SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 4
Descargar para leer sin conexión
ในรอบเดือนที่ผ่านมามีการประชุมกรรมการเรื่องการจัดตั้ง
สถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติชุดต่างๆ หลายครั้ง มี
ข้อมูลผ่านเข้ามาให้รับทราบมากมาย เรื่องหนึ่งคือการจัดลาดับขีด
ความสามารถในการแข่งขันของประเทศโดย International Institute for
Management Development (IMD) ซึ่งกล่าวถึงสถานภาพทางการ
แข่งขันของประเทศไทยและอีกเรื่องหนึ่งคือการติดอยู่ในกับดักรายได้
ปานกลางของประเทศไทยมาเป็นเวลานาน
เรื่องสถานภาพทางการแข่งขันออกจะดูเป็นตัวเลขเชิง
เปรียบเทียบ (Comparative value) มากกว่าจะเป็นค่าสัมบูรณ์
(Absolute value) แต่เราก็ดูเอาจริงเอาจังจนบางครั้งอาจจะลืมเฉลียวใจว่า
ผู้กาหนดนโยบายอาจแก้ปัญหาที่ตั้งมาอย่างผิดๆ เลยตกใจกับตัวเลขการชี้
วัดจนลืมการสร้างพื้นฐานที่แข็งแกร่งเพื่อรอรอบการแข่งขันต่อไป
ตัวอย่างเช่น ตกใจเรื่องตัวเลขความล้าหลังด้านโครงสร้างพื้นฐาน และเร่งรัด
การทาโครงการสร้างทางรถไฟ สร้างถนน สร้างท่าเรือ สร้างสนามบิน ฯลฯ
ทั้งที่สถานภาพการแข่งขันด้านอื่น เช่น ด้านการศึกษา (อันดับ 48) ด้าน
สุขภาพและสิ่งแวดล้อม (อันดับ 54) ควรแก่การตกอกตกใจมากกว่า อีกทั้ง
ดูตัวชี้วัดภาษาอังกฤษ ได้แก่ Basic Infrastructure (อันดับ 30) ก็ไม่ถึงกับ
ขี้เหร่ จะค่อนไปทางดีด้วยซ้า ในขณะที่ Technological infrastructure
(อันดับ 44) กับ Scientific infrastructure (อันดับ 47) ดูน่าตกใจมากกว่า
และควรจะรีบๆตั้งสถาบันฯโดยเร็วแต่ก็ไม่ทราบว่าบวก ลบ คูณ หาร กัน
อย่างไรถึงสรุปว่า Infrastructure อยู่อันดับที่ 46 แล้วรีบทาโครงการ
ก่อสร้างกันยกใหญ่
EEE---NewsletterNewsletterNewsletter ฉบับที่ฉบับที่ฉบับที่ 151515 ประจำเดือน สิงหำคม 255ประจำเดือน สิงหำคม 255ประจำเดือน สิงหำคม 255888
โครงกำรจัดตั้งสถำบันพัฒนำเทคโนโลยีระบบขนส่งทำงรำงแห่งชำติโครงกำรจัดตั้งสถำบันพัฒนำเทคโนโลยีระบบขนส่งทำงรำงแห่งชำติโครงกำรจัดตั้งสถำบันพัฒนำเทคโนโลยีระบบขนส่งทำงรำงแห่งชำติ
สำนักงำนพัฒนำวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีแห่งชำติ (สวทช.)สำนักงำนพัฒนำวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีแห่งชำติ (สวทช.)สำนักงำนพัฒนำวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีแห่งชำติ (สวทช.)
Thailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute Project
National Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development Agency
Page | 1
กลยุทธ์ที่จะไปสู่เป้ าหมาย : a means to an end
บทบรรณาธิการ :บทบรรณาธิการ :บทบรรณาธิการ :
เยำวหรำล เนรูห์ กล่ำวว่ำ “Democracy and socialism are means
to an end, not the end itself” แต่ก็มีคนจำนวนไม่น้อยที่คิดว่ำ
ประชำธิปไตย คือ End มิใช่หรือ?
มาดูตัวเลขรายได้เฉลี่ยต่อหัว (GDP per capita) ที่เป็นการวัด
อย่างสัมบูรณ์บ้าง รายได้เฉลี่ยปานกลาง (Middle-income) คือมากกว่า
3,000 เหรียญต่อปี ส่วนรายได้เฉลี่ยขั้นสูง (High-income) คือมากกว่า
13,000 เหรียญต่อปี ประเทศไทยมีรายได้เฉลี่ยถึงระดับปานกลางตั้งแต่
ประมาณปี 2533 ปัจจุบันรายได้เฉลี่ยอยู่ที่ 6,000 - 7,000 เหรียญ ที่ว่าติด
กับดักรายได้ปานกลางก็คืออยู่ตรงนี้มาแล้วกว่ายี่สิบปี ที่เป็นดังนี้ก็เพราะ
ขาดสื่อที่จะสร้างงานทั้งในเชิงปริมาณ (จ้างคนจานวนมาก) และเชิง
คุณภาพ (ใช้เทคโนโลยีและทักษะสูง ค่าจ้างแพง) พอพูดดังนี้ ก็ต้องชวนกัน
พัฒนาอุตสาหกรรมรถไฟ ตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีรถไฟ และซื้อรถไฟ
ควบคู่กับการถ่ายทอดเทคโนโลยีเหมือนที่เกาหลี และจีน ทาเป็นตัวอย่าง
มาแล้ว ถึงตรงนี้ก็จะมีคนบอกว่ามีคนทา(รถไฟ)ขายเยอะแยะ อยากได้อะไร
ก็ซื้อเอา แล้วก็ประกวดราคาซื้อของต่างประเทศต่อไป
พอวันรุ่งขึ้น คนที่พูดอย่างนั้นก็อาจจะไปบรรยายเรื่องกับดัก
รายได้ปานกลางให้คนฟัง ดูมีภูมิปัญญาทีเดียว แต่แท้ที่จริงคือคนที่สับสน
ระหว่างเป้าหมาย (End) กับวิธีการที่จะไปสู่เป้าหมาย (Means) สับสน
ระหว่าง “Road กับ Destination” ไม่เข้าใจว่าสองอย่างนี้มีความสัมพันธ์
กันอย่างไรในกระบวนการคิด
ปฏิทินราง :ปฏิทินราง :ปฏิทินราง :
16 – 20 ส.ค. 58 เวลา 9.00 – 20.00 น.
ขอเชิญเข้าร่วมการประชุม “มหกรรม
งานวิจัยแห่งชาติ 2558” (Thailand
Research Expo 2015) จัดโดย สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
ณ บางกอกคอนเวนชั่นเซ็นเตอร์ โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ แอท เซ็นทรัลเวิลด์
และในวันที่ 20 ส.ค. 58 เวลา 9.00 - 12.00 น. ขอเชิญเข้าร่วมการประชุมใน
หัวข้อ "ระบบรางของไทย ในทศวรรษหน้า" ดูรายละเอียดเพิ่มเติม และ
ลงทะเบียนได้ที่ www.researchexpo-register.com สอบถามที่ Call Center :
0-2539-3128
25 ส.ค. 58 เวลา 13.00 – 16.00 น. ขอเชิญเข้าร่วมฟังการ
บรรยายพิเศษ ในหัวข้อ “Railway Track Superstructure and
Design” และ “Noise & Vibration in Railway” ณ อาคาร
ภาควิชาวิศวกรรมโยธา ชั้น 5 ห้อง 501 คณะวิศวกรรมศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จัดโดยหน่วยปฏิบัติการวิจัยการจัดการโครงสร้าง
พื้นฐาน และภาควิชาวิศวกรรมโยธา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในการนี้มี
Dr. Amnon Pieter de Man จาก the Netherlands เป็นวิทยากร ติดต่อ
ส อ บ ถ า ม แ ล ะ ล ง ท ะ เ บี ย น โ ด ย ไ ม่ เ สี ย ค่ า ใ ช้ จ่ า ย ไ ด้ ที่ E-mail :
jindaporn0128@gmail.com หรือ โทร 0-2612-3700 จากัดจานวน 30 ท่าน
กองบรรณาธิการ
เราจะก้าวข้าม ด้วยการซื้อรถไฟจีน
ซื้อเรือด้าน้้าจีนและใช้วิศวกรจีนสร้างรถไฟ
Only a few
countries can
escape from
middle-income
trap
แฟรงก์เฟิร์ต เมืองแห่งผู้คนและนักเดินทาง (ตอนที่ 1)
บทความโดย นายชัยยศ ปีติเจตน์ (วศร.1) นางสาวณัฐธดา นิลจินดา
Thailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute Project
National Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development Agency
ผู้เขียนได้เป็นส่วนหนึ่งของคณะนักวิจัยที่เดินทางไปยังสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี เพื่อ
ศึกษาเกี่ยวกับระบบขนส่งสาธารณะและการเดินเท้า โดยในเดือนมิถุนายนที่ผ่านมา ซึ่งเป็นช่วงฤดู
ร้อนของประเทศแถบยุโรป ทาให้ได้เห็นการเดินทางและการทากิจกรรมต่างๆ ในเมืองใหญ่
โดยเฉพาะแฟรงก์เฟิร์ต ที่เป็นศูนย์กลางสาหรับการเดินทางในประเทศเยอรมันและประเทศในกลุ่ม
สหภาพยุโรป (EU) ข้างเคียง
ระบบการขนส่งสาธารณะแฟรงก์เฟิร์ต เป็นส่วนหนึ่งของ
Rhein-Main-Verkehrsverbund (RMV) เครือข่ายการขนส่ง
ประกอบด้วยผู้ให้บริการที่แตกต่างกัน โดยสามารถใช้ระบบค่า
โดยสารเดียวกัน กล่าวคือตั๋วหนึ่งใบสามารถใช้ระบบขนส่งสาธารณะ
ได้หลายประเภท ค่าโดยสารนั้นสามารถซื้อได้ที่เครื่องจาหน่ายตั๋ว
บริเวณสถานีรถไฟ ป้ายรถประจาทาง และซื้อได้ที่เครื่องขายตั๋วในรถ
ประจาทางหรือที่คนขับรถก็สามารถซื้อได้เช่นกัน หากผู้โดยสารไม่มี
ตั๋วและถูกตรวจพบโดยเจ้าหน้าที่ จะถูกปรับ 40 ยูโร การซื้อตั๋วเพื่อ
เดินทางเที่ยวเดียวมีค่าโดยสารระหว่าง 1.6 ถึง 2.6 ยูโร ตั๋วโดยสาร
ไปชานเมืองมีค่าใช้จ่ายประมาณ 4.1 - 7.3 ยูโร ตั๋วหนึ่งวันมีราคา
6.6 ยูโร นอกจากนี้ยังมีการจาหน่ายตั๋วเฉพาะบุคคล เช่น ตั๋วสาหรับ
เด็ก ตั๋วกลุ่ม ซึ่งมีราคาถูกกว่า
สาหรับเมืองแฟรงก์เฟิร์ตนั้นเป็นเมืองที่คราคร่าไปด้วยนัก
เดินทาง และผู้เดินทางท้องถิ่น ที่อาศัยระบบขนส่งสาธารณะเป็นหลักทั้ง
รถไฟฟ้า รถไฟใต้ดิน รถราง รถประจาทาง แท็กซี่ รวมทั้งสามารถเห็น
ผู้คนในเมืองเดินทางด้วยการปั่นจักรยานกันให้ขวักไขว่ จักรยานเป็น
พาหนะคู่กายของคนท้องถิ่น ซึ่งระบบขนส่งสาธารณะทุกประเภท
อนุญาตให้นาจักรยานขึ้นไปบนรถได้ โดยจะเสียค่าโดยสารสาหรับ
จักรยาน ซึ่งแตกต่างจากประเทศญี่ปุ่นที่ไม่อนุญาตให้นาจักรยานขึ้นรถ
ด้วย แม้กระนั้นก็ตามเราก็ยังเห็นที่จอดจักรยานสาธารณะอยู่ทั่วไปใน
เขตเมือง โดยเฉพาะบริเวณรอบๆ สถานีรถไฟหลัก นอกจากนี้ยังมี
บริการจักรยานให้เช่า สาหรับการเดินทางอีกด้วย จึงไม่น่าแปลกใจที่
ปริมาณรถยนต์บนท้องถนนไม่หนาแน่นแม้กระทั่งในช่วงชั่วโมงเร่งด่วน
สถานีรถไฟ Frankfurt Hauptbahnhof เป็นศูนย์กลาง
การเดินทางของเมือง มีการเชื่อมต่อการเดินทางด้วยรถไฟ รถราง รถ
โดยสารประจาทาง รถแท็กซี่ จักรยาน และการเดินเท้า รถไฟที่
ให้บริการมีทั้งรถไฟทางไกลและระดับภูมิภาค โดยมีชื่อเรียก ได้แก่
Rhine – Main, S - Bahn, U – Bahn โดยมีการเดินทางเชื่อม
ระหว่างสนามบินแฟรงก์เฟิร์ต และ สถานีรถไฟ Frankfurt Haupt-
bahnhof ทาให้ผู้โดยสารมีความสะดวกในการเดินทางไปยัง
จุดหมายอื่น ระบบขนส่งสาธารณะในเมืองยังมีระบบรถไฟใต้ดินสอง
สาย U - Bahn และ S - Bahn เช่นเดียวกับรถรางที่ให้บริการ
ครอบคลุมในเขตเมือง ทั้งยังมีบริการรถเมล์ที่ช่วยเพิ่มความพร้อม
ให้กับระบบขนส่งสาธารณะของแฟรงก์เฟิร์ต ทั้งนี้ช่วงกลางคืนรถ
โดยสารประจาทางจะให้บริการแทน U - Bahn และรถรางใน
ช่วงเวลา 01:30 - 03:30 น.
ทางเท้าที่กว้างขวางและ
กิจกรรมที่เกิดขึ้นริมทางเท้า เช่น
ร้านอาหาร ห้างสะดวกซื้อ โรงแรม ล้วน
เป็นปัจจัยส่งเสริมให้เกิดการเดินเท้ามาก
ขึ้น ไม่ว่าเป็นการเดินเท้าเข้าสู่ระบบ
ขนส่งสาธารณะ หรือการเดินที่มีจุดหมาย
อื่นใดก็ตาม ในเมืองแฟรงก์เฟิร์ตมีทาง
เชื่อมต่อระหว่างการเดินเท้ากับระบบ
ขนส่งประเภทอื่นๆ หรือการเดินไปยังจุด
จอดจักรยานสาธารณะที่สะดวก โดยมี
ลักษณะเด่น คือ ลักษณะของทางเดินเท้า
มีความกว้างมากและพื้นเรียบเสมอกัน ไม่มีสิ่งกีดขวางการเดิน มีการ
ยกระดับพื้นทางเดินให้สูงกว่าระดับถนนไม่มากและมีทางลาด
เชื่อมต่อกับถนนบริเวณทางข้าม
ปกิณกะ :ปกิณกะ :ปกิณกะ :
26 – 28 ส.ค. 58 ขอเชิญร่วมงาน ประชุมวิชาการด้านระบบ
ขนส่งทางรางของประเทศไทย ประจาปี 2558 (The 2nd
Thailand Rail Academic Symposium) ณ โรงแรมท็อป
แลนด์ อ.เมือง จ.พิษณุโลก ติดต่อสอบถามและดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ E-mail :
secretary.tras2@gmail.com และ www.thailandtras.com
รูปที่ 1 เครื่องจาหน่ายตั๋ว
โดยสาร ระบบขนส่ง
สาธารณะ
ปฏิทินราง : (ต่อ)ปฏิทินราง : (ต่อ)ปฏิทินราง : (ต่อ)
28 ส.ค. 58 เวลา 13.00 – 17.00 น. ขอเชิญร่วมงานเสวนา
วิชาการ เรื่อง ภูเก็ตไปทางไหน รถไฟมาแล้ว จัดโดย สมาคม
อสังหาริมทรัพย์ภูเก็ต ณ ห้องดาราเธียรเตอร์ ชั้น G โรงแรม
New Dara Boutique Hotel & Residence สอบถามรายละเอียดและ
ลงทะเบียนโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายได้ที่ 086-471-4874
Page | 2
รูปที่ 3 บริเวณสถานีรถไฟ
แฟรงค์เฟิร์ต (Frankfurt
Hauptbahnhof)
รูปที่ 4 ทางเท้าในเมือง
แฟรงก์เฟิร์ต
ในตอนหน้าผู้เขียนจะได้เล่าถึงระบบขนส่งสาธารณะ
รูปแบบต่างๆ และการจัดการระบบขนส่งสาธารณะของเมืองแฟรงก์
เฟิร์ต ที่น่าสนใจให้ทราบต่อไป
รูปที่ 2 ถนนในเมือง
แฟรงก์เฟิร์ตที่มีทาง
จักรยาน
กิจกรรมโครงการและเครือข่าย :กิจกรรมโครงการและเครือข่าย :กิจกรรมโครงการและเครือข่าย :
Thailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute Project
National Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development Agency
Intensive Course in Rolling Stock Engineering 1
20 – 27 ก.ค. 58 การอบรม
Intensive Course in Roll-
ing Stock Engineering 1
ณ โรงแรมแกรนด์ เมอร์เคียว
ฟอร์จูน กรุงเทพ จัดโดย
สานักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
และนวัตกรรมแห่งชาติ และ คณะวิศวกรรมศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย บรรยายโดย Mr.Roland Mueller
( อดีตวิศวกรของการรถไฟฯสวิส SBB ) และ Mr.Eckhard
Scheunemann ( อดีตวิศวกรของการรถไฟฯเยอรมัน DB )
แถลงข่ำวกำรจัดงำนมหกรรมงำนวิจัยแห่งชำติ 2558
20 ก.ค. 58 งานแถลงข่าว
การจัดงานมหกรรมงานวิจัย
แห่งชาติ 2558 (Thailand
Research Expo 2015) ณ
ห้องโลตัสสวีท 1-4 ชั้น 22
โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์
และบางกอกคอนเวนชันเซ็นเตอร์ เซ็นทรัลเวิลด์ จัดโดย
สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ร่วมกับ
เครือข่ายระบบวิจัยทั่วประเทศ ซึ่งงานจะมีในวันที่ 16 - 20
ส.ค. 58 ณ บางกอกคอนเวนชั่นเซ็นเตอร์ โรงแรมเซ็นทารา
แกรนด์ แอท เซ็นทรัลเวิลด์
ประชุมโครงกำร Test Track Facility
3 ส.ค. 58 เวลา 10.00 – 12.00 น. การประชุมหารือเครือข่าย โครงการ
จัดสร้างศูนย์ปฏิบัติการวิจัยขบวนรถไฟรางและอุปกรณ์ประกอบ (Test
track facility) ณ ห้องประชุม 720 อาคาร สวทช. โยธี เพื่อระดมความ
คิดเห็นจากสมาชิกเครือข่ายและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
Intensive Course 4 : Railway Bogie
4 – 7 ส.ค. 58 โครงการจัดตั้งสถาบันฯ จัดการอบรมหลักสูตร “พัฒนา
บุคลากรด้านวิศวกรรมระบบขนส่งทางรางแบบเข้มข้น รุ่นที่ 4 เรื่อง โบกี้
รถไฟ (Intensive Course 4 : Railway Bogie)” ณ โรงแรมแกรนด์ เมอร์
เคียว ฟอร์จูน กรุงเทพ โดยได้ Dr. Akihito Kazato , Running Gear
Laboratory Vehicle Structure Technology Division , Railway
Technical Research Institute (RTRI) , Japan เป็นวิทยากร มีผู้ผ่าน
การอบรมทั้งสิ้น 14 ท่าน
ประชุมคณะอนุกรรมกำรเตรียมกำรจัดตั้งสถำบันพัฒนำเทคโนโลยีระบบขนส่งทำงรำงแห่งชำติ
ครั้งที่ 2/2558
22 ก.ค. 58 เวลา 15.30 น. การประชุม
คณะอนุกรรมการเตรียมการจัดตั้งสถาบัน
พัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ
ครั้งที่ 2/2558 ณ ห้องประชุม 301 ตึก
บัญชาการ 1 ทาเนียบรัฐบาล โดยมี ศ.ดร.
ยงยุทธ ยุทธวงศ์ รองนายกรัฐมนตรี เป็น
ประธาน เพื่อนาเสนอแนวทางการพัฒนาระบบ
ขนส่งทางรางไทยอย่างยั่งยืน โดยกลุ่มผู้เข้า
อบรมหลักสูตรโครงการพัฒนาบุคลากรด้าน
วิศวกรรมระบบขนส่งทางราง (วศร.) รุ่นที่ 5
ร่วมกับโครงการจัดตั้งสถาบันฯ สวทช.
Intensive Course 4 : Railway Electrification
21 – 24 ก.ค. 58 โครงการ
จัดตั้งสถาบันฯ จัดการอบรม
หลักสูตร “พัฒนาบุคลากร
ด้านวิศวกรรมระบบขนส่ง
ทางรางแบบเข้มข้น รุ่นที่ 4
เรื่อง ระบบไฟฟ้าสาหรับขบวนรถไฟ (Intensive Course 4 :
Railway Electrification)” ณ โรงแรมแกรนด์ เมอร์เคียว
ฟอร์จูน กรุงเทพ โดยได้ Dr. Takamasa Hayasaka, จาก
Railway Technical Research Institute (RTRI) , Japan
เป็นวิทยากร มีผู้ผ่านการอบรมทั้งสิ้น 17 ท่าน
กำรประชุมระดมควำมคิดเห็นกลุ่มเป้ำหมำย เรื่อง แผนที่นำทำงกำรพัฒนำระบบขนส่งทำงรำง
15 ก.ค. 58 เวลา 9.30 - 12.00 น. การประชุมระดมความคิดเห็นกลุ่มเป้าหมาย ครั้งที่ 1 เรื่อง "แผนที่นาทางการ
พัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางไทยอย่างยั่งยืน" ณ ห้องประชุมชั้น 3 อาคาร สวทช.(โยธี) ถ.พระรามที่ 6
กรุงเทพฯ โดยมีผู้แทนหน่วยงานด้านระบบราง ภาคการศึกษา ภาคอุตสาหกรรม ผู้เข้าอบรมหลักสูตร
โครงการพัฒนาบุคลากรด้านวิศวกรรมระบบขนส่งทางราง (วศร.) รุ่นที่ 5 เข้าร่วม มีวัตถุประสงค์
1) เพื่อนาเสนอกรอบแนวคิดแผนที่นาทางการพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางอย่างยั่งยืน
2) เพื่อนาเสนอมุมมองและแนวทางสร้างความสามารถด้านเทคโนโลยีของประเทศไทยในการรองรับการ
ลงทุนขนส่งระบบรางขนาดใหญ่
3) เพื่อระดมสมองในการจัดทากรอบแนวคิดแผนที่นาทางการพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางของประเทศ
สาหรับใช้ในการนาเสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการพัฒนาระบบนวัตกรรมของประเทศ (คพน.)
Page | 3
เยี่ยมชม บริษัท เชอร์รี่ เสรีนำ จำกัด
27 ก.ค. 58 โครงการจัดตั้งสถาบันฯ จัดกิจกรรม 1 เดือน 1 กิจกรรม
ให้กับผู้สนใจ เข้าดูงานบริษัท เชอร์รี่ เสรีนา จากัด ในส่วนแผนดาเนินการ
ผลิต ประกับฉนวนราง (Insulated Rail Joint : IRJ) พร้อมทั้งหารือ
แนวทางส่งเสริมการผลิตชิ้นส่วนอุตสาหกรรมระบบรางภายในประเทศ
ที่ปรึกษำ : คุณชำตรี ศรีไพพรรณ คุณนคร จันทศร คุณนัยรัตน์ อมำตยกุล คุณวัฒนำ สมำนจิตร คุณชยำกร ปิยะบัณฑิตกุล คุณสมฤทธิ์ พุทธันบุตร คุณนพมล จันทรวิมล
กองบรรณำธิกำร : คุณทปกร เหมือนเตย คุณกุลเชษฐ์ กอพัฒนำชัยเจริญ คุณสฤษฏ์โรจ จันทร์เพิ่มพูนผล คุณทศวัชร์ ชีวะธนำเลิศกุล
ผู้ดำเนินกำร : โครงกำรจัดตั้งสถำบันพัฒนำเทคโนโลยีระบบขนส่งทำงรำงแห่งชำติ สำนักงำนพัฒนำวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีแห่งชำติ
ติดต่อสอบถำม : โทร. 02-644-8150 ต่อ 81860 81861 81879 81880 อีเมล์ : rail@nstda.or.th website : www.thairailtech.or.th และ www.facebook.com/thairailtech
กำหนดออกทุก วันที่ 15 ของทุกเดือน ขอเชิญชวนร่วมส่งบทควำม หรือ ข่ำวสำรเพื่อกำรประชำสัมพันธ์
เกี่ยวกับระบบขนส่งทำงรำง ได้ที่อีเมล์ rail@nstda.or.th
Thailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute Project
National Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development Agency
สังคมระบบราง :สังคมระบบราง :สังคมระบบราง :
Smart Growth Thailand Summit 2015
7 ส.ค. 58 เวลา 13.00 –
17.00 น. งานสัมมนา
วิชาก าร Smart Growth
Thailand Summit 2015
เรื่อง การสนับสนุนทาง
การเงินและสิทธิประโยชน์
สาหรับหน่วยงานและผู้ประกอบการขนส่งมวลชนและ
ผู้พัฒนาพื้นที่รอบสถานีขนส่งมวลชน ณ โรงแรมริชมอนด์
สไตล์ลิส คอนเวนชั่น จัดโดย Smart Growth Thailand,
สมาคมวิศวกรรมระบบขนส่งทางรางไทย และสมาคมการผัง
เมืองไทย
สมำชิก วศร.5 หำรือคณะทำงำนกลุ่มย่อย
ผู้เข้าอบรมหลักสูตรโครงการพัฒนาบุคลากรด้านวิศวกรรมระบบขนส่ง
ทางราง (วศร.) รุ่นที่ 5 ได้ร่วมกับเลขานุการคณะทางาน 4 คณะ ได้แก่
1. คณะทางานพัฒนาอุตสาหกรรมขนส่งทางรางและอุตสาหกรรม
เกี่ยวเนื่อง
2. คณะทางานพัฒนางานมาตรฐานระบบรางและการทดสอบ
3. คณะทางานพัฒนาบุคลากรด้านระบบขนส่งทางราง
4. คณะทางานเตรียมการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่ง
ทางรางแห่งชาติ
เพื่อวาง Road Map การพัฒนาระบบขนส่งทางรางของประเทศ เสนอ
ต่อคณะอนุกรรมการเตรียมการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบ
ขนส่งทางรางแห่งชาติ
ประชุมหำรือร่วมกับ ศ.ดร.ยงยุทธ ยุทธวงศ์ รองนำยกรัฐมนตรี
11 ส.ค. 58 เวลา 14.30 น.การประชุมหารือ
ร่วมกับรองนายกรัฐมนตรี ณ ทาเนียบรัฐบาล
โดยมี ศ.ดร.ยงยุทธ ยุทธวงศ์ รอง
นายกรัฐมนตรี เป็นประธาน พร้อมด้วย
พล.อ.อ.ประจิน จั่นตอง รัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงคมนาคม ดร.พิเชษฐ์ ดุรงคเวโรจน์
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี ดร.ทวีศักดิ์ กออนันตกูล
ผู้อานวยการ สวทช. ดร.ชาตรี ศรีไพรพรรณ
คุณนคร จันทศร ที่ปรึกษา ผู้อานวยการ สวทช. และ ผศ.ดร.ประมวล สุธีจารุวัฒน วศร.5 อาจารย์ภาควิชา
วิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมหารือในประเด็น การพัฒนา
งานระบบรางในประเทศ ด้วยการทาอุตสาหกรรมประกอบรถไฟฟ้าในประเทศไทย
Page | 4
วิทยำกรจำกญี่ปุ่น ทดลองขนส่งสำธำรณะของไทย
Dr.Takamasa HAYASAKA ,
Senior Researcher จ า ก
Railway Technical Re-
search Institute (RTRI)
ประเทศญี่ปุ่น ที่ได้รับเชิญให้
เป็นวิทยากรในหลักสูตร
วศร.5 และ Intensive Course 4 ในหัวข้อเรื่อง Railway
Electrification ได้ท ดลอ ง Multi-mode การ ขนส่ ง
สาธารณะของไทย โดยได้ทดลองนั่ง รถไฟ รถไฟฟ้า รถแท็กซี่
แม้กระทั่งจักรยานยนต์รับจ้างก็ด้วย
กิจกรรมโครงการและเครือข่าย :กิจกรรมโครงการและเครือข่าย :กิจกรรมโครงการและเครือข่าย :
“ระบบรำง...ก้ำวสำคัญของประเทศไทยในกำรพัฒนำเมือง”
13 ส.ค. 58 เวลา 17:00 น. การบรรยายพิเศษ เรื่อง “ระบบราง...ก้าว
สาคัญของประเทศไทยในการพัฒนาเมือง” โดย พล.อ.อ.ประจิน จั่นตอง
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม ณ ห้องบอลรูม โรงแรมสวิสโซเทล เลอ
คองคอร์ด ถนนรัชดาภิเษก จัดโดย วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ สภา
วิศวกร และสมาคมอสังหาริมทรัพย์ไทย เพื่อให้วิศวกร และสมาชิกได้ทราบ
ทิศทางที่ชัดเจนและเตรียมความพร้อมสาหรับงานก่อสร้างและพัฒนาธุรกิจ
ที่เกี่ยวข้อง
ประชุมหำรือมำตรฐำนระบบรำงระหว่ำง สวทช.
ร่วมกับ สมอ.
6 ส.ค. 58 เวลา 10.00 –
12.00 น. การประชุมหารือ
มาตรฐานระบบรางระหว่าง
สวทช. ร่วมกับ สานักงาน
ม า ต ร ฐ า น ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์
อุตสาหกรรม (สมอ.) เพื่อ
เตรียมการประชุมคณะอนุกรรมการเตรียมการจัดตั้งสถาบัน
พัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ ครั้งที่ 3/2558
โดยมีประเด็นหารือ เรื่อง การแต่งตั้งคณะทางานพัฒนางาน
มาตรฐานระบบราง และการทดสอบ ณ ห้องประชุม 230
อาคาร สมอ.

Más contenido relacionado

Destacado (7)

NECTEC Annual Report 2014
NECTEC Annual Report 2014NECTEC Annual Report 2014
NECTEC Annual Report 2014
 
Nstda Newsletter ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2558
Nstda Newsletter ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2558Nstda Newsletter ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2558
Nstda Newsletter ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2558
 
Nstda Newsletter ฉบับที่ 4 เดือนกรกฎาคม 2558
Nstda Newsletter ฉบับที่ 4 เดือนกรกฎาคม 2558Nstda Newsletter ฉบับที่ 4 เดือนกรกฎาคม 2558
Nstda Newsletter ฉบับที่ 4 เดือนกรกฎาคม 2558
 
ผลงานเด่นของ Biotec (Biotec Gallery)
ผลงานเด่นของ Biotec (Biotec Gallery)ผลงานเด่นของ Biotec (Biotec Gallery)
ผลงานเด่นของ Biotec (Biotec Gallery)
 
Embedded android development (e book)
Embedded android development (e book)Embedded android development (e book)
Embedded android development (e book)
 
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 14 ประจำเดือนพฤษภาคม 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 14 ประจำเดือนพฤษภาคม 2559NSTDA Newsletter ฉบับที่ 14 ประจำเดือนพฤษภาคม 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 14 ประจำเดือนพฤษภาคม 2559
 
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 18 ประจำเดือนกันยายน 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 18 ประจำเดือนกันยายน 2559NSTDA Newsletter ฉบับที่ 18 ประจำเดือนกันยายน 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 18 ประจำเดือนกันยายน 2559
 

Más de National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand

Más de National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand (20)

NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2566NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2566
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
 

Newsletter โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ ฉบับที่ 15

  • 1. ในรอบเดือนที่ผ่านมามีการประชุมกรรมการเรื่องการจัดตั้ง สถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติชุดต่างๆ หลายครั้ง มี ข้อมูลผ่านเข้ามาให้รับทราบมากมาย เรื่องหนึ่งคือการจัดลาดับขีด ความสามารถในการแข่งขันของประเทศโดย International Institute for Management Development (IMD) ซึ่งกล่าวถึงสถานภาพทางการ แข่งขันของประเทศไทยและอีกเรื่องหนึ่งคือการติดอยู่ในกับดักรายได้ ปานกลางของประเทศไทยมาเป็นเวลานาน เรื่องสถานภาพทางการแข่งขันออกจะดูเป็นตัวเลขเชิง เปรียบเทียบ (Comparative value) มากกว่าจะเป็นค่าสัมบูรณ์ (Absolute value) แต่เราก็ดูเอาจริงเอาจังจนบางครั้งอาจจะลืมเฉลียวใจว่า ผู้กาหนดนโยบายอาจแก้ปัญหาที่ตั้งมาอย่างผิดๆ เลยตกใจกับตัวเลขการชี้ วัดจนลืมการสร้างพื้นฐานที่แข็งแกร่งเพื่อรอรอบการแข่งขันต่อไป ตัวอย่างเช่น ตกใจเรื่องตัวเลขความล้าหลังด้านโครงสร้างพื้นฐาน และเร่งรัด การทาโครงการสร้างทางรถไฟ สร้างถนน สร้างท่าเรือ สร้างสนามบิน ฯลฯ ทั้งที่สถานภาพการแข่งขันด้านอื่น เช่น ด้านการศึกษา (อันดับ 48) ด้าน สุขภาพและสิ่งแวดล้อม (อันดับ 54) ควรแก่การตกอกตกใจมากกว่า อีกทั้ง ดูตัวชี้วัดภาษาอังกฤษ ได้แก่ Basic Infrastructure (อันดับ 30) ก็ไม่ถึงกับ ขี้เหร่ จะค่อนไปทางดีด้วยซ้า ในขณะที่ Technological infrastructure (อันดับ 44) กับ Scientific infrastructure (อันดับ 47) ดูน่าตกใจมากกว่า และควรจะรีบๆตั้งสถาบันฯโดยเร็วแต่ก็ไม่ทราบว่าบวก ลบ คูณ หาร กัน อย่างไรถึงสรุปว่า Infrastructure อยู่อันดับที่ 46 แล้วรีบทาโครงการ ก่อสร้างกันยกใหญ่ EEE---NewsletterNewsletterNewsletter ฉบับที่ฉบับที่ฉบับที่ 151515 ประจำเดือน สิงหำคม 255ประจำเดือน สิงหำคม 255ประจำเดือน สิงหำคม 255888 โครงกำรจัดตั้งสถำบันพัฒนำเทคโนโลยีระบบขนส่งทำงรำงแห่งชำติโครงกำรจัดตั้งสถำบันพัฒนำเทคโนโลยีระบบขนส่งทำงรำงแห่งชำติโครงกำรจัดตั้งสถำบันพัฒนำเทคโนโลยีระบบขนส่งทำงรำงแห่งชำติ สำนักงำนพัฒนำวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีแห่งชำติ (สวทช.)สำนักงำนพัฒนำวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีแห่งชำติ (สวทช.)สำนักงำนพัฒนำวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีแห่งชำติ (สวทช.) Thailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute Project National Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development Agency Page | 1 กลยุทธ์ที่จะไปสู่เป้ าหมาย : a means to an end บทบรรณาธิการ :บทบรรณาธิการ :บทบรรณาธิการ : เยำวหรำล เนรูห์ กล่ำวว่ำ “Democracy and socialism are means to an end, not the end itself” แต่ก็มีคนจำนวนไม่น้อยที่คิดว่ำ ประชำธิปไตย คือ End มิใช่หรือ? มาดูตัวเลขรายได้เฉลี่ยต่อหัว (GDP per capita) ที่เป็นการวัด อย่างสัมบูรณ์บ้าง รายได้เฉลี่ยปานกลาง (Middle-income) คือมากกว่า 3,000 เหรียญต่อปี ส่วนรายได้เฉลี่ยขั้นสูง (High-income) คือมากกว่า 13,000 เหรียญต่อปี ประเทศไทยมีรายได้เฉลี่ยถึงระดับปานกลางตั้งแต่ ประมาณปี 2533 ปัจจุบันรายได้เฉลี่ยอยู่ที่ 6,000 - 7,000 เหรียญ ที่ว่าติด กับดักรายได้ปานกลางก็คืออยู่ตรงนี้มาแล้วกว่ายี่สิบปี ที่เป็นดังนี้ก็เพราะ ขาดสื่อที่จะสร้างงานทั้งในเชิงปริมาณ (จ้างคนจานวนมาก) และเชิง คุณภาพ (ใช้เทคโนโลยีและทักษะสูง ค่าจ้างแพง) พอพูดดังนี้ ก็ต้องชวนกัน พัฒนาอุตสาหกรรมรถไฟ ตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีรถไฟ และซื้อรถไฟ ควบคู่กับการถ่ายทอดเทคโนโลยีเหมือนที่เกาหลี และจีน ทาเป็นตัวอย่าง มาแล้ว ถึงตรงนี้ก็จะมีคนบอกว่ามีคนทา(รถไฟ)ขายเยอะแยะ อยากได้อะไร ก็ซื้อเอา แล้วก็ประกวดราคาซื้อของต่างประเทศต่อไป พอวันรุ่งขึ้น คนที่พูดอย่างนั้นก็อาจจะไปบรรยายเรื่องกับดัก รายได้ปานกลางให้คนฟัง ดูมีภูมิปัญญาทีเดียว แต่แท้ที่จริงคือคนที่สับสน ระหว่างเป้าหมาย (End) กับวิธีการที่จะไปสู่เป้าหมาย (Means) สับสน ระหว่าง “Road กับ Destination” ไม่เข้าใจว่าสองอย่างนี้มีความสัมพันธ์ กันอย่างไรในกระบวนการคิด ปฏิทินราง :ปฏิทินราง :ปฏิทินราง : 16 – 20 ส.ค. 58 เวลา 9.00 – 20.00 น. ขอเชิญเข้าร่วมการประชุม “มหกรรม งานวิจัยแห่งชาติ 2558” (Thailand Research Expo 2015) จัดโดย สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ณ บางกอกคอนเวนชั่นเซ็นเตอร์ โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ แอท เซ็นทรัลเวิลด์ และในวันที่ 20 ส.ค. 58 เวลา 9.00 - 12.00 น. ขอเชิญเข้าร่วมการประชุมใน หัวข้อ "ระบบรางของไทย ในทศวรรษหน้า" ดูรายละเอียดเพิ่มเติม และ ลงทะเบียนได้ที่ www.researchexpo-register.com สอบถามที่ Call Center : 0-2539-3128 25 ส.ค. 58 เวลา 13.00 – 16.00 น. ขอเชิญเข้าร่วมฟังการ บรรยายพิเศษ ในหัวข้อ “Railway Track Superstructure and Design” และ “Noise & Vibration in Railway” ณ อาคาร ภาควิชาวิศวกรรมโยธา ชั้น 5 ห้อง 501 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จัดโดยหน่วยปฏิบัติการวิจัยการจัดการโครงสร้าง พื้นฐาน และภาควิชาวิศวกรรมโยธา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในการนี้มี Dr. Amnon Pieter de Man จาก the Netherlands เป็นวิทยากร ติดต่อ ส อ บ ถ า ม แ ล ะ ล ง ท ะ เ บี ย น โ ด ย ไ ม่ เ สี ย ค่ า ใ ช้ จ่ า ย ไ ด้ ที่ E-mail : jindaporn0128@gmail.com หรือ โทร 0-2612-3700 จากัดจานวน 30 ท่าน กองบรรณาธิการ เราจะก้าวข้าม ด้วยการซื้อรถไฟจีน ซื้อเรือด้าน้้าจีนและใช้วิศวกรจีนสร้างรถไฟ Only a few countries can escape from middle-income trap
  • 2. แฟรงก์เฟิร์ต เมืองแห่งผู้คนและนักเดินทาง (ตอนที่ 1) บทความโดย นายชัยยศ ปีติเจตน์ (วศร.1) นางสาวณัฐธดา นิลจินดา Thailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute Project National Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development Agency ผู้เขียนได้เป็นส่วนหนึ่งของคณะนักวิจัยที่เดินทางไปยังสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี เพื่อ ศึกษาเกี่ยวกับระบบขนส่งสาธารณะและการเดินเท้า โดยในเดือนมิถุนายนที่ผ่านมา ซึ่งเป็นช่วงฤดู ร้อนของประเทศแถบยุโรป ทาให้ได้เห็นการเดินทางและการทากิจกรรมต่างๆ ในเมืองใหญ่ โดยเฉพาะแฟรงก์เฟิร์ต ที่เป็นศูนย์กลางสาหรับการเดินทางในประเทศเยอรมันและประเทศในกลุ่ม สหภาพยุโรป (EU) ข้างเคียง ระบบการขนส่งสาธารณะแฟรงก์เฟิร์ต เป็นส่วนหนึ่งของ Rhein-Main-Verkehrsverbund (RMV) เครือข่ายการขนส่ง ประกอบด้วยผู้ให้บริการที่แตกต่างกัน โดยสามารถใช้ระบบค่า โดยสารเดียวกัน กล่าวคือตั๋วหนึ่งใบสามารถใช้ระบบขนส่งสาธารณะ ได้หลายประเภท ค่าโดยสารนั้นสามารถซื้อได้ที่เครื่องจาหน่ายตั๋ว บริเวณสถานีรถไฟ ป้ายรถประจาทาง และซื้อได้ที่เครื่องขายตั๋วในรถ ประจาทางหรือที่คนขับรถก็สามารถซื้อได้เช่นกัน หากผู้โดยสารไม่มี ตั๋วและถูกตรวจพบโดยเจ้าหน้าที่ จะถูกปรับ 40 ยูโร การซื้อตั๋วเพื่อ เดินทางเที่ยวเดียวมีค่าโดยสารระหว่าง 1.6 ถึง 2.6 ยูโร ตั๋วโดยสาร ไปชานเมืองมีค่าใช้จ่ายประมาณ 4.1 - 7.3 ยูโร ตั๋วหนึ่งวันมีราคา 6.6 ยูโร นอกจากนี้ยังมีการจาหน่ายตั๋วเฉพาะบุคคล เช่น ตั๋วสาหรับ เด็ก ตั๋วกลุ่ม ซึ่งมีราคาถูกกว่า สาหรับเมืองแฟรงก์เฟิร์ตนั้นเป็นเมืองที่คราคร่าไปด้วยนัก เดินทาง และผู้เดินทางท้องถิ่น ที่อาศัยระบบขนส่งสาธารณะเป็นหลักทั้ง รถไฟฟ้า รถไฟใต้ดิน รถราง รถประจาทาง แท็กซี่ รวมทั้งสามารถเห็น ผู้คนในเมืองเดินทางด้วยการปั่นจักรยานกันให้ขวักไขว่ จักรยานเป็น พาหนะคู่กายของคนท้องถิ่น ซึ่งระบบขนส่งสาธารณะทุกประเภท อนุญาตให้นาจักรยานขึ้นไปบนรถได้ โดยจะเสียค่าโดยสารสาหรับ จักรยาน ซึ่งแตกต่างจากประเทศญี่ปุ่นที่ไม่อนุญาตให้นาจักรยานขึ้นรถ ด้วย แม้กระนั้นก็ตามเราก็ยังเห็นที่จอดจักรยานสาธารณะอยู่ทั่วไปใน เขตเมือง โดยเฉพาะบริเวณรอบๆ สถานีรถไฟหลัก นอกจากนี้ยังมี บริการจักรยานให้เช่า สาหรับการเดินทางอีกด้วย จึงไม่น่าแปลกใจที่ ปริมาณรถยนต์บนท้องถนนไม่หนาแน่นแม้กระทั่งในช่วงชั่วโมงเร่งด่วน สถานีรถไฟ Frankfurt Hauptbahnhof เป็นศูนย์กลาง การเดินทางของเมือง มีการเชื่อมต่อการเดินทางด้วยรถไฟ รถราง รถ โดยสารประจาทาง รถแท็กซี่ จักรยาน และการเดินเท้า รถไฟที่ ให้บริการมีทั้งรถไฟทางไกลและระดับภูมิภาค โดยมีชื่อเรียก ได้แก่ Rhine – Main, S - Bahn, U – Bahn โดยมีการเดินทางเชื่อม ระหว่างสนามบินแฟรงก์เฟิร์ต และ สถานีรถไฟ Frankfurt Haupt- bahnhof ทาให้ผู้โดยสารมีความสะดวกในการเดินทางไปยัง จุดหมายอื่น ระบบขนส่งสาธารณะในเมืองยังมีระบบรถไฟใต้ดินสอง สาย U - Bahn และ S - Bahn เช่นเดียวกับรถรางที่ให้บริการ ครอบคลุมในเขตเมือง ทั้งยังมีบริการรถเมล์ที่ช่วยเพิ่มความพร้อม ให้กับระบบขนส่งสาธารณะของแฟรงก์เฟิร์ต ทั้งนี้ช่วงกลางคืนรถ โดยสารประจาทางจะให้บริการแทน U - Bahn และรถรางใน ช่วงเวลา 01:30 - 03:30 น. ทางเท้าที่กว้างขวางและ กิจกรรมที่เกิดขึ้นริมทางเท้า เช่น ร้านอาหาร ห้างสะดวกซื้อ โรงแรม ล้วน เป็นปัจจัยส่งเสริมให้เกิดการเดินเท้ามาก ขึ้น ไม่ว่าเป็นการเดินเท้าเข้าสู่ระบบ ขนส่งสาธารณะ หรือการเดินที่มีจุดหมาย อื่นใดก็ตาม ในเมืองแฟรงก์เฟิร์ตมีทาง เชื่อมต่อระหว่างการเดินเท้ากับระบบ ขนส่งประเภทอื่นๆ หรือการเดินไปยังจุด จอดจักรยานสาธารณะที่สะดวก โดยมี ลักษณะเด่น คือ ลักษณะของทางเดินเท้า มีความกว้างมากและพื้นเรียบเสมอกัน ไม่มีสิ่งกีดขวางการเดิน มีการ ยกระดับพื้นทางเดินให้สูงกว่าระดับถนนไม่มากและมีทางลาด เชื่อมต่อกับถนนบริเวณทางข้าม ปกิณกะ :ปกิณกะ :ปกิณกะ : 26 – 28 ส.ค. 58 ขอเชิญร่วมงาน ประชุมวิชาการด้านระบบ ขนส่งทางรางของประเทศไทย ประจาปี 2558 (The 2nd Thailand Rail Academic Symposium) ณ โรงแรมท็อป แลนด์ อ.เมือง จ.พิษณุโลก ติดต่อสอบถามและดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ E-mail : secretary.tras2@gmail.com และ www.thailandtras.com รูปที่ 1 เครื่องจาหน่ายตั๋ว โดยสาร ระบบขนส่ง สาธารณะ ปฏิทินราง : (ต่อ)ปฏิทินราง : (ต่อ)ปฏิทินราง : (ต่อ) 28 ส.ค. 58 เวลา 13.00 – 17.00 น. ขอเชิญร่วมงานเสวนา วิชาการ เรื่อง ภูเก็ตไปทางไหน รถไฟมาแล้ว จัดโดย สมาคม อสังหาริมทรัพย์ภูเก็ต ณ ห้องดาราเธียรเตอร์ ชั้น G โรงแรม New Dara Boutique Hotel & Residence สอบถามรายละเอียดและ ลงทะเบียนโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายได้ที่ 086-471-4874 Page | 2 รูปที่ 3 บริเวณสถานีรถไฟ แฟรงค์เฟิร์ต (Frankfurt Hauptbahnhof) รูปที่ 4 ทางเท้าในเมือง แฟรงก์เฟิร์ต ในตอนหน้าผู้เขียนจะได้เล่าถึงระบบขนส่งสาธารณะ รูปแบบต่างๆ และการจัดการระบบขนส่งสาธารณะของเมืองแฟรงก์ เฟิร์ต ที่น่าสนใจให้ทราบต่อไป รูปที่ 2 ถนนในเมือง แฟรงก์เฟิร์ตที่มีทาง จักรยาน
  • 3. กิจกรรมโครงการและเครือข่าย :กิจกรรมโครงการและเครือข่าย :กิจกรรมโครงการและเครือข่าย : Thailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute Project National Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development Agency Intensive Course in Rolling Stock Engineering 1 20 – 27 ก.ค. 58 การอบรม Intensive Course in Roll- ing Stock Engineering 1 ณ โรงแรมแกรนด์ เมอร์เคียว ฟอร์จูน กรุงเทพ จัดโดย สานักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมแห่งชาติ และ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย บรรยายโดย Mr.Roland Mueller ( อดีตวิศวกรของการรถไฟฯสวิส SBB ) และ Mr.Eckhard Scheunemann ( อดีตวิศวกรของการรถไฟฯเยอรมัน DB ) แถลงข่ำวกำรจัดงำนมหกรรมงำนวิจัยแห่งชำติ 2558 20 ก.ค. 58 งานแถลงข่าว การจัดงานมหกรรมงานวิจัย แห่งชาติ 2558 (Thailand Research Expo 2015) ณ ห้องโลตัสสวีท 1-4 ชั้น 22 โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ และบางกอกคอนเวนชันเซ็นเตอร์ เซ็นทรัลเวิลด์ จัดโดย สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ร่วมกับ เครือข่ายระบบวิจัยทั่วประเทศ ซึ่งงานจะมีในวันที่ 16 - 20 ส.ค. 58 ณ บางกอกคอนเวนชั่นเซ็นเตอร์ โรงแรมเซ็นทารา แกรนด์ แอท เซ็นทรัลเวิลด์ ประชุมโครงกำร Test Track Facility 3 ส.ค. 58 เวลา 10.00 – 12.00 น. การประชุมหารือเครือข่าย โครงการ จัดสร้างศูนย์ปฏิบัติการวิจัยขบวนรถไฟรางและอุปกรณ์ประกอบ (Test track facility) ณ ห้องประชุม 720 อาคาร สวทช. โยธี เพื่อระดมความ คิดเห็นจากสมาชิกเครือข่ายและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง Intensive Course 4 : Railway Bogie 4 – 7 ส.ค. 58 โครงการจัดตั้งสถาบันฯ จัดการอบรมหลักสูตร “พัฒนา บุคลากรด้านวิศวกรรมระบบขนส่งทางรางแบบเข้มข้น รุ่นที่ 4 เรื่อง โบกี้ รถไฟ (Intensive Course 4 : Railway Bogie)” ณ โรงแรมแกรนด์ เมอร์ เคียว ฟอร์จูน กรุงเทพ โดยได้ Dr. Akihito Kazato , Running Gear Laboratory Vehicle Structure Technology Division , Railway Technical Research Institute (RTRI) , Japan เป็นวิทยากร มีผู้ผ่าน การอบรมทั้งสิ้น 14 ท่าน ประชุมคณะอนุกรรมกำรเตรียมกำรจัดตั้งสถำบันพัฒนำเทคโนโลยีระบบขนส่งทำงรำงแห่งชำติ ครั้งที่ 2/2558 22 ก.ค. 58 เวลา 15.30 น. การประชุม คณะอนุกรรมการเตรียมการจัดตั้งสถาบัน พัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ ครั้งที่ 2/2558 ณ ห้องประชุม 301 ตึก บัญชาการ 1 ทาเนียบรัฐบาล โดยมี ศ.ดร. ยงยุทธ ยุทธวงศ์ รองนายกรัฐมนตรี เป็น ประธาน เพื่อนาเสนอแนวทางการพัฒนาระบบ ขนส่งทางรางไทยอย่างยั่งยืน โดยกลุ่มผู้เข้า อบรมหลักสูตรโครงการพัฒนาบุคลากรด้าน วิศวกรรมระบบขนส่งทางราง (วศร.) รุ่นที่ 5 ร่วมกับโครงการจัดตั้งสถาบันฯ สวทช. Intensive Course 4 : Railway Electrification 21 – 24 ก.ค. 58 โครงการ จัดตั้งสถาบันฯ จัดการอบรม หลักสูตร “พัฒนาบุคลากร ด้านวิศวกรรมระบบขนส่ง ทางรางแบบเข้มข้น รุ่นที่ 4 เรื่อง ระบบไฟฟ้าสาหรับขบวนรถไฟ (Intensive Course 4 : Railway Electrification)” ณ โรงแรมแกรนด์ เมอร์เคียว ฟอร์จูน กรุงเทพ โดยได้ Dr. Takamasa Hayasaka, จาก Railway Technical Research Institute (RTRI) , Japan เป็นวิทยากร มีผู้ผ่านการอบรมทั้งสิ้น 17 ท่าน กำรประชุมระดมควำมคิดเห็นกลุ่มเป้ำหมำย เรื่อง แผนที่นำทำงกำรพัฒนำระบบขนส่งทำงรำง 15 ก.ค. 58 เวลา 9.30 - 12.00 น. การประชุมระดมความคิดเห็นกลุ่มเป้าหมาย ครั้งที่ 1 เรื่อง "แผนที่นาทางการ พัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางไทยอย่างยั่งยืน" ณ ห้องประชุมชั้น 3 อาคาร สวทช.(โยธี) ถ.พระรามที่ 6 กรุงเทพฯ โดยมีผู้แทนหน่วยงานด้านระบบราง ภาคการศึกษา ภาคอุตสาหกรรม ผู้เข้าอบรมหลักสูตร โครงการพัฒนาบุคลากรด้านวิศวกรรมระบบขนส่งทางราง (วศร.) รุ่นที่ 5 เข้าร่วม มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อนาเสนอกรอบแนวคิดแผนที่นาทางการพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางอย่างยั่งยืน 2) เพื่อนาเสนอมุมมองและแนวทางสร้างความสามารถด้านเทคโนโลยีของประเทศไทยในการรองรับการ ลงทุนขนส่งระบบรางขนาดใหญ่ 3) เพื่อระดมสมองในการจัดทากรอบแนวคิดแผนที่นาทางการพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางของประเทศ สาหรับใช้ในการนาเสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการพัฒนาระบบนวัตกรรมของประเทศ (คพน.) Page | 3 เยี่ยมชม บริษัท เชอร์รี่ เสรีนำ จำกัด 27 ก.ค. 58 โครงการจัดตั้งสถาบันฯ จัดกิจกรรม 1 เดือน 1 กิจกรรม ให้กับผู้สนใจ เข้าดูงานบริษัท เชอร์รี่ เสรีนา จากัด ในส่วนแผนดาเนินการ ผลิต ประกับฉนวนราง (Insulated Rail Joint : IRJ) พร้อมทั้งหารือ แนวทางส่งเสริมการผลิตชิ้นส่วนอุตสาหกรรมระบบรางภายในประเทศ
  • 4. ที่ปรึกษำ : คุณชำตรี ศรีไพพรรณ คุณนคร จันทศร คุณนัยรัตน์ อมำตยกุล คุณวัฒนำ สมำนจิตร คุณชยำกร ปิยะบัณฑิตกุล คุณสมฤทธิ์ พุทธันบุตร คุณนพมล จันทรวิมล กองบรรณำธิกำร : คุณทปกร เหมือนเตย คุณกุลเชษฐ์ กอพัฒนำชัยเจริญ คุณสฤษฏ์โรจ จันทร์เพิ่มพูนผล คุณทศวัชร์ ชีวะธนำเลิศกุล ผู้ดำเนินกำร : โครงกำรจัดตั้งสถำบันพัฒนำเทคโนโลยีระบบขนส่งทำงรำงแห่งชำติ สำนักงำนพัฒนำวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีแห่งชำติ ติดต่อสอบถำม : โทร. 02-644-8150 ต่อ 81860 81861 81879 81880 อีเมล์ : rail@nstda.or.th website : www.thairailtech.or.th และ www.facebook.com/thairailtech กำหนดออกทุก วันที่ 15 ของทุกเดือน ขอเชิญชวนร่วมส่งบทควำม หรือ ข่ำวสำรเพื่อกำรประชำสัมพันธ์ เกี่ยวกับระบบขนส่งทำงรำง ได้ที่อีเมล์ rail@nstda.or.th Thailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute Project National Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development Agency สังคมระบบราง :สังคมระบบราง :สังคมระบบราง : Smart Growth Thailand Summit 2015 7 ส.ค. 58 เวลา 13.00 – 17.00 น. งานสัมมนา วิชาก าร Smart Growth Thailand Summit 2015 เรื่อง การสนับสนุนทาง การเงินและสิทธิประโยชน์ สาหรับหน่วยงานและผู้ประกอบการขนส่งมวลชนและ ผู้พัฒนาพื้นที่รอบสถานีขนส่งมวลชน ณ โรงแรมริชมอนด์ สไตล์ลิส คอนเวนชั่น จัดโดย Smart Growth Thailand, สมาคมวิศวกรรมระบบขนส่งทางรางไทย และสมาคมการผัง เมืองไทย สมำชิก วศร.5 หำรือคณะทำงำนกลุ่มย่อย ผู้เข้าอบรมหลักสูตรโครงการพัฒนาบุคลากรด้านวิศวกรรมระบบขนส่ง ทางราง (วศร.) รุ่นที่ 5 ได้ร่วมกับเลขานุการคณะทางาน 4 คณะ ได้แก่ 1. คณะทางานพัฒนาอุตสาหกรรมขนส่งทางรางและอุตสาหกรรม เกี่ยวเนื่อง 2. คณะทางานพัฒนางานมาตรฐานระบบรางและการทดสอบ 3. คณะทางานพัฒนาบุคลากรด้านระบบขนส่งทางราง 4. คณะทางานเตรียมการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่ง ทางรางแห่งชาติ เพื่อวาง Road Map การพัฒนาระบบขนส่งทางรางของประเทศ เสนอ ต่อคณะอนุกรรมการเตรียมการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบ ขนส่งทางรางแห่งชาติ ประชุมหำรือร่วมกับ ศ.ดร.ยงยุทธ ยุทธวงศ์ รองนำยกรัฐมนตรี 11 ส.ค. 58 เวลา 14.30 น.การประชุมหารือ ร่วมกับรองนายกรัฐมนตรี ณ ทาเนียบรัฐบาล โดยมี ศ.ดร.ยงยุทธ ยุทธวงศ์ รอง นายกรัฐมนตรี เป็นประธาน พร้อมด้วย พล.อ.อ.ประจิน จั่นตอง รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงคมนาคม ดร.พิเชษฐ์ ดุรงคเวโรจน์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี ดร.ทวีศักดิ์ กออนันตกูล ผู้อานวยการ สวทช. ดร.ชาตรี ศรีไพรพรรณ คุณนคร จันทศร ที่ปรึกษา ผู้อานวยการ สวทช. และ ผศ.ดร.ประมวล สุธีจารุวัฒน วศร.5 อาจารย์ภาควิชา วิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมหารือในประเด็น การพัฒนา งานระบบรางในประเทศ ด้วยการทาอุตสาหกรรมประกอบรถไฟฟ้าในประเทศไทย Page | 4 วิทยำกรจำกญี่ปุ่น ทดลองขนส่งสำธำรณะของไทย Dr.Takamasa HAYASAKA , Senior Researcher จ า ก Railway Technical Re- search Institute (RTRI) ประเทศญี่ปุ่น ที่ได้รับเชิญให้ เป็นวิทยากรในหลักสูตร วศร.5 และ Intensive Course 4 ในหัวข้อเรื่อง Railway Electrification ได้ท ดลอ ง Multi-mode การ ขนส่ ง สาธารณะของไทย โดยได้ทดลองนั่ง รถไฟ รถไฟฟ้า รถแท็กซี่ แม้กระทั่งจักรยานยนต์รับจ้างก็ด้วย กิจกรรมโครงการและเครือข่าย :กิจกรรมโครงการและเครือข่าย :กิจกรรมโครงการและเครือข่าย : “ระบบรำง...ก้ำวสำคัญของประเทศไทยในกำรพัฒนำเมือง” 13 ส.ค. 58 เวลา 17:00 น. การบรรยายพิเศษ เรื่อง “ระบบราง...ก้าว สาคัญของประเทศไทยในการพัฒนาเมือง” โดย พล.อ.อ.ประจิน จั่นตอง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม ณ ห้องบอลรูม โรงแรมสวิสโซเทล เลอ คองคอร์ด ถนนรัชดาภิเษก จัดโดย วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ สภา วิศวกร และสมาคมอสังหาริมทรัพย์ไทย เพื่อให้วิศวกร และสมาชิกได้ทราบ ทิศทางที่ชัดเจนและเตรียมความพร้อมสาหรับงานก่อสร้างและพัฒนาธุรกิจ ที่เกี่ยวข้อง ประชุมหำรือมำตรฐำนระบบรำงระหว่ำง สวทช. ร่วมกับ สมอ. 6 ส.ค. 58 เวลา 10.00 – 12.00 น. การประชุมหารือ มาตรฐานระบบรางระหว่าง สวทช. ร่วมกับ สานักงาน ม า ต ร ฐ า น ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ อุตสาหกรรม (สมอ.) เพื่อ เตรียมการประชุมคณะอนุกรรมการเตรียมการจัดตั้งสถาบัน พัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ ครั้งที่ 3/2558 โดยมีประเด็นหารือ เรื่อง การแต่งตั้งคณะทางานพัฒนางาน มาตรฐานระบบราง และการทดสอบ ณ ห้องประชุม 230 อาคาร สมอ.