. การทาแบบฝึกรายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน ให้นักเรียนปฏิบัติดังนี้
            2.1 อ่านคาชี้แจงของแบบฝึกรายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐานแต่ละชุดให้เข้าใจ
            2.2 ทดสอบก่อนเรียน
            2.3 ให้นักเรียนศึกษาและปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ในแบบฝึกตามลาดับตั้งแต่หน้า
แรกจนถึงหน้าสุดท้าย (ไม่ควรข้ามขั้นตอน) อ่านให้เข้าใจก่อนทาแบบฝึก หากไม่เข้าใจให้อ่านซ้า
            2.4 ทาแบบฝึกรายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐานแต่ละตอนในแต่ละชุดด้วยตนเองโดย
ไม่ดูเฉลย และตรวจคาตอบ
            2.5 ทดสอบหลังเรียน
            2.6 เมื่อนักเรียนมีข้อสงสัยใด ๆ ให้ถามครู
            2.7 นักเรียนสามารถศึกษาแบบฝึก และทาแบบฝึกซ้า ถ้ายังไม่เข้าใจ
            2.8 ขอให้นักเรียนพึงระลึกว่าความซื่อสัตย์คือการพัฒนาตนเองอย่างหนึ่ง




[ครูสุภาภัค สมศักดิ์]                                      แบบฝึกรายวิชา ว21101 วิทยาศาสตร์ 1
4


                                มาตรฐานการเรียนรู้


           มาตรฐาน ว 3.1 เข้าใจสมบัติของสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้าง
และแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์สื่อสาร
สิ่งที่เรียนรู้ นาความรู้ไปใช้ประโยชน์

                                        ตัวชีวด
                                             ้ั

      ทดลองและจาแนกสารเป็นกลุ่มโดยใช้เนื้อสารหรือขนาดอนุภาคและอธิบายสมบัติของ
สารในแต่ละกลุ่ม

                                    สาระสาคัญ

     การจาแนกสารเป็นกลุ่มโดยใช้ขนาดอนุภาคของสารเป็นเกณฑ์ คือ สารละลาย
คอลลอยด์ และสารแขวนลอย


                                  จุดประสงค์การเรียนรู้

1. ทดลองและจาแนกสารโดยใช้ขนาดอนุภาคของสารเป็นเกณฑ์
2. อธิบายความหมายของสารแขวนลอย คอลลอยด์และสารละลายได้ถูกต้อง



                        เวลาในการปฏิบตกจกรรม 2 ชัวโมง
                                     ั ิิ        ่




[ครูสุภาภัค สมศักดิ์]                                      แบบฝึกรายวิชา ว21101 วิทยาศาสตร์ 1
5


                             แบบทดสอบก่อนเรียน

คาชี้แจง 1. ข้อสอบเป็นแบบปรนัยมีทั้งหมด 10 ข้อ 10 คะแนน
         2. จงกาเครื่องหมายกากบาท (x) ลงในกระดาษคาตอบข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว
            สาหรับคาถามในแต่ละข้อ

1. สารในข้อใดจัดเป็นสารแขวนลอย            5. ข้อใด ไม่ใช่ สมบัติของคอลลอยด์
   ก. น้าเกลือ                               ก. ผ่านเซลโลเฟนได้
   ข. น้าโคลน                                ข. ผ่านกระดาษกรองได้
   ค. น้าส้มสายชู                            ค. มีลักษณะเนื้อสารเป็นสารเนื้อผสม
   ง. น้าผสมน้ามันพืช                        ง. มีขนาดอนุภาคใหญ่กว่าสารละลาย
2. ข้อใดจัดเป็นคอลลอยด์                   6. ข้อใดคือสมบัติของสารแขวนลอย
   ก. น้าแข็ง                                ก. ผ่านเซลโลเฟนได้
   ข. น้าโคลน                                ข. ผ่านกระดาษกรองได้
   ค. น้าบริสุทธิ์                           ค. มีลักษณะเนื้อสารกลมกลืนกัน
   ง. โฟมล้างหน้า                            ง. มีขนาดอนุภาคใหญ่กว่าสารละลาย
3. สารในข้อใดที่ไม่สามารถผ่านกระดาษกรอง   7. ข้อใด ไม่ใช่ สมบัติของสารละลาย
   ก. น้าขี้เถ้า                             ก. ผ่านเซลโลเฟนได้
   ข. น้าเกลือ                               ข. ผ่านกระดาษกรองได้
   ค. น้าหวาน                                ค. มีขนาดอนุภาคใหญ่ที่สุด
   ง. น้าอัดลม                               ง. ลักษณะเนื้อสารกลมกลืนกัน
4. สารในข้อใดทาให้เกิดปรากฏการณ์          8. ข้อใดเป็นคอลลอยด์ทั้งหมด
   ทินดอลล์                                  ก. นมสด โฟม หมอก
   ก. น้าแข็ง                                ข. อากาศ เยลลี่ น้าโคลน
   ข. น้าสลัด                                ค. น้าสบู่ น้าจิ้มไก่ น้ามะนาว
   ค. น้าโคลน                                ง. แป้งเปียก น้าสลัด น้าเชื่อม
   ง. น้าบริสุทธิ์




[ครูสุภาภัค สมศักดิ์]                                   แบบฝึกรายวิชา ว21101 วิทยาศาสตร์ 1
6

9. ข้อใดประกอบด้วยสารละลายและ              10. สารชนิดหนึ่งมีส่วนประกอบเป็นสาร 2
   คอลลอยด์                                    ชนิดแบ่งชั้นกันอย่างชัดเจน เมื่อปล่อยทิ้ง
   ก. นมสด หมอก                                ไว้ตกตะกอน สารชนิดนี้คือสารข้อใด
   ข. อากาศ แยม                               ก. คอลลอยด์
   ค. น้าจิ้มไก่ น้าแป้ง                      ข. สารละลาย
   ง. น้าจิ้มไก่ น้ามะนาว                     ค. สารบริสุทธิ์
                                              ง. สารแขวนลอย


                   ***********************************************




[ครูสุภาภัค สมศักดิ์]                                     แบบฝึกรายวิชา ว21101 วิทยาศาสตร์ 1
7


                ใบความรู้ เรือง สารละลาย คอลลอยด์ สารแขวนลอย
                             ่
       สารบางชนิด บางครั้งมีอนุภาคของสารตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปปะปนกันอยู่ โดยอนุภาค
ของสารชนิดหนึ่งแทรกอยู่ระหว่างอนุภาคของสารอีกชนิดหนึ่ง สารที่มีลักษณะเช่นนี้อาจเป็น
สารละลาย คอลลอยด์หรือสารแขวนลอย ซึ่งเมื่อสังเกตด้วยตาเปล่าไม่สามารถตัดสินได้ว่า
เป็นสารประเภทใด เนื่องจากมีสมบัติคล้ายคลึงกันแต่มีขนาดอนุภาคแตกต่างกัน ดังนี้
       1. สารละลาย หมายถึง สารเนื้อเดียวที่เกิดจากสารตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปมาผสมรวมกัน
โดยอัตราส่วนของการผสมไม่คงที่และสารที่เกิดขึ้นจากการผสมนี้จะแสดงสมบัติที่ต่างไปจาก
สารเดิม ประกอบด้วยตัวทาละลาย และ ตัวละลาย มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของอนุภาค
น้อยกว่า 10-7 เซนติเมตร เช่น น้าเกลือ น้าหวาน น้าอัดลม ทองแดง อากาศ เป็นต้น




        ภาพที่ 1       สารละลาย
        ที่มา : สุภาภัค สมศักดิ์. ภาพถ่ายของจริง. 2553.
        2. คอลลอยด์ คือ สารเนื้อผสมที่มีความกลมกลืน มีอนุภาคที่เป็นเม็ดเล็กๆ แทรก
อยู่ในตัวกลาง ขนาดอนุภาคเล็กกว่าสารแขวนลอยแต่ใหญ่กว่าสารละลาย มีขนาดเส้นผ่าน
ศูนย์กลางประมาณ 10-7 - 10-4 เซนติเมตร มีลักษณะข้นคล้ายกาว
คอลลอยด์ในชีวิตประจาวัน
                              สถานะของ       สถานะของ
     ประเภทของคอลลอยด์                                               ตัวอย่าง
                                อนุภาค        ตัวกลาง
    แอโรซอล                    ของเหลว          แก๊ส      เมฆ , สเปรย์ , หมอก
    แอโรซอล                    ของแข็ง          แก๊ส      ควันไฟ , ฝุ่น
    อิมัลชัน                   ของเหลว        ของเหลว     นมสด , น้ากะทิ , สลัด
    เจล                        ของแข็ง        ของเหลว     เยลลี่ , วุ้น , กาว , ยาสีฟัน
    โฟม                          แก๊ส         ของเหลว     ฟองสบู่ , ครีมโกนหนวด
    โฟม                          แก๊ส         ของแข็ง     เม็ดโฟม , สบู่ก้อน

[ครูสุภาภัค สมศักดิ์]                                       แบบฝึกรายวิชา ว21101 วิทยาศาสตร์ 1
8



        องค์ประกอบของคอลลอยด์บางชนิดจะไม่รวมเป็นเนื้อเดียวกัน จะแยกชั้นออกจากกัน
จึงต้องมีตัวประสานหรือ อิมัลซิไฟเออร์ ( Emulsifier) เช่น น้าสบู่เป็นตัวประสานให้น้ากับ
น้ามันไม่แยกชั้นจากกัน โดยน้ามันจะแตกตัวเป็นเม็ดเล็ก ๆ แทรกอยู่ในน้า สมบัติอีกอย่าง
หนึ่งของคอลลอยด์ คือ เมื่อแสงเดินทางผ่านคอลลอยด์ จะเกิดการหักเหและสะท้อนแสง
เรียกว่า การกระเจิงของแสง ทาให้มองเห็นเป็นลาแสงในคอลลอยด์ เรียกปรากฏการณ์นี้ว่า
ปรากฏการณ์ทินดอลล์




        ภาพที่ 2       คอลลอยด์
        ที่มา : สุภาภัค สมศักดิ์. ภาพถ่ายของจริง. 2553.
       3. สารแขวนลอย คือ ของเหลวที่มีอนุภาคของของแข็งขนาดเล็กแทรกอยู่ เส้นผ่าน
ศูนย์กลางใหญ่กว่า 10-4 เซนติเมตร ซึ่งเป็นสารเนื้อผสมที่มีขนาดอนุภาคขนาดใหญ่ ทาให้
สามารถมองเห็นส่วนผสมได้อย่างชัดเจน ง่ายต่อการแยกออก เช่น น้าโคลน คอนกรีต
น้าพริก น้าจิ้มไก่ เป็นต้น




        ภาพที่ 3       สารแขวนลอย
        ที่มา : สุภาภัค สมศักดิ์. ภาพถ่ายของจริง. 2553.




[ครูสุภาภัค สมศักดิ์]                                      แบบฝึกรายวิชา ว21101 วิทยาศาสตร์ 1
9

                                      แบบฝึกที่ 1

คาสัง ให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมการทดลอง ต่อไปนี้
    ่
กิจกรรม ขนาดอนุภาคของสาร
จุดประสงค์
         1. ทดลองและจาแนกสารตามขนาดอนุภาคสารได้
         2. อธิบายความหมายของสารละลาย คอลลอยด์ และสารแขวนลอยได้
วิธีการทดลองและเก็บรวบรวมข้อมูล
       1. นานมปรี้ยว น้าสีผสมอาหารสีเหลือง และน้าขี้เถ้า มาสังเกตสีและลักษณะเนื้อสาร
บันทึกผล
       2. นาสารทั้ง 3 ชนิด จานวน 20 ลูกบาศก์เซนติเมตร มากรองด้วยกระดาษกรอง
สังเกตสารที่เหลือบนกระดาษกรองและของเหลวที่กรองได้ บันทึกผล
       3. นาสารทั้ง 3 ชนิด จานวน 20 ลูกบาศก์เซนติเมตร ใส่ในถุงเซลโลเฟน ผูกให้แน่น
แล้วนาไปแช่ในน้าที่อยู่ในบีกเกอร์ (ต้องไม่ให้น้าท่วมส่วนที่ผูกเป็นถุง) เป็นเวลา 5 นาที
สังเกตสีของน้าและบันทึกผล
ตารางบันทึกผลกิจกรรม
                                         ลักษณะ       ผลการสังเกตการกรองผ่าน
             สาร              สี
                                         เนื้อสาร    กระดาษกรอง เซลโลเฟน
นมเปรี้ยว
น้าสีผสมอาหารสีเหลือง
น้าขี้เถ้า
คาถามหลังทากิจกรรม
1. สารชนิดใดที่ไม่สามารถผ่านกระดาษกรองได้
………………………………………………………………….………………………………………………………………...
2. สารชนิดใดที่ไม่สามารถผ่านเซลโลเฟนได้
………………………………………………………………….………………………………………………………………...


[ครูสุภาภัค สมศักดิ์]                                      แบบฝึกรายวิชา ว21101 วิทยาศาสตร์ 1
10

3. สารชนิดใดที่สามารถผ่านกระดาษกรองและเซลโลเฟนได้
………………………………………………………………….………………………………………………………………...
4. จงเรียงลาดับขนาดของอนุภาคสารทั้ง 3 ชนิด จากเล็กไปหาใหญ่ ตามลาดับและบอกด้วยว่า
    สารใดเป็นสารละลาย คอลลอยด์ และ สารแขวนลอย ตามลาดับ
…………………………………………………………….………………………………………………………………...
………………………………………………………………….………………………………………………………………...
สรุปผลกิจกรรม
………………………………………………………………….………………………………………………………………...
………………………………………………………………….………………………………………………………………...
………………………………………………………………….………………………………………………………………...
………………………………………………………………….………………………………………………………………...




[ครูสุภาภัค สมศักดิ์]                                 แบบฝึกรายวิชา ว21101 วิทยาศาสตร์ 1
11

                                      แบบฝึกที่ 2


คาสัง ให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรม ต่อไปนี้
    ่
กิจกรรม สารละลาย คอลลอยด์ และสารแขวนลอย
จุดประสงค์
         1. จาแนกสารละลาย คอลลอยด์ และสารแขวนลอยได้
วิธีการปฏิบติกจกรรม
           ั ิ
       1. ให้นักเรียนจาแนกสิ่งต่อไปนี้ตามสมบัติและขนาดอนุภาคสาร ได้แก่ ควันไฟ หมอก
อากาศ น้าเชื่อม น้านม น้าสลัด น้าโคลน น้าขี้เถ้า น้าเกลือ น้าส้มคั้น
         2. นากลุ่มสารในข้อ 1 มาเขียนแผนผังความคิด “ขนาดอนุภาคสาร ” ( 20 คะแนน)




[ครูสุภาภัค สมศักดิ์]                                   แบบฝึกรายวิชา ว21101 วิทยาศาสตร์ 1
12


                             แบบทดสอบหลังเรียน

คาชี้แจง 1. ข้อสอบเป็นแบบปรนัยมีทั้งหมด 10 ข้อ 10 คะแนน
         2. จงกาเครื่องหมายกากบาท (x) ลงในกระดาษคาตอบข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว
            สาหรับคาถามในแต่ละข้อ

1. สารในข้อใดจัดเป็นสารแขวนลอย            5. ข้อใด ไม่ใช่ สมบัติของคอลลอยด์
   ก. น้าเกลือ                               ก. ผ่านเซลโลเฟนได้
   ข. น้าโคลน                                ข. ผ่านกระดาษกรองได้
   ค. น้าส้มสายชู                            ค. มีลักษณะเนื้อสารเป็นสารเนื้อผสม
   ง. น้าผสมน้ามันพืช                        ง. มีขนาดอนุภาคใหญ่กว่าสารละลาย
2. สารในข้อใดทาให้เกิดปรากฏการณ์          6. สารในข้อใดที่ไม่สามารถผ่านกระดาษกรอง
   ทินดอลล์                                  ก. น้าขี้เถ้า
   ก. น้าแข็ง                                ข. น้าเกลือ
   ข. น้าสลัด                                ค. น้าหวาน
   ค. น้าโคลน                                ง. น้าอัดลม
   ง. น้าบริสุทธิ์                        7. ข้อใดประกอบด้วยสารละลายและ
3. ข้อใดคือสมบัติของสารแขวนลอย               คอลลอยด์
   ก. ผ่านเซลโลเฟนได้                        ก. นมสด หมอก
   ข. ผ่านกระดาษกรองได้                      ข. อากาศ แยม
   ค. มีลักษณะเนื้อสารกลมกลืนกัน             ค. น้าจิ้มไก่ น้าแป้ง
   ง. มีขนาดอนุภาคใหญ่กว่าสารละลาย           ง. น้าจิ้มไก่ น้ามะนาว
4. ข้อใดจัดเป็นคอลลอยด์                   8. สารชนิดหนึ่งมีส่วนประกอบเป็นสาร 2
   ก. น้าแข็ง                                 ชนิดแบ่งชั้นกันอย่างชัดเจน เมื่อปล่อยทิ้ง
   ข. น้าโคลน                                 ไว้ตกตะกอน สารชนิดนี้คือสารข้อใด
   ค. น้าบริสุทธิ์                           ก. คอลลอยด์
   ง. โฟมล้างหน้า                            ข. สารละลาย
                                             ค. สารบริสุทธิ์
                                             ง. สารแขวนลอย


[ครูสุภาภัค สมศักดิ์]                                    แบบฝึกรายวิชา ว21101 วิทยาศาสตร์ 1
13

9. ข้อใด ไม่ใช่ สมบัติของสารละลาย          10. ข้อใดเป็นคอลลอยด์ทั้งหมด
   ก. ผ่านเซลโลเฟนได้                         ก. นมสด โฟม หมอก
   ข. ผ่านกระดาษกรองได้                       ข. อากาศ เยลลี่ น้าโคลน
   ค. มีขนาดอนุภาคใหญ่ที่สุด                  ค. น้าสบู่ น้าจิ้มไก่ น้ามะนาว
   ง. ลักษณะเนื้อสารกลมกลืนกัน                ง. แป้งเปียก น้าสลัด น้าเชื่อม




                   ***********************************************




[ครูสุภาภัค สมศักดิ์]                                     แบบฝึกรายวิชา ว21101 วิทยาศาสตร์ 1
14

                               บรรณานุกรม


พิมพันธ์ เตชะคุปต์ และคณะ. แผนการจัดการเรียนรูสองแนวทางทีเน้นผูเรียนเป็นสาคัญ
                                                 ้          ่    ้
        วิทยาศาสตร์. กรุงเทพมหานคร : พัฒนาคุณภาพวิชาการ, 2548.
พิมพันธ์ เตชะคุปต์ และคณะ. ชุดกิจกรรมพัฒนาการคิดวิเคราะห์ วิทยาศาสตร์ ม.1.
        กรุงเทพมหานคร : พัฒนาคุณภาพวิชาการ, 2550.
ศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ, รัตนาภรณ์ อิทธิไพสิฐพันธุ์ และ สุภาภรณ์ หรินทรนิตย์. สื่อการ
        เรียนรูและเสริมทักษะตามมาตรฐานการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูวทยาศาสตร์.
               ้                                   ้ ่             ้ิ
        กรุงเทพมหานคร : นิยมวิทยา, มปป.
http://www.eduzones.com/knowledge-2-5-29408.html




[ครูสุภาภัค สมศักดิ์]                                   แบบฝึกรายวิชา ว21101 วิทยาศาสตร์ 1
15




                        ภาคผนวก



                           ใครยังไม่เข้าใจ สามารถกลับไปทา
                           แบบฝึกและแบบทดสอบซ้าได้อีก
                           หลาย ๆ ครั้ง จนเข้าใจ




[ครูสุภาภัค สมศักดิ์]                       แบบฝึกรายวิชา ว21101 วิทยาศาสตร์ 1
16



                        เฉลยแบบทดสอบก่อน – หลังเรียน

                        ก่อนเรียน            หลังเรียน
                           1. ข                 1. ข
                           2. ง                 2. ข
                           3. ก                 3. ง
                           4. ข                 4. ง
                          5. ก                  5. ก
                           6. ง                 6. ก
                          7. ค                  7. ข
                          8. ก                  8. ง
                           9. ข                 9. ค
                          10. ง                10. ก




[ครูสุภาภัค สมศักดิ์]                             แบบฝึกรายวิชา ว21101 วิทยาศาสตร์ 1
17

                                    เฉลยแบบฝึกที่ 1

ตารางบันทึกผลกิจกรรม
                                           ลักษณะ       ผลการสังเกตการกรองผ่าน
             สาร             สี
                                           เนื้อสาร   กระดาษกรอง เซลโลเฟน
นมเปรี้ยว               ขาวขุ่น        เนื้อเดียว    ได้สารสีขาวขุ่น ไม่
                                                                     เปลี่ยนแปลง
น้าสีผสมอาหารสีเหลือง เหลือง ใส        เนื้อเดียว    สารละลาย        สารละลาย
                                                     สีเหลือง        สีเหลือง
น้าขี้เถ้า              ขุ่น มี        เนื้อเดียวผสม สารละลายใส ไม่
                        ตะกอนอยู่                    ไม่มีสีและมี    เปลี่ยนแปลง
                        ก้นภาชนะ                     สารสีเทาติด
                                                     บนกระดาษ
                                                     กรอง
คาถามหลังทากิจกรรม
1. น้าขี้เถ้า
2. น้าขี้เถ้า นมเปรี้ยว
3. น้าสีผสมอาหารสีเหลือง
4. น้าสีผสมอาหารสีเหลือง นมเปรี้ยว น้าขี้เถ้า
    และ น้าสีผสมอาหารสีเหลือง คือ สารละลาย
          นมเปรี้ยว              คือ คอลลอยด์
          น้าขี้เถ้า             คือ สารแขวนลอย
สรุปผลกิจกรรม
    จากการทดลองจะจาแนกสารตามขนาดอนุภาคสารได้ ดังนี้ น้าสีผสมอาหารสีเหลือง คือ
สารละลาย , นมปรี้ยว คือ คอลลอยด์ และน้าขี้เถ้า คือ สารแขวนลอย
    สารละลาย มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของอนุภาคน้อยกว่า 10-7 เซนติเมตร ผ่านได้ทั้ง
กระดาษกรองและเซลโลเฟน (กระดาษกรองมีรูพรุนขนาดประมาณ 10-4 เซนติเมตร และ
เซลโลเฟนมีรูพรุนขนาดประมาณ 10-7 เซนติเมตร)


[ครูสุภาภัค สมศักดิ์]                                     แบบฝึกรายวิชา ว21101 วิทยาศาสตร์ 1
18

     คอลลอยด์ มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 10-7 - 10-4 เซนติเมตร ผ่านกระดาษกรอง
ได้ แต่ไม่สามารถผ่านเซลโลเฟนได้ ขนาดอนุภาคเล็กกว่าสารแขวนลอยแต่ใหญ่กว่าสารละลาย
(กระดาษกรองมีรูพรุนขนาดประมาณ 10-4 เซนติเมตร และเซลโลเฟนมีรูพรุนขนาดประมาณ
10-7 เซนติเมตร)
    สารแขวนลอย มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางใหญ่กว่า 10-4 เซนติเมตร ไม่สามารถผ่านทั้ง
กระดาษกรองและกระดาษเซลโลเฟนได้ ขนาดอนุภาคขนาดใหญ่กว่าสารละลายและคอลลอยด์
(กระดาษกรองมีรูพรุนขนาดประมาณ 10-4 เซนติเมตร และเซลโลเฟนมีรูพรุนขนาดประมาณ
10-7 เซนติเมตร)




[ครูสุภาภัค สมศักดิ์]                                 แบบฝึกรายวิชา ว21101 วิทยาศาสตร์ 1
19

                                         เฉลยแบบฝึกที่ 2

1. จาแนกสารได้ ดังนี้
   สารละลาย        ได้แก่ อากาศ น้าเชื่อม น้าเกลือ
   คอลลอยด์             ได้แก่ ควันไฟ หมอก น้านม น้าสลัด
   สารแขวนลอย           ได้แก่ น้าโคลน น้าขี้เถ้า น้าส้มคั้น
2. แผนผังความคิด

                อากาศ        น้าเชื่อม       น้าเกลือ


          เส้นผ่าศูนย์กลางของอนุภาคน้อยกว่า 10-7 เซนติเมตร


                            สารละลาย

                                     ขนาดอนุภาคสาร                   คอลลอยด์
     สารแขวนลอย


      เส้นผ่านศูนย์กลางใหญ่กว่า                         เส้นผ่านศูนย์กลางของอนุภาค
       10-4 เซนติเมตร                                    อยู่ระหว่าง 10-7 - 10-4 เซนติเมตร


      ควันไฟ                   หมอก
                                                         น้าโคลน        น้าขี้เถ้า     น้าส้มคั้น
               น้านม       น้าสลัด



[ครูสุภาภัค สมศักดิ์]                                              แบบฝึกรายวิชา ว21101 วิทยาศาสตร์ 1

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรมThanyamon Chat.
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์สำเร็จ นางสีคุณ
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันJariya Jaiyot
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่npapak74
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2Wichai Likitponrak
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชบทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชPinutchaya Nakchumroon
 
สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2Wichai Likitponrak
 
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5Wichai Likitponrak
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1Yaovaree Nornakhum
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)สำเร็จ นางสีคุณ
 
การสะท้อนของแสง
การสะท้อนของแสงการสะท้อนของแสง
การสะท้อนของแสงPonpirun Homsuwan
 
บท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมีบท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมีWichai Likitponrak
 

La actualidad más candente (20)

Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
 
แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1
 
แผนBioม.5 1
แผนBioม.5 1แผนBioม.5 1
แผนBioม.5 1
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2
 
5แบบทดสอบส่วนประกอบของเซลล์
5แบบทดสอบส่วนประกอบของเซลล์5แบบทดสอบส่วนประกอบของเซลล์
5แบบทดสอบส่วนประกอบของเซลล์
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชบทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
 
สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2
 
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์
 
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
 
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
 
การสะท้อนของแสง
การสะท้อนของแสงการสะท้อนของแสง
การสะท้อนของแสง
 
บท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมีบท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมี
 

Similar a 4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่

เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตcivicton
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตcivicton
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตcivicton
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
สารสังเคราะห์
สารสังเคราะห์สารสังเคราะห์
สารสังเคราะห์Biobiome
 
การสร้างแนวข้อสอบ Pisa
การสร้างแนวข้อสอบ Pisaการสร้างแนวข้อสอบ Pisa
การสร้างแนวข้อสอบ PisaBiobiome
 
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนPew Juthiporn
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารPinutchaya Nakchumroon
 
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐานการออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐานkruthai40
 
เร่ืองส่ิงมีชีวิตและส่ิงไม่มีชีวิต
เร่ืองส่ิงมีชีวิตและส่ิงไม่มีชีวิตเร่ืองส่ิงมีชีวิตและส่ิงไม่มีชีวิต
เร่ืองส่ิงมีชีวิตและส่ิงไม่มีชีวิตkooda112233
 
Sarครูโต้
Sarครูโต้Sarครูโต้
Sarครูโต้wichsitb
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...Kobwit Piriyawat
 

Similar a 4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่ (20)

Subst 1
Subst 1Subst 1
Subst 1
 
Subst 1
Subst 1Subst 1
Subst 1
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
 
Substance classification
Substance classificationSubstance classification
Substance classification
 
Substance2
Substance2Substance2
Substance2
 
สารสังเคราะห์
สารสังเคราะห์สารสังเคราะห์
สารสังเคราะห์
 
การสร้างแนวข้อสอบ Pisa
การสร้างแนวข้อสอบ Pisaการสร้างแนวข้อสอบ Pisa
การสร้างแนวข้อสอบ Pisa
 
184 bb10
184 bb10184 bb10
184 bb10
 
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
 
แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.3
แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.3แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.3
แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.3
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสาร
 
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐานการออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
 
Astroplan11
Astroplan11Astroplan11
Astroplan11
 
เร่ืองส่ิงมีชีวิตและส่ิงไม่มีชีวิต
เร่ืองส่ิงมีชีวิตและส่ิงไม่มีชีวิตเร่ืองส่ิงมีชีวิตและส่ิงไม่มีชีวิต
เร่ืองส่ิงมีชีวิตและส่ิงไม่มีชีวิต
 
Sarครูโต้
Sarครูโต้Sarครูโต้
Sarครูโต้
 
บทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำบทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
 

4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่

  • 1. 1 แบบฝึกรายวิชา ว21101 วิทยาศาสตร์ 1 เรื่อง สารรอบตัว ชันมัธยมศึกษาปีที่ 1 ้ ชุดที่ 4 สารละลาย คอลลอยด์ สารแขวนลอย สุภาภัค สมศักดิ์ ครูชานาญการ โรงเรียนฟากกว๊านวิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 36 [ครูสุภาภัค สมศักดิ์] แบบฝึกรายวิชา ว21101 วิทยาศาสตร์ 1
  • 2. 2 คาแนะนาสาหรับครู 1. ครูผู้สอนศึกษาการใช้แบบฝึกรายวิชา ว21101 วิทยาศาสตร์ 1 และแผนการ จัดการเรียนรู้ เพื่อให้เข้าใจจะได้ชี้แนะและเพิ่มพูนความรู้ให้แก่นักเรียนได้ถูกต้อง 2. ครูผู้สอนต้องใช้แผนการจัดการเรียนรู้ในการใช้แบบฝึกรายวิชา ว21101 วิทยาศาสตร์ 1 เพื่อเสริมสร้างประสบการณ์เรียนรู้เกี่ยวกับเรื่องที่เรียนตามแผนการจัดการ เรียนรู้ที่กาหนดไว้ 3. ครูผู้สอนต้องเตรียมแบบฝึกรายวิชา ว21101 วิทยาศาสตร์ 1 ให้ครบตาม จานวนนักเรียน เพื่อให้นักเรียนได้ปฏิบัติกิจกรรมได้อย่างครบถ้วน 4. แบบฝึกรายวิชา ว21101 วิทยาศาสตร์ 1 เป็นสื่อที่ให้นักเรียนได้ฝึกกิจกรรม ทางวิทยาศาสตร์ ครูผู้สอนคอยชี้แนะ กากับ ดูแลนักเรียน ให้ปฏิบัติกิจกรรมในแบบฝึก รายวิชา ว21101 วิทยาศาสตร์ 1 และครูควรชี้แจงบทบาทของนักเรียนในการเรียนให้ชัดเจน 5. ครูผู้สอนให้นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน ก่อนที่นักเรียนจะศึกษาหรือทา กิจกรรมในแบบฝึกรายวิชา ว21101 วิทยาศาสตร์ 1 6. ครูผู้สอนนาเข้าสู่บทเรียนควรอธิบายเนื้อหาพอสังเขป เกี่ยวกับบทเรียนนั้นๆ เพื่อเตรียมความพร้อมให้นักเรียน มีความเข้าใจและสนใจในบทเรียน 7. ครูผู้สอนดาเนินการสอนตามกิจกรรมการเรียนการสอนในแผนการจัดการ เรียนรู้ แล้วให้นักเรียนทากิจกรรมในแบบฝึกรายวิชา ว21101 วิทยาศาสตร์ 1 แต่ละชุด 8. ครูผู้สอนต้องดูแล และให้ความช่วยเหลือ แนะนา ในการปฏิบัติกิจกรรมอย่าง ใกล้ชิด ในขณะที่นักเรียนกาลังศึกษาเนื้อหาหรือปฏิบัติกิจกรรม เพื่อนักเรียนจะได้ขอคา ปรึกษาหารือทันที 9. ครูผู้สอนต้องสังเกตพฤติกรรมนักเรียน ตามแบบประเมินพฤติกรรม เพื่อ บันทึกการปฏิบัติกิจกรรมของนักเรียน ในการประเมินผลการเรียนของนักเรียน 10. ครูผู้สอนต้องช่วยเหลือนักเรียนในการสรุปเนื้อหาในบทเรียนลงในสมุดบันทึก เมื่อศึกษาแบบฝึกรายวิชา ว21101 วิทยาศาสตร์ 1 แล้ว และให้นักเรียนทาแบบทดสอบหลัง เรียน และตรวจคาตอบจากเฉลยเพื่อประเมินความก้าวหน้าทางการเรียน 11. ผลการเรียนของนักเรียนควรเก็บไว้ในแฟ้มสะสมผลงานหรือแฟ้มข้อมูล นักเรียน [ครูสุภาภัค สมศักดิ์] แบบฝึกรายวิชา ว21101 วิทยาศาสตร์ 1
  • 3. 3 คาแนะนาสาหรับนักเรียน 1. แบบฝึกรายวิชา ว21101 วิทยาศาสตร์ 1 เรื่อง สารรอบตัว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ชุดที่ 1 สารและสมบัติของสาร สาหรับให้นักเรียนได้ศึกษาและทาแบบฝึกด้วยตนเอง ประกอบด้วย 1.1 ชื่อของแบบฝึก 1.2 คาอธิบายเนื้อหาของเรื่องที่เรียนในชุดนั้น 1.3 แบบฝึก 1.4 แบบทดสอบก่อนเรียน – หลังเรียน 1.5 เฉลยคาตอบของแบบทดสอบและแบบฝึก 2. การทาแบบฝึกรายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน ให้นักเรียนปฏิบัติดังนี้ 2.1 อ่านคาชี้แจงของแบบฝึกรายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐานแต่ละชุดให้เข้าใจ 2.2 ทดสอบก่อนเรียน 2.3 ให้นักเรียนศึกษาและปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ในแบบฝึกตามลาดับตั้งแต่หน้า แรกจนถึงหน้าสุดท้าย (ไม่ควรข้ามขั้นตอน) อ่านให้เข้าใจก่อนทาแบบฝึก หากไม่เข้าใจให้อ่านซ้า 2.4 ทาแบบฝึกรายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐานแต่ละตอนในแต่ละชุดด้วยตนเองโดย ไม่ดูเฉลย และตรวจคาตอบ 2.5 ทดสอบหลังเรียน 2.6 เมื่อนักเรียนมีข้อสงสัยใด ๆ ให้ถามครู 2.7 นักเรียนสามารถศึกษาแบบฝึก และทาแบบฝึกซ้า ถ้ายังไม่เข้าใจ 2.8 ขอให้นักเรียนพึงระลึกว่าความซื่อสัตย์คือการพัฒนาตนเองอย่างหนึ่ง [ครูสุภาภัค สมศักดิ์] แบบฝึกรายวิชา ว21101 วิทยาศาสตร์ 1
  • 4. 4 มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ว 3.1 เข้าใจสมบัติของสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้าง และแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์สื่อสาร สิ่งที่เรียนรู้ นาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ตัวชีวด ้ั ทดลองและจาแนกสารเป็นกลุ่มโดยใช้เนื้อสารหรือขนาดอนุภาคและอธิบายสมบัติของ สารในแต่ละกลุ่ม สาระสาคัญ การจาแนกสารเป็นกลุ่มโดยใช้ขนาดอนุภาคของสารเป็นเกณฑ์ คือ สารละลาย คอลลอยด์ และสารแขวนลอย จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. ทดลองและจาแนกสารโดยใช้ขนาดอนุภาคของสารเป็นเกณฑ์ 2. อธิบายความหมายของสารแขวนลอย คอลลอยด์และสารละลายได้ถูกต้อง เวลาในการปฏิบตกจกรรม 2 ชัวโมง ั ิิ ่ [ครูสุภาภัค สมศักดิ์] แบบฝึกรายวิชา ว21101 วิทยาศาสตร์ 1
  • 5. 5 แบบทดสอบก่อนเรียน คาชี้แจง 1. ข้อสอบเป็นแบบปรนัยมีทั้งหมด 10 ข้อ 10 คะแนน 2. จงกาเครื่องหมายกากบาท (x) ลงในกระดาษคาตอบข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว สาหรับคาถามในแต่ละข้อ 1. สารในข้อใดจัดเป็นสารแขวนลอย 5. ข้อใด ไม่ใช่ สมบัติของคอลลอยด์ ก. น้าเกลือ ก. ผ่านเซลโลเฟนได้ ข. น้าโคลน ข. ผ่านกระดาษกรองได้ ค. น้าส้มสายชู ค. มีลักษณะเนื้อสารเป็นสารเนื้อผสม ง. น้าผสมน้ามันพืช ง. มีขนาดอนุภาคใหญ่กว่าสารละลาย 2. ข้อใดจัดเป็นคอลลอยด์ 6. ข้อใดคือสมบัติของสารแขวนลอย ก. น้าแข็ง ก. ผ่านเซลโลเฟนได้ ข. น้าโคลน ข. ผ่านกระดาษกรองได้ ค. น้าบริสุทธิ์ ค. มีลักษณะเนื้อสารกลมกลืนกัน ง. โฟมล้างหน้า ง. มีขนาดอนุภาคใหญ่กว่าสารละลาย 3. สารในข้อใดที่ไม่สามารถผ่านกระดาษกรอง 7. ข้อใด ไม่ใช่ สมบัติของสารละลาย ก. น้าขี้เถ้า ก. ผ่านเซลโลเฟนได้ ข. น้าเกลือ ข. ผ่านกระดาษกรองได้ ค. น้าหวาน ค. มีขนาดอนุภาคใหญ่ที่สุด ง. น้าอัดลม ง. ลักษณะเนื้อสารกลมกลืนกัน 4. สารในข้อใดทาให้เกิดปรากฏการณ์ 8. ข้อใดเป็นคอลลอยด์ทั้งหมด ทินดอลล์ ก. นมสด โฟม หมอก ก. น้าแข็ง ข. อากาศ เยลลี่ น้าโคลน ข. น้าสลัด ค. น้าสบู่ น้าจิ้มไก่ น้ามะนาว ค. น้าโคลน ง. แป้งเปียก น้าสลัด น้าเชื่อม ง. น้าบริสุทธิ์ [ครูสุภาภัค สมศักดิ์] แบบฝึกรายวิชา ว21101 วิทยาศาสตร์ 1
  • 6. 6 9. ข้อใดประกอบด้วยสารละลายและ 10. สารชนิดหนึ่งมีส่วนประกอบเป็นสาร 2 คอลลอยด์ ชนิดแบ่งชั้นกันอย่างชัดเจน เมื่อปล่อยทิ้ง ก. นมสด หมอก ไว้ตกตะกอน สารชนิดนี้คือสารข้อใด ข. อากาศ แยม ก. คอลลอยด์ ค. น้าจิ้มไก่ น้าแป้ง ข. สารละลาย ง. น้าจิ้มไก่ น้ามะนาว ค. สารบริสุทธิ์ ง. สารแขวนลอย *********************************************** [ครูสุภาภัค สมศักดิ์] แบบฝึกรายวิชา ว21101 วิทยาศาสตร์ 1
  • 7. 7 ใบความรู้ เรือง สารละลาย คอลลอยด์ สารแขวนลอย ่ สารบางชนิด บางครั้งมีอนุภาคของสารตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปปะปนกันอยู่ โดยอนุภาค ของสารชนิดหนึ่งแทรกอยู่ระหว่างอนุภาคของสารอีกชนิดหนึ่ง สารที่มีลักษณะเช่นนี้อาจเป็น สารละลาย คอลลอยด์หรือสารแขวนลอย ซึ่งเมื่อสังเกตด้วยตาเปล่าไม่สามารถตัดสินได้ว่า เป็นสารประเภทใด เนื่องจากมีสมบัติคล้ายคลึงกันแต่มีขนาดอนุภาคแตกต่างกัน ดังนี้ 1. สารละลาย หมายถึง สารเนื้อเดียวที่เกิดจากสารตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปมาผสมรวมกัน โดยอัตราส่วนของการผสมไม่คงที่และสารที่เกิดขึ้นจากการผสมนี้จะแสดงสมบัติที่ต่างไปจาก สารเดิม ประกอบด้วยตัวทาละลาย และ ตัวละลาย มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของอนุภาค น้อยกว่า 10-7 เซนติเมตร เช่น น้าเกลือ น้าหวาน น้าอัดลม ทองแดง อากาศ เป็นต้น ภาพที่ 1 สารละลาย ที่มา : สุภาภัค สมศักดิ์. ภาพถ่ายของจริง. 2553. 2. คอลลอยด์ คือ สารเนื้อผสมที่มีความกลมกลืน มีอนุภาคที่เป็นเม็ดเล็กๆ แทรก อยู่ในตัวกลาง ขนาดอนุภาคเล็กกว่าสารแขวนลอยแต่ใหญ่กว่าสารละลาย มีขนาดเส้นผ่าน ศูนย์กลางประมาณ 10-7 - 10-4 เซนติเมตร มีลักษณะข้นคล้ายกาว คอลลอยด์ในชีวิตประจาวัน สถานะของ สถานะของ ประเภทของคอลลอยด์ ตัวอย่าง อนุภาค ตัวกลาง แอโรซอล ของเหลว แก๊ส เมฆ , สเปรย์ , หมอก แอโรซอล ของแข็ง แก๊ส ควันไฟ , ฝุ่น อิมัลชัน ของเหลว ของเหลว นมสด , น้ากะทิ , สลัด เจล ของแข็ง ของเหลว เยลลี่ , วุ้น , กาว , ยาสีฟัน โฟม แก๊ส ของเหลว ฟองสบู่ , ครีมโกนหนวด โฟม แก๊ส ของแข็ง เม็ดโฟม , สบู่ก้อน [ครูสุภาภัค สมศักดิ์] แบบฝึกรายวิชา ว21101 วิทยาศาสตร์ 1
  • 8. 8 องค์ประกอบของคอลลอยด์บางชนิดจะไม่รวมเป็นเนื้อเดียวกัน จะแยกชั้นออกจากกัน จึงต้องมีตัวประสานหรือ อิมัลซิไฟเออร์ ( Emulsifier) เช่น น้าสบู่เป็นตัวประสานให้น้ากับ น้ามันไม่แยกชั้นจากกัน โดยน้ามันจะแตกตัวเป็นเม็ดเล็ก ๆ แทรกอยู่ในน้า สมบัติอีกอย่าง หนึ่งของคอลลอยด์ คือ เมื่อแสงเดินทางผ่านคอลลอยด์ จะเกิดการหักเหและสะท้อนแสง เรียกว่า การกระเจิงของแสง ทาให้มองเห็นเป็นลาแสงในคอลลอยด์ เรียกปรากฏการณ์นี้ว่า ปรากฏการณ์ทินดอลล์ ภาพที่ 2 คอลลอยด์ ที่มา : สุภาภัค สมศักดิ์. ภาพถ่ายของจริง. 2553. 3. สารแขวนลอย คือ ของเหลวที่มีอนุภาคของของแข็งขนาดเล็กแทรกอยู่ เส้นผ่าน ศูนย์กลางใหญ่กว่า 10-4 เซนติเมตร ซึ่งเป็นสารเนื้อผสมที่มีขนาดอนุภาคขนาดใหญ่ ทาให้ สามารถมองเห็นส่วนผสมได้อย่างชัดเจน ง่ายต่อการแยกออก เช่น น้าโคลน คอนกรีต น้าพริก น้าจิ้มไก่ เป็นต้น ภาพที่ 3 สารแขวนลอย ที่มา : สุภาภัค สมศักดิ์. ภาพถ่ายของจริง. 2553. [ครูสุภาภัค สมศักดิ์] แบบฝึกรายวิชา ว21101 วิทยาศาสตร์ 1
  • 9. 9 แบบฝึกที่ 1 คาสัง ให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมการทดลอง ต่อไปนี้ ่ กิจกรรม ขนาดอนุภาคของสาร จุดประสงค์ 1. ทดลองและจาแนกสารตามขนาดอนุภาคสารได้ 2. อธิบายความหมายของสารละลาย คอลลอยด์ และสารแขวนลอยได้ วิธีการทดลองและเก็บรวบรวมข้อมูล 1. นานมปรี้ยว น้าสีผสมอาหารสีเหลือง และน้าขี้เถ้า มาสังเกตสีและลักษณะเนื้อสาร บันทึกผล 2. นาสารทั้ง 3 ชนิด จานวน 20 ลูกบาศก์เซนติเมตร มากรองด้วยกระดาษกรอง สังเกตสารที่เหลือบนกระดาษกรองและของเหลวที่กรองได้ บันทึกผล 3. นาสารทั้ง 3 ชนิด จานวน 20 ลูกบาศก์เซนติเมตร ใส่ในถุงเซลโลเฟน ผูกให้แน่น แล้วนาไปแช่ในน้าที่อยู่ในบีกเกอร์ (ต้องไม่ให้น้าท่วมส่วนที่ผูกเป็นถุง) เป็นเวลา 5 นาที สังเกตสีของน้าและบันทึกผล ตารางบันทึกผลกิจกรรม ลักษณะ ผลการสังเกตการกรองผ่าน สาร สี เนื้อสาร กระดาษกรอง เซลโลเฟน นมเปรี้ยว น้าสีผสมอาหารสีเหลือง น้าขี้เถ้า คาถามหลังทากิจกรรม 1. สารชนิดใดที่ไม่สามารถผ่านกระดาษกรองได้ ………………………………………………………………….………………………………………………………………... 2. สารชนิดใดที่ไม่สามารถผ่านเซลโลเฟนได้ ………………………………………………………………….………………………………………………………………... [ครูสุภาภัค สมศักดิ์] แบบฝึกรายวิชา ว21101 วิทยาศาสตร์ 1
  • 10. 10 3. สารชนิดใดที่สามารถผ่านกระดาษกรองและเซลโลเฟนได้ ………………………………………………………………….………………………………………………………………... 4. จงเรียงลาดับขนาดของอนุภาคสารทั้ง 3 ชนิด จากเล็กไปหาใหญ่ ตามลาดับและบอกด้วยว่า สารใดเป็นสารละลาย คอลลอยด์ และ สารแขวนลอย ตามลาดับ …………………………………………………………….………………………………………………………………... ………………………………………………………………….………………………………………………………………... สรุปผลกิจกรรม ………………………………………………………………….………………………………………………………………... ………………………………………………………………….………………………………………………………………... ………………………………………………………………….………………………………………………………………... ………………………………………………………………….………………………………………………………………... [ครูสุภาภัค สมศักดิ์] แบบฝึกรายวิชา ว21101 วิทยาศาสตร์ 1
  • 11. 11 แบบฝึกที่ 2 คาสัง ให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรม ต่อไปนี้ ่ กิจกรรม สารละลาย คอลลอยด์ และสารแขวนลอย จุดประสงค์ 1. จาแนกสารละลาย คอลลอยด์ และสารแขวนลอยได้ วิธีการปฏิบติกจกรรม ั ิ 1. ให้นักเรียนจาแนกสิ่งต่อไปนี้ตามสมบัติและขนาดอนุภาคสาร ได้แก่ ควันไฟ หมอก อากาศ น้าเชื่อม น้านม น้าสลัด น้าโคลน น้าขี้เถ้า น้าเกลือ น้าส้มคั้น 2. นากลุ่มสารในข้อ 1 มาเขียนแผนผังความคิด “ขนาดอนุภาคสาร ” ( 20 คะแนน) [ครูสุภาภัค สมศักดิ์] แบบฝึกรายวิชา ว21101 วิทยาศาสตร์ 1
  • 12. 12 แบบทดสอบหลังเรียน คาชี้แจง 1. ข้อสอบเป็นแบบปรนัยมีทั้งหมด 10 ข้อ 10 คะแนน 2. จงกาเครื่องหมายกากบาท (x) ลงในกระดาษคาตอบข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว สาหรับคาถามในแต่ละข้อ 1. สารในข้อใดจัดเป็นสารแขวนลอย 5. ข้อใด ไม่ใช่ สมบัติของคอลลอยด์ ก. น้าเกลือ ก. ผ่านเซลโลเฟนได้ ข. น้าโคลน ข. ผ่านกระดาษกรองได้ ค. น้าส้มสายชู ค. มีลักษณะเนื้อสารเป็นสารเนื้อผสม ง. น้าผสมน้ามันพืช ง. มีขนาดอนุภาคใหญ่กว่าสารละลาย 2. สารในข้อใดทาให้เกิดปรากฏการณ์ 6. สารในข้อใดที่ไม่สามารถผ่านกระดาษกรอง ทินดอลล์ ก. น้าขี้เถ้า ก. น้าแข็ง ข. น้าเกลือ ข. น้าสลัด ค. น้าหวาน ค. น้าโคลน ง. น้าอัดลม ง. น้าบริสุทธิ์ 7. ข้อใดประกอบด้วยสารละลายและ 3. ข้อใดคือสมบัติของสารแขวนลอย คอลลอยด์ ก. ผ่านเซลโลเฟนได้ ก. นมสด หมอก ข. ผ่านกระดาษกรองได้ ข. อากาศ แยม ค. มีลักษณะเนื้อสารกลมกลืนกัน ค. น้าจิ้มไก่ น้าแป้ง ง. มีขนาดอนุภาคใหญ่กว่าสารละลาย ง. น้าจิ้มไก่ น้ามะนาว 4. ข้อใดจัดเป็นคอลลอยด์ 8. สารชนิดหนึ่งมีส่วนประกอบเป็นสาร 2 ก. น้าแข็ง ชนิดแบ่งชั้นกันอย่างชัดเจน เมื่อปล่อยทิ้ง ข. น้าโคลน ไว้ตกตะกอน สารชนิดนี้คือสารข้อใด ค. น้าบริสุทธิ์ ก. คอลลอยด์ ง. โฟมล้างหน้า ข. สารละลาย ค. สารบริสุทธิ์ ง. สารแขวนลอย [ครูสุภาภัค สมศักดิ์] แบบฝึกรายวิชา ว21101 วิทยาศาสตร์ 1
  • 13. 13 9. ข้อใด ไม่ใช่ สมบัติของสารละลาย 10. ข้อใดเป็นคอลลอยด์ทั้งหมด ก. ผ่านเซลโลเฟนได้ ก. นมสด โฟม หมอก ข. ผ่านกระดาษกรองได้ ข. อากาศ เยลลี่ น้าโคลน ค. มีขนาดอนุภาคใหญ่ที่สุด ค. น้าสบู่ น้าจิ้มไก่ น้ามะนาว ง. ลักษณะเนื้อสารกลมกลืนกัน ง. แป้งเปียก น้าสลัด น้าเชื่อม *********************************************** [ครูสุภาภัค สมศักดิ์] แบบฝึกรายวิชา ว21101 วิทยาศาสตร์ 1
  • 14. 14 บรรณานุกรม พิมพันธ์ เตชะคุปต์ และคณะ. แผนการจัดการเรียนรูสองแนวทางทีเน้นผูเรียนเป็นสาคัญ ้ ่ ้ วิทยาศาสตร์. กรุงเทพมหานคร : พัฒนาคุณภาพวิชาการ, 2548. พิมพันธ์ เตชะคุปต์ และคณะ. ชุดกิจกรรมพัฒนาการคิดวิเคราะห์ วิทยาศาสตร์ ม.1. กรุงเทพมหานคร : พัฒนาคุณภาพวิชาการ, 2550. ศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ, รัตนาภรณ์ อิทธิไพสิฐพันธุ์ และ สุภาภรณ์ หรินทรนิตย์. สื่อการ เรียนรูและเสริมทักษะตามมาตรฐานการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูวทยาศาสตร์. ้ ้ ่ ้ิ กรุงเทพมหานคร : นิยมวิทยา, มปป. http://www.eduzones.com/knowledge-2-5-29408.html [ครูสุภาภัค สมศักดิ์] แบบฝึกรายวิชา ว21101 วิทยาศาสตร์ 1
  • 15. 15 ภาคผนวก ใครยังไม่เข้าใจ สามารถกลับไปทา แบบฝึกและแบบทดสอบซ้าได้อีก หลาย ๆ ครั้ง จนเข้าใจ [ครูสุภาภัค สมศักดิ์] แบบฝึกรายวิชา ว21101 วิทยาศาสตร์ 1
  • 16. 16 เฉลยแบบทดสอบก่อน – หลังเรียน ก่อนเรียน หลังเรียน 1. ข 1. ข 2. ง 2. ข 3. ก 3. ง 4. ข 4. ง 5. ก 5. ก 6. ง 6. ก 7. ค 7. ข 8. ก 8. ง 9. ข 9. ค 10. ง 10. ก [ครูสุภาภัค สมศักดิ์] แบบฝึกรายวิชา ว21101 วิทยาศาสตร์ 1
  • 17. 17 เฉลยแบบฝึกที่ 1 ตารางบันทึกผลกิจกรรม ลักษณะ ผลการสังเกตการกรองผ่าน สาร สี เนื้อสาร กระดาษกรอง เซลโลเฟน นมเปรี้ยว ขาวขุ่น เนื้อเดียว ได้สารสีขาวขุ่น ไม่ เปลี่ยนแปลง น้าสีผสมอาหารสีเหลือง เหลือง ใส เนื้อเดียว สารละลาย สารละลาย สีเหลือง สีเหลือง น้าขี้เถ้า ขุ่น มี เนื้อเดียวผสม สารละลายใส ไม่ ตะกอนอยู่ ไม่มีสีและมี เปลี่ยนแปลง ก้นภาชนะ สารสีเทาติด บนกระดาษ กรอง คาถามหลังทากิจกรรม 1. น้าขี้เถ้า 2. น้าขี้เถ้า นมเปรี้ยว 3. น้าสีผสมอาหารสีเหลือง 4. น้าสีผสมอาหารสีเหลือง นมเปรี้ยว น้าขี้เถ้า และ น้าสีผสมอาหารสีเหลือง คือ สารละลาย นมเปรี้ยว คือ คอลลอยด์ น้าขี้เถ้า คือ สารแขวนลอย สรุปผลกิจกรรม จากการทดลองจะจาแนกสารตามขนาดอนุภาคสารได้ ดังนี้ น้าสีผสมอาหารสีเหลือง คือ สารละลาย , นมปรี้ยว คือ คอลลอยด์ และน้าขี้เถ้า คือ สารแขวนลอย สารละลาย มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของอนุภาคน้อยกว่า 10-7 เซนติเมตร ผ่านได้ทั้ง กระดาษกรองและเซลโลเฟน (กระดาษกรองมีรูพรุนขนาดประมาณ 10-4 เซนติเมตร และ เซลโลเฟนมีรูพรุนขนาดประมาณ 10-7 เซนติเมตร) [ครูสุภาภัค สมศักดิ์] แบบฝึกรายวิชา ว21101 วิทยาศาสตร์ 1
  • 18. 18 คอลลอยด์ มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 10-7 - 10-4 เซนติเมตร ผ่านกระดาษกรอง ได้ แต่ไม่สามารถผ่านเซลโลเฟนได้ ขนาดอนุภาคเล็กกว่าสารแขวนลอยแต่ใหญ่กว่าสารละลาย (กระดาษกรองมีรูพรุนขนาดประมาณ 10-4 เซนติเมตร และเซลโลเฟนมีรูพรุนขนาดประมาณ 10-7 เซนติเมตร) สารแขวนลอย มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางใหญ่กว่า 10-4 เซนติเมตร ไม่สามารถผ่านทั้ง กระดาษกรองและกระดาษเซลโลเฟนได้ ขนาดอนุภาคขนาดใหญ่กว่าสารละลายและคอลลอยด์ (กระดาษกรองมีรูพรุนขนาดประมาณ 10-4 เซนติเมตร และเซลโลเฟนมีรูพรุนขนาดประมาณ 10-7 เซนติเมตร) [ครูสุภาภัค สมศักดิ์] แบบฝึกรายวิชา ว21101 วิทยาศาสตร์ 1
  • 19. 19 เฉลยแบบฝึกที่ 2 1. จาแนกสารได้ ดังนี้ สารละลาย ได้แก่ อากาศ น้าเชื่อม น้าเกลือ คอลลอยด์ ได้แก่ ควันไฟ หมอก น้านม น้าสลัด สารแขวนลอย ได้แก่ น้าโคลน น้าขี้เถ้า น้าส้มคั้น 2. แผนผังความคิด อากาศ น้าเชื่อม น้าเกลือ เส้นผ่าศูนย์กลางของอนุภาคน้อยกว่า 10-7 เซนติเมตร สารละลาย ขนาดอนุภาคสาร คอลลอยด์ สารแขวนลอย เส้นผ่านศูนย์กลางใหญ่กว่า เส้นผ่านศูนย์กลางของอนุภาค 10-4 เซนติเมตร อยู่ระหว่าง 10-7 - 10-4 เซนติเมตร ควันไฟ หมอก น้าโคลน น้าขี้เถ้า น้าส้มคั้น น้านม น้าสลัด [ครูสุภาภัค สมศักดิ์] แบบฝึกรายวิชา ว21101 วิทยาศาสตร์ 1